คู่มือการบริหารจัดการวิจัยฯ อาชีวศึกษา - PDF Flipbook

คู่มือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองค์ความรู้การอาชีวศึกษา

102 Views
97 Downloads
PDF 25,937,634 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


A Guide to Research & Innovation Management for TVET 2560

ค่มอื การบรหิ าร

ขจัดการวจิ ัยและนวตั กรรม

องคค์ วามรู้การอาชีวศกึ ษา

A Guide to

Research & Innovation
Management for TVET

สานักวจิ ัยและพฒั นาการอาชวี ศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คูม ือบริหารจดั การ
วจิ ยั และนวตั กรรมองคความรกู ารอาชวี ศกึ ษา

คาํ นาํ

ดวยสังคมโลกในยุคปจจุบันกําลังเผชิญกับความทาทายการแขงขันที่
สูงข้ึน ความกาวหนาของเทคโนโลยี และมลภาวะสิ่งแวดลอมโลกท่ีเปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็ว ดังนั้นการที่จะรับมือกับสถานการณดังกลาว ประเทศที่มีการจัดเก็บ
ขอมูลที่เปนระบบ และความสามารถในการประเมินสภาพแวดลอมอยางแมนยํา
นับเปนสิ่งสําคัญย่ิง จึงอาจกลาวไดวาการวิจัยเปนเคร่ืองมือของการพัฒนาท่ีทรง
ประสิทธิภาพของนานาประเทศในโลกยุคปจจบุ ันอยางแทจ รงิ

ประเทศไทยภายใตการบริหารงานของคณ ะรัฐมนตรีไดมีการนํา
กระบวนการวิจัยมาบูรณาการใชในการบริหารและวางกรอบยุทธศาสตรในการ
พัฒนาประเทศ การอาชีวศึกษาไดทวีบทบาทและมีความสําคัญในฐานะกําลัง
สําคัญของการพัฒนาศักยภาพของชาติ การจัดการอาชีวคึกษาจึงไดถูกเรงรัด
พัฒนาโดยอาศัยรากฐานสติปญญา ภูมิปญญา องคความรู กระบวนการคิด
วิเคราะหและสรางสรรค และกระบวนการคนควาวิจัย ดวยความตระหนักวา

การอาชีวศึกษา คือหัวใจของสังคมใหม ในยุคของความกาวหนา
ทางเทคโนโลยี

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กําหนดนโยบายการพัฒนาการ
วิจัยเพ่ือสรางและสงผานองคความรูและเทคโนโลยีวิชาชีพ สรางนักวิจัยและ
สนับสนุนใหบุคลากรขององคกรทําวิจัย เพื่อบูรณาการการวิจัยในการพัฒนาการ
บริหารจัดการการเรียนการสอนอาชีวศึกษามุงเนนการพัฒนาและผลิตปริมาณและ
คุณภาพกําลังคนอาชีวศึกษา สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาในฐานะ
หนวยงานหลักในการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการวิจัยอาชีวศึกษา จึงได
จัดทําคูมือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองคความรูการอาชีวศึกษาเลมนี้ข้ึน
เพ่ือเปนคูมือบริหารโครงการวิจัยใหมีคุณภาพใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด และ
หวังวาคูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอบุคลกร หนวยงาน และผูสนใจในการทําวิจัย
ทง้ั ภาครัฐแลเอกชนในการผลิตนวัตกรรมและองคความรใู หมตอ ไป

สํานกั วจิ ยั และพฒั นาการอาชีวศกึ ษา
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กนั ยายน 2560

II

สารบญั หนา
ii
คํานาํ iii
สารบญั iv
สารบัญภาพ v
สารบัญตาราง 1
บทนาํ 16
วัตถปุ ระสงค 17
ขอบเขต 18
คาํ จํากดั ความ 22
ตอนที่ 1 การบริหารจดั การงานวิจยั อาชวี ศกึ ษา 39
ตอนที่ 2 การจัดทาํ ขอ เสนอการวิจัยอาชวี ศกึ ษา
ตอนที่ 3 แนวทางการพิจารณาการประเมนิ ขอ เสนอการวิจยั 68
78
เพอ่ื การสนบั สนนุ งบประมาณ 83
ตอนท่ี 4 การประเมินผลการวิจยั อาชวี ศึกษา 86
เอกสารอา งองิ 92
ภาคผนวก 99
112
- แบบเสนอแผนบรู ณาการ 136
- แบบเสนอโครงการวิจยั 139
- แบบเสนอชุดโครงการวจิ ยั 149
- แบบรายงานความกา วหนา (แบบ ต-1ช/ด) 162
- ขอตกลงรบั ทนุ วจิ ัย 163
- แบบประเมินผลหลงั สน้ิ สดุ การวิจัยรายโครงการ
- เวบ็ ไซตแหลง ทนุ วจิ ยั อ่ืน iii
คณะทาํ งาน

สารบัญภาพ

หนา

ภาพท่ี 1 การเชื่อมโยงของยทุ ธศาสตรช าตแิ ละยุทธศาสตรห ลักของประเทศ 6
ในการจดั ทํากรอบยทุ ธศาสตรวจิ ยั และนวัตกรรมแหงชาติ 7
7
ภาพที่ 2 กรอบยุทธศาสตรวจิ ัยและนวตั กรรมแหงชาติ แผนงานหลกั 1 8
ภาพท่ี 3 กรอบยุทธศาสตรว ิจยั และนวตั กรรมแหง ชาติ แผนงานหลกั 2 9
ภาพท่ี 4 กรอบยุทธศาสตรวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ แผนงานหลกั 3
ภาพที่ 5 แผนพฒั นาการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) 11
ภาพท่ี 6 งบประมาณโครงการวจิ ัยอาชีวศกึ ษาตามหมวดเงินอุดหนนุ ท่ัวไป
27
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2535 - 2560
ภาพท่ี 7 กรอบการเชือ่ มโยงการบรหิ ารจดั การงานวจิ ยั 31
34
ของสาํ นกั วจิ ยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา กับหนว ยงานอ่นื
ภาพที่ 8 การเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรก ารวจิ ยั และนวัตกรรมองคค วามรกู ารอาชวี ศกึ ษา 35
88
กับนโยบายและยทุ ธศาสตรก ารวจิ ัยของประเทศ
ภาพที่ 9 เสน ทางการจดั ทําขอ เสนอการวจิ ยั อาชวี ศึกษา
ภาพท1ี่ 0 ระบบบริหารจดั การการจดั ทาํ ขอ เสนอการวิจัยอาชีวศึกษา

เพอ่ื เสนอขอรบั งบประมาณ ระดบั สถานศกึ ษา
ภาพที่ 11 การเสนอของบประมาณการวิจยั และนวัตกรรมป 2562

iv

สารบญั ตาราง

หนา

ตารางแสดงการเช่อื มโยงยทุ ธศาสตรก ารวิจัยและนวัตกรรมองคความรกู ารอาชีวศกึ ษา 29
กับนโยบายและยทุ ธศาสตรก ารวิจยั ของประเทศ 49
ตารางปฏบิ ตั งิ านโดยใช Gantt Chart
ตวั อยา งรายละเอียดงบประมาณการวจิ ัยของขอเสนอการวิจัย 135
จาํ แนกตามงบประเภทตา งๆ
แบบฟอรม แผนการเบกิ จา ยเงนิ งบประมาณ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ท่ัวไป 146
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 256_ 147
แบบฟอรมแผนกิจกรรมการวจิ ยั และระยะเวลาดําเนนิ การวิจัย 148
ตวั อยา งแผนกจิ กรรมการวจิ ยั และระยะเวลาดาํ เนนิ การวิจัย

v

บทนาํ

หลักการและเหตผุ ล
1.วิธีและกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญในการเพ่ิมศักยภาพในการ

แขง ขันของประเทศในตลาดโลก
การศึกษาวิจัยจํานวนมากพบวาการวิจัยและพัฒนามีบทบาทสําคัญอยางย่ิงตอ

ความไดเปรียบเชิงแขงขันและการพัฒนาอยางยั่งยืนขององคกรในภาคธุรกิจท่ัวโลก (Gu,
2016) นับแตอดีตเปนตนมาประเทศสหรัฐอเมริกา หน่ึงในผูนําเศรษฐกิจโลกตระหนักเปนอยาง
ย่งิ ถึงความสําคญั ของการลงทนุ ในการวิจยั และพัฒนาตอการเพิม่ สมรรถนะทางการแขงขันของ
ประเทศในตลาดโลก จงึ ไดจัดสรรงบประมาณจํานวนมหาศาลซ่งึ นับเปนลาํ ดบั ตน ๆของโลกเพ่ือ
ลงทุนในการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะการวิจัยพัฒนาในสาขาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานและ
วิทยาศาสตรประยกุ ต ไมเพยี งแตประเทศผูนําทางเศรษฐกิจในโลกตะวนั ตกเทาน้นั มหาอํานาจ
ใหมของโลกเชนประเทศจีนก็ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาไมนอยกวากัน ดังจะเห็นได
จากประเทศจีนจัดใหการวิจัยและพฒั นาเปนยทุ ธศาสตรห ลกั ในการเพ่ิมสมรรถนะในการเติบโต
ทางเศรษฐกจิ (Cannon, Ulferts, & Howard, 2014)

ในสวนของประเทศไทยก็ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการวิจัยไมย่ิงหยอนไปกวากัน
จึงไดมีการจัดทํากรอบยุทธศาสตรชาติระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยกําหนดใหการ
ลงทุนในการวิจัยและพัฒนาเปนกรอบแนวทางสําคัญกรอบหน่ึงในดานการสรางความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ และยังมีนโยบายในการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ โดยมุงเนน
ประเด็นวจิ ยั อันไดแก ดา นการเกษตรและอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-based) ดานระบบโลจิ
สติกส ดานเศรษฐกิจดิจิตัล และดานอุตสาหกรรมเปาหมาย 2 ประเภท อันไดแก การตอยอด
อตุ สาหกรรมเดิมท่มี ีศกั ยภาพ (First S-curve) 5 อุตสาหกรรมอนั ไดแก

1. อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม (Next-generation Automotive)
2. อุตสาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกสอ จั ฉริยะ (Smart Electronics)
3. อุตสาหกรรมทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent
Medical and Wellness Tourism)
4. อุตสาหกรรมดจิ ิทัล (Digital) และ

1

5. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Madical Hub) ((ราง) นโยบายและยุทธศาสตร
การวจิ ัยของชาติ ฉบบั ท่ี 9 พ.ศ. 2560 - 2564, 2559)

และการลงทุนการวจิ ัยและพัฒนาใน 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) ไดแ ก
1.อุตสาหกรรมหุนยนต (Robotics)
2.อตุ สาหกรรมหนุ ยนต (Aviation and Logistics)
3.อตุ สาหกรรมเชือ้ เพลงิ ชวี ภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels arch Biochem Icas)
4.อตุ สาหกรรมดจิ ติ อล (Digital)
5.อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub)
2.วิธแี ละกระบวนการวจิ ัยเปน กลไกของการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศ
ตามการเปลยี่ นแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม สถานการณ และเทคโนโลยี
ดวยในสภาวะโลกในปจจบุ นั มีความผนั ผวนและมกี ารเปลี่ยนแปลงทางดา นเศรษฐกจิ
สงั คม การเมือง และสิง่ แวดลอ มโดยเฉพาะความกาวหนาของเทคโนโลยีอนั สง ผลตอการพัฒนา
และเกิดการแขงขันขึ้นในแตละประเทศ เพ่ือใหไดตามมาตรฐานสากล การเปล่ียนแปลง
ดังกลาวไดสงผลกระทบตอการปฏิรูปการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพของประเทศไทย
โดยเฉพาะการผลิตกําลังคนและบริการทางวิชาชีพใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน
และการเปล่ียนแปลงดังกลาว ดังน้ันการดําเนินการวิจัยเปนกลไกวิธีการหน่ึงในการไดมาของ
ขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดแนวทางและนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาและฝกอบรม
วิชาชีพใหสามารถขับเคล่ือนตามการเปล่ียนแปลงขางตน นอกจากน้ัน นานาประเทศไดมีการ
สนับสนุนและผลักดันใหการวิจัยเปนเคร่ืองมือของการปรับเปล่ียนและพัฒนาประเทศตาม
กระแสโลกาภวิ ัฒนและเขา สรู ะดบั สากล (Globalization & Internationalization)
รั ฐ บ า ล ท่ี ผ า น ม า จ น ถึ ง ป จ จุ บั น ไ ด บ ริ ห า ร ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย ใ ช ข อ มู ล พื้ น ฐ า น แ ล ะ
กระบวนการวิจัย เปนเคร่ืองมือในการดําเนินการกําหนดยุทธศาสตรและทิศทางการพัฒนา
ประเทศใหไ ปสูเ ปาหมายท่ีกาํ หนด อันสามารถสง ผลตอ การพฒั นาและแกไขปญ หาของประเทศ
ไดแก การแกไขปญหาความยากจน การขยายโอกาสทางการศึกษาใหท่ัวถึง การลดภาระหนี้
ตา งประเทศ การพฒั นาศักยภาพและโอกาสการแขง ขันของประเทศ และสภาพสงั คมมีคณุ ภาพ
ที่ดีขึ้นของประเทศไทย เปนตน โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับบที่12 (พ.ศ.
2560 - 2564) ไดกําหนดใหการพัฒนานวัตกรรม และการนํามาใชขับเคลื่อนการพัฒนาในทุก
มิติเพ่ือยกระดับศักยภาพของประเทศ ประเด็นการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม เปนประเด็นหลักสองประเด็นในย่ีสิบประเด็นบูรณาการ
เพ่ือซอมแซมจุดออนของประเทศและดําเนินยุทธศาสตรเชิงรุกมุงเนนพัฒนาตอยอดบนจุดแข็ง
ของประเทศไทย

2

ในสวนของการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาใหเขมแข็งนั้นจําเปนตองใชรากฐาน
สติปญญา ความรูความคิด การคนควาการวิจัยเพื่อผลักดันทักษะ มุงเนนดานฐานความ
ชํานาญ (Skill Based) ฐานความรู (Knowledge Based) ฐานเทคโนโลยี (Technology Based)
และฐานคุณธรรมและจรยิ ธรรม (Ethical Based) ตลอดจนกลาวไดว า

การอาชวี ศกึ ษา คอื หวั ใจของสังคมใหม สังคมเทคโนโลยที ี่กาวหนา
และ เปน กญุ แจท่ีสาํ คัญอนั หน่ึงในการพฒั นาการศกึ ษา

(มตชิ นรายวัน, 2548) (UNESCO-UNEVOC, 2005 และ 2013)

3. นโยบายและยุทธศาสตรของประเทศกาํ หนดใหม ีการพัฒนา ขีดความสามารถ
ในการพัฒนาการวจิ ัยและพฒั นาองคก ร

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติไดมีนโยบายใหหนวยงาน/องคกรหลักของ
ภาครัฐกําหนดและจัดทําแผนยุทธศาสตรการวิจัยและพัฒนาขององคกรใหสอดคลองตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2564) และ (ราง) นโยบาย
และยทุ ธศาสตรการวจิ ัยของชาตฉิ บับท่ี 9 (พ.ศ. 2560-2564) ไวดังนี้

ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 1 เรงสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหบรรลุเปาหมายและ
สนองตอบตอประเด็นเรงดวน ตามยุทธศาสตรและแผนพัฒนาประเทศและภารกิจของ
หนวยงาน โดยรัฐลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเพิ่มข้ึนอยางตอเน่ือง โดยมีเปาประสงคเพื่อให
หนว ยงานและนกั วจิ ัยผลิตผลงานวิจยั องคค วามรนู วตั กรรม และเทคโนโลยีจากงานวจิ ัย ท้งั การ
วิจัยพื้นฐาน การวิจัยและพัฒนา และการวิจัยเพ่ือพัฒนางานประจําท่ีมีทั้งคุณภาพ ปริมาณ
และมุงเปาสนองตอบตอเปาหมายและประเด็นเรงดวนตามยุทธศาสตรชาติและภารกิจของ
หนวยงาน ใหสอดคลองกับ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ 20 ป และแผนปฏิรูประบบวิจัย
แบบบูรณาการของประเทศ (ราง) กรอบยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) และ
(รา ง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)

ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 2 สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน
โดยมีเปาประสงคเพ่ือสงเสริมและสนับสนุนภาคเอกชน เพิ่มพูนศักยภาพ เพิ่มการลงทุนและ
ขยายการวิจัยและพัฒนา จนเกิดผลงานวิจัย องคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยี จาก
งานวิจัยใหเปนประโยชนดานการผลิต การพาณิชยและบริการ ท่ีสนองตอบตอความตองการ

3

ของภาคเอกชนและการพัฒนาประเทศ รวมถึงสามารถชวยลดตนทุนการผลิต เพิ่มผลิตภาพ
และขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ

ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 3 สงเสริมกลไกและกิจกรรมการนํากระบวนการวิจัย
ผลงานวิจัย องคค วามรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม
โดยความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ โดยมีเปาประสงคเพ่ือใหอุตสาหกรรมและพาณิชย สังคม
และชุมชน วิชาการ และนโยบาย ใชประโยชนจากกระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องคความรู
นวัตกรรม และเทคโนโลยจี ากงานวิจัยอยา งเปน รูปธรรม และตรงตามความตองการท่สี อดคลอง
กับแนวทางการพฒั นาประเทศ

ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 4 เรงรัดพัฒนาระบบวิจัยแบบบูรณาการของประเทศให
เขมแข็ง เปนเอกภาพ และยั่งยืน รวมถึงสรางระบบนิเวศการวจิ ัยที่เหมาะสม โดยมีเปาประสงค
เพื่อใหประเทศมีระบบวิจัยท่ีมีการบูรณาการ เขมแข็ง เปนเอกภาพ และย่ังยืน รวมท้ังมีการ
ปฏิรูปหนวยงานหลักในระบบวิจัยตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ (ราง) ยุทธศาสตรชาติระยะ
20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) และ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ 20 ป และแผนปฏิรูประบบ
วิจัยแบบบูรณาการของประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิง การบริหารจัดการการวิจัย ระบบ
งบประมาณดานการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาในลักษณะบูรณาการ การพัฒนาและปรับปรุง
ระบบนเิ วศการวจิ ัยที่เหมาะสม และระบบติดตามและประเมนิ ผลการวิจัย โดยมงุ เนน การมีสวน
รวมอยางจริงจังของเครือขายวิจัย และหนวยงานผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวนและทุกระดับ
ใหมีการบริหารจัดการการวิจัยท่ีมีเอกภาพ ความรับผิดรับชอบ (Accountability) ประสิทธิภาพ
รวมถึงการพจิ ารณาอนุมัติโครงการและจดั สรรงบประมาณการวิจยั ทร่ี วดเร็ว ระบบงบประมาณ
ดานการสงเสริมการวิจัยและ พัฒนาในลักษณะบูรณาการ การประเมินผลในระบบวิจัย และ
แนวทางตดิ ตาม ประเมนิ ผลการวจิ ัยเชงิ สรา งสรรค (Constructive Monitoring and Evaluation
System)

ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 5 พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของโครงสรางพื้นฐาน
ดานการวิจัยและพัฒนาของประเทศ โดยมีเปาประสงคเพื่อใหโครงสรางพ้ืนฐานดานการวิจัย
และพัฒนาของประเทศมีความเขมแข็ง มีประสิทธิภาพ จํานวนเพียงพอ และคุณภาพได
มาตรฐานในระดับชาตแิ ละนานาชาติ

4

1) โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ เชน หองปฏิบัติการทดลอง เครื่องมือ/อุปกรณ
วิจัย ศูนยความเปนเลิศดานการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนยปฏิบัติการทดสอบ
(laboratory testing centers) ศูนยวิจัยแหงชาติ โรงงานตนแบบ (Pilot Plant) หนวยบมเพาะ
(Incubator) อุทยานวิทยาศาสตร (Science Park) ศูนยขอมูลและระบบสารสนเทศการวิจัยที่
ครอบคลุม เช่ือมโยง และใชป ระโยชนไ ดทั่วประเทศ

2) โครงสรา งพ้นื ฐานทางคณุ ภาพ เชน ระบบการใหบ ริการเทคนคิ ดา นวทิ ยาศาสตร
และเทคโนโลยี (MSTQ) ไดแก ระบบมาตรวิทยา (Metrology) การกําหนดมาตรฐาน
(Standardization) การทดสอบ (Testing) การรบั รองคณุ ภาพ (QualityAssurance)

3) โครงสรา งพ้ืนฐานทางกลไก เชน ระบบการสราง แรงจูงใจผานมาตรการการเงิน
อาทิ ระบบการใหทุนสนับสนุน แรงจูงใจทางการเงิน สิทธิประโยชนเรงรัดการลงทุน มาตรการ
การคลงั รวมถงึ มาตรการทางภาษี รวมท้ังระบบการจัดการทรัพยสินทางปญญา และการจัดซื้อ
จัดจางภาครัฐ มาตรฐานการวิจยั และทดลองตา ง ๆ เชน มาตรฐานการวจิ ัยในคน มาตรฐานการ
เลี้ยงและใชสัตวทดลองเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร มาตรฐานหองปฏิบัติการวิจัย มาตรฐาน
ความปลอดภัยทางชีวภาพ และคณะกรรมการประเมินคุณภาพ เปนตน เพื่อสงเสริมและ
สนับสนุนการวจิ ัยและพฒั นาใหมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน เปนที่
ยอมรบั ระดบั สากลและเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขนั ของประเทศ

ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 6 เพิม่ จํานวนและพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรดา นการ
วิจัยและพัฒนา เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีเปาประสงคเพ่ือให
ประเทศมีบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาท่ีมีคุณภาพในจํานวนเพียงพอในทุกภาคสวนและ
ทุกระดับ รวมถึงเสริมสรางสมรรถนะและสนับสนุนนักวิจัยรุนใหม เพื่อการขับเคลื่อนงานวิจัย
และการใชประโยชนในวงกวาง และเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ อีกท้ัง
พัฒนาศักยภาพดานการวิจัยใหเยาวชนและ บุคลากรในทองถิ่น เพ่ือเปนทรัพยากรบุคคลท่ี
สามารถคิดวิเคราะห แกปญหา และตัดสินใจโดยใชขอมูล และเปนฐานการสรางบุคลากรดาน
การวิจยั และพฒั นา

ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 7 พัฒนาความรวมมือของเครือขายวิจัยในประเทศและ
ระหวางประเทศ โดยมีเปาประสงคเพื่อใหเครือขายวิจัยในระดับชาติ ภูมิภาค ทองถิ่น และ
เครือขายวิจัยของภาคสวน ตาง ๆ เชน ภาคอุตสาหกรรม ภาควิชาการ และภาคทองถ่ินมีความ

5

เขมแข็งและมี สวนรว มในการขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ การวิจัยและ
พัฒนา การใชประโยชนจากงานวิจัย การบริหารจัดการ และการสนับสนุนทุนวิจัย รวมท้ังมี
ความรวมมอื อยางตอเนอื่ งระหวา งเครอื ขา ยในประเทศและระหวา งประเทศ

นอกจากน้ีสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (สวนช.) ไดกําหนดทิศทางการ
พัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม ภายใตยุทธศาสตรชาติ ภายใตการพัฒนา
ประเทศไทย 4.0 ซึ่งไดวิเคราะหถึงการเปลี่ยนผานโครงสรางการพัฒนาทั้งระบบใน 5 สาขา
เปาหมาย 5 มิติของการเปล่ียนแปลง และ5 ระเบียบวาระการพัฒนา โดยการเปล่ียนผาน
ประเทศไทยสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม และไดยก “ราง” กรอบยุทธศาสตรการ
พัฒนาประเทศดวยการวิจัยและนวัตกรรม ในระยะ 20 ปขางหนา ดังภาพความเชื่อมโยงของ
ยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรหลักของประเทศในการจัดทํากรอบยุทธศาสตรวิจัยและ
นวัตกรรมแหง ชาติ (ภาพท่ี 1) ตามกรอบยทุ ธศาสตรวิจยั และนวตั กรรม ดงั ภาพท่ี 2 – 4

ภาพที่ 1: การเช่อื มโยงของยทุ ธศาสตรชาติและยทุ ธศาสตรห ลักของประเทศในการ
จดั ทาํ กรอบยทุธศาสตรว ิจยั และนวัตกรรมแหงชาติ

ทีม่ า: สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
แหง ชาติ, 2560
6

ภาพท่ี 2 กรอบยทุ ธศาสตรว ิจยั และนวัตกรรมแหง ชาติ แผนงานหลัก 1

ภาพที่ 3 กรอบยุทธศาสตรว จิ ัยและนวัตกรรมแหงชาติ แผนงานหลัก 2
7

ภาพท่ี 4 กรอบยุทธศาสตรวิจัยและนวตั กรรมแหง ชาติ แผนงานหลกั 3

นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการภายใตวิสัยทัศนของแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ 20 ป
(พ.ศ. 2560 – 2579) ไดก าํ หนดวสิ ยั ทัศน คอื “คนไทยทุกคนไดร ับการศึกษาและเรยี นรูตลอด
ชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” โดยกําหนดยทุ ธศาสตรที่ 2 ดา นการ
ผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศ ซ่งึ ไดมีแนวทางพฒั นา ไดแก

1.ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการของตลาด
งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

2.สงเสริมการผลติ และพฒั นากาํ ลังคนท่ีมคี วามเชย่ี วชาญและเปนเลศิ เฉพาะดา น
3.สงเสริมการวจิ ัยและพัฒนา เพ่ือสรางองคความรู และนวัตกรรมที่สรา งผลผลิตและ
มูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) ดังกรอบแผนพัฒนา
การศึกษาแหงชาติ ภาพท่ี 5

8

ภาพท่ี 5 แผนพัฒนาการศกึ ษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)

ดังน้ัน กระบวนการเรงรัดการพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ และเทคโนโลยี เพ่ือ
เพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถการแขงขันของประเทศจะเปนแนวทาง หนึ่งในการพัฒนา
ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพไดอยางย่ังยืน โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพผูสําเร็จการอาชีวศึกษาใหสามารถประกอบวิชาชีพไดตรงกับความ
ตองการของตลาดแรงงาน และสถานการณ ความกาวหนาของเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงอยาง
รวดเร็ว ตลอดจนการพัฒนาประสิทธิภาพของผูสอนใหสามารถถายทอดความรูและประสบการณ
ไดอยางมีคณุ ภาพ

4. สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ไดก ําหนดกลยทุ ธท ีเ่ ปนรปู ธรรมในการ
ดําเนินการการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล
ปจจุบัน โดยเฉพาะตามเกณฑมาตรฐาน/ตัวชี้วัดท่ีกําหนดข้ึนของสํานักมาตรฐานการศึกษา
แหงชาติ

การประเมินคุณภาพภายนอกดานการอาชีวศึกษา โดย สํานักงานมาตรฐานการศึกษา
แหงชาติ (สมศ.) ไดกําหนดใหงานวิจัยอาชีวศึกษาเปนมาตรฐานหนึ่งใน 6 มาตรฐาน คือ

9

มาตรฐานท่ี 2 การวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพ ตัวบงช้ี 2.1 รอยละของผลงานวิจัยและนวัตกรรม
วิชาชพี ทไี่ ดร ับการเผยแพรตออาจารยประจําท้ังหมด คิดเปน รอยละ 10 ของการประเมินทั้งหมด
6 มาตรฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดใหความสําคัญกับการพัฒนา เผยแพร
นวัตกรรมองคความรู เทคโนโลยีเพื่อสรางและพัฒนาอาชีพใหเกิดประโยชนในเชิงพาณิชย
สง เสรมิ สนับสนนุ การวิจัย สรางนวัตกรรม พัฒนาองคค วามรู เพื่อการพัฒนาอาชีพ โดยกําหนด
นโยบายการพัฒนาการอาชีวศึกษาในเชิงมิติ คือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในดานการเรียน
การสอน คือการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพ่อื พัฒนาระบบการเรยี นรูสูการเปนผปู ระกอบการ

ท้ังนี้การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาถายทอดองคความรูและเทคโนโลยี เพ่ือใหการ
อาชีวศึกษาเปนองคกรแหงการเรียนรู ตั้งแตการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ใหเอ้ือตอการ
เรียนรู การสรางองคความรู และนวัตกรรมทางวิชาชีพ การเชื่อมโยงการวิจัยกับกระบวนการ
จดั การเรยี นการสอนวิชาชพี มีกลไกนําผลการวจิ ัยไปใชประโยชนได

5. ผลการดําเนินงานในชวงการปฏริ ูปการศึกษาที่ผานมา สาํ นักวิจัยและพฒั นาการ
อาชีวศึกษาไดดําเนินการปฏิรูปการอาชีวศึกษาตามกรอบ และนโยบายท่ีเก่ียวของกับการ
วิจัย โดยไดดําเนินการสงเสริมและพัฒนาการดําเนินโครงการวิจัยอยางเปนระบบใน
สถานศึกษา

สามารถสรปุ ผลการดาํ เนินงาน ไดดงั ตอไปน้ี
5.1 การสนับสนุนสถานศึกษาดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการ

เรียนการสอน มุงเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษา สงเสริมใหงานวิจัยและ
พัฒนา ซ่ึงเปนหนวยงานในสถานศึกษาเปนกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาการวิจัย โดยมี
การสนับสนุนใหครู อาจารยพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยการทําวิจัยในช้ันเรียน (Action
Research) ภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 มีการจัดทําคูมือและผลิตนักวิจัย
เครือขายสงผลใหขาราชการครูอาชีวศึกษาสามารถใชกระบวนการวิจัยเพื่อแกไขและ
พัฒนาการสอนในชั้นเรียนไดเปนอยางดียิ่ง นอกจากน้ีไดสงเสริมใหขาราชการพลเรือน ครูและ
บุคลากรทางการอาชีวศึกษา และผูบริหารสถานศึกษาดําเนินโครงการวิจัยภายใตหมวดเงิน

10

อุดหนุนท่ัวไปของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยผานการพิจารณาตรวจสอบ
ขอ เสนอโครงการวจิ ัยใหม ีคณุ ภาพจากสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ

ในสวนของการไดรับงบประมาณสนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2560 พบวามีแนวโนมสูงขึ้น
ในชวงงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 – 2555 โดยปงบประมาณท่ีไดรับงบประมาณ
สนับสนุนมากท่ีสุด คือปงบประมาณ 2555 ในวงเงิน 21,253,000 บาท และนอยท่ีสุดคือไมได
รับการสนับสนุนงบประมาณเลย เมื่อปงบประมาณ พ.ศ. 2547 นอกจากน้ี พบวางบประมาณ
การวิจัยประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555- 2557 การไดรับงบประมาณการวิจัยมีแนวโนมลดลง
แมในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 งบประมาณสนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะเพ่ิมสูงข้ึนแตก็ลดตํ่าลงในปงบประมาณถัดมา และเพ่ิมสูงข้ึน
อีกคร้ังในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ในวงเงิน 12,768,500 บาท

25,000,000 21,253,000
20,000,000
19,939,000
18,970,000

15,000,000 13,957,300 1310381020,768,500

10,000,000 9,070,900 11,190,800 10574400
7,561,100 8,729,900

5,000,000 1,833,100 4,500,000 4,584,000

797,16,02022,200 1,926,2001,006,200791,400 658,200 1,800,000

0 624,100 816,800 561,000 147,700 0

ภาพท่ี 6 งบประมาณโครงการวิจัยอาชวี ศกึ ษาตามหมวดเงนิ อดุ หนนุ ทั่วไป
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2535-2560

11

จะเห็นไดวาการไดรับการจัดสรรงบประมาณการวิจัยน้ัน ข้ึนอยูกับคุณภาพของการ
จัดทําขอเสนอการวิจัยของผูเสนอของบประมาณการวิจัย ท้ังนี้สํานักงานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ เปนหนวยงานที่ดําเนินการตรวจสอบคุณภาพการจัดทําขอเสนอการวิจัยนั้น พบวา
ผูจัดทําขอเสนอการวิจัยนั้น ในชวงปหลังมีคุณภาพลดลง โดยเหตุผลท่ีขอเสนอการวิจัยไมผาน
จากการตรวจสอบของผูทรงคุณวุฒิ ไดแ ก

- ความชัดเจนของของวตั ถปุ ระสงคก ารวิจยั วธิ ีการวจิ ัย
- ความเชีย่ วชาญและจาํ นวนของทมี งานวจิ ยั
- หัวขอเรื่องเกิดประโยชนในวงจํากัด เปนเทคโนโลยีพื้นฐาน เชน การผลิตกาซ
ชวี ภาพในครวั เรอื น เปนตน
- ขาดความเชอ่ื มโยงของการเขยี นประเดน็ และกรอบการวิจัย
- ขาดการตรวจสอบเอกสารอางอิงท่ีจะนําไปสูการดําเนินการวิจัยใหประสบ
ผลสําเรจ็
หัวขอเร่ืองไมใชการดําเนินการวิจัย แตเปนการดําเนินโครงการปฏิบัติ เชน การ
พัฒนาปาชายเลนโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน... ซ่ึงเปนการจัดทําแหลงเรียนรู
มากกวา หรือ การประเมินโครงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงคของ
นกั ศกึ ษาใน..... เปนตน
- ไมระบุความสําคัญของปญหาและวัตถุประสงคที่ชัดเจน เชน สภาพปญหาและ
ปจจัยที่สงเสริมความสําเร็จของการดําเนินโครงการส่ิงประดิษฐของคนรุนใหมของนักศึกษาใน
แผนงานและแผนเงินไมสอดคลองกนั
- การกาํ หนดประชากร กลุมตัวอยา งของการเขียนโครงการวิจัย
- งบประมาณสูงมากเกนิ ความจาํ เปน
- งานวิจยั ดา นหลักสตู รตองเขา ใจและมคี วามเชย่ี วชาญในการดาํ เนนิ โครงการวิจยั
นอกจากน้ีกลุมวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร สํานักวิจัยและพัฒนาการจัดการ
อาชีวศึกษา ไดริเร่ิมการจัดประชุมวิชาการงานวิจัยอาชีวศึกษา(Symposium on Vocational
Education Research) ซ่งึ สาํ นกั วิจัยและพัฒนาการอาชีวศกึ ษาไดดาํ เนินการจดั ประชุมผลงาน
วิชาการวิจัยอาชีวศึกษาประจําปมาอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมายเพื่อเปดโอกาสใหนักวิจัย

12

อาชีวศึกษาไดนําเสนอผลงานวิจัยวิชาการอาชีวศึกษา อันนํามาซึ่งการแลกเปลี่ยนความรูและ
ประสบการณงานวิจัยอาชีวศึกษาอันจะนําไปสูการประยุกตใชผลงานวิจัยอาชีวศึกษาใหเกิด
ประโยชนส ูงสุดตอ ไป

การสรา งนักวจิ ัยเครือขา ยอาชวี ศกึ ษา (Thailand Voctional Education Research Network:
T-Vern) มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยอาชีวศึกษาใหสามารถดําเนินโครงการวิจัย
ไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากที่สุดตอการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ
ตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2551 รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรูและ
ประสบการณการวิจัยท่ีเกี่ยวของ ไดรับความรูและความเขาใจในการดําเนินโครงการวิจัย
เพม่ิ ข้นึ

5.2 การสง เสรมิ การบรู ณาการการวิจัยเพอ่ื การพฒั นาคดิ คน ส่งิ ประดิษฐนวัตกรรม
อาชีวศึกษามุงเนนการพัฒนานักประดิษฐคิดคนอาชีวศึกษา โดยการจัดทําโครงการความ
รวมมือระหวางสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา (สอศ.) เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ คน ของผูเ รยี นบนพ้นื ฐานการวิจยั ตามโครงการวจิ ัย
และพัฒนานวัตกรรมส่ิงประดิษฐอาชีวศึกษา (Innovation Research for Vocational
Education) (IRVE) โดยกลุมวจิ ยั การจัดการอาชวี ศึกษา

นอกจากนี้การจัดประชุมวิชาการ ภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช (มสธ.) และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยการจัดงาน “มหกรรม
ยอ นรอยสง่ิ ประเดิษฐน วตั กรรมอาชวี ศึกษา”

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดดําเนินการพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ
และเทคโนโลยีภายใตความรว มมือกับภาคเอกชน ไดแ กบ ริษทั ลอ็ กซเลย  จํากัด(มหาชน) บริษทั
เดอะมอลลกรุป จํากัด บริษัทโปรเฟสชั่นนัล คอมพิวเตอร บริษัทล็อกซเลย เทรดด้ิง จํากัด และ
สมาคมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน) เปนตน โดยกลุมวิจัยนวัตกรรมการอาชีวศึกษา ดําเนินการ
จัดการประกวดสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม ซ่ึงไดเร่ิมดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2533 จนถึง
ปจจุบัน มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษยและเสริมสรางความแข็งแกรงดานวิทยา
ศาสตร และเทคโนโลยี มงุ เนนใหผูเ รยี นอาชีวศึกษาสามารถประยุกตความรูและใชท กั ษะในการ
คิดคนนวัตกรรมและส่งิ ประดิษฐของคนรุนใหมและการพัฒนาหุนยนตอาชีวศกึ ษา อันสงผลตอ
การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศโดยรวม

13

ปจจุบันสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาไดดําเนินการจัดการองคความรูและ
ตระหนักเรื่องสิทธิประโยชนของนักประดิษฐคิดคนอาชีวศึกษาเปนอยางย่ิง โดยไดจัดทําเว็บไซต
เผยแพรขอมูลสงิ่ ประดิษฐคดิ คนไวเพอื่ ประโยชนใ นดานการสบื คน ขอ มูลและจําหนา ยสิ่งประดษิ ฐ
อาชวี ศึกษา โครงการสรา งนกั วจิ ยั รนุ ใหมอ าชวี ศึกษา โครงการพัฒนาศกั ยภาพนักวิจยั อาชวี ศกึ ษา
โครงการวจิ ยั บนฐานปญหาการวจิ ยั เปน ตน

5.3 ขยายและสรางความเขมแข็งเครือขายความรวมมือการวิจัยระหวาง
ประเทศ สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาไดดําเนินการจัดประชุมวิจัยนานาชาติโดยมี
วตั ถุประสงค คือ

4.3.1 เพ่ือพัฒนาและแลกเปล่ียนความรู/ประสบการณการวิจัยอาชีวศึกษา
ระหวา งนักวิจยั ไทยกับนานาชาติ

4.3.2 เพื่อจดั ทาํ ฐานขอ มูลการวิจยั อาชวี ศกึ ษาระหวา งประเทศ
4.3.3 เพ่ือประยุกตและพัฒนายุทธศาสตรและนโยบายการอาชีวศึกษาบน
พนื้ ฐานการวจิ ยั
4.3.4 เพ่ือขยายและสรางความรวมมือการวิจัยอาชีวศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและ
สากล
การเขา รว มประชมุ นานาชาติ ไดแก
- ปการศึกษา 2547 ไดดําเนินการจัดประชุมนานาชาติ เร่ือง “International
Research Conference on Vocational Education and Training” ระหวางวันที่ 13 -14
สงิ หาคม 2547 ณ ศนู ยก ารแสดงสินคาและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร
ประเทศผูเขารวมประชุม ไดแก Australia, Negara Brunei Darussalam, England, France,
The Federal Republic of Germany, Japan, Republic of Korea, Malaysia, Pakistan, The
United States of America, Thailand จํานวนประมาณ 200 คน 10 ประเทศ
- ปการศึกษา 2549 ไดดําเนินการจัดประชุมนานาชาติ เรื่อง “Integrating
Sustainable Development Issues into TVET: Poverty Alleviation, and Skills for
Employability, Citizenship and Conservation” ระหวางวันท่ี 10 – 13 สิงหาคม 2549 ณ
ศูนยการแสดงสินคาและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร ประเทศผูเขารวม
ประชุม ไดแก Australia, Bangladesh, Bhutan, Brunei Darussalam, Cambodia, China,

14

Finland, France, Republic of Germany, India, Indonesia, Iran, Korea, Lao PDR,
Malaysia, Mongolia, Mynmar, Nepal, Netherland, New Zealand, Pakistan, Papua New
Guinea, the Philippines, South America, Sri Lanka, Taiwan จํานวนประมาณ 200 คน 26
ประเทศ

- การประชุมผูเช่ียวชาญวิจัยนานาชาติ เร่ือง “International Consultation on
Education for Sustainable development: TVET Towards Teacher Education towards
Sustainability” ระหวางวนั ท่ี 19 – 25 สงิ หาคม 2550 ณ โรงแรมรอยลั ออคิด จงั หวัดเชียงใหม
ประเทศผูเขารวมประชุมไดแก Australia, Brunei Darussalam, Canada, China, Cyprus,
Republic of Germany, Hong Kong, India, Latvia, Lao P.D.R., Mynmar, Nepal,
Netherlands, Pakistan, Sri Lanka, Vietnam จาํ นวน 60 คน รวม 16 ประเทศ

- การเขารวมประชุมวิจัยนานาชาติ Expert Meeting at Teacher’s International
Conference in Bangkok ระหวา งวนั ที่ 25 – 28 ธันวาคม 2555

- การเขารวมแขงขันหุนยนตระดับโลก (World RoboCup 2013) ณ ประเทศ
เนเธอรแ ลนด ไดร ับรางวัลลาํ ดับที่ 2 ของประเภทหนุ ยนตกภู ยั

- การเขารวมประชุมเสนอผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ ณ กรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐ
เกาหลใี ต ปงบประมาณ พ.ศ. 2555 และ 2556

องคก รความรว มมือกับการวจิ ัยกับตา งประเทศ คือ
UNESCO-UNEVOC, APEID, InWent, York University (Canada), UNESCO
(Bangkok), Colombo Plan Staff College for Technician Education, แ ล ะ SEAMEO
VOCTECH

15

วัตถุประสงค

1. เพ่ือเปนกรอบแนวทางการบริหารจัดการงานวิจัยอาชีวศึกษาในสถานศึกษา
สถาบันการอาชวี ศกึ ษา และสาํ นักในสังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

2. เพ่ือเปนแนวทางการดําเนินงานการวิจัยอาชีวศึกษาสูการรองรับการประเมิน
คุณภาพภายนอกดานอาชีวศึกษา ในมาตรฐาน 2 การวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพ และสราง
ผลงานวิจยั อาชีวศึกษาใหมคี ณุ ภาพ มาตรฐานเปน ท่ยี อมรบั ในวงวชิ าการ

3. เพื่อเปนหลักการในการตัดสินใจและประเมินผลงานวิจัยอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพ
ไดม าตรฐาน สูการนําไปใชป ระโยชนเชงิ วิชาการ เชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย และเชิงพาณิชย

4. เพื่อเปนหลักการในการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณเพ่ือสงเสริม สนับสนุน
ขอเสนอ/โครงการวิจัยในสถานศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา และสํานักในสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

5. เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็ง การแลกเปลี่ยนประสบการณในเชิงวิชาการดานการ
วิจัยอาชีวศึกษาใหแกผูเรียน ผูสอนและผูใชผลงานวิจัยไดมีความรู ความสามารถงานวิจัยและ
พฒั นาการอาชีวศึกษาท่มี คี ุณคา ตอการนําไปใชใหเ กดิ ประโยชนสูงสุด

ขอบเขต

คูมือบริหารจัดการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมองคค วามรูการอาชวี ศึกษานี้ มีขอบเขต
ดานเน้ือหาในข้ันตอนการจัดทําขอเสนอการวิจัย การบริหารจัดการ และการดําเนิน
โครงการวจิ ยั อาชีวศกึ ษา โดยแบง ออกเปน 4 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 การบริหารจัดการงานวจิ ัยอาชีวศกึ ษา
ตอนท่ี 2 การจัดทาํ ขอ เสนอ/โครงการวิจัยอาชวี ศึกษา
ตอนท่ี 3 แนวทางการพิจารณาการประเมินขอเสนอ/โครงการวิจัยเพื่อขอรับการ
สนบั สนนุ งบประมาณการวจิ ัยของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ตอนที่ 4 การประเมินผลงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา

16

คาํ จาํ กัดความ

การวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Educational Research) หมายถึง การศึกษา
คนควา วิเคราะห ทดลองอยางเปนระบบ เพ่ือคนพบขอเท็จจริง หรือหลักการไปใชในการต้ังกฎ
ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ โดยมุงเนนในการพัฒนาองคความรูดานการพัฒนา
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดการอาชีวศึกษา เพ่ือนําไปใชประโยชนในการปรับปรุง
แกไ ขปญ หา และสงเสริมดานวิชาการทางการจดั การศึกษาและฝก อบรมวชิ าชพี

ก า ร กํ า ห น ด ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ก า ร วิ จั ย (Type of Research) อาจขึ้นอยูกับ
วตั ถปุ ระสงคข องการดําเนินการวิจยั การนาํ ไปใช ชนิดของการวิเคราะหขอมลู การวจิ ัย หรือตาม
สาขาวิชา ดังนั้น เพ่ือใหการดําเนินโครงการวิจัยอาชีวศึกษา เปนไปตามหลักสากล และเปนไป
ในทิศทางเดียวกนั กับการพจิ ารณาตรวจสอบขอเสนอการวจิ ัยของสํานกั งานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ (2558) ซึง่ อางถึงการแบงประเภทของการวิจัย ดงั น้ี

1. การวิจัยพื้นฐาน (basic research หรือ pure research หรือ theoretical research) เปน
การศึกษาคนควาในทางทฤษฎี หรือในหองทดลองเพ่ือหาความรูใหม ๆ เกี่ยวกับสมมุติฐานของ
ปรากฏการณ และความจริงที่สามารถสังเกตได หรือเปนการวิเคราะหหาคุณสมบัติโครงสรางหรือ
ความสัมพันธตาง ๆ เพ่ือตั้งและทดสอบสมมุติฐาน (hypothesis) ทฤษฎี (theories) และกฎตาง ๆ
(laws) โดยมิไดม งุ หวังทจี่ ะใชประโยชนโ ดยเฉพาะ

2. การวิจัยประยุกต (applied research) เปนการศึกษาคนควาเพ่ือหาความรูใหม
ๆ และมีวัตถุประสงคเพื่อนําความรูนั้นไปใชประโยชนอยางใดอยางหน่ึง หรือเปนการนําเอา
ความรูและวิธีการตาง ๆ ท่ีไดจากการวิจัยข้ันพ้ืนฐานมาประยุกตใชอีกตอหน่ึง หรือหาวิธีใหม ๆ
เพือ่ บรรลเุ ปา หมายท่ไี ดระบุไวแ นชดั ลว งหนา

3. การพัฒนาทดลอง (experimental development) เปนงานที่ทําอยางเปนระบบ
โดยใชความรูท่ีไดรับจากการวิจัยและประสบการณที่มีอยู เพ่ือสรางวัสดุ ผลิตภัณฑและ

17

เคร่ืองมือใหม เพื่อการติดต้ังกระบวนการ ระบบและบริการใหม หรือเพื่อการปรับปรุงสิ่งตาง ๆ
เหลาน้ันใหด ีขึน้

สาขาวิชาการ หมายถึง สาขาวิชาการ และกลุมวิชาของสภาวิจัยแหงชาติ
ประกอบดว ย

1. สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา
คณิตศาสตร และสถิติ ฟสิกส ดาราศาสตร วิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลกและอวกาศ ธรณีวิทยา
อทุ กวทิ ยา สมทุ รศาสตร อุตุนยิ มวทิ ยา ฟส กิ สข องส่ิงแวดลอม และอื่น ๆ ทเ่ี ก่ียวของ

2. สาขาวิทยาศาสตรการแพทย ประกอบดวยกลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย
แพทยศาสตร สาธารณสุข เทคนิคการแพทย พยาบาลศาสตร ทันตแพทยศาสตร สังคมศาสตร
การแพทย และอื่น ๆ ที่เกย่ี วขอ ง

3. สาขาวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช ประกอบดวยกลุมวิชา อนินทรียเคมี อินทรีย
เคมีชวี เคมี เคมีอุตสาหกรรม อาหารเคมี เคมีโพลเิ มอร เคมวี เิ คราะห ปโตรเลียม เคมีสิ่งแวดลอม
เคมีเทคนิค นิวเคลียรเคมี เคมีเชิงฟสิกส เคมีชีวภาพ เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห เภสัช
อตุ สาหกรรม เภสัชกรรม เภสชั วิทยาและพษิ วทิ ยา เคร่อื งสาํ อาง เภสชั เวช เภสัชชีวภาพ และอื่น
ๆ ท่เี กย่ี วขอ ง

4. สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา ประกอบดวยกลุมวิชา ทรัพยากรพืช การ
ปองกันกําจัดศัตรูพืช ทรัพยากรสัตว ทรัพยากรประมง ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรนํ้าเพ่ือ
การเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ระบบเกษตร ทรัพยากรดิน ธุรกิจการเกษตร วิศวกรรมและ
เครื่องจักรกลการเกษตร ส่ิงแวดลอ มทางการเกษตร วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ และอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง

5. สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ประกอบดวยกลุมวิชา
วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีพ้ืนฐานทางวิศวกรรมศาสตร วิศวกรรมอุตสาหกรรมวิจัย และ
อ่ืน ๆ ที่เกย่ี วขอ ง

6. สาขาปรัชญา ประกอบดวยกลุมวิชา ปรัชญา ประวัติศาสตร โบราณคดี วรรณคดี
ศลิ ปกรรม ภาษา สถาปต ยกรรม ศาสนา และอ่นื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ ง

18

7. สาขานิติศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน
กฎหมายอาญา กฎหมายเศรษฐกิจ กฎหมายธุรกิจ กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายวิธี
พจิ ารณาความ และอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ ง

8. สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา ความสัมพันธ
ระหวางประเทศ นโยบายศาสตร อุดมการณทางการเมือง สถาบันทางการเมือง ชีวิตทาง
การเมือง สังคมวิทยาทางการเมือง ระบบการเมือง ทฤษฎีการเมือง รัฐประศาสนศาสตร มติ
สาธารณะ ยทุ ธศาสตรเ พอ่ื ความม่ันคง เศรษฐศาสตรการเมอื ง และอ่ืน ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง

9. สาขาเศรษฐศาสตร ประกอบดวยกลมุ วชิ า เศรษฐศาสตร พาณชิ ยศาสตร บริหารธุรกจิ
การบญั ชี และอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ ง

10. สาขาสังคมวทิ ยา ประกอบดวยกลมุ วิชา สงั คมวทิ ยา ประชากรศาสตร มานุษยวิทยา
จิตวิทยาสังคม ปญหาสังคม สังคมศาสตร อาชญาวิทยา กระบวนการยุติธรรม มนุษย
นิเวศวิทยาและนิเวศวิทยาสังคม พัฒนาสังคมภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิศาสตรสังคม การศึกษา
ความเสมอภาคระหวา งเพศ คตชิ นวทิ ยา และอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วของ

11. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร โทรคมนาคม การสื่อสารดวยดาวเทียม การส่ือสารเครือขาย การสํารวจ
และรับรูจ ากระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร สารสนเทศศาสตร นิเทศศาสตร บรรณารกั ษ
ศาสตร เทคนิคพิพธิ ภณั ฑแ ละภณั ฑาคาร และอืน่ ๆ ท่เี กีย่ วขอ ง

12. สาขาการศึกษา ประกอบดวยกลุมวิชา พื้นฐานการศึกษา หลักสูตรและการ
สอนการวัดและประเมินผลการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา บริหารการศึกษา จิตวิทยาและการ
แนะแนวการศกึ ษา การศกึ ษานอกโรงเรยี น การศึกษาพเิ ศษ พลศึกษา และอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วขอ ง

สาขาวชิ าการวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ งกับการวิจัยอาชวี ศกึ ษา

สาขาวิชาการที่ไดดําเนินการวิจยั อาชีวศึกษา อาจสามารถจําแนกออกเปนสาขาวิชา
การทีเ่ ก่ยี วขอ ง ไดด งั ตอไปนี้

1. สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร ประกอบดวยการวิจัยที่เก่ียวของกับ
พัฒนาคมู ือการสอนในสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เปน ตน

19

2. สาขาวิทยาศาสตรเคมี ประกอบดวยการวิจัยทางดานปโตรเลียม ปโตรเคมี และ
เคมีสิ่งแวดลอ ม เปน ตน

3. สาขาเกษตรศาสตร ประกอบดวยการวิจัยทางดานสาขาพืชศาสตร สัตวศาสตร
การปองกันกําจัดศัตรูพืช การประมง ทรัพยากรดิน วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร
สิง่ แวดลอ มทางการเกษตร

4. สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมการวิจัย ประกอบดวยการวิจัย
ทางดานเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร วิศวกรรมอุตสาหกรรมวิจัย และการผลิต
คิดคนสิง่ ประดษิ ฐ เปน ตน

5. สาขาปรัชญา ประกอบดวยการวจิ ัยทางดานวฒั นธรรม ภาษา วรรณคดีทอ งถนิ่
6. สาขาเศรษฐศาสตร ประกอบดวยการวิจัยทางดานการพัฒนากําลังคนดาน
อาชีวศึกษา ความตอ งการกําลังคนดานการอาชวี ศกึ ษา และแนวโนมการผลิตกําลงั คน เปน ตน
7. สาขาสังคมวิทยา ประกอบดวยการวิจัยสังคมวิทยา ประชากรศาสตร ปญหา
สงั คม พัฒนาสงั คม และภูมิปญ ญาทองถนิ่ เปนตน
8. สาขาการศึกษา ประกอบกวยการวิจัยดานเทคโนโลยีการอาชีวศึกษา การวัดและ
ประเมินผลการอาชีวศึกษา บริหารการอาชีวศึกษา หลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา พ้ืนฐาน
การอาชีวศกึ ษา และการอาชีวศึกษาเพื่อคนพิการ เปนตน

การบริหารจัดการการวิจัยอาชีวศึกษา (TVET Research Management)
หมายถึง การจัดการงานวิจัยอาชีวศกึ ษาใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการอาชีวศึกษา เชน การพัฒนาขอเสนอการวิจัย การติดตาม
ประเมนิ ผลการประชุมสัมมนาหรอื ฝกอบรมท่ีเกย่ี วกับการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศการ
วิจยั การเผยแพรผ ลงานวิจยั และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วขอ ง รวมถงึ การสงเสรมิ การนาํ องคค วามรู
เทคโนโลยี นวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ ไปใชพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ และการเรียนการ
สอน และสามารถนําไปสูในการพัฒนาเชิงพาณิชย ตลอดจนการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
เครอื ขายงานวิจยั และการจัดการความรูงานวจิ ยั อาชวี ศกึ ษาท้ังในประเทศ และระดบั นานาชาติ

ขอเสนอการวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Proposal)

หมายถึง เคาโครงสาระสําคัญขององคประกอบตาง ๆ ของการวิจัย ซ่ึงโดยทั่วไปจัดทําข้ึนใน

20

ระดับโครงการวิจัย (Research Project) หรือแผนงานวิจัย หรือชุดโครงการวิจัย (Research
Program) เพ่ือขอทําวิจัยตามความมุงหมาย ระเบียบและขอกําหนดของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

โครงการวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Project)

หมายถึง เคาโครงสาระสําคัญในการศึกษาคนควา วิเคราะหหรือทดลองอยางมีระบบท่ีแนนอน
โดยมีรายละเอียดหัวขอในการดําเนินงาน เชน ช่ือเร่ือง ความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ระเบียบวิธีการวิจัย งบประมาณคาใชจาย ระยะเวลาดําเนินงาน
หนว ยงานทร่ี ับผดิ ชอบในสงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เปน ตน

แผนงานวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Program)

หมายถึง การวิจัยขนาดใหญ ท่ีมีความเชื่อมโยงกันหลายแผนงานวิจัยยอย (Research Sub-
programs) หรือหลายโครงการวิจัย (Research Projects)ท่ีสอดคลอง สัมพันธ สนับสนุนกัน
เปนสหสาขาวิชาการหรือครบวงจร นําไปสูเปาหมายและวัตถุประสงคของการวิจัยรวมกันเปน
หน่ึงเดียว โดยมีหนวยงานรวมดําเนินการหลายหนวยงาน เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการ
พัฒนาการอาชวี ศกึ ษาในระดับประเทศ

นั ก วิ จั ย อ า ชี ว ศึ ก ษ า (Vocational Education Researcher) หมายถึง

ขาราชการพลเรือน ครูและบุคลากรทางการอาชีวศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา ผูซึ่งขอรบั ทําวิจัยโดยการไดรับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจากสถานศึกษา/
สํานัก/สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

การประเมินผลการวิจัยอาชวี ศึกษา (Vocational Education Research
Evaluation) หมายถึง กระบวนการที่ผูวิจัยใชในการประเมินการปฏิบัติงานวิจัยอาชีวศึกษา

เพื่อทาํ ใหทราบวา ผลงานวิจัยไดผลดมี ากนอ ยเพยี งใด เปนการบอกแนวทางวา “จะวัดความสําเร็จ
ไดดวยวิธีใด” จะใชวิธีการอยางไรจึงจะเหมาะสม ซึ่งผลการประเมินสามารถนํามาพิจารณา
ประกอบการดาํ เนินการหรอื เตรียมโครงกาวจิ ยั ใหมีคุณภาพและมาตรฐาน

21

1ตอนท่ี

การบริหารจดั การงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา

22

การบรหิ ารจัดการงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา

สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประสิทธภิ าพ
และประสิทธิผลการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพไดอยางยั่งยืน โดยมีเทคนิคกลยุทธและ
มาตรการในการดําเนินงานท่ีสําคญั คือความสามารถในการบูรณาการกระบวนการวิจัยในการ
บริหารจัดการโครงการวิจัยอาชีวศึกษา ดังน้ันภายใตการบริหารจัดการอาชีวศึกษาจึงได
กําหนดใหมีสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาขึ้น เพ่ือทําหนาที่สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานระดับสํานักและสถานศึกษาใน
สังกัด ใหมีความรูความเขาใจสามารถดําเนินการวิจัยและพัฒนาอยางบูรณาการในสวนที่
เก่ียวของกับการจัดการอาชีวศึกษา โดยมุงเนนพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอาชีวศึกษาทั้งทาง
ทักษะทางดานวิชาการ (Academic Skills) และทักษะทางดานการทํางาน (Employability
Skills) ตลอดจนการพฒั นาการสรางเครือขา ยการวจิ ัยอาชีวศกึ ษาทงั้ ในและตา งประเทศ

สํานกั วจิ ัยและพฒั นาการอาชีวศึกษา

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ
กฎกระทรวงการแบง สว นราชการของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มผี ลบังคบั ใชทํา
ใหกรมอาชีวศึกษาเปลี่ยนแปลงเปน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พรอมทั้งแบงสวน
ราชการและหนวยงานภายในเปล่ียนแปลงเปนสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่
4/2546 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 และภายใตการปฏิรูประบบราชการ สํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดมีการปรับโครงสรางภายใน สํานักวิจัยและพัฒนาการ
อาชวี ศึกษาจงึ ไดมกี ารปรับภารกิจ บทบาท และภาระหนา ที่ ดงั น้ี

23

บทบาทและภาระหนา ที่

มอี ํานาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้
1. วิจัยและพัฒนาองคความรูดานตางๆ ท่ีเก่ียวกับการอาชีวศึกษาเพ่ือ

ประกอบการเสนอแนะแนวนโยบาย แผนงาน โครงการ ความตองการกาํ ลงั คนดา นอาชีวศึกษา
และฝกอบรมวชิ าชีพ

2. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอนและการบริหารจัดการการอาชีวศึกษา
ของสถานศกึ ษา

3. สงเสริม ผลิต พัฒนาและเผยแพรนวัตกรรมส่ิงประดิษฐทางการอาชีวศึกษาและ
วชิ าชพี เพื่อพฒั นาเทคโนโลยีการอาชีวศกึ ษาและคุณภาพของนกั เรยี นนกั ศกึ ษา

4. รวบรวมการศกึ ษา วเิ คราะห สงั เคราะห จัดทําสารสนเทศงานวิจัยอาชวี ศึกษา
5. ปฏิบัติงานรวมกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบตั ิงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวขอ งหรือ
ไดรบั มอบหมาย
แบงงานภายในออกเปน 5 กลุม ประกอบดว ย
- กลุมบริหารงานทั่วไป
- กลุมวิจยั นโยบายและยุทธศาสตร
- กลมุ วิจยั การจัดการอาชวี ศึกษา
- กลมุ วิจยั และพฒั นานวตั กรรมอาชีวศกึ ษา
- กลุม เผยแพรแ ละสงเสริมสทิ ธปิ ระโยชน

มหี นา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบดังน้ี
1. กลมุ บรหิ ารงานทว่ั ไป มีหนา ที่และความรบั ผิดชอบ
1.1 ดําเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานบริหารหรือจัดการทั่วไป

สารบรรณ ธุรการ การเงินและงบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ ยานพาหนะ พิมพเอกสารราชการ
และวชิ าการ

1.2 ดําเนนิ การและประสานงานเก่ียวกับงานบคุ ลากร ประชาสัมพนั ธ และเผยแพร
ฝกอบรมและพฒั นางาน สถิตขิ อมลู และระบบเครือขายสารสนเทศการวิจยั

24

1.3 วิเคราะห รวบรวม ติดตาม รายงานผลการดําเนินงานและหรือปฏิบัติงาน
ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมและงบประมาณในภาพรวมของสํานัก หนวยงานที่ไมอยูใน
ความรับผดิ ชอบของกลมุ กลมุ งานใดเปนการเฉพาะ

1.4 ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ที่เก่ยี วของหรือได รับมอบหมาย

2. กลมุ วจิ ยั นโยบายและยทุ ธศาสตร มหี นา ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ
2.1 วิเคราะห วิจัย สังเคราะหองคความรูตางๆ และสงเสริมสนับสนุนการวิจัย

ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมแนวทางการจัดอาชีวศึกษา
ทั้งในและตางประเทศโดยมุงเนนตนแบบและรูปแบบที่เหมาะสมหรือประสบผลสําเร็จ เพ่ือเปน
ขอมูลและแนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรในการพัฒนาการอาชีวศึกษา การ
วางแผนการผลติ กาํ ลงั คนตามความตอ งการของตลาดแรงงาน

2.2 จัด รวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาท่ีความรับผิดชอบ
เพื่อจัดทาํ เปนคูม ือ แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอน่ื ๆ ในการใหบรกิ ารและเผยแพรสสู าธารณะ

2.3 เสริมสรางความเขมแข็ง ขยาย และพัฒนาเครือขายวิจัยนโยบายและ
ยุทธศาสตรก ารอาชีวศกึ ษา

2.4 ใหคําปรึกษา แนะนํา ชแี้ จงเกย่ี วกบั งานในหนาทค่ี วามรบั ผิดชอบ
2.5 ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วของหรอื ไดร ับมอบหมาย

3. กลมุ วจิ ยั การจัดการอาชีวศกึ ษา มีหนา ทีแ่ ละความรับผิดชอบ
3.1 วิเคราะห วิจัย สังเคราะห องคความรูตางๆและสงเสริมสนับสนุน การวิจัย

เพื่อกําหนดรูปแบบ แนวทาง องคความรูใหมเก่ียวกับการบริหาร การจัดการเรียนการสอน
อาชีวศกึ ษา การจัดการคาใชจ าย ดชั นชี ีว้ ดั การจดั ทรัพยากร ส่ือ การพัฒนาความรว มมอื การตลาด
การวิจัยอยางงาย วิจัยในช้ันเรียน การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ คุณวุฒิวิชาชีพ เสนทางอาชีพ
และการพฒั นากาํ ลังคนอาชีวศกึ ษา

3.2 จัด รวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาท่ีความรับผิดชอบ
เพอื่ จัดทาํ เปน คมู อื แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอนื่ ๆ ในการใหบริการและเผยแพรสสู าธารณะ

3.3 เสริมสรางความเขมแข็ง ขยายและพัฒนาเครือขายวิจัยการจัดการ
อาชวี ศึกษา

25

3.4 ใหคาํ ปรึกษา แนะนําชแี้ จงเกยี่ วกับงานในหนา ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ
3.5 ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วของหรอื ไดรับมอบหมาย
4. กลุมวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมอาชวี ศกึ ษา มหี นาที่และความรับผดิ ชอบ
4.1 ศึกษา วเิ คราะห วจิ ยั และสงเสรมิ พฒั นาสงิ่ ประดษิ ฐ นวัตกรรม หนุ ยนต
อาชวี ศึกษา ทงั้ ตอยอดและตนแบบ เพือ่ เสรมิ สรา ง และพฒั นาขดี ความสามารถและศักยภาพ
ของครู ผูสอน ผเู รียน และผสู ําเรจ็ การอาชวี ศกึ ษา
4.2 จัด รวบรวม องคความรทู ต่ี รงหรือเกยี่ วกับงานในหนา ทีค่ วามรับผิดชอบ
เพอ่ื จดั ทาํ เปน คูมอื แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอื่น ๆ ในการใหบ รกิ ารและเผยแพรสสู าธารณะ
4.3 ใหค ําปรกึ ษา แนะนาํ ชี้แจงเก่ยี วกับงานในหนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ
4.4 ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งหรือไดรับมอบหมาย
5. กลุม งานเผยแพรและสงเสริมสทิ ธปิ ระโยชน มหี นา ทแ่ี ละความรับผิดชอบ
5.1 ศึกษาวิเคราะหวิจัยสงเสริม ดําเนินการและประสานงานดานโครงงาน
วิทยาศาสตร การคุมครองทรัพยสินทางปญญา และการจัดการเชิงพาณิชย ธุรกิจ การตลาด
นาํ ไปสกู ารผลติ เพ่ือจําหนา ย การพัฒนาทักษะนกั ศกึ ษาใหเ ปน ผูป ระกอบการ
5.2 จัดทําสารสนเทศทางวิชาชีพและขอมูลสิ่งประดิษฐอาชีวศึกษา พรอมท้ัง
จัดรวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาที่ความรับผิดชอบ เพ่ือจัดทําเปนคูมือ
แนวทางหรือส่ือประเภทอื่น ๆ ในการใหบ รกิ ารและเผยแพรส สู าธารณะ
5.3 ใหคําปรึกษา แนะนํา ชแ้ี จงเกี่ยวกบั งานในหนาที่ความรับผดิ ชอบ
5.4 ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวของหรือไดร บั มอบหมาย

26

ภาพที่ 7 กรอบการเชื่อมโยงการบรหิ ารจดั การงานวิจยั ของสาํ นกั วจิ ยั และ
พัฒนาการอาชวี ศึกษา กบั หนวยงานอน่ื

27

วิสยั ทัศนก ารวจิ ัยและนวตั กรรม
องคค วามรูก ารอาชีวศึกษา

สอศ.จะเปน องคก รหลกั การบูรณาการและสรางองคความรู
การวิจยั และนวัตกรรมวิชาชพี เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน

ใหส อดคลองกบั เปา หมายการพฒั นาประเทศไทย
ภายใตปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกิจ
1. พฒั นาศักยภาพและขีดความสามารถดา นการวิจยั และพฒั นาของ
บุคลากรนกั วจิ ยั อาชวี ศกึ ษา
2. สง เสริมและสนบั สนนุ การวิจัยและนวัตกรรมองคค วามรูวชิ าชพี เพอื่
การพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา
3. พฒั นาการจัดการองคค วามรูการวจิ ยั อาชวี ศึกษา เชื่อมโยง
อตุ สาหกรรม สังคมและภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่
4. สง เสรมิ สทิ ธปิ ระโยชนและคุมครองทรพั ยสินทางปญญาการ
อาชีวศึกษา
5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการเครือขา ยนวัตกรรมองคค วามรวู ชิ าชพี

ยทุ ธศาสตร
ยทุ ธศาสตรท ี่ 1: การสรา งและพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรนกั วิจัยอาชีวศกึ ษา มงุ เนน สาขาวชิ า

เพ่ือการพฒั นานวตั กรรมวชิ าชพี
ยทุ ธศาสตรท่ี 2: การสง เสริมการวจิ ยั แบบบูรณาการ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นอาชีวศึกษา

มงุ เนน กระบวนการพฒั นาการคิดคดิ สรางสรรคและเปนระบบ
ยทุ ธศาสตรท่ี 3: การวิจยั และพัฒนาตามเปา หมายหลักของอตุ สาหกรรม ตามโมเดล

Thailand 4.0 เพ่อื สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกจิ และแขง ขันไดอ ยางย่งั ยืน

28

ยุทธศาสตรท ่ี 4: การสง เสริมการมีสว นรว มการวจิ ยั ของทกุ ภาคสว นเพอ่ื การพัฒนาสังคม
สง่ิ แวดลอ มและภูมิปญญาทอ งถนิ่

ยทุ ธศาสตรท ่ี 5: การสง เสริมและการใชประโยชนเ ชงิ พาณิชยดา นวจิ ัยและพฒั นา
อาชวี ศึกษาเพอื่ ความมน่ั คง

ยทุ ธศาสตรท ี่ 6: การพฒั นาระบบการบริหารจดั การและเครอื ขา ยการวิจัย
อาชีวศึกษาทง้ั ในและตางประเทศเพ่ือการพฒั นาทางวทิ ยาการ

การเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรก ารวจิ ยั และนวตั กรรมองคความรกู ารอาชวี ศกึ ษา

กับนโยบายและยุทธศาสตรก ารวิจัยของประเทศ

ยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตรก าร แผนการศึกษา (ราง) (ราง)
ชาตริ ะยะ 20 พัฒนาประเทศตาม แหง ชาติ ยทุ ธศาสตรก าร ยทุ ธศาสตรการวจิ ยั
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ (พ.ศ. 2560- วิจัยและนวัตกรรม และนวตั กรรมองค
ป และสังคมแหงชาติ 2574) 3/ แหงชาติ 4/ ความรูก ารอาชวี ศึกษา
(พ.ศ. 2560 – ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. (พ.ศ. 2560-2564)
2560-2564)2/ 3. การพัฒนา 1. การวจิ ยั และ
2579) 1/ 1.การเสรมิ สรางและ ศักยภาพคนทุกชวง นวตั กรรม เพอื่ สรา ง 1. การสรางและพัฒนา
3. ยทุ ธศาสตร พฒั นาศักยภาพทนุ วัยและการสรา ง ความม่งั คง่ั ทาง ศกั ยภาพบุคลากร นกั วจิ ัย
ดา นการพฒั นา มนุษย สงั คมแหง การเรียนรู เศรษฐกิจ อาชีวศกึ ษามุงเนน สาขาวิชา
และเสรมิ สราง เพ่ือการพัฒนานวัตกรรม
กําลงั คน 2. การสรา งความเปน 4. การสรา งโอกาส วชิ าชพี
ธรรมลดความเหล่ือม ความเสมอภาคและ
4. ยุทธศาสตร ล้ําทางสังคม ความเทาเทยี มทาง 2. การสง เสริมการวจิ ัยแบบ
ดานการสราง การศกึ ษา บรู ณาการ เพ่อื พัฒนา
โอกาสความ 3.การสรา งความ คุณภาพผูเรยี นอาชวี ศึกษา
เสมอภาคและ เขม แข็งทางเศรษฐกิจ 2. การผลิตและ มงุ เนนกระบวนการพัฒนา
ความเทาเทยี ม และแชงขนั ไดอยา ง พฒั นากาํ ลงั คน การ การคดิ คดิ สรางสรรคและเปน
กนั ในสงั คม ย่งั ยนื วิจัยและนวตั กรรม ระบบ
2. ยทุ ธศาสตร เพอื่ สรา งขีด
ดาน ความสามารถในการ 3. การวิจัยและพัฒนาตาม
ความสามารถ แขง ขนั ของประเทศ เปา หมายหลกั ของ
ในการแขง ขัน อุตสาหกรรม ตามโมเดล
Thailand 4.0 เพอ่ื สราง
ความเขม แขง็ ทางแศรษฐกจิ
และแขง ขนั ไดอยา งยง่ั ยืน

29

5. ยุทธศาสตร 4.การเตบิ โตที่เปน มิตร 5. การจดั การศกึ ษา 2. การวจิ ัยและ 4. การสง เสรมิ การมี
ดานการสราง กบั สิง่ แวดลอมเพ่อื การ เพ่ือสรางเสริม นวัตกรรม เพ่อื การ สวนรวมการวจิ ัยของทุก
ความเติบโตบน พัฒนาท่ียั่งยืน คุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน พัฒนาสังคมและ ภาคสว น เพอื่ การพฒั นา
คุณภาพชวี ิตท่ี มิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม ส่งิ แวดลอ ม สงั คม สิง่ แวดลอมและภมู ิ
เปน มติ รตอ 5. ความมน่ั คง ปญ ญาทอ งถน่ิ
ส่ิงแวดลอ ม 1. การจดั การศกึ ษา 3. การวจิ ยั และ
เพ่ือความม่ันคงและ นวตั กรรม เพอ่ื การ 5. การสง เสริมและการใช
1. ยทุ ธศาสตร ประเทศชาติ สรา งองคค วามรู ประโยชนเ ชงิ พาณิชยดาน
ดา นความ พื้นฐานของประเทศ วจิ ัยและนวัตกรรม
มั่นคง อาชวี ศึกษา เพ่ือความ
มน่ั คง

6. ยุทธศาสตร 6. การเพิ่มประสิทธภิ าพ 6. การพัฒนา 4. การพัฒนา 6. การพฒั นาระบบการ
โครงสรา งพ้นื ฐาน บริหาร จดั การและเครอื ขา ย
ดานการปรับ การบริหารจดั การใน ประสิทธภิ าพของ บุคลากร และระบบ การวิจยั อาชวี ศึกษาทง้ั ใน
วจิ ัยและนวัตกรรม และตา งประเทศเพื่อการ
สมดุลและพฒั นา ภาครัฐและธรรมาภบิ าล ระบบการบรหิ ารจัด ของประเทศ พฒั นาทางวิทยาการ

ระบบการบรหิ าร ในสงั คมไทย การศกึ ษา

จัดการภาครัฐ

7. การพัฒนา

โครงสรางพ้ืนฐานและ

ระบบโลจสิ ติกส

8. วิทยาศาสตร

เทคโนโลยี วิจัยและ
นวัตกรรม

9. การพัฒนาภูมิภาค
เมอื ง และพ้ืนท่เี ศรษฐกิจ

10. ความรว มมอื
ระหวา งประเทศ เพื่อการ

พัฒนา

1/ ยทุ ธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)
2/ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2560-2564)
3/ แผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ. 2560-2574)
4/ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579)

30

31

32

เสน ทางการจดั ทาํ ขอเสนอ/โครงการวิจยั อาชีวศกึ ษา

(Road Map for Research Project/Program for TVET)

การบริหารจัดการงานวิจัยอาชีวศึกษา สามารถกําหนดแนวทางการบริหารจัดการ
โดยกําหนดเปนภาพของเสนทางการจัดทําขอเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอรับการสนับสนุน
งบประมาณหมวดเงินอุดหนุนท่ัวไป ภายใตงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา ดังภาพที่ 9 กลาวคือ กลมุ วิจยั นโยบายและยทุ ธศาสตร มงุ เนนการดาํ เนินการ ดงั น้ี

1. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยและสรางองคความรู เพื่อสนับสนุนใหผูสนใจจัดทําขอเสนอ
การวิจัยอาชีวศึกษา โดยอาจเปนโครงการวิจัยเด่ียว (ว1 ด) หรือชุดโครงการวิจัย ( ว1 ช)
จากนนั้ ผวู ิจยั เสนอผานผูบ รหิ ารสถานศึกษาตามลําดบั สงสํานกั วิจยั และพฒั นาการอาชีวศึกษา
พิจารณาตรวจสอบคุณภาพขอเสนอการวิจัยอาชีวศึกษา โดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิใน
ระดับสํานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา และรวบรวมเสนอเพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติจากเลขาธกิ าร
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

2. เสนอขอมูลตอสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โดยผานระบบทาง
อินเทอรเน็ต ภายใตการบริหารจัดการของหัวหนาผูประสานงานและผูประสานงานของกลุม
วจิ ัยนโยบายและยุทธศาสตร สาํ นักวิจยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา

3. สํานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง ชาติพิจารณาตรวจสอบคุณภาพขอเสนอการวิจัย
ตามหลกั ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ตามประเภทและสาขาการวิจยั

4. สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาประสานงานสํานักงบประมาณ เพ่ือพิจารณา
ของบประมาณการวิจยั ในการผลักดนั และสนับสนุนการเสนอของบประมาณการวจิ ัยสรา งองค
ความรูการวจิ ัยอาชีวศึกษา

5. แจง ผลโครงการวจิ ัยที่ผา นการไดร ับการพจิ ารณาอนุมตั ิตอสถานศึกษา
6. ประสานสํานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา เพื่อโอนงบประมาณโครงการวิจัย
ตอผไู ดรับการพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณการวจิ ัย
นอกจากน้ี มีความจําเปนตองติดตามผลการดําเนินโครงการวิจัย เพื่อควบคุมคุณภาพ
ผลงานวิจัยอาชีวศึกษา รวมถึงการจัดเวทีวิชาการเพื่อเปดโอกาสใหนักวิจัยนําเสนอผลงานวิจัย
สูสาธารณะ เพื่อตรวจสอบคุณภาพงานวิจัยอีกระดับหนึ่ง ท้ังนี้ในปจจุบันสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดนโยบายการสนับสนุนการวิจัย โดยนักวิจัยสามารถสง
ขอเสนอการวิจัย เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยอาชีวศึกษาในหมวดงบประมาณ
ดําเนนิ การ

33

34

35

ภาระหนาที่การบรหิ ารจดั การในสถานศึกษา/สถาบนั การอาชีวศึกษา

การบริหารจัดการวิจยั ในสถานศกึ ษา สามารถแบง ความรับผิดชอบท่ีเกย่ี วของได ดงั นี้

1. สถานศกึ ษา มหี นาที่ ดังน้ี
1.1 สงเสริมสนับสนนุ และพัฒนาการดาํ เนินการวิจยั อาชีวศึกษาใหแกขา ราชการครู

และบุคลากรทางการศึกษา
1.2 จัดทําแผนงบประมาณประจาํ ปใหครอบคลมุ กับภาระงานวจิ ยั อาชีวศึกษา
1.3 นาํ เสนอแผนงานวิจัยอาชวี ศึกษาตอ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
1.4 นาํ แผนทไ่ี ดร ับการอนมุ ัตแิ ลว แจงผทู ี่เก่ยี วของเพ่อื ดําเนนิ การ
1.5 ควบคุมกํากับการใชเงินงบประมาณเพ่ือการวิจัยอาชีวศึกษาใหเปนไปตาม

แผนงบประมาณเพอ่ื การพัฒนาการวจิ ยั
1.6 กาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการวิจัยอาชวี ศึกษา

2. นักวจิ ยั อาชีวศกึ ษา มหี นา ท่ี ดงั นี้
2.1 ศึกษารายละเอียด รูปแบบ วิธีการ และแนวทางการจัดทําขอเสนอ/

โครงการวิจัย
2.2 จัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัยใหไดคุณภาพ ตามระเบียบวิธีวิจัยเพ่ือการ

พฒั นาการอาชีวศกึ ษา
2.3 เสนอโครงการวิจัยตามขนั้ ตอน และระยะเวลาที่กาํ หนด
2.4 ดําเนินโครงการวิจัยที่ไดรับอนุมัติแลวใหแลวเสร็จตรงตามวัตถุประสงค

ของโครงการวิจยั
2.5 เขียนรายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณตามรูปแบบท่กี ําหนด
2.6 นําเสนอรายงานการวิจัยตอผูบริหารสถานศึกษา และหนวยงานท่ี

เก่ยี วขอ ง
2.7 นาํ เสนอ และเผยแพรผลงานวิจัยในระดับสถานศกึ ษา และระดับอื่นๆตาม

ความเหมาะสม

36

3. หวั หนางานวจิ ัย มีหนา ท่ี ดงั นี้
3.1 สงเสริมและประสานงานขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให

ไดร บั ทราบความเคล่อื นไหวการวิจัยและพฒั นาการอาชีวศกึ ษา รวมถึงการเลง็ เหน็ ความสําคญั
3.2 รวบรวมขอเสนอ/โครงการวจิ ัยจากนักวิจยั
3.3 ตรวจสอบเอกสารโครงการวิจยั ใหเ ปน ไปตามระเบยี บและขอ กาํ หนด
3.4 เสนอเอกสารโครงการวจิ ัยตอคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาตามลําดับ

เพื่อพจิ ารณาการขอรับการสนับสนุนการดาํ เนนิ โครงการวจิ ัย
3.5 สง เสรมิ และประสานงานเพอื่ เผยแพรผ ลงานวิจยั ในรูปแบบตาง ๆ
3.6 จดั ทาํ ระบบฐานขอ มลู งานวิจัยของสถานศึกษาใหเปนหมวดหมูปจจบุ ัน

4. รองผอู าํ นวยการฝายแผนงานและความรว มมือ มีหนา ท่ี ดังนี้
4.1 กํากับแผนบริหารงานวิจัยประจําปงบประมาณของสถานศึกษา
4.2 รวบรวมและตรวจสอบคุณภาพโครงการวิจัยตามระเบียบวธิ วี จิ ยั
4.3 จําแนกประเภทงานวจิ ัยตามแผนงานและงบประมาณ
4.4 เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาการสนับสนุนงบประมาณสถานศึกษา

ในการดาํ เนินโครงการวจิ ัย
4.5 ติดตาม ควบคุม ใหคําแนะนําปรึกษาและรายงานผลความกาวหนาการ

ดาํ เนนิ โครงการวิจยั
4.6 ตรวจสอบการจัดทํารายงานผลการวิจัย
4.7 สงเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธเก่ียวกับการพัฒนาการดําเนิน

โครงการวจิ ัยอาชวี ศึกษาในสถานศกึ ษา

5. ผูบริหารสถานศกึ ษา มีหนาที่ ดงั น้ี
5.1 อนุมัติโครงการวิจัยอาชีวศึกษาท่ีไดรับการสนับสนุนการดําเนินโครงการ

จากงบประมาณของสถานศกึ ษา
5.2 กรณีโครงการวิจัยที่ใชแหลงทุนวิจัยจากภายนอกสถานศึกษาใหพิจารณา

ดําเนนิ การตามขน้ั ตอนและเปน ไปตามระเบียบของแหลงทุนวจิ ยั

37

ประโยชน 5.3 สนับสนนุ ภาระงานทเี่ กีย่ วของกับการวจิ ยั อาชวี ศกึ ษา
5.4 แสวงหาความรว มมอื และแหลง สนับสนนุ การวิจัย
5.5 สงเสริมและสนับสนุนใหมีเวทีนําเสนอผลงานวิจัยอาชีวศึกษาสูการใช

5.6 สรา งแรงจงู ใจ ใหขวัญและกําลังใจแกน กั วจิ ัย

38

2ตอนท่ี

การจัดทําขอเสนอการวจิ ัยอาชีวศกึ ษา

39

การจดั ทาํ ขอเสนอ/โครงการวจิ ัยอาชวี ศกึ ษา

สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา ไดรับมอบหมายใหเปนผูประสานงานและ
สนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยในหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซ่ึงการดําเนินการข้ันตอนการพิจารณาจัดสรรงบประมาณการ
วิจัยใหแกหนวยงานในสังกัด จําเปนที่จะตองดําเนินการพิจารณาและรวบรวมขอเสนอ/
โครงการวิจัยตอผูบริหารระดับสูงของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสงตอไปยัง
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติเพ่ือพิจารณาและตรวจสอบขอเสนอ/โครงการวิจัยให
เปนไปอยางมีคุณภาพไดมาตรฐานการวิจัยระดับสากล ดังน้ัน รูปแบบการจัดทําขอเสนอ/
โครงการวิจัยอาชีวศึกษา จึงใชแบบฟอรมขอเสนอ/โครงการวิจัยตามรูปแบบของสํานักงาน
คณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ดงั รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก

องคประกอบของการจัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัย เพื่อขอรับการสนับสนุน

งบประมาณการดาํ เนนิ โครงการวจิ ยั ประจาํ ป ตามมติคณะรัฐมนตี ประกอบดวย
• รายละเอยี ดวธิ ีการทาํ งานของแตล ะขน้ั ตอนยอย
• เอกสาร/ระเบียบ ทใ่ี ชป ระกอบการดาํ เนินการ
• แบบฟอรม
• ผูรบั ผดิ ชอบ

รายละเอยี ดวิธีการทาํ งานของแตล ะขนั้ ตอนยอ ย มีข้ันตอนดงั ตอ ไปนี้
• จดั ทําขอเสนอ/โครงการวจิ ยั
• ดําเนนิ โครงการวจิ ยั
• รายงานความกา วหนาของการดําเนินโครงการวิจยั
• จัดทํารายงานผลการวจิ ยั

การจัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัย ผูวิจัยจะตองเสนอโครงการวิจัยตาม

แบบฟอรมทีก่ ําหนดดงั ตอ ไปนี้

40

ผูว ิจัยจะทําการวิจัย จะตองมีการวางแผนงานเกยี่ วกับเรื่องที่จะทําการวิจัยไวลวงหนา
การเขียนขอเสนอ/โครงการวิจัย นอกจากจะทําใหผ วู ิจยั ทราบข้ันตอนและรายละเอียดในแตละ
ข้ันตอนของการทําวิจัยแลว ยังใชเปนเครื่องมือในการพิจารณาขออนุมัติทุนวิจัย หรือขอทุน
สําหรับทําวิจัยอีกดวย เพ่ือใหผูพิจารณาอนุมัติเชื่อวา การวิจัยที่จะทํานั้นมีระเบียบวิธีการวิจัยที่
ดี มีความเปนไปไดในการดําเนินโครงการวิจัยใหสําเร็จ และเกิดประโยชนสามารถนําไป
ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ไ ด ซ่ึ ง ส ม ค ว ร ไ ด รั บ ก า ร อ นุ มั ติ ใ ห ทํ า ก า ร วิ จั ย ไ ด ( www. E-
learning.vec.go.th/elearning/
.../reseachProposalWriting.doc)

องคป ระกอบของโครงการวจิ ยั
โครงการวิจยั ควรมอี งคป ระกอบสาํ คัญดงั นี้

1. ชือ่ เรอื่ ง
2. ความสําคญั และท่มี าของปญหาการวจิ ัย
3. วัตถุประสงคของการวจิ ยั
4. คําถามของการวจิ ยั
5. ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ ง
6. สมมติฐาน* และกรอบแนวความคดิ ในการวจิ ัย*
7. ขอบเขตของการวิจัย
8. การใหคาํ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตทิ ี่จะใชใ นการวจิ ัย*
9. ประโยชนท คี่ าดวาจะไดรับจากการวิจยั
10. ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย
11. ระยะเวลาในการดําเนนิ งาน
12. งบประมาณคาใชจ า ยในการวจิ ัย
13. บรรณานกุ รม
14. ภาคผนวก*
15. ประวัติของผดู าํ เนินการวจิ ยั
* ไมจ ําเปน ตอ งมที กุ โครงการ

41

รายละเอียดขององคป ระกอบขอเสนอ/โครงการวิจัย

1.ชือ่ เร่อื ง (Title)

ชือ่ เรอ่ื งควรมคี วามหมายสนั้ กะทัดรัดและชัดเจน เพอ่ื ระบุถงึ เร่ืองท่ีจะทําการศึกษา
วจิ ยั วา ทาํ อะไร กบั ใคร ท่ไี หน อยา งไร เมอื่ ใด หรือตองการผลอะไร ในกรณที จ่ี าํ เปน ตองใชชอ่ื ที่
ยาวมากๆ อาจแบงชื่อเรอ่ื งออกเปน 2 ตอน โดยใหช อ่ื ในตอนแรกมนี าํ้ หนกั ความสาํ คญั มากกวา
และตอนที่สองเปนเพียงสวนประกอบหรอื สว นขยาย

นอกจากนี้ ควรคํานึงดวยวาชื่อเร่ืองกับเนื้อหาของเร่ืองท่ีตองการศึกษาควรมี
ความสอดคลองกันการเลือกเร่ืองในการทําวิจัยเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญ ที่ตองพิจารณา
รายละเอียดตางๆ หลายประเด็น โดยเฉพาะประโยชนที่จะไดรับจากผลของการวิจัย ในการ
เลือกหัวเร่ืองของการวิจัย ขอ ควรพิจารณา 4 หัวขอ คือ

1.1 ความสนใจของผูวิจัย ควรเลือกเรื่องที่ตนเองสนใจ มีความเชี่ยวชาญ
ในเรอ่ื งนั้น และควรเปนเรื่องทไ่ี มย ากจนเกินไปในกรณีท่เี ปนนักวิจัยมือใหม

1.2 ความสําคัญของเรื่องท่ีจะทําวิจัย ควรเลือกเร่ืองที่มีความสําคัญ และ
นําไปใชปฏิบัติหรือสรางแนวความคิดใหมๆ ได โดยเฉพาะเกี่ยวกับงานดานการแกปญหา การ
ปรับปรุงและพฒั นาการอาชวี ศึกษา

1.3 ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ควรเปนเร่ืองท่ีสามารถทําวิจัยไดเร่ืองที่เลือกตอง
อยูในวิสัยที่จะทําวิจัยได โดยไมมีผลกระทบอันเนื่องจากขอจํากัดอันสงผลตอการดําเนิน
โครงการวิจัย เชน ดานจริยธรรม งบประมาณการดําเนินโครงการวิจัย ตัวแปรหรือปจจัยท่ี
เกี่ยวของ การเก็บรวบรวมขอมูล ระยะเวลาและการบริหาร การเมือง หรือความสามารถของ
ผูวจิ ัย เปน ตน

1.4 ควรเปนเร่ืองที่ไมซํ้าซอนกับงานวิจัยท่ีทํามาแลว ซึ่งอาจมีความ
ซา้ํ ซอ นในประเด็นตางๆ ซ่งึ ตองพิจารณาเพื่อหลกี เลี่ยง ไดแ ก ชื่อเรือ่ ง ความสําคัญของปญหาที่
ทําการวิจัย สถานท่ีท่ีทําการวิจัย ระยะเวลาที่ทําการวิจัย วิธีการ หรือ ระเบียบวิธีของการวิจัย
เปน ตน

42

2. ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา (Background and
Rationale)

ในสวนนอ้ี าจเรยี กตางๆกนั เชน หลกั การและเหตุผล ภมู ิหลังของปญหา ความ
จําเปนท่ีจะทําการวิจัย หรือ ความสําคัญของโครงการวิจัย ฯลฯ ไมวาจะเรียกอยางไร ตองระบุ
วาปญหาการวิจัยคืออะไร มีความเปนมาหรือภูมิหลังอยางไร มีความสําคัญ รวมทั้งความ
จําเปน คุณคา และประโยชน ท่ีจะไดจากผลการวิจัยในเรื่องนี้ โดยผูวิจัยควรเริ่มจากการเขียน
ปูพื้นโดยมองปญหาและวิเคราะหปญหาอยางกวางๆ กอนวาสภาพทั่วๆไปของปญหาเปน
อยางไร และภายในสภาพท่ีกลาวถึง มีปญหาอะไรเกิดข้ึนบาง ประเด็นปญหาท่ีผูวิจัยหยิบยก
มาศึกษาคืออะไร ระบุวามีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาแลวหรือยัง ท่ีใดบาง และการศึกษาท่ี
เสนอนจ้ี ะชวยเพ่ิมคุณคา ตองานดานน้ี ไดอยางไร ซงึ่ ควรเขียนเปน ภาพกวางลงมาสูมุมมองใน
พ้นื ท่เี ปา หมายท่ีตองการศึกษา

3. วัตถปุ ระสงคของการวิจัย (Objectives)

เปนการกําหนดวาตองการศึกษาในประเด็นใดบาง ในเร่ืองที่จะทําวิจัย ตอง
ชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ไมคลุมเครือ โดยบงชี้ถึง สิ่งที่จะทํา ท้ังขอบเขต และคําตอบที่คาดวาจะ
ไดรับ ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว การต้ังวตั ถปุ ระสงค ตองใหสมเหตสุ มผลกับทรัพยากรทเี่ สนอขอ
และเวลาท่จี ะใช จําแนกไดเ ปน 2 ชนิด คือ

3.1 วัตถุประสงคท่ัวไป (General Objective) กลาวถึงสิ่งที่ คาดหวัง
(implication) หรือส่ิงที่คาดวาจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนี้ เปนการแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับ
จดุ มงุ หมาย ในระดบั กวา ง จึงควรครอบคลุมงานวจิ ยั ท่จี ะทาํ ทง้ั หมด

3.2 วัตถุประสงคเฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะ
เกิดข้ึนจริง ในงานวิจัยน้ี โดยอธิบายรายละเอียดวา จะทําอะไร โดยใคร ทํามากนอยเพียงใด ที่
ไหน เมื่อไร และเพ่อื อะไร โดยการเรยี งหวั ขอ ควรเรียงตามลาํ ดบั ความสําคญั กอ น หลงั

4. คาํ ถามของการวจิ ัย (Research Question)

เปนสิ่งสําคัญท่ีผูวิจัยตองกําหนดข้ึน (Problem Identification) และใหนิยาม
ปญหานั้น อยางชัดเจน เพราะปญหาที่ชัดเจน จะชวยใหผูวิจัยกําหนดวัตถุประสงค
ต้ังสมมติฐาน ใหนิยามตัวแปรท่ีสําคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหลานั้นได ถาผูวิจัยต้ัง

43

คําถามท่ีไมช ดั เจนจะสะทอนใหเ ห็นวา ตนเองยังไมแนใ จ วาจะศึกษาอะไร ทําใหการวางแผนใน
ขั้นตอ ไป สามารถเกิดความสบั สนได

คําถามของการวิจัยตองเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ กับเรื่องท่ีจะศึกษา
โดยควรมีคําถามที่สําคัญท่ีสุดซ่ึงผูวิจัยตองการคําตอบมากท่ีสุด เพียงคําถามเดียว เรียกวา
คําถามหลัก (Primary Research Question) ซึ่งคําถามหลักนี้จะนํามาใชเปนขอมูลในการ
คํานวณขนาดของตัวอยาง(Sample Size) แตผูวิจัยอาจกําหนดใหมีคําถามรอง (Secondary
Research Question) อีกจํานวนหนึ่งก็ได ซึ่งคําถามรองน้ีเปนคําถามท่ีเราตองการคําตอบ
เชนเดียวกันแตมีความสําคัญรองลงมาโดยผูวิจัย ตองระลึกวาผลของการวิจัย อาจไมสามารถ
ตอบคําถามรองนี้ได ท้ังน้ีเพราะ การคํานวณขนาดตัวอยางไมไดคํานวณเพื่อตอบคําถามรอง
เหลานี้

5. ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ ง (Review of Related
Literatures)

อาจเรียกวา การทบทวนวรรณกรรม สวนนี้เปนการเขียนถึงสิ่งที่ผูวิจัยไดมา
จากการศึกษาคนควาเอกสารตางๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของไดแก ทฤษฎี หลักการ
ขอเท็จจริงตางๆ แนวความคิดของผูเชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยตางๆ ท่ีเก่ียวขอ งกับปญหา
ของผูวิจัย รวมท้ังมองเห็นแนวทางในการดําเนินการศึกษารวมไปกับผูวิจัยดวย โดยจัดลําดับ
หัวขอหรือเนื้อเร่ืองท่ีเขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแตละหัวขอเนื้อเรื่องก็จัดเรียงตามลําดับ
เวลาดวย เพ่ือใหผูอานไดเห็นพัฒนาการตางๆ ท่ีเกี่ยวกับปญหา นอกจากน้ีผูวิจัยควรจะตองมี
การสรุปไวดวย เพื่อใหผูอานไดเห็นความสัมพันธท้ังสวนที่สอดคลองกัน ขัดแยงกัน และสวนที่
ยังไมไดศึกษาท้ังในแงประเด็น เวลา สถานที่ วิธีการศึกษาฯลฯ การเขียนสวนนี้ทําใหเกิด
ประโยชนตอการตั้งสมมติฐานดวย

หลังจากท่ีผูวิจัยไดเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแลว ควรมีการ
ประเมินงานเขียนเรียบเรียงน้ันอีกครั้งหนึ่ง วามีความสมบูรณท้ังเนื้อหา ภาษา และความ
ตอ เน่ืองมากนอยแคไ หน โดยสามารถพจิ ารณาแนวทาง ดังตอไปน้ี

5.1 การเช่ือมโยงปญหาที่ศึกษากับปญหาวิจัยที่เก่ียวของ ซ่ึงไดศึกษามา
กอ นแลว หรอื ไม

44


Data Loading...