โครงร่างวิจัย - PDF Flipbook

งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาการศึกษา

104 Views
30 Downloads
PDF 5,202,945 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี - 1 - โครงรา่ งงานวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

โครงรา่ ง : งานวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษา

โรงเรียนปากเกร็ด อาเภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี

กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

ชอื่ ครผู ู้วิจัย นางสาวสภุ าพร นามสกุล เรียมรัตนวาณชิ ย์ .
ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
วิทยฐานะ........................................................................................................................................

1. ข่อื เร่อื งงานวิจัย การหาประสิทธิภาพชดุ สอนการสอนออนไลนร์ ายวิชาการงานอาชีพ 5 ง 23101 ระดบั ชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 3

เป็นงานวิจยั ประเภท  1.วิจัย/ผลสมั ฤทธ์ิฯ  2.วจิ ัย/แบบสารวจ แบบสอบถาม
 3.วิจัย/พฤตกิ รรม  4.วจิ ยั /แบบรายบุคคล กรณีศกึ ษา (Case Study)
 5.อื่นๆ/ระบุ การทดสอบประสทิ ธภิ าพสื่อหรือชดุ การสอน

2. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา (โดยย่อ)

จากสถานะการณ์การตดิ ตอ่ ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) เปน็ โรคตดิ ต่อท่ีเกิดจากเชือ้ ไวรสั โค
โรนาสายพันธ์ุใหม่ที่เพิ่งค้นพบส่งผลต่อการจัดการศึกษาเน่ืองจากเป็นโรคติดเช้ือจากคนสู่คนและมีผู้เสียชีวิต
รัฐบาลมีนโยบายการจัดการทางการศึกษาโดยมีการปิดสถานศึกษาในช่วงท่ีมีการระบาดรุนแรงจากช่วงเ วลา
ดงั กล่าวการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลนใ์ ช้สื่อการสอนบนระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ การจดั ทาสื่อ
การสอนหรอื ชุดการสอนน้นั กอ่ นนาไปใช้จริงจะต้องนาสื่อหรือชดุ การสอนทีผ่ ลติ ข้ึนไปทดสอบประสิทธิภาพเพื่อ
ดูว่าสื่อหรือชุดการสอนทาใหผ้ ู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ มีประสิทธิภาพในการช่วยให้กระบวนการเรียนการ
สอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์หรือไม่และผู้เรียนมคี วามพึงพอใจต่อการ
เรียนจากสื่อหรือชุดการสอนในระดับใด ดังนั้นการผลิตสื่อการสอนจาเป็นต้องนาส่ือหรือชุดการสอนไปหา
คณุ ภาพ เรยี กวา่ การทดสอบประสทิ ธภิ าพ

การเรียนในรายวิชา การงานอาชีพ 5 ม.3 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้ังหมด 4 หน่วยการเรียนรู้
คือ การดูแลเส้ือผ้า อาหารประเภทสารับ การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ และธุรกิจเพ่ือชีวิต การ
วิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนออนไลน์รายวิชา การงานอาชีพ 5 ม.3 ประจา
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

3. วัตถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัย (ความมงุ่ หมายของงานวิจัย)
1. เพือ่ หาประสิทธภิ าพของชุดการสอนสอนออนไลน์รายวิชาการงานอาชีพ 5 ง 23101 ระดับช้นั

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
2. เพ่อื หาความพึงพอใจต่อการเรียนจากชุดการสอนสอนออนไลน์รายวชิ าการงานอาชีพ 5 ง 23101

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

โรงเรียนปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี - 2 - โครงรา่ งงานวิจัยเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

4. ความสาคญั ของงานวจิ ยั
1. ประสิทธภิ าพชดุ การสอนหรือคณุ ภาพของสมรรถนะในการดาเนนิ การอย่างถูกวิธบี รรลุตาม

วัตถปุ ระสงค์
2. การทดสอบประสิทธิภาพของชุดการสอน หมายถึงการนาสอ่ื หรือชุดการสอนไปทดสอบดว้ ย

กระบวนการสองขน้ั ตอน ดว้ ยการทดสอบเบอ้ื งตน้ และทดสอบประสทิ ธภิ าพสอนจรงิ
3. การหาความพึงพอใจต่อการใช้ส่อื การสอนออนไลน์รายวิชาการงานอาชีพ 5 ง 23101 ระดบั ชน้ั

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

5. ขอบเขตของการวิจัย

5.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

ประชากร (Population) เปน็ นักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปากเกรด็

ทีเ่ รียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 9 ห้องเรยี น จานวนนักเรยี น 190 คน

กลุ่มตวั อย่าง (Samples) เปน็ นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นปากเกรด็

ท่ีเรยี นในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ไดจ้ ากการสุ่มแบบ....................................................................................................................

จานวน 9 หอ้ งเรียน จานวนนกั เรียน 190 คน................................................................................................................................................................
........ ........... ........... ............

5.2 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย ปีการศึกษา 2564 ระหว่างเดอื นพฤษภาคม ถงึ
ดาเนินการวิจยั ในภาคเรียนท่ี 1

เดอื นกนั ยายน 2564

5.3 เนื้อหาทใี่ ชใ้ นการวิจัย

เป็นเนื้อหาวิชา การงานอาชพี 5 รหัสวิชา ง.23101

เร่ือง การงานอาชีพ 5 ม.3 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้ังหมด 4 หน่วยการเรียนรู้ คือ การดูแลเสื้อผ้า

อาหารประเภทสารบั การประดษิ ฐบ์ รรจภุ ัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ และธุรกจิ เพอ่ื ชีวติ

6. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ประกอบดว้ ย (เอกสาร ชดุ การเรยี น ชุดการสอน เอกสารประกอบการเรียน
ใบความรู้ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ แบบสารวจ แบบสอบถาม แบบรายงานผลสัมฤทธ์ิ การปฏิบตั ิ ฯลฯ)
1. ชดุ การเรียนออนไลน์
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
3. แบบสอบถาม แบบรายงานผลสัมฤทธ์ิ
4. การปฏิบตั กิ ารเรียนการสอน

7. ตัวแปรทีศ่ ึกษา
7.1 ตวั แปรตน้ /ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่
ชุดการเรยี นออนไลน์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

7.2 ตัวแปรตาม (dependent Variable) ได้แก่
ผลสัมฤทธ์ิด้วยแบบสอบทดสอบท้ายบทเรยี น ความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์

โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี - 3 - โครงรา่ งงานวจิ ัยเพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

5. นิยามศัพทเ์ ฉาะ (ถา้ มี)

ชุดการสอนการงานอาชีพ 5 ม.3 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ทั้งหมด 4 หน่วยการเรียนรู้
ประกอบด้วย การดูแลเสื้อผ้า อาหารประเภทสารับ การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ และธุรกิจเพ่ือ
ชวี ิต

6. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม

ชดุ การเรียนออนไลน์ ผลสมั ฤทธิ์ด้วยแบบสอบทดสอบท้ายบทเรียน
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์

7. สมมุตฐิ านของการวจิ ัย (ถ้ามี : ต้องสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ของงานวจิ ัยหรือความมุง่ หมายของงานวิจยั )
1. ชุดการเรยี นออนไลนร์ ายวชิ าการงานอาชีพ 5 สามารถใช้ประกอบการเรียนเพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพ

การจัดการเรียนการสอน
2. นักเรียนในรายวชิ าการงานอาชพี 5 มีความพึงพอใจต่อการใช้ชดุ การเรยี นออนไลน์

8. เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง (ถา้ มี : แบบยอ่ นาเสนอเท่าทจี่ าเปน็ /เพราะไม่ใช่ปริญญานพิ นธ์)

ไดด้ าเนินการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง ดังนี้
1.1 ความหมายการวจิ ัย (Definition for Research)

1.1.1 ความหมายการวิจยั ทั่วไป
การวจิ ยั (Research) เปน็ กระบวนการ (Process) หรอื เทคนิควิธี (Techniques) ในการ

แสวงความรู้ (Knowledge) ความจรงิ (Fact) ทน่ี า่ เช่ือถือได้ (Reliable) โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย (Objective) ที่
แนน่ อน (ยุทธ ไกยวรรณ์ และกสุ มุ า ผลาพรม , 2553 : 17)

1.1.2 ความหมายการวิจยั ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (Industrial Technology Research)
วิธีการศกึ ษาหาความรู้ การออกแบบ ตลอดจนการผลติ หรอื การสร้างส่ิงประดิษฐ์ตา่ งๆ เพ่ือ

การแกป้ ัญหาการผลิตอยา่ งเป็นระบบ ให้กระบวนการผลติ เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ (ยุทธ ไกยวรรณ์ และ
กสุ มุ า ผลาพรม , 2553 : 27)

1.1.3 ความหมายการวิจยั ในชั้นเรยี น (Classroom Research)
การวจิ ยั ในชั้นเรียน หมายถึง วธิ กี ารหรือกระบวนการทใี่ ห้ไดม้ าซง่ึ ความรู้หรือคาตอบซึง่ ครู

เป็นผู้จัดทาข้ึนเอง โดยมจี ุดมุ่งหมายที่จะนาผลการวจิ ัยไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาการเรยี นการสอนในชัน้ เรียนของ
ตน (วาโร เพง็ สวสั ด์ิ, 2546 : 1)

โรงเรียนปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี - 4 - โครงรา่ งงานวิจยั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

การวิจัยในชัน้ เรยี นเปน็ บทบาทของครใู นการแสวงหาวธิ กี ารแก้ไขปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดข้ึนใน
บริบทของช้ันเรยี นโดยทาพร้อมๆ กนั ไปกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามปรกติ ด้วยกระบวนการท่ี
เรยี บง่าย และเช่อื ถอื ได้ เพ่ือนามาใช้ในการพฒั นาการเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ
ตอ่ ผเู้ รยี น (ครุรักษ์ ภริ มย์รักษ์, 2544 : 4)

1.2 ตัวแปรในการวจิ ยั (variable)
ตวั แปร หมายถึงคุณลักษณะของสิ่งตา่ งๆ ทม่ี ีคา่ แปรเปล่ียนในรปู ของปรมิ าณหรือคุณภาพ ตงั้ แต่ 2 คา่

ขึ้นไป ส่ิงต่างๆ ในท่ีนี้อาจจะเป็นวัตถุ สงิ่ ของ เหตุการณ์ สถานท่ี เปน็ ตน้ ซ่งึ ตัวแปรทีเ่ กี่ยวข้องกบั การวิจัยแบ่ง
ออกเป็น 3 ชนิดคือ (วาโร เพง็ สวสั ดิ์, 2546 : 14-15)

2.2.1 ตวั แปรอิสระ หรอื ตัวแปรต้น (independent variable)
2.2.2 ตวั แปรตาม (dependent variable)
2.2.3 ตัวแปรแทรกซ้อน หรือตวั แปรเกิน (extraneous variable)

1.2.1 ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรที่มีอิสระในการเปล่ียนค่า และเมื่อเปล่ียนค่าแล้วมีผลให้เกิดการเปลี่ยนคา่ ในอีกตัว

แปรหน่ึง หรือบางครง้ั อาจเรยี กวา่ ตวั แปรเหตุ ซง่ึ เปน็ ตัวแปรท่มี มี าก่อน
1.2.2 ตัวแปรตาม
ตัวแปรท่ีเปล่ียนค่าเน่ืองมาจากตัวแปรอสิ ระเปลีย่ นค่า หรอื บางครง้ั อาจเรยี กว่าตัวแปรผล ซึง่

เปน็ ตัวแปรทเี่ กิดทีหลงั
1.2.3 ตัวแปรแทรกซ้อน
ตัวแปรใดๆ ท่อี ย่เู หนือจากขอบข่ายของการวิจัย เป็นตวั แปรทผี่ ู้วิจัยไมไ่ ดส้ นใจทจ่ี ะศึกษา แต่

เป็นตวั แปรทีส่ ่งผลต่อตวั แปรตาม ซึง่ จะทาใหผ้ ลจากการวจิ ัยมคี วามคลาดเคลอ่ื นได้

1.3 ลักษณะปัญหาในช้นั เรียน
ปญั หาท่ีเกิดข้ึนในช้ันเรยี น คือปรากฏการณห์ รือส่ิงต่างๆ ท่ีเกดิ ขึ้นในช้ันเรยี นหรือเกิดข้ึนกับผู้เรยี น ซ่ึง

เปน็ ปัญหาทีส่ ่งผลให้การเรียนการสอนไมบ่ รรลเุ ป้าหมายตามที่กาหนด (วาโร เพ็งสวสั ดิ์, 2546 : 7)
ปัญหาคือ คาถามหรือโจทย์ที่ผู้วิจัยกาหนดข้ึน ซึ่งต้องการคาตอบที่เชื่อถือได้ และการได้มาซึ่งคาตอบ

จะตอ้ งอาศยั กระบวนการทีม่ ีระบบระเบยี บ (ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกลู , 2543 : 43)
ปัญหาคือสภาพที่เกิดข้ึนมาโดยไม่สอดคล้องกับสภาพที่ควรจะเป็น หรือสภาพท่ีต้องการ หรือช่องว่าง

ระหว่างสภาพที่ควรจะเป็นกับสภาพท่ีเป็นอยู่ หรือความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับความเป็นจริง (ครุ
รกั ษ์ ภิรมย์รกั ษ,์ 2544 : 19)

ปญั หาวิจัยท่ีดีสาหรบั การวิจัยในช้ันเรียน มลี ักษณะเบื้องต้น 3 ประการได้แก่ (ผ่องพรรณ ตรัยมงคล
กลู , 2543 : 44-45)

โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี - 5 - โครงรา่ งงานวจิ ัยเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

2.3.1 ปญั หาวจิ ยั ควรมคี วามหมายและเอ้ือประโยชนต์ ่อการเรียนการสอนโดยตรง
2.3.2 ปัญหาวิจยั น้ันต้องสามารถหาคาตอบไดอ้ ยา่ งสอดคล้องกบั ศกั ยภาพของครู
2.3.3 ปญั หาวิจัยควรสอดคล้องกับประสบการณ์ ความสนใจและความถนดั ของผวู้ จิ ยั
1.3.1 ปัญหาวิจัยควรมีความหมายและเอ้ือประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอนโดยตรง
เปน็ ประเดน็ ท่ีนบั ว่าเป็นหวั ใจของการวิจยั ในชั้นเรยี น ซ่ึงเม่อื ครูทาการวิจัยแล้วจะให้คาตอบที่
เกิดประโยชน์ทางปฏบิ ตั ิแก่ครผู ู้วจิ ยั หรือทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจปญั หาดขี ้นึ นาไปสู่การปฏิบตั ไิ ดด้ ขี ้ึนต่อไป
1.3.2 ปัญหาวจิ ัยนั้นต้องสามารถหาคาตอบไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของครู
ปัญหาในการเรยี นการสอนบางปัญหาไมอ่ ยู่ในวสิ ัยทค่ี รูจะหาขอ้ มูลเพอ่ื ตอบคาถามอย่างมัน่ ใจ
จึงไม่ใช่ปัญหาวิจัยที่ดีถึงแม้ว่าจะเป็นปัญหาท่ีมีความหมายและให้ประโยชน์ก็ตาม นอกจากน้ี ปัญหาวิจัยที่ดี
ควรมีขอบเขตท่ีเหมาะสม ไม่กว้างขวางหรือลึกซึ้งเกินศักยภาพของครูท่ีจะทาการวิจัย ทั้งในด้านความรู้-
ประสบการณ์ เวลา และภาระรบั ผดิ ชอบของครู ท่ีสาคัญการดาเนินการวจิ ยั โดยเฉพาะในขั้นตอนการเก็บข้อมูล
ควรจะกลมกลืนเป็นส่วนหน่ึงของการสอนของครู ซี่งครูจะสามารถทาการสังเกตหรือเก็บข้อมูลด้วยวิธีต่างๆได้
งา่ ย
1.3.3 ปญั หาวิจยั ควรสอดคล้องกับประสบการณ์ ความสนใจและความถนัดของผู้วิจัย
ประเด็นน้ีเกี่ยวกับความพร้อมและแรงจูงใจในการวิจัย เพราะถ้าครูได้ทาการวิจัยในเร่ืองที่มี
พื้นฐานมาก่อน หรือในเรื่องที่ชอบ ตรงกับความถนัดเฉพาะตน ย่อมจะเกิดแรงจูงใจในการทาวิจัย ทาให้การ
วจิ ัยเป็นเรอื่ งสนุกและไม่ก่อใหเ้ กิดความเครียดมากนัก ดังนั้นถ้าเลอื กได้ครไู ม่ควรทาการวิจยั ตามที่คิดว่าควรจะ
ทา เท่านั้นเชน่ ทาตามนโยบายของผู้บรหิ าร โดยทข่ี ัดแยง้ ต่อความรู้สกึ ของตน เป็นตน้

1.4 การวเิ คราะห์ปัญหาการวิจยั ในชั้นเรยี น
กระบวนการวเิ คราะหป์ ัญหาการวิจัยในช้นั เรยี น มี 4 ขั้นตอนดงั น้ี (วาโร เพ็งสวสั ด์ิ, 2546 : 8-14)
1.4.1 ปญั หามอี ะไรบา้ ง
1.4.2 เลือกศึกษาปญั หาประเดน็ ใด
1.4.3 ปญั หาน้นั เกี่ยวขอ้ งกับเรอ่ื งใดบ้าง
1.4.4 ปญั หาวิจัยคืออะไร

1.4.1 ปัญหามอี ะไรบา้ ง
ครผู วู้ ิจัยจะต้องทาการสารวจปญั หาในชัน้ เรียนวา่ มอี ะไรบา้ ง โดยปัญหานั้นส่งผลตอ่ คุณภาพ

ของนักเรียนท้งั ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสยั และทักษะพิสัย

1.4.2 เลือกศกึ ษาปัญหาประเด็นใด
เมื่อครผู ู้สอนทาการวิเคราะห์ปัญหาในช้ันเรียนแล้ววา่ มีปัญหาใดบ้าง จากน้ัน จึงทาการเลือก

ประเด็นปัญหาที่จะศึกษา ซ่ึงจะต้องพิจารณาจัดอันดับความสาคัญ และนาปัญหาท่ีสาคัญที่สุดมาดาเนินการ

โรงเรียนปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี - 6 - โครงรา่ งงานวิจัยเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

แกไ้ ข และพัฒนาก่อน นอกจากนย้ี ังจะต้องพิจารณาว่าปญั หานนั้ ๆ มคี วามเหมาะสม และอยู่ในวสิ ัยที่จะทาวิจัย
ไดใ้ นขณะนนั้ หรอื ไม่

1.4.3 ปัญหานัน้ เกีย่ วขอ้ งกับเร่ืองใดบา้ ง
จากท่ีครูผู้สอนเลือกประเด็นปัญหาที่จะศึกษาในข้ึนต้อง 2 แล้วจะต้องทาการศึกษาว่าปัญหา

น้ันเก่ียวข้องกับเร่ืองใดบ้าง ในกรณีท่ีปัญหาที่ครูผู้สอนทาวิจัยเป็นปัญหาที่สลับซับซ้อนควรแยกแยะปัจจัยที่
เก่ียวข้องกบั ปญั หาน้ันๆ เพอ่ื ให้เหน็ องคป์ ระกอบ และภาพรวมของปัญหาทกุ แงม่ ุม

1.4.4 ปญั หาวจิ ัยคืออะไร
เมอ่ื ครูผสู้ อนทาการเลอื กประเดน็ ปญั หาไดแ้ ล้วจึงเขยี นเป็นคาถามให้ชัดเจน ซง่ึ เรียกว่า

คาถามวิจยั หรอื ปัญหาวจิ ัย (research problem)

1.5 กาหนดวิธีการหรือนวตั กรรม
นวัตกรรมทางการศึกษา (innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของความคิด

หรือการกระทา รวมท้ังส่ิงประดิษฐ์เข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังท่ีจะเปล่ียนแปลงสิ่งท่ีมีอยู่เดิมให้
ระบบการจดั การศึกษามีประสิทธภิ าพย่ิงข้ึน (วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2546 : 27-38)

1.5.1 ประเภทของนวัตกรรม
นวัตกรรมทางการศึกษาที่ใช้แก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนการสอนมีหลายประเภทในที่นี้

แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.5.1.1 นวัตกรรมทางการศกึ ษาด้านส่ือการสอน
1.5.1.2 นวัตกรรมทางการศกึ ษาเทคนคิ การสอน

1.5.1.1 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอนนวัตกรรมทางการศกึ ษาด้านสื่อการสอน ซ่ึง

แบ่งออกเป็น

1) สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารประกอบการสอน บทเรียนแบบโปรแกรม ชุดการสอน
หรือชุดการเรยี น รายงานการศึกษาค้นควา้ รายงานโครงการ เปน็ ตน้

2) สื่อโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ภาพยนตร์ สไลด์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เทปเพลงเทป
เสยี ง เป็นต้น

1.5.1.2 นวตั กรรมทางการศกึ ษาดา้ นเทคนคิ การสอน ไดแ้ ก่ เทคนิคการสอนแบบ
คลีนิคเทคนิคการสอนแบบแก้ปัญหา เทคนิคการสอนเพื่อปรับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เทคนิคการสอนเพื่อ
ปลูกฝังค่านิยม การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนโดยใช้เทคนิคการสอนซ่อมเสริม การสอนแบบโครงการ
เปน็ ต้น

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 7 - โครงร่างงานวิจัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาสามารถสรปุ เป็นแผ่นภาพได้ ดังนี้

ประเภทของนวัตกรรมทางการศกึ ษา

ส่ือการสอน เทคนิคการสอน

สื่อสงิ่ พิมพ์ สื่อโสตทัศนปู กรณ์ การสอนแบบคลีนคิ
การสอนแบบแกป้ ญั หา
เอกสารประกอบการสอน ภาพยนตร์ การสอนเพอ่ื ปลูกฝังคา่ นิยม
บทเรยี นแบบโปรแกรม สไลด์ การสอนโดยใช้เทคนิคการสอนซ่อมเสรมิ
ชดุ การสอน/ชดุ การเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน การสอนเพื่อปรบั ปรุงพฤติกรรมที่

ไมพ่ งึ่ ประสงค์

ภาพประกอบที่ 1.1 แสดงประเภทของนวตั กรรมการศึกษา
ทีม่ า : วาโร เพ็งสวัสด์ิ (2546 : 29)

1.5.2 ชดุ การสอน (Instructional package) (วาโร เพง็ สวัสดิ์, 2546 : 34-36)
ชุดการสอนเป็นสื่อการสอนชนิดหน่ึงซึ่งเป็นชุดของสื่อประสม (multi-media) (หมายถึงการ

ใช้สื่อการสอนตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ตามท่ีต้องการ ชื่อที่นามาใช้ร่วมกันน้ีจะ
ช่วยเสริมประสบการณ์ซึง่ กันและกันตามลาดบั ข้ันท่ีจัดเอาไว้)ที่จัดขึน้ สาหรับหนว่ ยการเรยี นตามหัวข้อเนื้อหาที่
ตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นได้รบั โดยจดั เอาไวเ้ ปน็ ชดุ ๆ บรรจอุ ยู่ในซอง หรือกลอ่ ง หรอื กระเป๋า

1.5.2.1 ประเภทของชดุ การสอน ชุดการสอนแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
1) ชุดการสอนประกอบคาบรรยาย เป็นชุดการสอนสาหรับผู้สอน จะใช้สอนผู้เรียน

เป็นกลุ่มใหญู่ หรือเป็นการสอนที่ต้องการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนส่วนใหญ่รู้และเข้าใจในเวลาเดียวกัน ชุดการสอน
แบบนี้จะชว่ ยให้ผูส้ อนลดการพดู ใหน้ ้อยลง ซ่งึ ชดุ การสอนชนดิ นอ้ี าจเรียกว่าชดุ การสอนสาหรับครู

2) ชุดการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม เปน็ ชดุ การสอนสาหรับผ้เู รียนเรียนกนั เปน็ กลุ่มเล็ก
ๆ ประมาณ 5-7 คน โดยใช้ส่ือการสอนที่บรรจุไวใ้ นชดุ การสอนแตล่ ะชุด มุ่งท่ีจะฝึกทักษะในเน้ือหาวิชาท่ีเรียน
และให้ผู้เรยี นมโี อกาสทางานรวมกัน

3) ชดุ การสอนแบบรายบุคคล เปน็ ชุดการสอนสาหรบั เขยี นดว้ ยตนเองเป็นรายบคคล
ซ่ึงผู้เรียนจะต้องศึกษาหาความรู้ ความสามารถและความสนใจของตนเอง อาจจะเรียนท่ีโรงเรียนหรือที่บ้านก็
ได้

1.5.2.2 องค์ประกอบของชุดการสอน องค์ประกอบทีส่ าคญั ของชดุ การสอน มี 4 สว่ น ดงั น้ี
1) คูม่ อื ครู ซ่งึ อาจจดั ทาเป็นเลม่ หรอื เปน็ แผ่น โดยมสี ่วนตา่ ง ๆ ดังนี้
(1) คาชี้แจง

โรงเรียนปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี - 8 - โครงร่างงานวิจยั เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา

(2) ส่งิ ทผี่ ้สู อนตอ้ งเตรียม
(3) บทบาทของผูเ้ รยี น
(4) การจัดชน้ั เรยี นพร้อมแผนผงั
(5) แผนการสอน
(6) เนอ้ื หาสาระประจาศนู ยต์ า่ งๆ
(7) การประเมนิ ผล (แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน)
2) แบบฝึกหดั (work book) เป็นคมู่ อื ของผ้เู รยี นท่ีประกอบกิจกรรม
การเรยี น บนั ทึกคาอธิบายของผู้สอนและใบงาน หรือแบบฝึกหัดตามทีก่ าหนดไว้ในบัตรกจิ กรรม แบบฝกึ ปฏิบัติ
อาจแยกเป็นชดุ ชุดละ 1-3 หน้า หรอื นามารวมกนั เปน็ เล่มกไ็ ด้
3) สื่อสาหรับศูนย์กิจกรรม จะประกอบไปด้วยบัตรคาส่ัง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม
บตั รคาถาม และบัตรเฉลย รวมทงั้ บทความ บทเรยี นแบบโปรแกรม สไลด์ เทปบันทกึ เสียง ฟิล์มสตรปิ แผ่นภาพ
โปรง่ ใส วัสดุกราฟิกส์ ห่นุ จาลอง ของตัวอย่าง เป็นต้น ผู้เขยี นจะศกึ ษาจากสือ่ การสอนตา่ ง ๆ ท่ีบรรจจุอยู่ในชุด
การสอนตามบัตรคาท่ีกาหนดไว้
5.2.2.4 แบบประเมินผล ผู้เขียนจะทาการประเมินผลความรู้ด้วยตนเองก่อนและ
หลังเรยี น แบบประเมินผลท่ีอยู่ในชุดการสอนอาจจะเป็นแบบฝึกหัด การเติมคาในช่องว่าง การเลือกตอบ การ
จบั คเู่ ป็นต้น

1.5.2.3 ข้นั ตอนในการผลติ ชดุ การสอน มีดังน้ี
1) กาหนดหมวดหมเู่ น้อื หาและประสบการณ์
2) กาหนดหน่วยการสอน แบ่งเน้ือหาวีชาออกเป็นหน่วยการสอนโดยประมาณ ซึ่ง

เนอื้ หาวชิ าที่จะให้ครูสามารถถ่ายทอดความร้แู ก่นักเรียนไดใ้ นหน่ึงสัปดาหห์ รือหน่งึ ครัง้
3) กาหนดหัวเรื่อง ในการสอนแต่ละหน่วยควรให้ประสบการณ์ออกมาเป็น 4-6 หัว

เรื่อง
4) กาหนดความคิดรวบยอด และหลักการ จะฟ้องใหส้ อดคล้องกบั หนว่ ยและหัวเร่ือง
5) กาหนดวัตถุประสงค์ โดยกาหนดให้สอดคลอ้ งกับหัวเร่ือง เป็นวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤ

ดิกรรม
6) กาหนดกิจกรรมการเรียน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งจะเป็น

แนวทางในการเลือกและผลิตสื่อการสอน
7) กาหนดแบบประเมินผล ต้องออกแบบประเมินผลให้ตรงกับวัดถุประสงค์เชิง

พฤติกรรมโดยใช้การสอบแบบอิงเกณฑ์ เพ่ือให้ผู้สอนทราบว่าหลังจากผ่านกิจกรรมมาแล้วผู้เรียนได้เปลี่ยน
พฤติกรรม การเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคท์ ตี ้ังไว้หรือไม่

8) การเลือกและผลิตส่ือการสอน ผลิดส่ือการสอนของแต่ละหัวเรื่อง แล้วจัดส่ือ
เหล่านน้ั ไวเ้ ปน็ หมวดหม่ใู นกล่องทเี่ ตรียมไว้ กอ่ นนาไปทดลองหาประสิทธิภาพ

9) หาประสิทธิภาพซุดการสอน เพ่ือเป็นการยืนยันว่าชุดการสอนที่สร้างข้ึนมี
ประสทิ ธิภาพ

10) การใช้ซุดการสอน ชุดการสอนท่ีได้ปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีตั้ง
ไวส้ ามารถนาไฟปใชส้ อนได้ โดยมขี ั้นตอนการใชด้ งั นี้

(1) ใหผ้ ู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพ่อื ตรวจสอบความรู้
พ้นื ฐานเดมิ ของผู้เรียน ซ่งึ จะใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที

โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี - 9 - โครงรา่ งงานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

(2) ข้ันนาเขา้ ส่บู ทเรยี นเรยี น
(3) ข้นั ประกอบกิจกรรมการเรยี น (ขนั้ สอน)
(4) ขั้นสรปุ ผลการสอน
(5) ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่
เปล่ียนไป หลังจากใช้ชุดการสอน

1.5.3 กระบวนการสรา้ งนวตั กรรมทางการศกึ ษา (วาโร เพง็ สวัสด์ิ, 2546 : 29-30)

กระบวนการสรา้ งนวตั กรรมทางการศึกษามขี ้นั ตอนทส่ี าคัญ ดังน้ี
1.5.3.1 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เม่ือครูผู้สอนได้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการ
จดั การเรยี นการสอนแลว้ ครูผ้สู อนจะต้องตัง้ เปา้ หมายในการพัฒนาคุณลักษณะทพ่ี ีงประสงคใ์ หแ้ ก่ นักเรียน ซึ่ง
กค็ ือการกาหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรนู้ น่ั เอง
1.5.3.2 กาหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรยี นรู้ เม่ือได้กาหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ไว้
ชดั เจนแล้ว ครูผู้สอนต้องศึกษาค้นควา้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกีย่ วข้องกับจุดประสงค์ในการพฒั นา
คุณลักษณะของผู้เรียน เพ่ือนามากาหนดกรอบความคิดของกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือจัดสร้างเป็นต้นแบบ
นวตั กรรมข้นึ ใชแ้ ก้ปญั หาหรอื พฒั นาการเรียนร้ขู องนักเรียน
1.5.3.3 สร้างต้นแบบนวัตกรรม เม่ือดัดสินใจได้ว่าจะเลื๒กจัดทานวัดกรรมชนิดfด ครูผู้สอน
ตอ้ งศึกษาวธิ กี ารทานวดั กรรมชนดิ นน้ั ๆ อยา่ งลึกซ้ึง และสรา้ งนวัตกรรมน้นั ขึ้นมา ?
1.5.3.4 ทดลองใช้นวัตกรรม การทดลองใช้นวัตกรรมเพ่ือหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมซึ่ง
วธิ กี ารหาประสทิ ธิภาพมดี ังน้ี

1) การทดลองหน่ึงต่อหนึ่ง โดยเลือกนักเรียนค่อนข้างอ่อนมา 1 คน ให้ศึกษา
นวัตกรรมและตอบคาถามถามที่กาหนดไว้ ครูผู้สอนจะบันทึกคาตอบ และเหตุผลท่ีนักเรียนตอบไม่ถูก แล้วนา
ขอ้ มูลนั้นประกอบการปรับปรุงแกไ้ ขนวตั กรรมต่อไป

2) ทดลองกับกลุ่มเล็ก โดยเลือกนักเรียนประมาณ 6-10 คน และผู้เรียนที่เก่งและ
อ่อนให้ทาแบบทดสอบก่อนใช้นวัตกรรม จากน้ันจึงทดลองใช้นวัตกรรม ถ้านักเรียนพบข้อบกพร่องของ
นวัตกรรมนั้น ๆ ก็จะทาเครื่องหมายไว้สาหรับอภิปรายกับครูภายหลังที่ศึกษานวัตกรรมน้ัน ๆ จบแล้ว เมื่อ
ศึกษานวัตกรรมน้ัน ๆ จบแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือดูความก้าวหน้าหลังจากใช้นวัตกรรม
การทดลองข้ันน้ีจะบันทึกเวลาทีใช้เรียนนวัตกรรมนั้น ๆ ด้วย เพ่ือจะได้ทราบเวลาท่ีเหมาะสมสาหรับการ
นาไปใชจ้ รงิ

3) การทดลองภาคสนาม จะทดลองกับผู้เรียน ประมาณ 40-100 คน คละผู้เรยี นทั้ง
เกง่ ปานกลาง และออ่ น ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน จากนัน้ จึงนานวัตกรรมไปทดลองใช้ เมื่อเสร็จส้ิน
แล้วจะทาการทดสอบหลังเรียน แล้วนาผลสัมฤทธ์ิท่ีได้ใปคานวณหาค่าประสิทธิภาพของนวัตกรรมตามเกณฑ์
มาตรฐานท่ีกาหนด โดยใช้สูตร E /E2

1.5.4 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา (วาโร เพ็งสวัสด,์ิ 2546 : 42-44)

เกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ เป็นระดับที่ผู้ผลิตนวัตกรรมพึงพอใจว่า ถ้าหากนวัตกรรมมีประสิทธิภาพถึงระดับท่ีกาหนดแล้ว ก็มี
คณุ ค่าพอที่จะนาไปใช้ได้ และคุ้มคา่ แก่การลงทุนผลิดออกมา การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทาได้โดยการ
ประเมินผลพฤติกรรมผู้เรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเน่ือง(กระบวนการ) และพฤติกรรมข้ันสุดท้าย
(ผลลัพธ)์

โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี - 10 - โครงร่างงานวิจยั เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

1.5.4.1 ประเมินพฤติกรรมต่อเน่ือง (transitional behavior หรือ El) คือ ประเมินผล
ต่อเนื่องประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยหลาย ๆ พฤติกรรม เรียกว่า“ กระบวนการ” (process) ของผู้เรียนท่ี
สังเกตจากการประกอบกิจกรรมกลุ่ม และรายบุคคล ซึ่งได้แก่งานที่มอบหมายและกิจกรรมอื่นใดที่ผู้สอน
กาหนดไว้

1.5.4.2 ประเมินพฤติกรรมข้ันสุดท้าย (terminal behavior หรือ E2) คือ ประเมิน
ผลลัพธ์(products) ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนการกาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1 คือ
ประสิทธิภาพของกระบวนการ และ E2 คือประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ซ่ึงการทีจะกาหนดเก่ณฑ์ E1 /E2 มีค่า
เท่าใดนั้นผู้สอนจะเป็นผู้พิจารณาโดยปกติเน้ือหาที่เป็นความรู้ความจามักจะต้ังค่าไว้ 80/80, 85/85 และ
90/90 สว่ นเนื้อหาทเ่ี ป็น ทกั ษะอาจจะต้งั ไวต้ ่ากว่าน้ี เชน่ 75/75 เป็นตน้

เกณฑป์ ระสิทธิภาพ E1 /E2 เชน่ 90/90 มคี วามหมาย ดงั นี้
90 ตัวแรก หมายความว่า เม่ือเรียนจากนวัตกรรมแล้ว ผู้เขียนจะสามารถทา

แบบฝกึ หดั หรืองานได้ผลเฉล่ีย 90% หรอื ร้อยละ 90
90 ตวั หลัง หมายความวา่ ผูเ้ รยี นทาการสอบหลงั ใช้นวัตกรรมได้ผลเฉลย่ี 90% หรือ

รอ้ ยละ 90

วธิ ีการคานวณหาคา่ ประสทิ ธิภาพนวัตกรรม เปน็ ดังน้ี

x

1. หาคา่ E1  N x100
A

เมือ่ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ

x แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหัด หรืองาน

A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ หัดทุกชนิ้ รวมกนั
แทน จานวนผูเ้ รียน
N

F

2. หาคา่ E2  N x100
B

เมือ่ E2 แทน ประสทิ ธิภาพของผลลพั ธ์

 F แทน คะแนนรวมของผลลพั ธ์หลังเรยี น

B แทน คะแนนเดม็ ของการสอบหลังเรยี น
N แทน จานวนผู้เรยี น

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 11 - โครงรา่ งงานวิจัยเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

1.5.4.3 ข้นั ตอนการหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม
เมอื่ ผลิตนวัตกรรมเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ จะต้องนานวตั กรรมไปหาประสทิ ธภิ าพตามขน้ั ตอน ดังน้ี

1) 1 : 1 (หรือแบบเดี่ยว) คอื ทดลองกบั ผ้เู รียน 1 คน โดยใชเ้ ดก็ ออ่ น ปานกลาง
และเกง่ โดยทดลองกบั เดก็ อ่อนก่อน ทาการปรับปรุงแล้วทดลองกับเด็กปานกลาง แลว้ จึงนาไป
ทดลองกบั เดก็ เกง่ ในกรณีสถาบนั การไมอ่ านวยก็ใหท้ ดลองกบั เด็กอ่อนหรือปานกลาง คานวณหา
ประสทิ ธิภาพแลว้ ปรบั ปรุงให้ดขี ้ึน โดยปกติคะแนนท่ไี ดจ้ ะต่ากว่าเกณฑ์มาก โดยจะได้ค่า E1 /E2
ประมาณ 60/60

2) 1 : 10 (หรือแบบกลุ่ม) คือทดลองกับผู้เรียน 6-10 คน และผู้เรียนท้ังเก่งและอ่อน
คานวณหาประสทิ ธิภาพแล้วปรับปรุง ซึ่งในครั้งนี้ คะแนนจะเพม่ิ ขน้ึ เกือบเท่าเกณฑ์ หรือ
ห่างจากเกณฑ์ประมาณ 10% นั้นคอื ค่า E1 /E2 ประมาณ 70/70

3) 1 : 100 (หรอื ภาคสนาม) คือ ทดลองกบั ผ้เู รียน 40-100 คน และผเู้ รยี นท้งั เกง่
และออ่ น คานวณหาประสิทธภิ าพแล้วทาการปรับปรงุ ซง่ึ ในคร้ังนี้ ผลทีไ่ ดค้ วรใกล้เคียงกบั เกณฑ์
ที่ไดต้ ั้งไว้

9. แบบแผนการวจิ ัยและสถิติท่ีใช้

9.1 แบบแผนการวิจัยและสถิตทิ ใ่ี ช้ทดสอบสมมตุ ิฐาน
9.1.1  แบบแผนการทดลองแบบ One-group pretest – posttest design (เปรยี บเทียบก่อน-หลงั )

กลมุ่ สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง

E T1 X T2

สถิติทดสอบ t (t-test for Dependent Samples) D : df  n 1

สตู ร สูตรท่ใี ช้ทดสอบ t = n D2 (D)2

n 1

9.1.2  แบบแผนการทดลองแบบ One-group pretest – posttest design (เปรยี บเทียบกบั เกณฑ)์

กลมุ่ ทดลอง สอบหลงั

E X T2

สถติ ิทดสอบ t (t-test One group) X
0
สตู ร สูตรที่ใชท้ ดสอบ t= s : df  n 1

n

9.1.3  แบบแผนการทดลองแบบเปรียบเทยี บ 2 กลมุ่ )( pretest – posttest two group design)

กลมุ่ สอบก่อน ทดลอง สอบหลงั

E ทดลอง T1 X T2

C ควบคมุ T1 X T2

สถิตทิ ดสอบ F (F-test ) แบบการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนรว่ ม (analysis of covariance : ANCOVA)

สตู ร สูตรที่ใชท้ ดสอบ F= S2b
S2w

โรงเรียนปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี - 12 - โครงร่างงานวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา

9.1.4  สถิตท่ีใชท้ ดสอบสมมตุ ิฐานที่มีมาตราประมาณคา่ (Rating Scale) มีค่าเฉลย่ี เลขคณิต ( X )
และคา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D. )
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

9.1.5  สถิตท่ีใช้ทดสอบสมมตุ ิฐานอ่นื (ถ้ามี : ระบุ)
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

9.2 สถติ ิพ้ืนฐาน
9.2.1  ค่าเฉล่ียเลขคณิต ( X )
ใช้หา ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
9.2.2  ค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D. )
ใชห้ า .....................................................................................................................................................................................................................................................................................................

9.3 สถติ ิท่ีใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ (ถ้ามี)

9.3.1  คา่ ความสอดคล้อง (IOC)  ค่าความยาก (p)

 คา่ อานาจจาแนก (r)  ค่าความเช่ือมั่น ( rtt ,  )

9.3.2 / ประสิทธภิ าพของเครื่องมือ ( E / E )
12

 หาดชั นปี ระสิทธิผล (Effectiveness Index : E.I. )

10. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั
1. ได้ทราบถงึ ประสิทธภิ าพของชุดการสอนออนไลนร์ ายวชิ าการงานอาชีพ 3
2. ทราบถงึ ผลประเมนิ ความพึงพอใจในการเรียนการสอนออนไลน์
3. สามารถนามาใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

11. แหล่งคน้ ควา้ หรือเอกสารอา้ งอิง
ครรุ กั ษ์ ภริ มยร์ ักษ์. (2544). เรียนรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิการวิจัยในชั้นเรียน. พิมพค์ ร้งั ท่ี 4. ฉะเชิงเทรา :

การประถมศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา.
นพดล เจนอักษร. (2544). แก่นวจิ ัยในช้ันเรียน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมยั .
ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543). การวิจัยในชัน้ เรยี น. พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ :

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
วาโร เพ็งสวสั ดิ.์ (2546). การวจิ ยั ในช้ันเรียน. กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาส์น.
สทิ ธิ์ ธรี สรส.์ (2552). แนวคดิ พ้นื ฐานทางการวิจัย. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .
Bellanca,J.and Brandt, R.(2010). 21st Century Skills, Rethinking How Students learn.

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 13 - โครงรา่ งงานวิจยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

Bloomington, IN: Solution Tree.

ลงช่อื ผ้เู สนอโครงร่างงานวจิ ัย........................................................................................................................................................
(นางสาวสุภาพร เรยี มรัตนวาณิชย์)
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี - 14 - โครงร่างงานวจิ ัยเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

การหาดชั นีประสทิ ธผิ ลของแผน (เอกสาร) การจัดการเรยี นรู้
เผชิญ กิจระการ (2546 : 1-6) ได้เสนอแนวทางในการหาประสิทธิผลของแผนการเรียนรู้หรือสื่อท่ี
สร้างข้ึน โดยให้พิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียนจากก่อนเรียนและหลังเรียนว่ามีความรู้ความสามารถ
เพ่ิมข้ึนอย่างเช่ือถือได้หรือไม่ หรือเพ่ิมขึ้นเท่าใดซ่ึงอาจพิจารณาได้จากการคานวณค่า t-test แบบ
Dependent Samples หรือหาคา่ ดัชนปี ระสทิ ธิผล (Effectiveness Index : E.I) มรี ายละเอียด ดงั น้ี
1. การหาค่าพัฒนาการท่ีเพ่ิมข้ึนของผู้เรียนโดยอาศัยการหาค่า t-test (แบบ Dependent Samples)
เป็นการพิจารณาดวู ่านักเรยี นมีพัฒนาการเพ่ิมข้ึนอย่างเชือ่ ถือได้หรือไม่ โดยทาการทดสอบนักเรียนทุกคนก่อน
(Pretest) และหลงั เรียน (Posttest) แล้วนามาหาคา่ t-test แบบ Dependent Samples หากมีนัยสาคัญทาง
สถิติ กถ็ ือไดว้ ่า นักเรยี นกลมุ่ นัน้ มีพัฒนาการเพ่ิมข้นึ อย่างเช่อื ถือได้
2. การหาพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นของนกั เรียนโดยอาศัยการหาคา่ ดัชนปี ระสิทธิผล (Effectiveness Index
: E.I) มสี ตู รดังน้ี
ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลังเรียนทุกคน – ผลรวมของคะแนนก่อนเรียนทุกคน

(จานวนนกั เรยี น x คะแนนเต็ม) – ผลรวมของคะแนนก่อนเรยี นทุกคน
การหาค่า E.I เป็นการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะท่ีว่าเพิ่มข้ึนเท่าไร ไม่ได้ทดสอบว่าเพิ่มขึ้นอย่างเชื่อถือได้
หรอื ไม่ วธิ กี ารอาจแปลงคะแนนใหอ้ ยใู่ นรปู ของร้อยละกไ็ ด้ ดงั นี้

ดัชนีประสิทธผิ ล = ร้อยละของผลรวมของคะแนนหลังเรียน – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน
100 – รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนกอ่ นเรยี นทุกคน

ข้อสงั เกตบางประการทีเ่ กีย่ วกบั ค่า E.I.
1. E.I. เป็นเร่ืองของอัตราส่วนของผลต่าง จะมีค่าสูงสุดเป็น 1.00 ส่วนค่าต่าสุดไม่สามารถกาหนดได้

เพราะค่าต่ากว่า -1.00 และถ้าเปน็ คา่ ลบแสดงว่า ผลคะแนนสอบก่อนเรยี นมากกวา่ หลงั เรียน ซึ่งหมายความว่า
ระบบการเรียนการสอนหรือส่ือทส่ี รา้ งขึ้นไมม่ คี ุณภาพ

2. การแปลผล E.I. ในตาราง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 ของงานวิจัย มักจะใช้ข้อความไม่
เหมาะสม ทาให้ผู้อา่ นเขา้ ใจความหมายของ E.I. ผิดจากความเป็นจริง เชน่ ค่า E.Iเทา่ กบั 0.6240 ก็มกั จะกล่าว
วา่ “ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากบั 0.6340 ซ่ึงแสดงว่านักเรียนมีความรเู้ พ่มิ ขึ้นร้อยละ 62.40 ซง่ึ ในความเป็นจริง
ค่า E.I. เท่ากับ 0.6240 เพราะคิดเทียบจาก E.I. สูงสุดเป็น 1.00 ดังนั้น ถ้าคิดเทียบเป็นร้อยละ ก็คือ คิดเทียบ
จากค่าสูงสุดเป็น 100 E.I. จะมีค่าเป็น62.40 จงึ ควรใชข้ ้อความว่า “ คา่ ดัชนีประสิทธผิ ล เท่ากับ 0.6240 แสดง
ว่านักเรียนมีความรู้เพ่มิ ขึ้น 0.6240 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.40 ”

3. ถ้าค่าของ E1/ E2 ของแผนการเรียนสงู กวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด และเม่อื หา E.I. ด้วยพบวา่ มพี ัฒนาการ
เพิ่มขึ้นถึงระดับหน่ึงที่ผู้วิจัยพอใจ หากคานวณค่าความคงทนด้วยโดยใช้สูตร t-test แบบDependent
Samples ก็ไม่ได้แปลว่าจะไม่มีนัยสาคัญ (เพราะผู้วิจัยคาดหวังว่าหากสื่อ หรือแผนการเรียนรู้มีคุณภาพ ผล
การเรียนหลังสอนเม่ือผ่านไประยะหน่ึง เช่น ผ่านไป 2 สัปดาห์ กับผลการเรียนจบจะต้องไม่แตกต่างกัน)
ลกั ษณะเช่นนีม้ ักพบในงานวจิ ัยของนิสิตบ่อยๆ คือ แผนการเรียนรู้ หรอื ส่ือมีค่า E1/ E2 สูงกว่าเกณฑท์ ี่กาหนด
คา่ E.I กส็ ูง แตผ่ ลการทดสอบความคงทนมีนัยสาคัญทางสถิติ ปัญหาน้ีน่าจะมาจากนักเรยี นไม่ได้ตั้งใจหรือเบื่อ
หน่ายในการทาข้อสอบอย่างจริงจัง แม้ว่าผู้วิจัยจะมีความรู้สึกว่าสื่อหรือแผนที่ใช้จะมีคุณภาพ ทาให้นักเรียน
เกิดความเข้าใจในเนือ้ หาสาระที่เรียนมาก หรอื มีความตรึงตราตรึงใจต่อบทเรียนมากเท่าไรก็ตาม

อา้ งอิงจาก
เผชิญ กจิ ระการ. (2546). “ดัชนปี ระสทิ ธผิ ล,” ใน เอกสารประกอบการสอน. หน้า 1 - 6. มหาสารคาม

: ภาควิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.


Data Loading...