สมุดพกเตือนสิทธิสำหรับผู้เกษียณอายุราชการ - PDF Flipbook

สมุดพกเตือนสิทธิสำหรับผู้เกษียณอายุราชการ

147 Views
77 Downloads
PDF 1,177,872 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


ิ ธิ สมุดพกเตือนสท สาหรับผู ้ เกษี ยณอายุราชการ (ข ้าราชการ)

สานั กงานคลังจังหวัด........

E-mail:................................ เว็บไซต์ :............................................

ประวัติที่สาคัญของผู้รับบาเหน็จ หรือบานาญ ชื่อ – นามสกุล : …………………………………………………………… เลขบัตรประชาชน : …………………………………………………………… วัน/เดือน/ปี เกิด : …………………………………………………………… วันที่บรรจุรับราชการ : …………………………………………………………… วันที่พ้นจากราชการ : …………………………………………………………… สังกัดสุดท้าย : …………………………………………………………… กรม : …………………………………………………………… กระทรวง : …………………………………………………………… ส่วนราชการผู้เบิก : …………………………………………………………… กรณีรับบาเหน็จ อัตราบาเหน็จ / บาท : …………………………………………………………… กรณีรับบานาญ อัตราบานาญรายเดือน ครั้งแรก/บาท : ……………………………… อัตราบานาญฯ - หลังการปรับเพิ่ม (ถ้ามี) / บาท : …………………… - หลังการปรับเพิ่ม (ถ้ามี) / บาท : …………………… - หลังการปรับเพิ่ม (ถ้ามี) / บาท : …………………… ปรับเพิ่มเงิน ช.ค.บ. ครั้งที่ 1 จานวน ............................. บาท ครั้งที่ 2 จานวน ............................. บาท ครั้งที่ 3 จานวน ............................. บาท ครั้งที่ 4 จานวน ............................. บาท

ประวัติที่สาคัญของผู้รับบาเหน็จ หรือบานาญ การขอรับบาเหน็จดารงชีพ ครั้งแรก วันที่ยนื่ เรื่อง: …………………… จานวน ......................... บาท การขอรับบาเหน็จดารงชีพ ครั้งที่ 2 (อายุครบ 65 ปีบริบูรณ์) วันที่ยื่นเรื่อง : ………………….. จานวน .......................... บาท การขอใช้สิทธิกู้เงินบาเหน็จค้าประกันธนาคาร วันที่ยนื่ เรื่อง: ……………ธนาคาร………………….วงเงิน ..................บาท วันที่ยนื่ เรื่อง : ……………ธนาคาร………………… วงเงิน ................. บาท วันที่ยนื่ เรื่อง : ……………ธนาคาร………………… วงเงิน ................ บาท ข้อมูลสาคัญอื่น ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….

คานา ด้ วยระเบี ยบกระทรวงการคลั งว่ าด้ วยการขอรั บและการจ่ าย า และที่ แ ก้ ไขเพิ่ มเติ ม ข้ อ 6 บ าเหน็ จ บ านาญข้ า ราชการ นพ.ศ.2527

กาหนดให้ ข้าราชการที่พ้นจากราชการเพราะเกษี ยณอายุ ให้ ยื่ นคาขอรั บ บ าเหน็ จบ านาญต่ อส่ วนราชการเจ้ าสั งกั ดล่ วงหน้ าได้ เป็ นเวลา 8 เดื อน ก่อนวันครบเกษียณอายุ กล่าวคือ ยื่นแบบขอรับเงินได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปีที่จะเกษียณอายุเป็นต้นไป แต่ไม่เกินเดือนกรกฎาคม ทั้งนี้ เพื่อให้ ผู้เกษียณอายุราชการได้รับเงินบาเหน็จโดยเร็ว หรือได้รับเงินบานาญต่อเนื่อง ในเดือนตุลาคมของปีที่เกษียณอายุราชการ เพื่อให้การขอรับบาเหน็จหรือบานาญของส่วนราชการเป็นไป อย่างถูกต้ อง รวดเร็ว และผู้เกษียณอายุ ได้รั บเงินบาเหน็จหรือบ านาญ ต่อเนื่องหลังจากเกษียณอายุราชการ รวมถึงสิทธิประโยชน์ต่างๆ อันพึง ได้รับจากทางราชการ ประกอบกับทายาทตามกฎหมายหรือผู้ที่เกษียณอายุ ราชการแสดงเจตนาไว้ มีสิทธิจะได้รับบาเหน็จตกทอดและเงินช่วยพิเศษ จากทางราชการในกรณีที่ผู้รับบานาญเสียชีวิต ซึ่งบุคคลดังกล่าวอาจจะ ไม่ทราบถึงสิทธิการได้รับหรือแนวทางปฏิบัติ ดังนั้น สานักงานคลังจังหวัด.................จึงได้จัดทา “สมุดพกเตือน สิทธิ สาหรับผู้ เกษี ยณอายุราชการ (ข้าราชการ)” ขึ้นเพื่อให้ผู้เกษียณอายุ ราชการ ทายาทตามกฎหมาย หรือผู้ที่ผู้เกษียณอายุราชการแสดงเจตนาไว้ มี ความรู้ ความเข้าใจและศึกษาสมุดพกดังกล่าว เป็นแนวทางในการขอรับสิทธิ จากทางราชการ ต่อไป ในโอกาสนี้ ขอขอบคุ ณ สานั ก งานคลั ง เขต 6 สานั ก งาน คลั งจั งหวัด ในเขต6 ส่ ว นราชการต่ างๆ และผู้ เกษี ย ณอายุ ร าชการที่ ให้ ข ้ อ คิ ด เห็ น ข้ อ เสนอแนะ และหวั ง ว่ า สมุ ด พกฉบั บ นี ้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ใ นการศึ ก ษาทาความเข้ า ใจและเตื อ นสิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ าก ทางราชการต่ อไป คลังจังหวัด..................... พฤษภาคม 2560

สารบัญ เตรียมความพร้อมและตรวจสอบข้อมูลที่สาคัญ • จัดเตรียมเอกสาร • เตรียมการยื่นเรื่อง ขอรับบาเหน็จหรือบานาญ • เตรียมการยื่นเรื่อง ขอรับเงินก้อนจาก กบข. • ตรวจสอบประวัติ สาระสาคัญและแนวทางในการขอรับสิทธิประโยชน์ • บาเหน็จ (ไม่เป็นสมาชิก กบข.) • บาเหน็จ (เป็นสมาชิก กบข.) • บานาญเดิม(ไม่เป็นสมาชิก กบข.) • บานาญกบข.(เป็นสมาชิก กบข.) • สิทธิประโยชน์อื่นกรณีเลือกรับบานาญ • บาเหน็จดารงชีพ • บาเหน็จค้าประกัน • บาเหน็จตกทอด • เงินช่วยพิเศษ • สิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล • สิทธิสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ช่องทางการติดต่อสื่อสาร • ส่วนกลาง • ส่วนภูมิภาค ข้อควรรู้ • ตรวจสอบสิทธิ • การโอนบานาญไปจ่ายยังส่วนราชการผู้เบิกใหม่ • การยื่นขอรับบาเหน็จบานาญด้วยตนเองทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Pensions’ Electronic Filing)

หน้า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 14 20 24 26 26 27 30 31 32 33

จัดเตรียมเอกสาร

ในปี งบประมาณที่ ท่ า นจะเกษี ย ณราชการ ท่ า นต้ องจั ด เตรี ย ม เอกสารหลั ก ฐานที่ เ กี่ย วข้อ งให้ พ ร้ อมส าหรั บ การขอยื่ น เรื่ อ งรั บ สิ ท ธิ บาเหน็จหรือบานาญ ดังนี้ ฀แบบขอรับเงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญฯ (แบบ 5300) ฀ใบรับรองสมุดประวัติฯ (แบบ 5302) ฀สมุดประวัติ หรือ ก.พ. 7 (ฉบับจริง) ฀฀สาเนาคาสั่งให้ออก หรือ ประกาศเกษียณ ฀สาเนาคาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน (ปัจจุบัน) ฀หลักฐานการมีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ (ถ้ามี) ฀แบบ สรจ.1 (แบบลดหย่อนภาษี) ฀แบบ สรจ.3 (แบบขอรับเงินบาเหน็จดารงชีพ) ฀เอกสารประกอบอื่นๆ เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ หรือ นามสกุล เป็นต้น ฀สาเนาทะเบียนบ้าน / สาเนาบัตรประชาชน ฀สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่จะรับเงินเข้าบัญชี ฀แบบ กบข. รง 008/1/2555 (กรณีเป็นสมาชิก กบข.) ฀แบบขอรับเงินเพิ่มฯ (แบบ 5316) กรณีขอรับเงินเพิ่มเนื่องจากมี คาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน หมายเหตุ สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้จากเว็ปไซต์กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th หัวข้อ บาเหน็จ บานาญ/บาเหน็จค้าประกัน

1

เตรียมการยื่นเรื่องขอรับบาเหน็จหรือบานาญ เมื่ อ ท่ า นจั ด เตรี ย มเอกสารหลั กฐานดั งกล่ า วเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ท่ า น สามารถดาเนินการยื่นขอรับบาเหน็จหรือบานาญได้ 2 วิธี คือ 1.การยื่ น ด้ ว ยตนเองผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ( e-filing) (ดูรายละเอียดหน้า 34) 2. การส่งยื่นเรื่องต่อนายทะเบี ยนต้นสังกัด (ส่วนราชการสุดท้าย ก่อนออกจากราชการ) โดยสามารถยื่นล่วงหน้าได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ แต่อย่างช้าไม่ เกินเดือนกรกฎาคมของปีที่ท่านเกษียณ โดยไม่ต้องรอคาสั่งเลื่อนขั้น เงินเดื อนครั้ งสุด ท้ าย ให้ใช้ ฐานข้อมู ล เงิน เดื อนปัจ จุ บัน ยื่ น เรื่ องฯ ไป พลางก่อน เพื่อกรมบัญชีกลาง หรือ สานักงานคลังเขต จะได้ตรวจสอบ และอนุมัติสั่งจ่ายบาเหน็จหรือบานาญได้ทันภายในช่วงสิ้นปีงบประมาณ หากท่านส่งเรื่องขอรับบาเหน็จ หรือบานาญ ล่าช้า อาจกระทบต่อ การรั บ เงิ น บ าเหน็ จ หรื อ บ านาญ และความต่ อ เนื่ องของการใช้ สิ ท ธิ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลตามโครงการจ่ายตรงของผู้รับบานาญใหม่ ้ สง่ เรือ ่ งล่าชา... การพิจารณาอนุมัต ิ ้ อาจล่าชา.. ิ ธิ สง่ ผลกระทบต่อสท

2

เตรียมการยื่นเรื่อง ขอรับเงินก้อนจาก กบข. หากท่านเป็นสมาชิก กองทุน บาเหน็ จบ านาญข้าราชการ (กบข.) ท่านจะได้รับเงินก้อนหนึ่งจาก กบข. เมื่อเกษียณอายุราชการ ท่านควร ดาเนินการดังนี้ 1. ยื่นเรื่องขอรับเงินจาก กบข. โดยจัดทาแบบขอรับเงินจากกองทุน/ แบบ กบข.รง.008/1/2555 พร้อมแนบสาเนาคาสั่งให้ออกหรือประกาศเกษียณและสาเนาสมุดบัญชี เงิน ฝาก (กรณี เลื อกวิ ธีโ อนเงิน เข้าบัญชี) ยื ่น เรื่อ งต่อ นายทะเบีย นต้น สังกัด เพื่อจัด ส่ง ให้ กบข. ทางไปรษณีย์ห รือ ส่งข้อมูล ผ่านทางระบบ บาเหน็จบานาญ (e-Pension)ต่อไป 2. ตรวจสอบข้อมูลยอดเงินที่จะได้รับจาก กบข. ท่านควรตรวจสอบข้อมูลยอดเงินที่จะได้รับจาก กบข. (โดยประมาณ) ล่วงหน้า เพื่อทราบยอดเงินที่จะได้รับสาหรับการวางแผนทางการเงินของ ท่าน ซึ่งสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ 3ช่องทาง ดังนี้ 1) ขอรับบริการผ่าน Call Center ของ กบข. โทร.1179 2) ขอรับบริการผ่านระบบบริการทันใจ GPF Web Service จากเว็บไซต์กบข. 3) ขอรับบริการผ่านบัตรและเครื่อง ATM ธนาคารกรุงไทย

3

ตรวจสอบประวัติ ก่อนออกจากราชการ ท่านต้องตรวจสอบความถูกต้ องเกี่ย วกับ ประวัติของท่านกับนายทะเบียนต้นสังกัด (ส่วนราชการสุดท้ายก่อนออก จากราชการ)ให้เรียบร้อยว่ามีการบันทึกข้อมูลประวัติของท่านในระบบ e–Pension ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์แล้วหรือไม่ โดยเฉพาะข้อมูลที่ สาคัญดังนี้ ฀ คานาหน้าชื่อ ชื่อ – สกุล ของท่าน› ถูกต้องหรือไม่ ฀ ที่อยู่ ของท่าน› สามารถติดต่อได้และเป็นปัจจุบันหรือไม่ ฀ คานาหน้าชื่อ ชื่อ – สกุล บุคคลในครอบครัวท่าน (พ่อ แม่ สามี/ภรรยา และบุตร) › ถูกต้องหรือไม่ › มีสถานะข้อมูล สมบูรณ์ ทุกคนหรือไม่ ฀ บุคคลอื่น › ท่านแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบาเหน็จตกทอดและ เงินช่วยพิเศษแล้วหรือไม่ › นายทะเบียนต้นสังกัดท่านบันทึกข้อมูลบุคคลที่ ท่านแสดงเจตนาไว้ในระบบฯ แล้วหรือไม่ หากท่านพบว่า ข้อมูลของท่านไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ควรดาเนินการแจ้งนายทะเบียนต้นสังกัดแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ ถูกต้อง เพื่อท่านจะได้ไ ม่ต้องประสบปัญหาต่างๆ ในการขอรับสิท ธิ ประโยชน์จากทางราชการ

4

บาเหน็จ(ไม่เป็นสมาชิก กบข.) กรณีที่ท่านเลือกรับบาเหน็จ ท่านจะได้รับเงินก้อนใหญ่เพียงครั้งเดียว โดยมีวธิ ีการคานวณดังนี้ 1. กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. วิธีการคานวณ= เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ ตัวอย่างข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลา ราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน เงินบาเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 36 = 1,296,000.- บาท หมายเหตุ: เศษเดือนที่ไม่ถึง 6 เดือน ให้ตัดทิ้ง ถ้าถึง 6 เดือน ให้ปัด เป็น 1 ปี ตัวอย่างข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลา ราชการ 36 ปี 6 เดือน เงินบาเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 37= 1,332,000.- บาท

5

บาเหน็จ(เป็นสมาชิก กบข.) 2. กรณีเป็นสมาชิก กบข. วิธีการคานวณ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ นอกจากจะได้รับเงินก้อนตามวิธีการคานวณดังกล่าวแล้ว ท่านจะ ได้รับเงินสะสมเงินสมทบและดอกผลจากเงินสะสมและเงินสมทบ ตัวอย่างข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลา ราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน (36.37 ปี) การคานวณเวลาราชการ 36 ปี = 4 เดือน =

36 4 = 0.33 12 เดือน 15 วัน = 15 = 0.04 360 วัน สรุปเวลาราชการคานวณได้ = 36 + 0.33 + 0.04 = 36.37 ปี

เงินบาเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 36.37= 1,309,320.- บาท หมายเหตุ: การคานวณเวลาราชการให้นับจานวนปี + เศษของปี การนับเศษของปี คือ 12 เดือน และ 360 วัน = ปี

6

บานาญเดิม(ไม่เป็นสมาชิก กบข.) ตามพระราชบัญญัติบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

บานาญ คือ เงินตอบแทนที่ท่านจะได้รับเป็นรายเดือน กรณีที่ ไม่ได้เป็นสมาชิก กบข. คานวณได้ดังนี้ บานาญปกติ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 หมายเหตุ :บานาญรายเดือนที่ได้รับต้องไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย ตัวอย่าง ข้าราชการรับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลาราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 = 36,000 X 36 = 25,920.- บาท 50 *** ข้าราชการรายนี้ได้รับเงินบานาญรายเดือน เดือนละ 25,920.- บาท เนื่องจากอยู่ในเงื่อนไขตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด คือ ต้องไม่เกินเงินเดือน เดือนสุดท้าย = 36,000 บาท

7

บานาญกบข.(เป็นสมาชิก กบข.) ตามพระราชบัญญัติกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และที่แก้ไข เพิ่มเติม บานาญปกติ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 หมายเหตุ : บานาญรายเดือนที่ได้รับต้องไม่เกิน 70%ของ เงินเดือนเฉลี่ย 60เดือนสุดท้าย ตัวอย่าง ข้าราชการมีเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย 30,200 บาท และมี เวลาราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน (36.37 ปี) การคานวณเวลาราชการ 36 ปี = 36 4 เดือน = 4 = 0.33 12 เดือน 15 วัน = 15 = 0.5 = 0.04 360 วัน 12 เดือน สรุปเวลาราชการคานวณได้ = 36 + 0.33 + 0.04 = 36.37 ปี บานาญปกติ

= 30,200 X 36.37 = 21,967.48 บาท 50 หลักเกณฑ์ :บานาญต้องไม่เกิน 70%ของเงินเดือนเฉลี่ย60เดือนสุดท้าย 30,200 X 70 % = 21,140.- บาท สรุป ข้าราชการรายนี้ จะได้รับบานาญเดือนละ 21,140.- บาท และรับเงิน ก้อนในส่วนของ กบข.ประกอบด้วย เงินประเดิม เงินชดเชย เงินสะสมเงินสมทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว 8

สิทธิประโยชน์อื่นกรณีเลือกรับบานาญ เมื่อท่านเลือกรับบานาญ ท่านจะได้รับบานาญรายเดือนและมี สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องดังนี้ 1. บาเหน็จดารงชีพ 2. บาเหน็จค้าประกัน 3. บาเหน็จตกทอด 4. เงินช่วยพิเศษ 5. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบานาญ (ช.ค.บ.) 6. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 7. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

9

บาเหน็จดารงชีพ บ าเหน็ จ ด ารงชี พ คื อ เงิ น ส่ ว นหนึ่ งของบ าเหน็ จ ตกทอดที่ ท าง ราชการจะให้ทายาทของผู้รับบานาญหรือผู้ที่ผู้รับบานาญแสดงเจตนาไว้ แล้วแต่กรณี เมื่อผู้รับบานาญเสียชีวิตไปแล้ว แต่เนื่องจากผู้รับบานาญ เมื่อออกจากราชการไปแล้ว อาจประสบเหตุปัญหาทางด้านการเงินหรือ สภาวะค่าครองชีพที่สูงขึ้น ทางราชการจึงช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อน โดยให้นาเงินบาเหน็จตกทอดส่วนหนึ่งมาใช้ได้ก่อน ซึ่งผู้รับบานาญจะ ขอรับหรือจะไม่ขอรับก็ได้หากไม่ขอรับเงินส่วนนี้จะถูกเก็บเป็นบาเหน็จ ตกทอดไว้ให้ทายาทของผู้รับบานาญ หรือผู้ที่ผู้รับบานาญแสดงเจตนาไว้ แล้วแต่กรณี เมื่อยามที่ผู้รับบานาญเสียชีวิตแล้ว การขอรับบาเหน็จดารงชีพ กรมบัญชีกลางกาหนดหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขการจ่ายดังต่อไปนี้

10

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินบาเหน็จดารงชีพ หลักเกณฑ์การจ่ายบาเหน็จดารงชีพตามที่กรมบัญชีกลางกาหนดไว้ มีดังนี้ ฀ การคานวณบาเหน็จดารงชีพ จะคานวณจากเงินบานาญรายเดือน เท่านั้น จะไม่นาเงินอื่น ๆ มารวมคานวณ ฀ การขอรับเงินบาเหน็จดารงชีพ ขอรับได้ 2 ครั้ง ตามเงื่อนไขดังนี้ ขอรับครั้งแรก › เงินบานาญ x 15 เท่าแต่ไม่เกิน 200,000 บาท › ยื่นเรื่องขอรับพร้อมกับเรื่องขอรับบานาญก็ได้ ›หากไม่ยื่นเรื่องขอรับพร้อมกับขอรับบานาญ ให้ยื่น เรื่องขอรับได้ในเดือน ตุลาคม – ธันวาคม ของทุกปี ขอรับครั้งที่สอง › เงินบานาญ x 15 เท่า หัก บาเหน็จดารงชีพที่ขอรับครั้งแรก แต่รวมวงเงินที่ขอรับครั้งแรกและครั้งที่สองแล้วต้องไม่เกิน 400,000 บาท › ยื่นเรื่องขอรับเมื่ออายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ ฀จะขอรับบาเหน็จดารงชีพในคราวเดียว เมื่ออายุครบ 65 ปีก็ได้ = เงินบานาญ x 15 เท่า แต่ไม่เกิน 400,000 บาท

11

การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรก การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรก หากผู้รับบานาญยื่นเรื่องพร้อมกับ การขอรับบานาญครั้งแรกเพียงแจ้งความประสงค์ที่จะขอรับบาเหน็จดารงชีพ ในแบบ 5300 (แบบขอรับบานาญ) และยื่นหนังสือรับรองและขอเบิกบาเหน็จ ดารงชีพ (แบบ สรจ.3) แต่หากท่านยังไม่ได้ขอรับบาเหน็จดารงชีพพร้อมกับ เรื่องขอรับบานาญ ก็สามารถยื่นเรื่องขอรับบาเหน็จดารงชีพในครั้งแรกได้ เฉพาะในเดือน ตุลาคม – ธันวาคม ของทุกปี และต้องใช้เอกสารหลักฐานยื่น ต่อนายทะเบียนต้นสังกัดของท่าน ดังนี้ 1) แบบหนังสือรับรองและขอเบิกบาเหน็จดารงชีพ (แบบ สรจ.3) 2) แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) (ส่วนราชการผู้ขอจัดทา) 3) สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบาเหน็จดารงชีพ (ต้องไม่เป็นบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทประจา) ตัวอย่าง ท่านได้รับบานาญรายเดือน เดือนละ 24,000 บาท สิทธิในการขอรับการ คานวณบาเหน็จดารงชีพ = 24,000 X 15 = 360,000 บาท ท่านจะมีสิทธิขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรกของท่าน = 200,000 บาท

12

การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 2 เมื่อ ผู้รับ บานาญอายุครบ 65 ปีบ ริบูร ณ์แ ล้ว ท่านมีสิ ทธิ ยื่นเรื่อง ขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 2 โดยกรมบัญชีกลางไม่ได้กาหนดเงื่อนไข ช่ ว งระยะการยื่ น เรื่ อ งขอรั บ ฯ อย่ า งน้ อ ยต้ อ งหลั ง วั น เกิ ด ของท่ า น เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ สาหรับยื่ นเรื่ องขอรับ ฯ ต่ อนายทะเบีย นต้ น สังกัดของท่านมีดังนี้ 1) แบบหนังสือรับรองและขอเบิกบาเหน็จดารงชีพ (แบบ สรจ.3) 2) แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) (ส่วนราชการผู้ขอจัดทา) 3) สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบาเหน็จดารงชีพ (ต้องไม่เป็นบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทประจา) ตัวอย่าง ท่านได้รับบานาญรายเดือน เดือนละ 24,000 บาท สิทธิในการขอรับการ คานวณบาเหน็จดารงชีพ = 24,000 X 15 = 360,000 บาท รับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรกไปแล้ว = 200,000 บาท ดังนั้นจะมีสิทธิได้รบั บาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 2 = 360,000 - 200,000 = 160,000บาท

13

บาเหน็จค้าประกัน บ าเหน็ จค้ าประกั น คื อ การที่ กรมบั ญชี กลางหรื อ ส านั กงานคลั ง จั งหวั ดได้ ออกหนั งสื อรั บ รองบ าเหน็ จตกทอดส่ วนที่ เหลื ออยู่ (หั กเงิ น บาเหน็จดารงชีพที่ขอรับไปแล้ว) เพื่อให้ผู้รับบานาญไปใช้เป็นหลักประกัน การกู้เงินกับธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ สืบเนื่องจากผู้รับบานาญเมื่อออกจากราชการไปแล้ว อาจประสบ ปัญหาทางด้านการเงินประสงค์จะขอกู้เงินกับธนาคารแต่ไม่สามารถกู้ได้ เนื่องจากไม่มีหลักประกันที่ดี ทางราชการจึงช่วยเหลือบรรเทาความ เดื อดร้ อนให้ น าเงิน บ าเหน็ จ ตกทอดส่ ว นที่ เ หลื อ ค้าประกัน การกู้เ งิ น ธนาคาร โดยออกเป็นหนังสือรับรองฯ ไม่ได้เป็นตัวเงิน สาหรับผู้รับบานาญที่จะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน ได้ ต้องเป็น ผู้จัดทาหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบาเหน็จตกทอด (แบบ 1) และ ยื่นต่อนายทะเบียนต้นสังกัด (ส่วนราชการผู้เบิกบานาญ) เพื่อบันทึก ข้อมูลในฐานระบบให้เรียบร้อยก่อน จึงจะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน ได้

14

ขั้นตอนการขอใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน กระบวนการขอใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกันมีขั้นตอนโดยสรุปดังนี้ 1. เมื่อท่านมีความประสงค์จะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน ท่าน ต้องไปติดต่อยื่นคาร้องขอรับหนังสือรับรองบาเหน็จค้าประกันต่อส่วน ราชการผู้เบิกบานาญของท่าน 2. ส่วนราชการจะดาเนินการตรวจสอบสิทธิของท่าน โดยเฉพาะ ฐานข้อมูลประวัติของท่านในระบบฯ จะต้องมีการแสดงเจตนาระบุตัว ผู้รับบาเหน็จตกทอดไว้ มิฉะนั้นจะใช้สิทธิไม่ได้ และท่านต้องยินยอมให้ ส่วนราชการผู้เบิกบานาญหักเงินบานาญรายเดือนเพื่อชาระคืนเงินกู้แก่ ธนาคารพร้อมทั้งแจ้งให้ทายาทหรือบุคคลที่มีสิทธิได้รับบาเหน็จตกทอด ได้รับทราบถึงการใช้สิทธิดังกล่าว 3. ส่วนราชการผู้เบิกที่รับเรื่องฯ จะดาเนินการบันทึกการขอรับ หนังสือรับรองบาเหน็จค้าประกันส่งให้กรมบัญชีกลางหรือสานักงานคลัง จังหวัดต่อไป 4. กรมบั ญชี กลาง/ส านั กงานคลั งจั ง หวั ด จะตรวจสอบความ ถูกต้ องของข้อมู ลในระบบฯ และพิจารณาอนุมั ติออกหนังสือรับ รอง บาเหน็จค้าประกัน โดยจัดส่งหนังสือรับรองฯ ให้ผู้ขอใช้สิทธิโดยตรงทาง ไปรษณีย์หรือแจ้งความประสงค์ขอรับด้วยตนเองหรือมอบให้ผู้อื่นมารับ แทนตามแบบที่กาหนด

15

ผู้รับบานาญติดต่อยื่นคาร้องขอรับ หนังสือรับรองกับส่วนราชการผู้เบิก

ส่วนราชการตรวจสอบสิทธิและยื่นเรื่อง ขอรับหนังสือรับรองในระบบส่งให้ กรมบัญชีกลาง / สนง.คลังจังหวัด

กรมบัญชีกลาง / สนง.คลังจังหวัด ตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องและอนุมัติ ออกหนังสือรับรองบาเหน็จค้าประกันส่ง ให้ผู้ขอใช้สิทธิ

16

ขั้นตอนการใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน กระบวนการใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกันมีขั้นตอนโดยสรุปดังนี้ 1. เมื่ อ ท่ า นได้ รั บ หนั ง สื อ รั บ รองบ าเหน็ จ ค้ าประกั น จ าก กรมบัญชีกลาง/สนง.คลังจังหวัดแล้ว สิ่งที่ ท่านควรทาอันดับแรก ท่าน ควรหาข้อมูลเปรียบเทียบเงื่อนไขการกู้เงิน การผ่อนชาระคืนและอัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ของแต่ละธนาคารที่เข้าร่วมโครงการให้ดีก่อน เนื่องจากมี ธนาคารเข้าร่วมโครงการถึง 13 ธนาคาร (ในหน้า19) 2. เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้ว ท่านนาหนังสือรับรองฯ ติดต่อ ธนาคารที่พิจารณาแล้ว เพื่อดาเนินการขอกู้เงินได้ทันที 3. ธนาคารจะตรวจสอบข้อมูลในระบบฯ พิจารณาอนุมัติ พร้อม จ่ายเงินกู้ ให้ แ ก่ท่ านพร้อมส่งข้อมู ลการกู้เงิน ของท่ านผ่ านระบบฯ ให้ กรมบัญชีกลาง เพื่อหักเงินชาระหนี้ 4. หากท่านผิดสัญญาเงินกู้หรือเสียชีวิตและยังคงเหลือเงินที่ต้อง ชาระคืนเงินกู้แก่ธนาคารกรมบัญชีกลางจะชาระคืนเงินกู้ในส่วนที่เหลือ ให้แก่ธนาคาร (แต่ต้องไม่เกินสิทธิในบาเหน็จตกทอดที่ระบุในหนังสือ รับรอง)สาหรับเงินส่วนต่างที่เหลือจากการชาระเงินกู้แก่ธนาคารแล้วจะ จ่ายคืนให้แก่ทายาทหรือบุคคลผู้มีสิทธิได้รับบาเหน็จตกทอดต่อไป 5.กรณีที่ท่านชาระเงินกู้มาระยะเวลาหนึ่งหากต้องการกู้เงินเพิ่มเติม ท่านก็สามารถตกลงกับธนาคารเพื่อขอขยายวงเงินกู้ได้จากหนังสือค้า ประกันฉบับเดิมโดยไม่ต้องขอหนังสือฉบับใหม่จาก สนง.คลังจังหวัด

17

กระบวนการใช้สิทธิบาเหน็จค้าประกัน ผู้รับบานาญนาหนังสือรับรองบาเหน็จค้าประกัน เป็นหลักประกันการกู้เงินกับธนาคาร ①

ธนาคารตรวจสอบสิทธิอนุมตั ิและจ่ายเงินกู้พร้อม ส่งเรื่องการกู้เงินผ่านระบบส่งให้กรมบัญชีกลาง ②③

กรมบัญชีกลางตรวจสอบข้อมูลและดาเนินการหัก เงินบานาญรายเดือนส่งชาระหนี้ให้กับธนาคาร

18

ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการบาเหน็จค้าประกัน ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการบาเหน็จค้าประกัน มี 13 แห่งดังนี้ 1.ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) โทร.1333 2. ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) โทร. 1551 3. ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) โทร.0-2888-8888 4. ธนาคารนครหลวงไทย จากัด (มหาชน) โทร.1770 5. ธนาคารแลนด์แอนด์เฮาส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) โทร. 0-2359-0000 6.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย โทร.1357 7. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โทร 0-2555-0555 8. ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน) โทร.1558 9. ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) โทร. 0-2777-7777 10. ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) โทร. 0-2679-5454 11. ธนาคารออมสิน โทร.1115 12. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ โทร. 0-2645-9000 13. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย โทร. 1302

19

บาเหน็จตกทอด บาเหน็จตกทอด คือ เงินที่รัฐจ่ายเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ ทายาทของผู้รับบานาญที่ถึงแก่ความตาย ซึ่งจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว สูตรคานวณ บาเหน็จตกทอด=(บานาญ+ช.ค.บ.(ถ้ามี))x 30–บาเหน็จดารงชีพที่ได้รับไปแล้ว สัดส่วนการจ่ายเงินบาเหน็จตกทอดให้ทายาทตามกฎหมาย ดังนี้ 1. คู่สมรส 1 ส่วน 2. บุตร 2 ส่วน (บุตร 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน) 3. บิดา/มารดา 1 ส่วน หมายเหตุ : 1.ถ้าไม่มีทายาทตามลาดับ 1 – 3 ให้จ่ายให้ผู้ที่ผู้รับบานาญได้ แสดงเจตนาฯ ไว้ ตามแบบแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบาเหน็จตกทอด 2. หากผู้รับบานาญไม่มีทายาทและไม่ได้แสดงเจตนาฯ ตามแบบที่กาหนด ถือว่าการจ่ายบาเหน็จตกทอดเป็นอันยุติ ตัวอย่าง ท่านรับบานาญ 24,000 บาท + ชคบ.1,500 บาท = 25,500 x 30 เท่า = 765,000 บาท หัก บาเหน็จดารงชีพที่รับไป 2 ครั้ง (200,000 + 160,000) บาเหน็จตกทอดที่ทายาทท่านจะได้รับทั้งหมด = 765,000 – 360,000 = 405,000 บาท

20

การขอรับบาเหน็จตกทอด กรณีผู้รับบานาญเสียชีวิตทายาทตามกฎหมายหรือผู้ที่ผู้รับบานาญ แสดงเจตนาระบุ ตั ว ผู้ รั บ บ าเหน็ จ ตกทอดไว้ ต้ อ งจั ด เตรี ย มเอกสาร หลักฐานมาติดต่อกับส่วนราชการผู้เบิก เพื่อดาเนินการยื่นเรื่องขอรับเงิน บาเหน็จตกทอดดังนี้ 1. หลักฐานเกี่ยวกับการตายของผู้รับบานาญ (สาเนาใบมรณบัตร) 2. หลักฐานของทายาทตามกฎหมาย หรือ ผู้ทผี่ ู้รับบานาญแสดง เจตนาระบุตัวผู้รับบาเหน็จตกทอด แล้วแต่กรณี 2.1 หลักฐาน – บิดาของผู้รบั บานาญ ที่ เอกสาร-หลักฐาน 1. สาเนาทะเบียนบ้าน 2. สาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ กรณีบิดาตายไปก่อนแล้ว 3. สาเนาทะเบียนสมรส/ใบสาคัญการสมรส/หลักฐานการหย่ากับมารดา / หนังสือรับรองของผู้ควรเชื่อถือได้ที่รับรองว่า บิดามารดาสมรสก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2478 (กรณีไม่มีหลักฐานสมรส) /ทะเบียนบ้าน/สูตบิ ตั รของ บุตรร่วมบิดามารดาเดียวกันซึ่งเกิดภายในปี 2478 หรือก่อนนั้น 4. สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงินฝากฯ ประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรือกระแสรายวัน ยกเว้นบัญชีเงิน ฝากประเภทประจา

21

ที่ 1. 2. 3.

ที่ 1. 2. 3. 3. 4. 5.

2.2 หลักฐาน – มารดาของผู้รับบานาญ เอกสาร-หลักฐาน สาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ กรณีมารดาตายไปก่อนแล้ว สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงิน ฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรือกระแสรายวัน ยกเว้นบัญชีเงินฝากประเภทประจา 2.3 หลักฐาน – คู่สมรสตามกฎหมายของผู้รับบานาญ เอกสาร-หลักฐาน สาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาทะเบียนสมรส/ใบสาคัญการสมรส สาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ กรณีคู่สมรสตายไปก่อนแล้ว สาเนาทะเบียนการหย่า/ ใบสาคัญการหย่า/คาสั่งศาลกรณีทมี่ ี การหย่า สาเนาคาพิพากษา/คาสั่งศาลที่แสดงว่าคู่สมรสคนใดเป็นคู่ สมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีที่มีการสมรสซ้อน สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงิน ฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรือกระแสรายวัน ยกเว้นบัญชีเงินฝากประเภทประจา

22

ที่ 1. 2. 3. 4.

ที่ 1. 2. 3.

2.4 หลักฐาน – บุตรของผู้รบั บานาญ เอกสาร-หลักฐาน สาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม กรณีที่เป็นบุตรบุญธรรม สาเนาใบมรณบัตร /หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ กรณีบุตรคนใดได้ตายไปก่อนแล้ว สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงิน ฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรือกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา (กรณีไม่มีทายาทตามกฎหมาย) 2.5 หลักฐาน –บุคคลที่ผู้รับบานาญแสดงเจตนาระบุตัวผูร้ ับ บาเหน็จตกทอด เอกสาร-หลักฐาน สาเนาทะเบียนบ้าน/สาเนาบัตรประชาชน แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตวั ผู้รับบาเหน็จตกทอด สาเนาใบมรณบัตร /หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ กรณี บิดา มารดา ของผู้รับบานาญเสียชีวิต

4. กรณีผู้รับบานาญมีคู่สมรส และ หรือ บุตร และเสียชีวิต ให้แนบสาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการตายของผู้ที่ควรเชื่อถือได้ 5. สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงินฝากฯ ประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรือกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา 23

เงินช่วยพิเศษ เมื่ อ ผู้ รั บ บ านาญเสี ย ชี วิ ต รั ฐ จะจ่ ายเงิน ช่ ว ยเหลื อ ให้ แ ก่ บุ คคลที่ ผู้ รั บ บ านาญแสดงเจตนาให้ เ ป็ น ผู้ รั บ เงิ น ช่ ว ยพิ เ ศษหรื อ ทายาทตาม กฎหมายของผู้รับบานาญ เพื่อใช้ในการจัดการงานศพให้แก่ผู้รับบานาญ สูตรคานวณ เงินช่วยพิเศษ = (บานาญ+ช.ค.บ.(ถ้ามี) ) x 3 เท่า การจ่ายเงินช่วยพิเศษ จะจ่ายตามลาดับผู้มีสิทธิ ดังนี้ 1. ผู้ที่ผู้รับบานาญแสดงเจตนาระบุตัวผู้รบั เงินช่วยพิเศษ 2. คู่สมรส (กรณีถ้าผู้รับบานาญไม่ได้แสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ) 3. บุตร (กรณีมีบุตรหลายคน บุตรจะต้องลงชื่อยินยอมให้บุตรคนใด คนหนึ่งขอรับ และต้องไม่มีบุคคลตามลาดับที่ 1 และ 2 แล้ว) 4. บิดามารดา (กรณีไม่มบี ุคคลตามลาดับที่ 1 – 3 แล้ว) 5. บุคคลใดบุคคลหนึ่ง/หน่วยงานต้นสังกัดที่ดาเนินการจัดงานศพ ให้ผู้รับบานาญ(กรณีไม่มีบุคคลตามลาดับที่ 1 – 4 แล้ว)

24

การขอรับเงินช่วยพิเศษ การยื่นเรื่องขอรับเงินช่วยพิเศษจากส่วนราชการผู้เบิกนั้น ผู้มีสิทธิ รับเงิน คือ บุคคลที่ผู้รับบานาญแสดงเจตนาไว้หรือทายาทตามกฎหมาย ของผู้รับบานาญต้องจัดเตรียมเอกสารหลักฐานคือ 1. แบบคาขอรับเงินช่วยพิเศษ (ขอรับเอกสารนี้จากส่วนราชการผู้เบิก) 2. เอกสารประกอบแบบคาขอรับเงินฯ ดังนี้ • ใบมรณบัตรของผู้รับบานาญ • หลักฐานที่แสดงความเป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ เช่น สาเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการสมรสของคู่สมรสผู้ตาย เป็นต้น หมายเหตุ : ต้องยื่นเรื่องขอรับเงินช่วยพิเศษ ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ผู้รับบานาญเสียชีวิต

25

สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล

เมื่ อ ท่ า นออกจากราชการ และได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ไ ด้ รั บ บ านาญ เรียบร้อยแล้ว ราชการยังคงดูแลให้สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ท่านและบุคคลในครอบครัว ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของพระ ราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และ ที่แ ก้ไ ขเพิ่มเติม และหลั กเกณฑ์ กระทรวงการคลั งว่าด้ว ยวิ ธี การเบิ ก จ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553

สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

เมื่อท่านออกจากราชการ และได้รับอนุมัติให้ได้รับบานาญเรียบร้อย แล้ ว ราชการยั งคงดู แลให้ สวั สดิ การเกี่ยวกับการศึกษาของบุ ตรทั้ งนี้ ตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา ของบุตร พ.ศ.2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบกระทรวงการคลังว่า ด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2551 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม 26

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร-ส่วนกลาง หากผู้รับบานาญพบปัญหา หรือ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ ควรติดต่อสอบถามจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ติดต่อสอบถามจากนายทะเบียนบานาญที่สว่ นราชการต้นสังกัด ของผู้รับบานาญก่อน 2. หากติดต่อนายทะเบียนบานาญของท่านแล้ว ยังแก้ไขปัญหา หรือข้อสงสัยของท่านไม่ได้ สามารถโทรศัพท์สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองบริหารการเบิกจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง บาเหน็จบานาญ กรมบัญชีกลาง ซึ่งจัดแบ่งการให้บริการตามหน่วยต้นสังกัดผูร้ ับบานาญ ดังนี้ ต้นสังกัดของผู้รับบานาญ สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กระทรวงกลาโหมยกเว้น (กองทัพเรือ กองทัพอากาศ) กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ

เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ

02-127-7348 02-127-7346 02-127-7000 ต่อ 4252,4250

02-127-7334 02-127-7335 02-127-7000ต่อ 4510,4509 02-127-7332 , 02-127-7331 , 02-127-7329 02-127-7339 02-127-7342-43 02-127-7000 ต่อ 4246 , 4251 02-127-7371 , 02-127-7368,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4340 , 4205

27

ต้นสังกัดของผู้รับบานาญ เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 02-127-7356 กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์

02-127-7000 ต่อ 6229 02-127-7334 , 02-127-7335, 02-127-7336 02-127-7000 ต่อ 4539 , 4509 , 4510 02-127-7372 , 02-127-7368,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4209 , 4205

กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 02-127-7376 , 02-127-7375,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4213, 4215 กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ 02-127-7374 , 02-127-7375,02-127-7365 กระทรวงพลังงาน กระทรวงมหาดไทย

สป.กระทรวงมหาดไทย กรมพัฒนาชุมชน กรมการปกครอง กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมที่ดิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กระทรวงแรงงาน

กระทรวงวัฒนธรรม

02-127-7000 ต่อ 4208 , 4210,4215

02-127-7369 , 02-127-7368,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4204, 4205 02-127-7370 , 02-127-7368,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4207 , 4205 02-127-7371 , 02-127-7368 ,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4340 , 4205 02-127-7331 , 02-127-7332,02-127-7329 02-127-7000 ต่อ 4216 02-127-7357 02-127-7000 ต่อ 6207

28

ต้นสังกัดของผู้รับบานาญ

กระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ส่วนราชการไม่สังกัดสานัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวงยกเว้น

เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ

02-127-7355 - 58 , 02-127-7346 , 02-127-7348 02-127-7000 ต่อ 6229 , 6206 , 6208 02-127-7376 , 02-127-7375,02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4213, 4215 02-127-7355 02-127-7000 ต่อ 6202 02-127-7372 - 73 , 02-127-7375, 02-127-7365 02-127-7000 ต่อ 4208 , 4210,4215

สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สานักงานตารวจแห่งชาติ

02-1277356 02-127-7348 ,02-127-7346,02-127-7343-4 02-127-7348 ,02-127-7340-1 สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 02-127-7348 ,02-127-7343-4 สนง.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมฯ 02-127-7348 ,02-127-7346 02-127-7346 หน่วยงานอิสระ 02-127-7000 ต่อ 4250 สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ สานักงานศาลปกครอง สานักงาน ปปช. สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนฯ สานักงานศาลยุตธิ รรม 02-270-6400-3 Call Center กรมบัญชีกลาง

29

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร-ส่วนภูมภิ าค หากท่านพบปัญหา หรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของ ท่ า นและไม่ ส ะดวกที่ จ ะติ ด ต่ อ ทั้ ง ส่ ว นราชการผู้ เ บิ ก ของท่ า นและ กรมบัญชีกลาง ท่านก็สามารถติดต่อสอบถามที่หน่วยบริการที่ตั้งอยู่ใน ส่วนภูมิภาคของเรา คือสานักงานคลังเขตใกล้บ้านท่าน หรือสานักงาน คลังจังหวัดนครสวรรค์ ดังนี้ หน่วยงาน เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ 1. สานักงานคลังเขต 1 035 242949 2. สานักงานคลังเขต 2 038 535041 3. สานักงานคลังเขต 3 044 243010 4. สานักงานคลังเขต 4 042 245787 5. สานักงานคลังเขต 5 053 112482 6. สานักงานคลังเขต 6 055 322674 7. สานักงานคลังเขต 7 034 254023 8. สานักงานคลังเขต 8 077 355230-1 9. สานักงานคลังเขต 9 074 311567 10.สานักงานคลังจังหวัด................... ]

34

30

ตรวจสอบสิทธิ สาหรับท่านที่เลือกรับบานาญ เมื่อท่านออกจากราชการไปแล้ว สิ่งที่ ท่ านจะละเลยไม่ ไ ด้ คือ การรั กษาความถู ก ต้องเกี่ ยวกั บ ข้ อมูล ประวัติของท่าน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัว หรือ ทายาทตามกฎหมาย หรือบุคคลที่ท่านแสดงเจตนาไว้ หากมีการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไข ทาให้ ข้อมูลประวัติตัวบุคคล ไม่เหมือนเดิมตามที่ได้บันทึกไว้ในระบบฯ ท่าน ต้ อ งรี บ น าเอกสารที่ เ กี่ย วข้ อ งไปแจ้ ง กั บ นายทะเบี ย นต้ น สั ง กั ด (ส่ ว น ราชการที่ขอเบิกบานาญ) ของท่าน เพื่อแก้ไขข้อมูลประวัติในระบบให้ ถูกต้อง เช่น ›ชื่อ สกุล ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง › ที่อยู่ ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง › เบอร์โทรศัพท์ ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง › บัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบานาญ › รายการลดหย่อนภาษี ทั้งนี้ เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง และ ท่านควรติ ดต่อ นายทะเบี ยนต้นสังกัด (ส่ว นราชการที่ขอเบิ กบ านาญ) อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง เพื่ อ สอบถามข่ า วสารจากราชการหรื อ การ เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของท่าน

31

การโอนบานาญไปส่วนราชการผู้เบิกใหม่ สาหรับท่านที่เลือกรับบานาญ เมื่อเกิดความไม่สะดวกในการติดต่อ ส่วนราชการผู้เบิกบานาญเดิม ท่านสามารถแจ้งประสงค์ขอโอนบานาญไป ยั งส่ วนราชการผู้ เบิ กใหม่ ได้ ในส่ วนราชการเดี ยวกั น (สั งกั ดเดี ยวกั น) โดยมีขั้นตอนดาเนินการดังนี้ 1. ท่านแจ้งความประสงค์ต่อส่วนราชการผู้เบิกบานาญเดิม เพื่อขอ โอนการรับบานาญไปส่วนราชการผู้เบิกใหม่ 2. ส่วนราชการผู้เบิกบานาญเดิ มของท่าน จะจัดทาหนังสือสาคัญ การโอนเบี้ยหวัดบานาญ (แบบ สรจ.11) เสนอผู้มีอานาจให้ความเห็นชอบ แล้ ว ส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบบ าเหน็ จ บ านาญ (ระบบ e-Pension) ไปให้ กรมบัญชีกลางเพื่อสั่งจ่ายโอนบานาญไปจ่า ยทางส่วนราชการผู้เบิกใหม่ กรณี ไ ม่ ส ามารถส่ ง หลั กฐานผ่ านระบบบ าเหน็ จ บ านาญได้ ให้ ส่ ง ทาง ไปรษณีย์ 3. กรมบัญชีกลางตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาสั่งให้โอนบานาญ และส่งแบบ สรจ.11 ให้ส่วนราชการผู้เบิกเดิมและส่วนราชการผู้เบิกใหม่ ผ่านระบบบาเหน็จบานาญ(ระบบ e-Pension) เพื่อแจ้งนายทะเบียนผู้รับ บาเหน็จบานาญบันทึกรายการทางทะเบียนต่อไป หมายเหตุ : เมื่ อกรมบั ญชีกลางสั่ งโอนบานาญไปส่ วนราชการผู้ เบิ กใหม่ เรียบร้อย ท่านสามารถติดต่อเกี่ยวกับการขอเบิกสิทธิประโยชน์ต่างๆ ได้จากส่วน ราชการผู้เบิกใหม่ อาทิ ค่ารักษาพยาบาล บาเหน็จตกทอด การเปลี่ยนแปลง ข้อมูลของท่าน เป็นต้น

32

การยื่นขอรับบาเหน็จบานาญด้วยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Pensions’ Electronic Filing:e-filing) ผู้ที่สามารถยื่นขอรับบาเหน็จบานาญด้วยตนเอง 1. ข้าราชการที่พ้นจากราชการและมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญ 2. ลูกจ้างประจาที่ออกจากงานและมีสิทธิได้รับบาเหน็จ หรือบาเหน็จรายเดือน วิธีการยื่นขอรับ ยื่นผ่านอินเตอร์เน็ตทาง http://pws.cgd.go.th/EFiling  กรณีเกษียณอายุ ยื่นได้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ของทุกปี  กรณีลาออก ให้ออก ปลดออก ยื่นได้ตั้งแต่วันที่พ้นจากราชการ วิธีการสมัครใช้งานระบบ e-filing 1. ขอรหัสเพื่อใช้งานในระบบ e-filing ทางอินเตอร์เน็ต (ผ่าน google chrome) โดยไปที่ลิ้งค์ http://pws.cgd.go.th/EFiling/login 2. เลือกลงทะเบียน 2.1 ลงทะเบียนเข้าใช้งานในระบบโดยป้อนรายละเอียดเลข บัตรประจาตัวประชาชน 13 หลัก ชื่อ-นามสกุล วัน/เดือน/ปีเกิด เลขที่บัญชี ธนาคารที่ใช้สาหรับโอนเงินเดือน และหมายเลขโทรศัพท์มือถือ (หากมี เครื่องหมาย*สีแดง ให้กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน) 2.2 เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อย ระบบจะสร้าง รหัสผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน โดยแสดงรหัสผ่านที่หน้าจอ และระบบจะดาเนินการส่งรหัสผ่านไป ใน e-mail ที่ระบุ ผูล้ งทะเบียนต้องจดรหัสผ่านเพื่อเข้าใช้งานระบบ 2.3 นารหัสผ่านที่ได้จากข้อ 2.2 ไปใช้งานในระบบ e-filing โดยเข้าไปที่ url ตามข้อ 1 (ผ่าน google chrome) เพื่อยื่นเรื่องขอบาเหน็จ บานาญต่อไป ทั้งนี้สามารถดาวน์โหลดคู่มือการใช้งานระบบการยื่นขอรับบาเหน็จ บานาญด้วยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ http://pws.cgd.go.th/EFiling

33

จากใจ..เรา เราขอขอบคุณและชื่นชมท่านในความทุ่มเทและเสียสละสาหรับงาน ราชการที่ท่านปฏิบัติทุกภารกิจ ทุกหน้าที่ เป็นอย่างดี บัดนี้ ถึงเวลาที่ท่านได้หยุดพักผ่อน และส่งมอบผลงานของท่านให้ คนรุ่นหลังสืบสานต่อไป เราขอเป็นกาลังใจให้ท่านใช้ชีวิตหลังออกจาก ราชการอย่างมีความสุข มีสุขภาพที่แข็งแรง มีพลังกาย พลังชีวิตที่เข้มแข็ง ขอให้โชคดีทุก ๆ ท่าน ..

จากวันที่พากเพียร......... สู่วันเกษียณที่ภาคภูมิ.......

แต่ เราก็พร้อมจะนั่ง

จัดทาโดย สานักงานคลังจังหวัด............... โทร.................................. 34

Data Loading...