PowerPointHub-Peสมุดเล่มเล็กครูF9 - PDF Flipbook

PowerPointHub-Peสมุดเล่มเล็กครูF9

106 Views
36 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


คำนำ

รำยงำนเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของวิชำดนตรีสำกล (สหสั วิชำ) 30207 ชัน้ มัธยมศกึ ษำปี ท่ี 6/1
โดยมีจุดประสงค์เพ่อื ศึกษำหำควำมรู้และเผยแพร่ใน เร่ือง กำรส่ือสำร…ถ่ำยทอดดนตรีสำกล

ผู้จดั ทำได้เลือกหวั ข้อ กำรส่ือสำร…ถ่ำยทอดดนตรีสำกล ในกำรทำ e-book เน่ืองมำจำกเป็ น
เร่ืองท่นี ่ำสนใจผู้จัดทำหวังว่ำ e-book เล่มนีจ้ ะให้ควำมรู้และเป็ นประโยชน์แก่ผู้อ่ำนทุกท่ำน

ผู้จัดทำ

ความเช่ือการแตง่ กายในด้านดนตรี การสื่อสาร ความเช่ือในดนตรีสากล
ถา่ ยทอด ประโยชน์ของดนตรีสากล
ดนตรีสากล

ดนตรีสากล การสื่อสารการถา่ ยทอดดนตรี
สากล

หลกั การฟัง

มารยาทในการฟังดนตรี

ดนตรีเป็นสว่ นหนงึ่ ของวถิ ีชีวิตมนษุ ย์ มนษุ ย์รู้จกั นาดนตรีมาใช้ประโยชน์ตงั้ แตย่ คุ
ก่อนประวตั ิศาสตร์ หลงั จากท่ีมนษุ ย์รู้จกั การจดบนั ทกึ ข้อมลู จงึ ทาให้คนรุ่นหลงั ได้ทราบ
ประวตั ิความเป็นมาของดนตรี การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ดนตรี ทาให้เราเข้าใจมนษุ ย์ด้วยกนั
มากขนึ ้ เข้าใจวิถีชีวติ ความเป็นอยู่ และเข้าใจการสบื ทอดทางวฒั นธรรมดนตรี

การศกึ ษาเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์ หรือการมองย้อนกลบั ไปในอดีตนนั้ นอกจากเป็นไปเพอ่ื ความสขุ ใจ
ในการได้ศกึ ษา เรียนรู้และรับทราบเร่ืองราวของอดีตโดยตรงแล้ว ยงั เป็นการศกึ ษาเป็นแนวทางเพ่ือทาความเข้าใจ
ดนตรีท่ีเกิดขนึ ้

และการเปล่ียนแปลงในแงข่ องดนตรีในปัจจบุ นั และเพ่อื นามาใช้ในการทานายหรือคาดเดาถงึ แนวโน้ม
ของดนตรีในอนาคต ด้วยดนตรีเกิดขนึ ้ มาพร้อมกบั มนษุ ย์และถือได้วา่ เป็นสว่ นหนงึ่ ของชีวิต

มนษุ ย์ มนษุ ย์รู้จกั การสร้างเสยี งดนตรีเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือสอ่ื สาร เชน่ การตีเกราะ เคาะไม้ การเป่าเขา
สตั ว์ การเป่าใบไม้ เพ่ือสง่ สญั ญาณตา่ งๆ มนษุ ย์รู้จกั การร้องราทาเพลง เพื่อให้หายเครียด เพื่อความบนั เทิง หรือเพื่อ
การประกอบพิธีกรรมตา่ งๆ กิจกรรมที่เก่ียวเน่ืองกบั เรื่องของเสยี งดนตรี มนษุ ย์ได้ทาให้เกิดขึน้ อยา่ งเป็นธรรมชาติ
ของมนษุ ย์มาโดยตลอด ตอ่ มาเมื่อมนษุ ย์ได้สนใจดนตรีในด้านศิลปะดนตรีจงึ ได้ววิ ฒั นาการขนึ ้ ตามลาดบั



ความเช่ือเกี่ยวกนั ศาสนา

ยคุ กลาง (Middle Ages )
เร่ิมประมาณปี ค.ศ. 400 - 1400 ในสมยั กลางนีโ้ บสถ์เป็นศนู ย์กลางทงั้ ทางด้านดนตรี ศิลปะ การศกึ ษาและ
การเมือง วิวฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกมีการบนั ทกึ ไว้ตงั้ แตเ่ ร่ิมแรกของคริสต์ศาสนา บทเพลงทางศาสนาซงึ่
เกิดขนึ ้ จากกราประสมประสานระหวา่ งดนตรีโรมนั โบราณกบั ดนตรียิวโบราณ เพลงแตง่ เพื่อพิธีทางศาสนาคริสต์
เป็นสว่ นใหญ่ โดยนาคาสอนจากพระคมั ภีร์มาร้องเป็นทานอง เพื่อให้ประชาชนได้เกิดอาราณ์ซาบซึง้ และมีศรัทธา
แกก่ ล้าในศาสนา ไมใชเ่ พ่ือความไพเราะของทานอง หรือความสนกุ สนานของจงั หวะ เม่ือศาสนาคริสต์แพร่กระจาย
ไปทว่ั โลก ประเทศตา่ งๆ ได้นาบทเพลงท่ีชาติตนเองค้นุ เคยมาร้องในพิธีสกั การะพระเจ้า ดงั นนั้ เพลงที่ใช้ร้องในพิธี
ของศาสนาคริสต์จงึ แตกตา่ งกนั ไปตามภ ูู มิภาค2. ยคุ เรเนสซองส์หรือยคุ ฟื น้ ฟศู ิลปวิทยา (The Renaissance
Period)

สมยั เรเนสซองส์ หรือ สมยั ฟื น้ ฟศู ิลปวทิ ยา
เร่ิมประมาณ ค.ศ. 1400 – 1600 เพลงศาสนายงั มีความสาคญั อยเู่ ช่นเดมิ เพลงสาหรับประชาชนทว่ั ไป เพ่ือให้
ความบนั เทงิ ความสนกุ สนาน กเ็ กิดขนึ ้ ด้วย การประสานเสยี งได้รับการพฒั นาให้กลมกลนื ขนึ ้ เพลงศาสนาเป็น

รากฐานของทฤษฎีการประสานเสยี ง เพลงในยคุ นีแ้ บง่ เป็นสองแบบ สว่ นใหญ่จะเป็นแบบที่เรียกวา่ อิมมิเททีฟโพ
ลีโฟนี (Imitative Polyphony) คือ มีหลายแนว และแตล่ ะแนวจะเร่ิมไมพ่ ร้อมกนั ทกุ แนวเสยี งมีความสาคญั แบบที่
สองเรียกวา่ โฮโมโฟนี (Homophony) คือ มีหลายแนวเสียงและบรรเลงไปพร้อมกนั มีเพียงแนวเสยี งเดียวท่ีเดน่
แนวเสียงอื่นๆ เป็นเพียงเสยี งประกอบ เพลงในสมยั นี ้ ยงั ไมม่ ีการแบง่ จงั หวะทแ่ี นน่ อน คือ ยงั ไมม่ ีการแบง่ ห้อง

ออกเป็น 3/4 หรือ 4/4 เพลงสว่ นใหญ่ก็ยงั เกี่ยวข้องกบั คริสต์ศาสนาอยเู่ พลงประกอบขนั้ ตอนตา่ งๆ ของพธิ ีทาง
ศาสนาท่ีสาคญั คือ เพลงแมส (Mass) และโมเตท็ (Motet) คาร้องเป็นภาษาละตนิ เพลงที่ไมใ่ ช่เพลงศาสนากเ็ ริ่ม
นิยมกนั มากขนึ ้ ได้แก่ เพลงประเภท แมดริกลั (Madrigal) ซง่ึ มีเนือ้ ร้องเก่ียวกบั ความรัก หรือยกยอ่ งบคุ คลสาคญั
และมกั จะมีจงั หวะสนกุ สนาน นอกจากนีย้ งั ใช้ภาษาประจาชาติของแตล่ ะชาตแิ ละเชือ้ ชาตทิ ี่นบั ถือ

ความเช่ือการแตง่ กายใน
ด้านดนตรี

ยคุ คลาสสคิ ( Classic Period ; ค.ศ. 1750 -1825)
การละครสมยั นีม้ กั จะแสดงเป็นประเภทโศกนาฏกรรม (Tragedy มาจากคาภาษากรีก
Tragoidos ซง่ึ แยกออกได้เป็น 2 คา คือ Tragos แปลวา่ แพะ และ Oidos แปลวา่
นกั ร้อง สนั นิษฐานวา่ พวกนกั ร้องอาจแตง่ กายด้วยหนงั แพะ หรือ แพะคือรางวลั สาหรับเพลง
ท่ีดีท่ีสดุ ) เร่ืองท่ีแสดงสว่ นใหญ่มกั เป็นเรื่องเกี่ยวกบั เทพเจ้ากรีก โดยเฉพาะเทพเจ้าไดโอนิซสุ
นอกจากนนั้ ก็เป็นเร่ืองราวเกี่ยวกบั วีรบรุ ุษในสมยั โฮเมอร์ สว่ นใหญ่มกั จบด้วยความเศร้า นกั
แตง่ ละครโศกนาฏกรรม ท่ีมีช่ือเสยี งในสมยั นี ้ ได้แก่ อีสคิลสุ มีชีวติ อยรู่ ะหวา่ งปี 524 – 456
ก่อนคริส์ตกาล ละครที่มีช่ือเสียงของเขา คือ โพรเมเตอสุ ,บาวด์, โซเฟอคลสิ , ยรู ิพดิ ิส

สมยั เรเนสซองส์ หรือ สมยั ฟื น้ ฟศู ลิ ปวิทยา
วฒั นธรรมการแต่งกายของคนชนั้ สงู ในสมยั นนั้ ทัง้ ด้าน
เสือ้ ผ้า เคร่ืองน่งุ ห่ม และความนิยมในการไว้ผมยาวหวี
แสกกลางตามสมัยนิยม ในแฟชน่ั แบบฟลอเรนไทน์ใน
อิตาลี นอกจากท่ีปรากฏให้เหน็ ในภาพโมนาลซิ า ยังเหน็
ได้ในภาพอื่นๆ ของเขาอกี
นอกจากนี ้ภาพโมนาลิซายงั เป็นภาพที่เลโอนาร์โด ดา
วินชี ถ่ายทอดบคุ ลิกของตนเองแฝงไว้ในใบหน้าของโม
นาลซิ า ซง่ึ จะมีลกั ษณะเค้าโครงรูปหน้าที่คล้ายกนั



1. ด้านการศกึ ษา
นาเสียงดนตรีมาใช้ประกอบในการสอนแบบสร้างสรรค์ทางศลิ ปะผลปรากฏว่าเสียงดนตรี สามารถส่งเสริม
พฒั นาการทางอารมณ์ เสริมสร้างความคิด จินตนาการ ชว่ ยกระต้นุ ให้มีการแสดงออกในทางสร้างสรรค์
2.ด้านการแพทย์
ใช้เสียงดนตรีกระต้นุ ทารกในครรภ์มารดา ผลปรากฏวา่ เดก็ มีปฏกิ ิริยาตอบรับกบั เสียงเพลง ทงั้ ทาง
พฤติกรรมและร่างกายท่ีดี เสียงเพลงท่ีนมุ่ นวลจะทาให้เดก็ มีอาการสงบเงียบ ร่างกายเจริญเติบโตขนึ ้ และ
ยงั ช่วยให้ระบบหายใจและระบบยอ่ ยอาหารดีขนึ ้
3. ด้านสงั คม
มีการใช้จงั หวะดนตรีมากาหนดควบคมุ การทางาน เพ่ือให้เกิดความพร้อมเพรียง เชน่ การพายเรือ จงั หวะ
ยก-สง่ ของ เป็นต้น การใช้ดนตรีปลกุ เร้าอารมณ์ให้เกิดความรัก ความสามคั คีในหมคู่ ณะ

4. ด้านจิตวิทยา
ใช้เสียงดนตรีปรับเปลย่ี นนิสยั ก้าว ร้าวของมนษุ ย์ รักษาโรคสมาธิสนั้
โดยเฉพาะเด็กจะทาให้มีสมาธิยาวขนึ ้ ออ่ นโยนขนึ ้ โดยใช้หลกั ทฤษฎี

อีธอส (Ethos) ของดนตรี
5. ด้านกีฬา
ใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมกีฬา เชน่ ยิมนาสตกิ กิจกรรมเข้าจงั หวะ การ
เต้นแอโรบคิ เป็นต้น นอกจากนนั้ ยงั มีกิจกรรมตา่ งๆมากมายท่ีใช้ดนตรี
เป็นสว่ นประ
กอบในการดาเนินการทงั้ ทางตรงและทางอ้อม อาจกลา่ วได้วา่ ดนตรี
เป็นสว่ นประกอบที่ขาดเสยี มิได้ในกิจกรรมของสงั คมมนษุ ย์

dog

หลกั การฟังดนตรีมี 2 ประการ คือ
1. ฟังอยา่ งตงั้ ใจ เป็นการฟังเพื่อจาแนกเสียงดนตรีวา่ เสยี งทไี่ ด้ยินนนั้ เป็นทานองของ
เพลงใด ใช้ทานองใดเป็นหลกั มีแนวการประสานเสียงอยา่ งไร และจงั หวะเป็นรูปแบบ
ใด รวมทงั้ แยกแยะและบอกชนิดเครื่องดนตรีท่ีบรรเลงได้
2. ฟังอยา่ งเข้าใจ เป็นการฟังโดยศกึ ษาองค์ประกอบของเสยี งดนตรีหรือบทเพลงท่ีฟัง
คือ จงั หวะ ทานอง การประสานเสยี ง และรูปแบบของเพลงให้พิจารณาวา่
องค์ประกอบครบถ้วนหรือมีความสมั พนั ธ์สอดคล้องกนั อยา่ งไรบ้าง



1. การแตง่ การเรียบร้อย ในการไปชมการแสดงดนตรีควรแตง่ กายให้
เรียบร้อย เหมาะสมโดยเฉพาะการแสดงดนตรีท่ีเป็นพิธีการมากๆ
2. การไปถึงสถานที่แสดงกอ่ นเวลา ถือเป็นธรรมเนียมการปฏิบตั ิท่ีผู้
เข้าชมควรไปถงึ สถานท่ีแสดงกอ่ นเวลา และนงั่ ตามท่ีนงั่ ให้เรียบร้อย

ก่อนการแสดงจะเริ่มต้น
3. การมีสมาธิในการชมการแสดง ขณะชมการแสดงควรมีสมาธิใน
การชมการแสดงอย่างจริงจงั เพ่ือให้เข้าถงึ ความไพเราะ คณุ คา่ ของ

บทเพลง ซงึ่ ทาให้ผ้ชู มเกิดความซาบซงึ ้ ในบทเพลงนนั้ ๆ
4. การปรบมือ เป็นมารยาทท่ีสาคญั ของผ้ชู มการแสดงดนตรีที่ควร

ปรบมือเป็นเวลานานเมื่อมีการบรรเลงเพลงแตล่ ะเพลงจบ

5. การงดใช้เคร่ืองมือสื่อสาร มกั จะได้ยนิ เสียงจากเคร่ืองมือส่ือสารเหลา่ นี ้
อยเู่ สมอ สภาพเช่นนีไ้ มค่ วรเกิดขนึ ้ ในขณะชมการแสดงดนตรีประเภทนี ้
6.การนาเดก็ เข้ามาชมการแสดง ไมค่ วรนาเดก็ อายตุ ่ากวา่ ๕ ปี เข้าชมการ
แสดงยกเว้นบางรายการที่อนญุ าต เป็นกรณีพิเศษ
7.การถา่ ยภาพการแสดง ไมค่ วรนากล้องถา่ ยภาพ กล้องถ่ายวีดโิ อ เข้าไป
บนั ทกึ การแสดงในหอประชมุ เว้นแตจ่ ะได้รับอนญุ าตเป็นกรณีพิเศษ เพราะ
การแสดงของตา่ งประเทศหลายประเทศมีลขิ สทิ ธ์ิเฉพาะ ไมอ่ นญุ าตให้มี
การบนั ทกึ ไปเผยแพร่
8.งดการนาอาหาร และ เคร่ืองดื่มทกุ ประเภทเข้าไปในหอประชมุ เพราะ
นอกจากอาหารบางประเภทจะสง่ กลนิ่ รบกวนผ้อู ื่น ตลอดจนการแกะหีบหอ่

และการขบเคีย้ วจะทาให้เกิดเสยี งดงั

อ้างอิง

-
https://prezi.com/p/nrmn5kg3trz1/presentation/?frame=bba84354c5d123
a7496431c2da0b88dc482bfb95

-https://www.google.co.th/search?q-

ผู้จัดทำ
นำงสำวกลั ยณัฏฐ์์ จำนงค์สูญ

ชนั้ มัธยมศึกษำปี ท่ี 6/1
รหสั ประจำตวั 5999

เสนอ
คุณครูพนั ธะศักด์ิ ์ำนโพธ์ิ


Data Loading...