การรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ - PDF Flipbook

การรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ

512 Views
50 Downloads
PDF 2,148,908 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA




การลอบสังหาร ( Assassination )

ความสาคัญของการลอบสั งหาร < Singnificance of Assassination > ก่อนที่เราจะคิดลงมือทางานเพื่อคุม้ กัน และรักษาความปลอดภัยให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งให้พน้ จากภัย ของการลอบสังหาร เราต้องมีความเข้าใจพื้นฐานว่าทาไมจึงมีบุคคลที่คิดจะลอบสังหารและวิธีการโดยทัว่ ไปที่ ชอบใช้ การลอบสังหารส่ วนใหญ่มกั จะไม่บรรลุจุดมุ่งหมายตามที่ผลู ้ อบสังหารได้วางแผนการเอาไว้เพราะ ๑. สังคมส่ วนใหญ่มกั ไม่ค่อยให้ความเห็นใจแก่คนที่ทาการลอบสังหาร ๒. น้อยครั้งที่การลอบสังหาร ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ๓. ถ้าเป็ นกรณี การลอบสังหาร โดยกลุ่ มองค์กรทางการเมื อง บ่อยครั้งจะกลายเป็ นการสร้ างความ เสี ยหายให้แก่องค์กรนั้นๆ เพราะเหตุการณ์ เช่ นนี้ มักจะนาไปสู่ การปราบปรามสมาชิ กขององค์กรซึ่ งเป็ นการ ผลักดันให้องค์กรนั้น ต้องกลับไปปฏิบตั ิการแบบใต้ดิน ๔. ในกรณี ที่กระทาการลอบสังหาร โดยบุคคลคนเดียว ส่ วนใหญ่มกั ไม่ค่อยจะตกเป็ นข่าวใหญ่และไม่ ค่อยสร้างชื่อเสี ยงดังที่ต้ งั ใจเอาไว้ ประวัติความเป็ นมาของการลอบสั งหาร < History of Assassination > ในสมัยโบราณ มนุ ษย์รู้จกั ใช้วิธีการลอบสังหาร เป็ นเครื่ องมือในการระบายความโกรธแค้นเพื่อบรรลุ เป้ าหมายของตน หรื อเพื่อเป็ นการแก้แค้น ต่อมามนุ ษย์เริ่ มรู ้จกั และจับกลุ่มกันจนมีการเลือกหัวหน้ากลุ่มขึ้น และมีคนบางคน ซึ่ งมีความต้องการที่จะเปลี่ยนตัวหัวหน้ากลุ่มใหม่ หรื อต้องการที่จะเป็ นหัวหน้ากลุ่มเอง เมื่อ มาถึ งช่ วงของต้นประวัติศาสตร์ ของโลกยุคใหม่ ผูน้ าเกื อบทุกคนตระหนักดี ว่า ตนเป็ นเป้ าหมายในการลอบ สังหาร จึงได้มีการค้นคิดวิธีการต่างๆ เท่าที่จะหาได้ เพื่อทาการรักษาความปลอดภัยแก่ผนู ้ าอย่างเข้มแข็งมาก ขึ้น โดยการกาหนดมาตรการในการรักษาความปลอดภัยต่อบุคคลสาคัญขึ้นอย่างเข้มงวด และรัดกุมยิง่ ขึ้น และ ก็เป็ นสาเหตุหนึ่ งที่ทาให้มีการค้นคิดวิธีการใหม่ๆ ในการลอบสังหารบุคคลสาคัญ รวมทั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ ที่ คิดค้นขึ้นมาและวิธีการที่จะเข้าให้ถึงตัวบุคคลสาคัญให้ได้โดยผ่านเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเข้าไป จะเห็ นได้วา่ การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญนั้น เป็ นงานในระดับชาติไม่มีการแบ่งเชื้ อชาติหรื อ แบ่งลัทธิ ทางการเมือง เพราะทุกประเทศในโลกต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทาให้ผนู ้ าของแต่ละประเทศ มักจะมีการเยี่ยมเยียนกันอยู่เสมอ จึงต้องมีการวางแผน และมาตรการในการปฏิ บตั ิการรักษาความปลอดภัย บุคคลสาคัญร่ วมกัน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญของประเทศไทย ในปั จจุบนั ยังมีปัญหาที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขการ ปฏิบตั ิต่างๆ อีกมาก เพราะงานด้านนี้ มีความสาคัญมากขึ้นตามลาดับ และเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานด้านการ รักษาความปลอดภัยอื่นๆ อีกด้วย ดังนั้นหากภารกิ จการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญขาดการสนับสนุ น และการเอาใจใส่ ให้มีประสิ ทธิ ภาพแล้ว ก็ยอ่ ยไม่สามารถปกป้ อง หรื อต่อต้านการกระทาของฝ่ ายตรงข้ามได้ จากเหตุการณ์ ที่ผ่านมาปรากฏว่าการลอบสังหารบุคคลสาคัญได้รับผลสาเร็ จเพราะความประมาทที่เกิ ดขึ้นใน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ซึ่ งเป็ นการเปิ ดประตูแห่ งความหายนะไปสู่ บุคคลสาคัญทั้งสิ้ น จึงจาเป็ น อย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะต้องศึกษารายละเอียดจากบทเรี ยนที่เกิดขึ้น เพื่อเป็ นแนวทางในการ พัฒนามาตรการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น



คาจากัดความ การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ คือ ระเบียบวิธีปฏิบตั ิที่จาเป็ นในการรักษาความปลอดภัยบุคคล สาคัญ ตลอดถึงครอบครัวของบุคคลสาคัญนั้นด้วย โดยให้การรักษาความปลอดภัยตลอดเวลาอย่างใกล้ชิด ทั้ง ในทางเปิ ดเผยและในทางลับ ความหมายของการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ หมายถึง มาตรการทั้งปวงที่กาหนดขึ้นเพื่อให้ความคุม้ ครองป้ องกันแก่บุคคลสาคัญให้พน้ จากอันตราย อันอาจเกิดขึ้นได้ จากอุบตั ิเหตุ หรื อความจงใจที่กระทาของฝ่ ายตรงข้าม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยส่ วนมากยอมรับว่า ไม่มีวธิ ี การใดที่จะให้การรักษาความปลอดภัยบุคคล สาคัญได้อย่างสมบู รณ์ และปลอดภัยจริ ง สิ่ งที่พอจะทาได้เพียงแต่ลดโอกาส ในการเข้าทาร้ายบุ คคลสาคัญ เท่านั้น ความมุ่งหมายและขอบเขตของการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ๑. เพื่อคุม้ ครองป้ องกันชีวติ ของบุคคลสาคัญ ทั้งอุบตั ิเหตุและการจงใจ ๒. เพื่อป้ องกันมิให้บุคคลสาคัญ ถูกบีบบังคับ โดยวิธีที่ผดิ กฎหมาย เช่น การลักพาตัว ๓. เพื่อป้ องกันมิให้บุคคลสาคัญถูกลบหลู่ดูหมิ่น สาเหตุของการลอบสั งหาร < Causes of Assassination > ๑. สาเหตุทางการเมือง < Political Causes > ๑.๑ เกิ ดจากกลุ่ มคนที่ คลัง่ อุ ดมการณ์ มี ความต้องการที่ จะเปลี่ ยนแปลงการปกครองใหม่ หรื อ เปลี่ยนรัฐบาลใหม่ กลุ่มคนเหล่านี้มกั จะใช้วธิ ี การลอบสังหาร เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการ ๑.๒ บุคคลสาคัญที่เป็ นเสมือนตัวแทนของรัฐบาล มักจะตกเป็ นเป้าหมายของผูล้ อบสังหารเพราะ เชื่อว่าเป็ นสาเหตุของการบีบคั้น การกดขี่ต่างๆ ๑.๓ ผูล้ อบสังหารที่หวังจะล้มล้างรัฐบาลที่มีอยู่ เพื่อที่จะจัดตั้งรัฐบาลใหม่ข้ ึน ก็มกั จะเป็ นสาเหตุ หนึ่งที่ทาให้เกิดการลอบสังหารขึ้นเป็ นส่ วนใหญ่ ตัวอย่าง : การลอบสังหาร ประธานาธิ บดี Augusto Pinochet แห่ งประเทศชิ ลี เมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๑๙๘๖ ในขณะที่กาลังเตรี ยมตัวจะกล่าวคาปราศรัย ในการหาเสี ยงสาหรับการเลือกตั้งประธานาธิ บดี ครั้งต่อไป การลอบสั งหารประธานาธิ บ ดี Ranasinghe Premdasa แห่ งศรี ล ังกา เมื่ อ ๑ พฤษภาคม ๑๙๙๓ โดยผูท้ ี่ ท าการสั งหารได้นาระเบิ ดติ ดตัวไว้ และได้เกิ ดระเบิ ดขึ้ น มี ผูเ้ สี ยชี วิต ๒๓ คน บาดเจ็บ ๒๖ คน (ส่ วนมากเป็ นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของประธานาธิบดีที่เสี ยชีวติ ) ๒. สาเหตุในทางเศรษฐกิจ < Economics Causes > ในกรณี ที่ผกู ้ ่อการร่ ายมีความคิดว่า บุคคลที่เป็ น เป้ าหมายของตน เป็ นต้นเหตุของสภาวะทางเศรษฐกิ จตกต่า ทาให้เกิ ดผลกระทบต่อประเทศชาติ ต่อกลุ่มคน ใดกลุ่มคนหนึ่ง ตัวอย่าง : ความพยายามลอบสังหารอดีตรัฐมนตรี ต่างประเทศ George Shultz เมื่อวันที่ ๘ สิ งหาคม ๑๙๘๘ ในโบลิเวีย เนื่องจากแผนการในการกาจัดยาเสพติดของรัฐมนตรี ผนู ้ ้ ี



๓. สาเหตุทางด้านอุดมการณ์ < Ideological Causes > ๓.๑ สาเหตุอนั เนื่องมาจาก ความเชื่อทางศาสนา หรื อสังคมผูก้ ่อการร้ายคิดว่า ถ้าตนเองสามารถ สังหารบุคคลสาคัญทางศาสนา จะทาให้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านศาสนาได้ ๓.๒ การพิ พ าทระหว่างกลุ่ ม เชื้ อ ชาติ และเผ่าพัน ธุ์ ก็ อ าจเป็ นต้น เหตุ ข องการลอบสั ง หารได้ เนื่องจากการต่อสู ้กนั ระหว่างกลุ่มเพื่อแก่งแย่งชิงอานาจกัน ตัวอย่าง : ประธานาธิ บดี อัลวา ซาดัด ถู กลอบสังหาร เพราะการโค่นชาวอิสลามหัวรุ นแรงในอียิปต์ เมื่อ ๖ ตุลาคม ๑๙๘๑ ขณะชมพิธีสวนสนามแสดงแสงยานุภาพ ในวันครบรอบ ๘ ปี ของ “The Crossing” ๔. สาเหตุทางด้านจิตวิทยา < Psychological Causes > คือ บุคคลที่ไม่สมประกอบ สติฟ่ั นเฟื อน การ ขาดความมัน่ คงทางอารมณ์ หรื ออยากเป็ นผูท้ ี่มีชื่อเสี ยงโด่งดัง เป็ นสาเหตุที่ทาให้เกิดการลอบสังหารเกิดขึ้น ตัวอย่าง : การพยายามลอบสังหาร ประธานาธิบดี Ronald Reagan โดย นาย John Hinkley Jr. การลอบสังหาร ประธานาธิบดี John F Kennedy โดย นาย lee Harvey Oswald ๕. สาเหตุทางด้านส่ วนตัว < Personal Causes > เป็ นความเกลี ยดชังกันเป็ นการส่ วนตัว อาจเกิ ด จากความริ ษยา หรื อความโกรธแค้นเป็ นการส่ วนตัว ตัวอย่าง : การลอบสังหาร นาย ยิตซ์ฮกั ราบิน นายกรัฐมนตรี ของอิสราเอล โดย นาย ยิกลั ป์ อามีร์ เพื่อหยุดยั้ง ขบวนการสันติภาพตะวันออกกลาง ๖. สาเหตุจากการได้รับ จ้าง < Mercenary Causes > เป็ นการกระทาการลอบสังหารบุคคลสาคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน ตัวอย่าง : การพยายามลอบสังหาร นาย Benito Mussolini ผูล้ อบสังหารได้ถูกว่าจ้างด้วยเงิน ๕๐,๐๐๐ เหรี ยญ สหรัฐ โดยลัทธิชาตินิยมของรัฐบาล ในอิตาลี ซึ่งเข้าสามารถสังหารได้สาเร็ จ ๗. สาเหตุ จากการถู กบังคับขู่เข็ญ < Black Mail Causes > ด้วยวิธีใด ก็ตามที่ บุคคลผูน้ ้ ันจาเป็ นที่ จะต้องปฏิบตั ิตาม กรรมวิ ธี ด าเนิ น การของศั ต รู และอาวุ ธ ที่ ใ ช้ ในการลอบสั งหาร < Attack Methods and Weapon Used in Assassinations > ศัตรู มีวิธีขดั ขวางไม่ให้บุคคลสาคัญปฏิ บตั ิ การอย่างใดอย่างหนึ่ งได้หลายวิธี นอกจากการเข้าทาร้ าย โดยตรงต่อตัวบุ คคลสาคัญแล้ว อาจจะกระทาต่อครอบครัวเพื่อนสนิ ท และผูส้ นับ สนุ น เป็ นต้น เช่ นการนา ระเบิ ดเวลาไปวางไว้ที่ ที่จะมี การชุ มนุ ม เพื่อไม่ ให้ป ระชาชนมาฟั งการประชุ ม ท าให้บุ คคลสาคัญขาดเสี ยง สนับสนุนได้ วิธีน้ ีมกั จะใช้กนั มาในช่วงการรณรงค์หาเสี ยง วิธีดาเนินการ ๑. การทาร้ายร่ างกาย ได้แก่ การทาร้ายร่ างกาย เพื่อให้บาดเจ็บหรื อถึงกับเสี ยชีวติ ๒. การคุกคาม เพื่อให้บุคคลสาคัญ เกิดความหวาดกลัว จนต้องเปลี่ยนนโยบาย มีวธิ ี กระทาหลายอย่าง เช่น ใช้บตั รสนเท่ห์ ในกรณี ระหว่างประเทศอาจใช้วิทยุกระจายเสี ยง หนังสื อพิมพ์ หรื อใช้การประชุ มระหว่าง ประเทศเป็ นเครื่ องมือ เป็ นต้น



๓. การขู่กรรโชก ได้แก่ การกระทาที่เป็ นภัยต่อบุคคลสาคัญเอง หรื อต่อครอบครัวของบุคคลสาคัญ การขู่กรรโชกอาจกระทาเพื่อต้องการเงินตอบแทน โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองเลยก็ได้ ๔. การหมิ่ นประมาท และการท าให้อบั อาย ได้แก่ การท าให้บุ คคลสาคัญได้รับความอับ อายหรื อ ก่อกวนให้เกิ ดความวุน่ วาย เช่น การขว้างปาสิ่ งของใส่ ใช้น้ าหมึกสาด การตัดสายไฟขณะที่บุคคลสาคัญกาลัง ปราศรัยอยู่ การเขียนป้ ายประจาน เป็ นต้น ๕. การลักพาตัว < Kidnapping > เป็ นวิธีการแบบหนึ่ ง จุดประสงค์น้ นั อาจจะไม่ใช่เพื่อการฆ่าแต่เป็ น การยึดเอาตัวไว้เพื่อต่อรอง บังคับเอาข่าวสาร หรื อมิให้กระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง แต่ถา้ ผูก้ ่อการร้ายไม่ได้สิ่งที่ตนเอง ต้องการ ก็อาจจะทาการสังหารเหยื่อของตน การลักพาตัวนี้ ต้องมีการวางแผนอย่างละเอียดถี่ถว้ น ส่ วนใหญ่ เป็ นกลุ่มผูก้ ่อการร้าย ประกอบด้วย ๕.๑ ทีมหาข่าวล่วงหน้า ๕.๒ ทีมเฝ้าสะกดรอย ๕.๓ ทีมบุกเข้าโจมตี ๕.๔ ทีมส่ งกาลังบารุ ง ๕.๕ ที่หลบซ่อนตัวของทีมปฏิบตั ิการ สิ่ งทีน่ ามาใช้ เป็ นเครื่ องมือในการทาร้ าย สิ่ งของทุกชนิ ดที่ผกู ้ ่อการร้ายนามาใช้ในการประทุษร้ายต่อบุคคลสาคัญย่อมถือว่าเป็ นอาวุธทั้งสิ้ น หรื อ เครื่ องมื อซึ่ งสภาพมิใช่ อาวุธ แต่นามาเป็ นอาวุธ เช่ น ก้อนอิฐ หมึ ก ส่ วนอาวุธก็คือ มี ด ขวาน ดาบ ธนู เป็ นต้น อาวุธเหล่านี้ เป็ นอาวุธที่ใช้ในระยะประชิดตัวและไม่เกิดเสี ยงดัง ศัตรู ที่ใช้อาวุธระยะใกล้ได้ก็คือ ๑. ผูท้ ี่อยูใ่ กล้ชิดกับบุคคลสาคัญ ๒. บุคคลในที่ทางาน หรื อที่บา้ นของบุคคลสาคัญ ๓. ผูท้ ี่เข้ามาเยีย่ มเยียน หรื อพบปะกับบุคคลสาคัญ ๔. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ อาวุธระยะใกล้ < Weapons at Close Range > ๑. ปื นพกและมีด เป็ นอาวุธที่ใช้กนั มากที่สุด สาหรับปื นพกใช้ได้ผลในระยะตั้งแต่ ๕ – ๒๐ เมตร พก ติ ดตัวได้ ปกปิ ดได้ ในระยะหลังเริ่ ม มี ก ารใช้ระเบิ ด และฆ่ าตัวตายตาม < Suicide Bombing > ถื อว่าเป็ นการ กระทาในระยะใกล้ ในการปฏิบตั ิการในระยะใกล้น้ ี จาเป็ นต้องมีการหาข่าวก่อน อย่างน้อยเพื่อจะได้รู้เส้นทาง ต่างๆ และมีการซุ่มติดตามก่อนที่จะเริ่ มลงมือลอบสังหาร ๒. อาวุธพิเศษ เป็ นอาวุธที่ผลิ ตคิดค้นขึ้ น เพื่อให้สามารถนามาเป็ นอาวุธในการลอบสังหารได้ใน ระยะใกล้ เช่น ปื นทาเป็ นกล่องบุหรี่ ปื นยิงเข็มอาบยาพิษ เป็ นต้น อาวุธระยะไกล < Weapons at a Distance > ๑. การลอบสังหารจากอาวุธระยะไกลซึ่ งมีระยะมากกว่า ๒๐ ฟุตขึ้นไป โดยใช้ปืนไรเฟิ ลนั้น เป็ น วิธีการที่พบเห็นว่าใช้กนั มากที่สุด



๒. ผูใ้ ช้จะต้องมีความรู ้ และไดรับการฝึ กมาอย่างดี และต้องเป็ นอาวุธที่ทนั สมัยต้องรู ้จกั การกะระยะ และสมรรถภาพของอาวุธเป็ นอย่างดี ๓. ต้องหาข่ าวล่ วงหน้า เพื่ อที่ จะรู ้ เส้ นทางการเดิ น ทางของบุ ค คลส าคัญ และเลื อกจุ ดที่ จะลงมื อ กระทาการลอบสังหารต่อไป วัตถุระเบิด < Explosives > มีวิธีการหลายอย่างจนแทบจะกล่ าวได้ว่า ไม่มีขอบเขตจากัด ในการใช้วตั ถุ ระเบิ ด ผูใ้ ช้วตั ถุ ระเบิ ด อาจจะซ่ อนระเบิดเวลาด้วยวิธีการต่างๆ ตามสถานที่ที่บุคคลสาคัญจะไปปรากฏตัวหรื อที่พานักอาศัย การตั้ง เวลาระเบิดมักกาหนดให้ระเบิดขึ้น ในเวลาที่ เจ้าหน้าที่จะแก้สถานการณ์ ได้ยากที่สุด เช่ น ถ้าต้องการให้เกิ ด ระเบิด ก็ตอ้ ให้ระเบิดขึ้นในขณะที่มีคนชุ มนุ มกันเป็ นจานวนมาก หรื ออาจจะมีการระเบิดขึ้น ๒ ครั้ง โดยให้ การระเบิดครั้งหลังสังหารผูท้ ี่มาช่วยระงับเหตุอนั เกิดจากการระเบิดครั้งแรก ในการจุดชนวนระเบิดนั้น มีวธิ ี การ ดังนี้ ๑. ผูว้ างระเบิดเป็ นผูจ้ ุดระเบิด โดย ๑.๑ ลากสายไฟฟ้า หรื อสายชนวนจากระยะไกล ๑.๒ ใช้การบังคับการจุดระเบิด จากเครื่ องบังคับระยะไกล ๑.๓ ผูจ้ ุดระเบิดยอมตาย โดยการนาระเบิดติดไว้ที่ตวั ของตนเอง ๒. เป้ าหมายเป็ นจุด ส่ วนมากจะเป็ นกับระเบิดหรื อวัตถุระเบิดชนิดต่างๆ ๒.๑ จดหมาย หรื อห่ อพัสดุที่จะระเบิดขึ้น เมื่อมีผแู ้ กะออก ๒.๒ ฝังระเบิดตามเส้นทางที่ขบวนรถยนต์ของบุคคลสาคัญผ่าน ในการวางระเบิดนั้น จะมีวธิ ี การ ดังนี้ ๑. ผูว้ างระเบิดเป็ นผูว้ างเอง โดย ๑.๑ อาจจะใช้การบุกเข้าไปวาง โดยการใช้อาวุธร่ วมด้วย ๑.๒ โดยการเล็ดลอดเข้าไปวางในเวลากลางคืน ปลอดคน ๑.๓ โดยการปลอมตัวเข้าไป ๒. ถูกใช้ให้วางระเบิดโดยไม่รู้ตวั โดยมากจะเป็ นพนักงานบริ การต่างๆ เช่นบุรุษไปรษณี ย ์ พนักงาน ส่ งของ ซึ่ งบุคคลเหล่านี้ไม่รู้วา่ สิ่ งที่นาไปส่ งนั้นมีระเบิดซุ กซ่อนอยู่ ๓. คนของผูว้ างระเบิดนาไปวางเอง โดยการแทรกซึ มเข้าไปอยูใ่ นพื้นที่น้ นั ๆ ผู้ก่อการร้ ายทีม่ ีการสนับสนุน < Sponsored of Terrorism > ผูก้ ่อการร้ายที่ได้รับการสนับสนุ นจากส่ วนใดๆ ก็ตาม มักจะเป็ นกลุ่มที่มีความสามารถสู งเป็ นอย่างดีย่ิง เนื่ องจากมี ก ารฝึ กอย่างดี และยังมี ก ารปรั บ ปรุ งระดับ ของตัวเจ้าหน้าที่ ใ ห้มี ส มรรถภาพ มี โอกาสจะประสบ ความสาเร็ จในการกระทาภารกิจใหญ่ๆ และยังมีเงินสาหรับลงทุนที่จะจัดหาอาวุธต่างๆ และวัตถุระเบิดที่ทนั สมัย อยู่เสมอ มี การสนับสนุ นทางด้านการข่าวเป็ นอย่างดี มีความคล่องตัวในการเคลื่ อนที่ เช่ น เรื่ องการทาหนังสื อ เดินทาง วีซ่า หรื อการปลอมตัว



หลักการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญนั้น ไม่มีมาตรการใด ที่จะดาเนิ นการระวังป้ องกันมิให้บุคคลสาคัญ ถูกลอบประทุษร้ าย หรื อประสบอุบตั ิเหตุได้อย่างสมบูรณ์ ร้อยเปอร์ เซ็ นต์ เพียงแต่ลดโอกาสในการเข้าทาร้ ายที่ ฝ่ ายตรงข้ามจะลอบเข้าทาร้ายบุคคลสาคัญเท่านั้น สาหรับมาตรการในการระวังป้ องกันนั้นสามารถเปลี่ยนแปลง และอ่อนตัวได้ตามสถานการณ์ ซึ่ งไม่กาหนดตายตัวแน่นอน ในการปฏิ บตั ิการ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องพึงระลึ กเสมอว่าบุคคลสาคัญ ต้องการใช้ชีวิตเป็ น การส่ วนตัวด้วยเหมือนกัน ดังนั้น ในบางโอกาสเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอาจผ่อนการปฏิบตั ิลงได้บา้ ง แต่ ต้องไม่ทิ้งหลักการในการรักษาความปลอดภัย โดยดาเนินการแบบที่บุคคลสาคัญไม่รู้ตวั และต้องพยายามปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ของบุคคลสาคัญให้ได้ โดยไม่ทาให้บุคคลสาคัญเสี ยเกี ยรติในที่สาธารณะ เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยต้องพยายามเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่บุคคลสาคัญชอบ หรื อไม่ชอบ ต้องมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรวดเร็ ว โดยสั ญชาตญาณเมื่ อเกิ ดเหตุ ก ารณ์ ข้ ึ น เพื่ อที่ จะสามารถพาบุ ค คลส าคัญ ไปยังที่ ป ลอดภัยได้ การรั กษาความ ปลอดภัยที่ดี และมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด จะขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบหลายอย่าง ดังนี้ ๑. การวางมาตรการรักษาความปลอดภัย < Protective Formations > พยายามลดช่องว่างที่คนร้ ายสามารถ เข้าทาร้ายบุคคลสาคัญให้มากที่สุดและวางรู ปแบบในการป้ องกันจากอาวุธต่างๆ ทั้งในระยะใกล้หรื อไกล ๒. การรวบรวมข่าวสาร < Protective Intelligence > รวบรวมข่าวสารที่มีผลกระทบกระเทือนต่อบุคคล สาคัญในการไปเยี่ยมเยียน หรื อในพื้นที่ ที่บุคคลสาคัญอยู่ หรื อตามสังเกตผูต้ อ้ งสงสัย ซึ่ งอาจกระทาการหาข่าว เกี่ยวกับบุคคลสาคัญอยู่ เพื่อให้มีการวิเคราะห์ถึงภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับบุคคลสาคัญได้ ๓. การวางแผนสารวจล่ วงหน้า < Advance Work > แผนการต่างๆ สามารถเปลี่ ยนแปลงได้ตลอดเวลา ตามสถานการณ์ จะต้องมีการสารวจล่ วงหน้า เพื่อจะได้ทราบข้อมู ลเกี่ ยวกับการข่าวและสถานที่ ต่างๆ เส้ นทางที่ ขบวนรถยนต์ของบุคคลสาคัญจะผ่าน โดยประสานงานกับส่ วนราชการที่เกี่ ยวข้อง เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการวาง แผนการต่างๆ ๔. การใช้เจ้าหน้าที่ตารวจ < Police > ใช้เจ้าหน้าที่ตารวจในพื้นที่ ให้ได้ประโยชน์มากที่ สุด เพราะ เจ้าหน้าที่ตารวจมีอานาจตามกฎหมาย ในการตรวจค้น จับกุม หรื อกักกันผูต้ อ้ งสงสัย ไม่ให้เข้าใกล้บุคคลสาคัญ ได้ ๕. ขบวนยานพาหนะ < Motorcades > การวางแผนการใช้ขบวนยานพาหนะ ของบุคคลสาคัญใน พื้นที่ต่างๆ การพาบุคคลสาคัญ ออกจากพื้นที่อนั ตรายอย่างรวดเร็ ว เพื่อให้พน้ จากอันตรายที่จะเกิดขึ้น ๖. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย < Security Agents > ต้องมีความรู ้ความสามารถผ่านการฝึ กอบรมมา อย่างดี มีความเข้าใจถึงวิธีการของผูก้ ่อการร้าย มีความรู ้ในเรื่ องมาตรการต่างๆ ที่มีประสิ ทธิ ภาพในการป้ องกัน การลอบประทุษร้ายเป็ นอย่างดี และมีความรู ้ความสามารถในการโต้ตอบ ถ้ามีการลอบประทุษร้ายเกิดขึ้น ๗. การให้ความร่ วมมือจากตัวบุคคลสาคัญ ในการปฏิบตั ิจะต้อง ๗.๑ ปรึ กษากับตัวบุคคลสาคัญ ขอความยินยอมให้คุน้ กันและอธิ บายหลักการในการปฏิบตั ิการ รักษาความปลอดภัยให้บุคคลสาคัญได้ทราบ



๗.๒ หาข่าวสารเพิ่ ม เติ ม เกี่ ยวกับ อันตรายต่ างๆ ที่ อาจจะเกิ ดขึ้ นกับ บุ คคลส าคัญ ได้จากบุ ค คล สาคัญเอง ซึ่งอาจนอกเหนือจากที่ได้รับข่าวสารมา ๗.๓ หาข้อมู ลต่างๆ ที่ บุ คคลส าคัญชอบ และไม่ชอบรวมทั้งการดาเนิ นกิ จวัตรประจาวันต่างๆ ของบุคคลสาคัญ ๗.๔ ต้อมีกาหนดการของบุคคลสาคัญ โดยต้องทราบล่วงหน้าก่อนที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไป ๗.๕ ต้องมีประวัติการแพทย์เกี่ยวกับตัวบุคคลสาคัญ โรคประจาตัว กลุ่มเลือด ๗.๖ ขออนุมตั ิตรวจสอบความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ ภายในบ้านพักและสานักงานของบุคคลสาคัญ ประเภทของบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ จาเป็ นต้องแยกประเภทของบุคคลสาคัญให้ชดั เจน เพื่อที่จะ ได้วางมาตรการให้ความคุม้ ครองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสถานที่ และเวลา วิธีพจิ ารณาในการแยกประเภทของบุคคลสาคัญ ๑. ความสาคัญขององค์บุคคล คือ ความสาคัญของบุคคลสาคัญในระดับต่างๆ เช่น องค์พระประมุข ของประเทศ ผูน้ าทางการเมือง ผูน้ าทางศาสนา ผูน้ าทางทหาร ฯ เป็ นต้น ๒. ล าดับ ความส าคัญ ต้องพิ จารณาจัด ล าดับ ความส าคัญ ของตัวบุ ค คลส าคัญ เพื่ อก าหนดระดับ ความสาคัญตามลาดับกัน เช่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถ องค์รัช ทายาท พระบรมวงศานุ วงศ์ช้ นั ผูใ้ หญ่ ประธานาธิ บดี นายกรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงฯ เป็ นต้น ๓. จานวนของบุคคลสาคัญ สถานที่ และพิธีการต่างๆ ที่บุคคลสาคัญไปชุ มนุ มพร้อมกันเป็ นจานวน มากย่อมความสาคัญมากกว่า สถานที่ที่มีบุคคลสาคัญอยูน่ อ้ ย ๔. อันตรายอันอาจเกิดต่อบุคคลสาคัญ พิจารณาได้จากข่าวสารที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้รับ โดยพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของผูก้ ่อการร้ายและวิธีดาเนินการที่ผกู ้ ่อการร้าย มักจะใช้กระทาเป็ นประจา ๕. จุดอ่อนของบุคคลสาคัญ ได้แก่ บุคคลสาคัญที่ไม่ค่อยจะอยู่ประจาที่ เช่น ต้องเดิ นทางไปพบปะ กับประชาชน หรื อไปร่ วมพิธีการต่างๆ ในที่สาธารณะอยูเ่ สมอ บุคคลสาคัญ ได้แก่ ๑. ประมุขของประเทศ เช่ น พระมหากษัตริ ย ์ พระบรมราชิ นี องค์รัชทายาท พระบรมวงศานุ วงศ์ ผูแ้ ทนพระองค์ ผูส้ าเร็ จราชการ องคมนตรี ประธานาธิบดี เป็ นต้น ๒. ผู ้น าทางการเมื อ ง เป็ นผู ้มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ นโยบายทางการเมื อ งของประเทศ เช่ น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หัวหน้าคณะปฏิวตั ิ เป็ นต้น ๓. ผูน้ าทางศาสนา ผูท้ ี่ เป็ นประมุ ข ทางศาสนาต่ างๆ เป็ นที่ เคารพนับ ถื อของปวงชน เช่ น สมเด็ จ พระสังฆราช สันตปาปา และผูน้ าทางศาสนาอื่นๆ ๔. ผูน้ าทางทหาร เป็ นผูท้ ี่มีหน้าที่ และตาแหน่ งสู งในทางทหาร เช่ น ประธานคณะเสนาธิ การทหาร รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงกลาโหม ผูบ้ ญั ชาการทหารสู งสุ ด ผูบ้ ญั ชาการทหารทุกเหลา ทัพ ผูน้ าหน่วยทหารขนาดใหญ่ในยามปกติและยามสงคราม



๕. นักวิทยาศาสตร์คนสาคัญ เป็ นผูค้ น้ พบสิ่ งประดิษฐ์ต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อประเทศชาติ ทั้งในทาง เศรษฐกิจ และทางทหาร เช่น ผูท้ ี่คน้ คิดอาวุธที่ทนั สมัย เป็ นต้น ๖. บุคคลสาคัญในทัศนะของปวงชน เป็ นบุคคลที่ประชาชนทัว่ ไป มีความรักใคร่ เคารพเชื่ อถือหรื อ สนใจเป็ นพิเศษ ๗. ผูแ้ ทนประเทศต่างๆ หรื อแขกของรัฐบาล ที่จะต้องให้ความคุม้ ครองป้ องกันเป็ นพิเศษ เช่น ประมุข ของต่างประเทศ นักการทูตต่างๆ เป็ นต้น

----------------------------------------------



การปฏิบัติการของผู้ก่อการร้ าย

การปฏิ บ ัติ ก ารของเจ้าหน้า ที่ รัก ษาความปลอดภัย จะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพได้ก็ คื อ ต้อ งรู ้ จกั การ ปฏิบตั ิการของฝ่ ายตรงข้าม ซึ่ งจะพบได้วา่ ส่ วนใหญ่ มีรูปแบบการปฏิบตั ิที่คล้ายคลึงกันบางประการโดยทัว่ ไป แล้วฝ่ ายผูก้ ่ อการร้ ายจะอยู่ในสภาพได้เปรี ยบ แต่ ในขณะเดี ยวกัน ก็ อาจจะมี จุดอ่ อนบางประการ ซึ่ ง ฝ่ ายเรา สามารถนามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ ได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย มี ค วามรู ้ เกี่ ยวกับ วิธี ป ฏิ บ ตั ิ ก าร และ ขั้นตอนต่างๆ ของผูก้ ่อการร้าย ซึ่ งทาให้เราสามารถป้ องกันการถูกลอบโจมตี และยังช่วยเหลือบุคคลสาคัญที่เรา ให้การอารักขาได้ ขั้นตอนของการปฏิบัติการก่อการร้ าย ขั้นตอนพื้นฐานของการปฏิบตั ิการก่อการร้ายมี อยู่ ๕ ขั้น คือ ๑. การเลือกเป้าหมาย ขึ้นอยูก่ บั จุดมุ่งหมายและระดับความสามารถของกลุ่ม ผูก้ ่อการร้ าย ซึ่ งไม่เลื อกว่าเป้ าหมายนั้นต้องเป็ นเป้ าหมายที่ เป็ นจุดอ่อนเท่านั้น บางครั้งก็จะเลื อกเป้ าหมายที่ มี ความสาคัญอย่างสู ง ต่อสถาบันใด สถาบันหนึ่ง ๒. การหาข่าวกรองเกี่ยวกับเป้ าหมาย การหาข่าวเกี่ยวกับเป้ าหมาย เป็ นความ จาเป็ นอย่างหนึ่ ง เพื่ อผลส าเร็ จในการว่างแผนในการลอบโจมตี เป้ าหมาย การหาข่ าวเป็ นการกระท าในทุ ก รู ป แบบ เพื่ อให้ ไ ด้ม าซึ่ งข่ าวสารต่ า ง ๆ ก่ อนที่ จะลงมื อ สิ่ ง ที่ จาเป็ นในการหาข่ าวนี้ ก็ คื อ การเฝ้ าสะกดรอย ซึ่ งผูก้ ่อการร้ายที่ทาการสะกดรอยในกลุ่มนั้น จะเป็ นพวกที่ไม่ค่อยชานาญในงานด้านนี้ การเก็บ ข่าวสารข้อมูลต่างๆ นั้น ผูก้ ่อการร้ายจะเก็บข้อมูล ถึงแม้วา่ ยังไม่มีเป้ าหมายที่แน่นอนตามเมื่อทราบ เป้ าหมายที่แน่นอนแล้ว จะมีการหาขาวเกี่ยวกับเป้ าหมาย และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของเป้ าหมาย นั้นด้วย แหล่งข้อมูลที่รวบรวมมาจากหนังสื อพิมพ์ ภาพข่าวเป็ นต้น ๓. การวางแผนปฏิบตั ิงาน ผูก้ ่อการร้ายต้องประเมินขีดความสามารถ ของตนเองก่อนเพื่อตัดสิ นใจว่าตนมีขีดความสามารถที่จะดาเนิ นแผนการในการลอบโจมตีน้ นั ๆ ได้หรื อไม่ เช่น กลุ่มผูก้ ่อการร้ายนี้จะมีโอกาสในเรื่ องเหล่านี้มากน้อยเพียงใด ๓.๑ การเข้าโจมตีแบบคาดไม่ถึง ๓.๒ การเข้าควบคุมจุดสู งข่ม ๓.๓ พื้นที่การเล็ง ๓.๔ การตรวจการณ์ที่ดี ๓.๕ ความเหนือกว่าในเรื่ องกาลังคน และอาวุธยุทโธปกรณ์ ๓.๖ การเลือกเวลา สถานที่ และโอกาสในการเข้าโจมตี ๓.๗ การเบี่ยงเบนความสนใจ หรื อการเข้าโจมตีระลอกสอง

๑๐

๓.๘ มีการฝึ กกาลังพลในการใช้อายุธ มากน้อยเพียงใด ๓.๙ มีการส่ งกาลังบารุ งเพียงพอหรื อไม่ เช่น ยานพาหนะ บัตรประจาตัวปลอม เป็ นต้น ๓.๑๐ สามารถเข้าไปยังจัดที่จะกระทาการไว้ล่วงหน้าโดยไม่เป็ นที่สงสัยของเจ้าหน้าที่ หลังจากกลุ่มผูก้ ่อการร้าย ได้ประเมินระดับขีดความสามารถของตนเอง และตัดสิ นใจที่จะลงมือ กระทาการแล้ว ก็ตอ้ งมีการซักซ้อมแผนการปฏิบตั ิในแต่ละขั้นตอน ๔. การโจมตี เป็ นการปฏิบตั ิตามแผนกที่ได้วางแผนและซักซ้อมแผนไว้แล้ว ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบตั ิมีความได้เปรี ยบต่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ในการปฏิบตั ิการโจมตีน้ ี จะเริ่ มต้น จากการชี้เป้ าหมาย การชี้เป้ าหมายนี้ จะเริ่ มขึ้นก่อนการดจมตี ซึ่ งจะกาหนดไว้ ล่วงหน้าตามแผนการ สาหรับบุคคลที่จะทาการชี้เป้ านั้นจะต้องอยูภ่ ายนอก “พื้นที่สังหาร” และต้อง มีการนัดหมายสัญญาณแก่ทีมที่ จะเจ้าโจมตีเช่ น การใช้วิทยุสื่อสาร การใช้โทรศัพท์ หรื อจุดที่ จะทาการโจมตี สามารถมองเห็นด้วยตาเมื่อได้รับการยืนยันจุดที่จะทาการโจมตี ก็จะส่ งชุดเข้าโจมตีทนั ที เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย จะต้องคอยสั งเกต และตื่ นตัวในเรื่ องการชี้ เป้ าหมายอยู่ตลอดเวลาถ้า สังเกตเห็นการส่ งสัญญาณขึ้น ย่อมแสดงว่าอีกไม่กี่วินาทีขา้ งหน้าจะมีการเริ่ มโจมตี เพราะการชี้ เป้ าหมายคือการ ให้สัญญาณการเริ่ มโจมตีนน่ั เอง ๕. การถอนตัว เป็ นความเชื่ อที่ผิดว่าผูก้ ่อการร้ ายส่ วนมาก ยินดีที่จะสละชี วิตเพื่ออุดมการณ์ ของตน ส่ วนใหญ่ แล้วเมื่ อผูก้ ่ อการร้ ายลงมื อโจมตี แล้ว จะถอนตัวเพื่ อที่ จะได้มี โอกาสกลับ มาปฏิ บ ตั ิ งานอี ก ผูก้ ่อการร้ ายต้องเลื อกจุ ดที่ เข้าโจมตี ซึ่ งเปิ ดโอกาสให้ตนเองสามารถถอนตัวออกมาได้โดยไม่เข้าไปติ ดอยู่ใน พื้นที่บงั คับ และเพื่อที่จะหลบหนี ออกมาได้ ถ้าการปฏิบตั ิการล้มเหลว พื้นที่ที่เหมาะสมคือจุดที่สามารถเข้าไป ปะปนกับฝูงชนได้อย่างรวดเร็ ว และเมื่อปฏิ บตั ิการโจมตีสาเร็ จ จะใช้สื่อมวลชนในการกระจายข่าว ในผลงาน ของตนเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยต้องมีความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิ บตั ิ ของผูก้ ่ อการร้ ายทั้ง ๕ ขั้นตอน เป็ นอย่า งดี เพื่ อ ป้ อ งกัน การเข้า ลอบโจมตี จากผูก้ ่ อการร้ าย ถ้าเราสามารถ ตัด ขั้น ตอนใดขั้น ตอนหนึ่ ง ใน ๕ ขั้นตอนนี้ ก็จะเป็ นการลดโอกาสในการเข้าโจมตีให้น้อยลงได้ หรื อเป็ นการทาให้การโจมตีเป็ นไปได้ยากขึ้ น และเป็ นการบีบให้คนรายเปลี่ยนความตั้งใจ เปลี่ยนเป็ นเป้ าหมายที่โจมตีง่ายกว่า

๑๑

วิธี ก ารที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สุ ด ๒ วิธี เพื่ อ ใช้ ป้ อ งกัน การโจมตี โดยกลุ่ ม ผู้ ก่ อ การร้ ายก็คื อ การเปลี่ย น เส้ นทาง และการเปลีย่ นเวลาเดินทางของบุคคลสาคัญอยู่เสมอ จุดบังคับ คือจุดใดๆ ที่บุคคลสาคัญ จะต้องเดินทางผ่าน (โดยยานพาหนะหรื อโดยทางเท้า) จากที่ หมายหนึ่ ง ไปยังอีกที่หมายหนึ่ งจุดบังคับนี้ ส่วนใหญ่จะอยูใ่ กล้สถานที่พกั สถานที่ทางานหรื อสถานที่ ที่ บุคคลสาคัญไปอยูเ่ ป็ นประจา ผูก้ ่อการร้ายมักจะมองหาจุดบังคับนี้ เพื่อวางแผนการลอบโจมตี เมื่อเลือกจุดบังคับ ได้ ผูก้ ่อการร้ ายก็จะเริ่ มมีการปฏิ บตั ิ ข้ นั ตอนต่างๆ ทั้ง ๕ ขั้นตอนสาหรับจุดบังคับแต่ละจุด ถ้าในจุ ดบังคับใด สามารถที่จะใช้ข้ นั ตอนทั้ง ๕ ขั้นตอนได้จุดนั้นก็คือ จุดที่มีโอกาสที่จะเกิดการลอบโจมตีได้มากการปฏิบตั ิการา สะกดรอยและชี้เป้ าหมายนั้น มักจะกระทาตรงจุดบังคับนี้ สาหรับจุดบังคับนี้ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะเรี ยกว่า “พื้นที่เหมาะสาหรับทาการโจมตี” หรื อ LAS เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องทราบขั้นตอนทั้ง ๕ ขั้นตอนเป็ นอย่างดีเหมือนกับว่า ท่านเป็ นผูก้ ่ อการร้ ายเอง สาหรับพื้นที่ที่เหมาะสาหรับทาการโจมตีก็คือ พื้นที่ ที่เจาหน้าที่ รักษาความปลอดภัย จะต้องระดมกาลัง และเป็ นจุดที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องตื่นตัวมากที่สุด มาตรการในการป้ องกันการปฏิบัติการของผู้ก่อการร้ าย มาตรการในการป้ องกันก็คือ วีการที่เราใช้จุดอ่อน ในการปฏิ บตั ิการของผูก้ ่อการร้ายให้เป็ นประโยชน์ ต่อเรา โดยการหาข่าวเกี่ยวกับการลอบโจมตี ในระยะที่ผกู ้ ่อการร้ายกาลังวางแผนอยู่ และป้ องกันปราบปรามการ ลอบโจมตีที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้ ยงั สามารถทาให้การปฏิบตั ิการของผูก้ ่อการร้าย กระทาได้ยากขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยเอง จะต้อง ๑. วิเคราะห์เส้นทางในการเดินทางของบุคคลสาคัญ ๒. ดักจับการทาการเฝ้าสะกดรอยของผูก้ ่อการร้าย ๓. ต้องมีความรู ้วา่ การลอบโจมตีน้ นั จะเกิดได้ในแบบใดบ้าง ๔. หาข่าวเกี่ยวกับเรื่ องผลกระทบในด้านภัยคุกคามต่อบุคคลสาคัญ ๕. ทาการวิเคราะห์ และแจ้งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ทราบเกี่ยวกับภัยคุกคาม ที่ อาจจะเกิดขึ้นกับบุคคลสาคัญได้ ส าหรั บ ด้านการข่ าวเกี่ ยวกับ บุ ค คลส าคัญ นั้น เราควรจะมี ข ้อมู ล เหล่ านี้ ไ ว้เพื่ อเป็ นประโยชน์ ในการ ปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย ๑. มีภยั คุกคามเฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งสาหรับบุคคลสาคัญหรื อไม่ ๒. มีกลุ่มผูก้ ่อการร้ายกลุ่มใดบ้างที่คิดจะทาร้ายบุคคลสาคัญ ๓. กลุ่มผูก้ ่อการร้ายมีหน่วยงานสนับสนุน อยูใ่ นพื้นที่น้ นั หรื อไม่ ๔. จุดประสงค์ในการเดินทางมาเยีย่ มของบุคคลสาคัญ ๕. การมาเยีย่ มเยียนของบุคคลสาคัญครั้งนี้ เป็ นสาเหตุให้เกิดความขุ่นเคืองแก่กลุ่มบุคคลใด หรื อไม่ ๖. ในช่วงเวลาที่ผา่ นมาไม่นาน เคยมีการเดินขบวนต่อต้านโดยกลุ่มที่ไม่พอใจต่อบุคคลสาคัญ หรื อไม่

๑๒

๗. การมาของบุคคลสาคัญในครั้งนี้ ได้รับความสนใจจากสื่ อมวลชนมากน้อยเพียงใด ๘. กลุ่มคนที่คาดว่าจะเป็ นภัยต่อบุคคลสาคัญรู ้เรื่ องการเดินทางมาในครั้งนี้ หรื อไม่ และมีกลุ่มคนเหล่านี้ ไปปรากฏตัวในพื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะไปหรื อไม่ ๙. เคยมี การขู่คุกคามเกิ ดขึ้นในพื้นที่ ที่บุ คคลสาคัญจะไปเยี่ยม หรื อไม่ โดยเฉพาะที่ โรงแรมที่บุคคล สาคัญกาลังจะไปพัก ๑๐. ในพื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะไป มีอาชญากรรมใดที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นในพื้นที่น้ นั อาชญากรรมที่เคย เกิดขึ้นเป็ นแบบไหน มีวธิ ี การอย่างไร ๑๑. มีกลุ่มคนร้ายที่มีอิทธิ พลอยู่ในพื้นที่น้ นั ๆ มีความคิดที่จะล้มล้างรัฐบาลขณะนั้นหรื อไม่ มีจานวน เท่าใด อาวุธยุทโธปกรณ์มีหรื อไม่ ที่อยูข่ องกลุ่มหรื อที่ทางาน ภาพถ่าย ผูส้ นับสนุน หน้ าทีข่ องเจ้ าหน้ าทีข่ ่ าวกรองในด้ านการรักษาความปลอดภัย ๑. ดารงการติดต่อกับแหล่งข่าวทั้งหมดอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเป็ นลักษณะทั้งให้และรับทันที่ที่ได้รับข่าวใน เรื่ องภัยคุกคาม ต้องรี บส่ งให้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยข่าวกรองที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะทาการวิเคราะห์ข่าวทันที ๒. เก็บข้อมูลที่เร่ งด่วน และมีความสาคัญที่สุด จากนั้นจึงเริ่ มหาข่าวในเรื่ องเดี ยวกัน ที่มีความสาคัญ รองลงมา ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลา ๓. ต้องแน่ใจว่าหัวหน้าชุ ดติดตาม < Detail Leader > จะได้รับข่าวที่สมบูรณ์ และถูกต้องอย่างรวดเร็ ว และทันท่วงที ๔. ในบางครั้งเจ้าหน้าที่ข่าวกรองอาจจะต้องเป็ นผูห้ าข่าวเอง เช่น การปะปนเข้าไปอยูใ่ นฝูงชน หรื อ ใช้ มาตรการการดักจับการเฝ้าสะกดรอย ในการกวาดล้าง หรื อจับกุมผูก้ ่อการร้าย ส่ วนมากมักพบเอกสารหรื อข้อมูลจานวนมาก ซึ่ งมีขอ้ มูลโดย ละเอียด เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของบุคคลสาคัญ มีการบรรยายถึ งลักษณะยานพาหนะ อุปนิ สัย กิ จวัตรส่ วนตัว ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว สถานที่ที่ไปบ่อย หรื อไปเป็ นประจาข้อมูลเหล่านี้ ได้ถูกรวบรวมเก็บไว้ เพื่อนามาวาง แผนการในการเข้าโจมตีจุดหมายที่เป็ นจุดอ่อนที่สุด ข้ อมูลทัว่ ไปทีก่ ลุ่มผู้ก่อการร้ ายเก็บรวบรวม < General Information > ๑. ข้อมูลเกี่ยวกับ ที่พกั และที่ทางาน ๒. วิธีการเดินทาง ยานพาหนะ ซึ่ งจะตรวจสอบว่า เป็ นยานพาหนะหุ ม้ เกราะกันกระสุ นหรื อไม่ ๓. เส้นทางในการเดินทางระหว่างที่พกั และที่ทางาน และสถานที่ที่บุคคลสาคัญไปปรากฏตัวบ่อยๆ ๔. เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยปฏิ บ ตั ิตามมาตรการ ในการรักษาความปลอดภัยได้ถูก ต้อง และ ตื่นตัวตลอดเวลาหรื อไม่ ๕. มีการใช้ระบบรักษาความปลอดภัยแบบใดในที่พกั สถานที่ทางาน ๖. มีเจ้าหน้าที่ตารวจ ซึ่ งสามารถตอบโต้เหตุการณ์ ในพื้นที่บริ เวณนั้นหรื อไม่ จากเอกสารของผูก้ ่อการร้ายมีขอ้ ความตอนหนึ่งที่กล่าวไว้วา่ “พวกผู้ก่อการร้ ายจาเป็ นต้ องอาศัยโชคช่ วยเพียงครั้งเดี่ยวก็เพียงพอแล้ ว ในขณะทีเ่ จ้ าหน้ าที่ ร.ป.ภ. จาเป็ นต้ องอาศัยโชคช่ วยทุกวันในการทางาน”

๑๓

ผูก้ ่อการร้ ายจาเป็ นที่จะต้องล้ าหน้าเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไปหนึ่ งก้าวอยู่เสมอ ถ้าเป้ าหมายใช้ ยานพาหนะที่ สามารถกันกระสุ นได้ ผูก้ ่ อการร้ ายก็จะต้องมี อาวุธที่ ส ามารถเจาะเกราะได้ และถ้าเป้ าหมายมี เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยประจาตัว ผูก้ ่อการร้ ายก็จะต้องหาทางที่ จะกาจักเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย เหล่านั้นเสี ย วิธีการทีผ่ ้ ูก่อการร้ ายใช้ ปฏิบัติในการสะกดรอย แบ่งออกเป็ น ๕ ประเภท ด้วยกัน คือ ๑. การเฝ้าสังเกตประจาที่ < Fixed Surveillance > ผูท้ ี่เฝ้าสังเกตในลักษณะนี้ จะอยูเ่ ฝ้าสังเกตเป้ าหมาย ที่จุดใดจุดหนึ่ง เพื่อคอยสังเกตพฤติกรรมหรื อการกระทาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ณ จุดใดจุดหนึ่ง ๒. การเฝ้ าสะกดรอยตามแบบเคลื่ อนที่ < Moving Surveillance > เป็ นการตามบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง โดยการเดินเท้าหรื อโดยยานพาหนะผูก้ ่อการร้ายจะใช้คน หรื อยานพาหนะจานวนเท่าใด ชนิดใดก็ได้ ๓. การสะกดรอยโดยเครื่ องมือเทคนิ ค < Technical Surveillance > โดยการใช้เครื่ องมือพิเศษทาง เทคนิค ในการบันทึกการสนทนาต่างๆ ภายในห้องรถยนต์ หรื อจากการดักฟังทางโทรศัพท์ ๔. การทาการสะกดรอบแบบผสม < Combination Surveillance > คือการนาเอาการสะกดรอยแบบ ประจาที่ แบบเคลื่อนที่และแบบใช้เครื่ องมือทางเทคนิค มาใช้ในการสะกดรอย ๕. การสะกดรอยแบบต่อเนื่ อง < Progressive Surveillance > เป็ นการทาการสะกดรอยโดยใช้เวลา มาก เพื่อทาการสะกดรอยเป้าหมายเป็ นระยะตามเส้นทางที่เป้าหมายใช้เป็ นประจา มาตรการในการป้ องกันการสะกดรอย < Surveillance Detection > วิธีการนี้ เป็ นวิธีการที่หน่วยรักษาความปลอดภัย สามารถนามาใช้เพื่อป้ องกัน ป้ องปราม หรื อทาให้การ ปฏิบตั ิการของผูก้ ่อการร้าย กระทาได้ยากขึ้น โดยปฏิบตั ิดงั นี้ การทาการสารวจเส้ นทาง < Route Survey > โดยปกติจะต้องมีการสารวจเส้นทางที่บุคคลสาคัญจะใช้อย่างละเอียดจากแผนที่เส้นทาง จากนั้นต้องมี การทดลองขับยานพาหนะไปบนเส้นทางเพื่อหาข้อมูล และรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ ๑. พยายามหาเส้นทางที่แตกต่างกัน ให้ได้มากที่สุด เท่าที่จะทาได้ ระหว่าที่พกั และที่ทางาน รวมทั้ง สถานที่ที่บุคคลสาคัญไปเป็ นประจา ๒. วิเคราะห์หาจุดบังคับ < Choke Points > และพื้นที่ที่เหมาะในการโจมตี < Ideal attack sites > บน เส้ นทางว่ามีอยู่บริ เวณใดบ้าง จัดอันดับความสาคัญของจุดเหล่านี้ และพยายามลดจุดบังคบบนเส้นทางนี้ ให้มี น้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้ ๓. ตรวจสอบสถานที่ปลอดภัย < Save House > โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด รวมทั้งหาเส้นทางที่ดีที่สุด เพื่อไปยังสถานที่เหล่านั้น ๔. การลงบันทึ กประจาวันเกี่ ยวกับเส้ นทางที่ใช้ การสารวจนี้ จะเป็ นการช่ วยไม่ให้มีการใช้เส้นทาง ของการเดินทางเป็ นรู ปแบบ ที่ซ้ าเป็ นกิจวัตรประจาวัน

๑๔

๕. เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย จะต้องคุ น้ เคยกับเส้ นทางที่ จะใช้และต้องรู ้ ว่าอะไรที่ เป็ นสิ่ งปกติ ธรรมดาบนเส้นทาง เพื่อที่สามารถดูส่ิ งที่ผดิ สังเกตที่จะเกิดขึ้นได้ในเส้นทางนั้น ๖. จุดที่น่าจะเป็ นอันตรายต่อบุคคลสาคัญบนเส้นทางนั้น ก็คือบริ เวณใกล้เคียงกับที่พกั และที่ ทางาน ของบุคคลสาคัญ โดยที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องตระหนักว่า จุดที่จะเกิดมีการโจมตีน้ นั ก็คือจุดที่มีการ ทาการสะกดรอยนัน่ เอง การใช้ รถตรวจการณ์ < Sweep Car > เป็ นวิธี ห นึ่ ง ในการป้ องกัน การสะกดรอยจากผูก้ ่ อการร้ าย อาจเรี ย กอี ก อย่า งหนึ่ ง ว่า รถเกาะขบวน เจ้าหน้าที่ที่อยู่ในรถดังกล่าวจะต้องไม่เปิ ดเผยตนเองว่าเป็ นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เป็ นการปฏิ บตั ิการ ในทางลับ รถตรวจการณ์น้ ี จะตามขบวนรถของบุคคลสาคัญไป ในระยะห่างระยะหนึ่ง โดยไม่อยูใ่ นขบวนเพื่อ สังเกตว่าอาจจะมี ก ารเฝ้ าสะกดรอยจากผูก้ ่ อการร้ ายหรื อไม่ รถตรวจการณ์ น้ ี จะมี ป ระสิ ท ธิ ภาพดี ส าหรับ ใช้ สังเกต การสะกดรอบแบบประจาที่หรื อเคลื่อนที่ เนื่องจากผูก้ ่อการร้ายที่ทาการสะกดรอย มักมุ่งความสนใจของ ตนเองไปที่บุคคลสาคัญ หรื อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเท่านั้น แต่จะไม่ค่อยสังเกตว่าตนเองถู กสะกดรอย จากผูอ้ ื่นเช่นเดียวกัน ทักษะในการเฝ้าสั งเกต < Techniques Used to Enhance Observation skills > ในการเฝ้าสังเกตจะต้องมีการใช้สมาธิ อย่างมาก เนื่องจากคนเราส่ วนใหญ่จะสังเกตแต่สิ่งที่เราสนใจหรื อ สิ่ งที่มองเห็นได้ง่าย และเราจะไม่ตอ้ งใช้ความพยายามในการสนใจมากเท่าใดนัก เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะต้องฝึ กฝนตนเองให้เป็ นคนช่ างสังเกตตื่นตัวและตระหนักในเรื่ องความปลอดภัยอยู่ตลอดเวลามีการฝึ กการ คานวณระยะทาง สามารถบรรยายลักษณะของยานพาหนะที่น่าสงสัยได้ เช่น ประเภททัว่ ไป สี ขนาด ยี่ห้อ รุ่ น ข้อมูลจากส่ วนต่างๆ ของตัวถังหมายเลขทะเบียนรถ จังหวัดที่ข้ ึนทะเบียน ส่ วนการบรรยายลักษณะของบุคคลที่ น่าสงสัย จะต้องกล่าวถึง เพศ สี ผวิ ส่ วนสู ง รู ปร่ าง อายุ ลักษณะเด่น เป็ นต้น การเตรียมพร้ อมทางจิตใจของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัย เมื่อบุคคลใดก็ตามเกิดแรงกระตุน้ ที่ตึงเครี ยดต่อประสาทเช่น การถู กโจมตี ถู กยิง หรื อถู กตวาดคนส่ วน ใหญ่จะตกอยู่ในสภาวะช็อค ในช่วงวินาทีแรก และบ่อยครั้งที่ผูก้ ่อการร้ ายใช้เวลานี้ ในการ สังหารเหยื่อของเขาได้การเตรี ยมพร้อมทางจิตในนั้น ก็เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยสามารถรักษา ความตื่นตระหนกที่เกิ ดขึ้น เพื่อให้สามารถมีปฏิ กิริยาตอบโต้ได้ดีข้ ึน เมื่อเกิดเหตุการณ์ ขบั ขันการเตรี ยมพร้ อม ทางจิตใจ สามารถช่ วยลดความเครี ยดของประสาทได้มาก และเพิ่มโอกาสให้อยู่รอดและพ้นจากอันตรายเมื่ อ ท่านอยูใ่ นเหตุการณ์อนั คับขัน ระดับในการเตรียมพร้ อมทางจิตใจ ระดับการเตรี ยมพร้อมทางจิตใจเป็ นเรื่ องที่ นามาสอนให้กบั เจ้าหน้าที่ที่ทางานในด้านการรักษาความ ปลอดภัย และด้านการปราบปราม เป็ นการช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถปรับระดับความตื่นตัวให้เข้ากับสภาวะและ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น ระดับในการเตรี ยมพร้อมทางาจิตใจ เราสามารถแบ่งออกเป็ นระดับสี ต่างๆ ได้ดงั นี้

๑๕

๑. ระดับสี ขาว เป็ นสภาวะที่ บุคคล ไม่มีความตระหนัก หรื อไม่มีการเตรี ยมพร้ อม ในสิ่ งที่อยูร่ อบตัว ถ้าผูก้ ่อการร้ายลงมือโจมตีในระดับนี้ก็จะสาเร็ จ ๒. ระดับสี เหลือง มีการเตรี ยมพร้อมโดยทัว่ ๆ ไป โดยอาจจะมีเหตุการณ์ และการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น บุคคลใดก็ตามจะสามารถอยูใ่ นระดับนี้ได้ภายใน ๒๔ ชัว่ โมง ๓. ระดับ สี ส้ ม มี ก ารสั ง เกตหรื อ คาดคะแนนว่ า อาจมี ภ ัย คุ ก คาม และมี แ ผน เตรี ยมพร้อมไว้ในใจ สาหรับที่จะรับมือกับสถานการณ์ คอยติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อตัดสิ นใจว่าต้อง ลงมือทาการโต้ตอบหรื อไม่ บุคคลใดก็ตามจะสามารถอยูใ่ นระดับนี้ได้ใน ๓-๔ ชัว่ โมงเท่านั้น ๔. ระดับสี แดง การจัดกาลังของชุ ดปฏิ บตั ิการรักษาความปลอดภัยนั้น เป็ นการจัดกาลังจากชุ ดปฏิ บตั ิการต่าง ๆ ตาม ความเหมาะสมกับสถานการณ์ ที่เกิ ดขึ้น โดยการรวบรวมจากข่าวสารต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุ คคลสาคัญซึ่ ง การปฏิ บตั ิ การรักษาความปลอดภัยนี้ สามารถเปลี่ ยนแปลงการจัดกาลังได้ตามความเหมาะสม เพื่อให้บรรลุ ภารกิจได้อย่างดีที่สุด การจัดหน่ วยและชุ ดปฏิบัติการรักษาความปลอดภัย การจัดกาลังเพื่อปฏิ บ ตั ิ ภารกิ จ ในการรักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญจะต้องจัดให้เพี ยงพอต่อการ ปฏิบตั ิงาน โดยแบ่งกาลังออกเป็ นส่ วน ๆ ตามความจาเป็ น และกาหนดหน้าที่ให้แน่นอน เพื่อมิให้กา้ วก่าย และ สับสนในการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งสามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ ๑. กองอานวยการรักษาความปลอดภัย < Command Post > ๒. ชุดตรวจค้นทางเทคนิค < Explosive Ordance Disposal > ๓. ชุดพยาบาลเคลื่อนที่ ๔. ส่ วนควบคุมชุดปฏิบตั ิการ < Operation Control > ๔.๑ ชุดสารวจล่วงหน้า < Advance Servery Team > ๔.๒ ชุดปฏิบตั ิการส่ วนติดตาม < Follow Team > ๔.๓ ชุดปฏิบตั ิการส่ วนหน้า < Advance Team > ๔.๔ ชุดปฏิบตั ิการประจาสถานที่ < Site Agent > ๔.๕ ชุดสนับสนุนทางยุทธวิถี < Counter Assault Team > ๔.๖ ชุดปฏิบตั ิการเตรี ยมพร้อม < Reinforce Team > หน้าที่ของกองอานวยการ และชุดปฏิบตั ิการต่าง ๆ นั้น อาจแบ่งหน้าที่รับผิดชอบได้ดงั นี้ กองอานวยการรักษาความปลอดภัย < Command Post > มีหน้าที่ ๑. อานวยการและควบคุมการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย ๒. วางแผน สั่งการ ๓. ประสานแผนการปฏิบตั ิกบั หน่วยต่าง ๆ ในระดับหน่วยเหนือ และหน่วยรอง ๔. จัดชุดสนับสนุนต่าง ๆ สนับสนุนการปฏิบตั ิให้กบั ชุดปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยเมื่อร้องขอ ๕. ให้การสนับสนุนด้านการข่าว กาลังพล และยุทโธปกรณ์ โดยมีนายทหารควบคุมปฏิบตั ิการเป็ นผูร้ ับ ปฏิบตั ิ โดยรับนโยบายจากผูอ้ านวยการรักษาความปลอดภัย

๒๑

ชุ ดตรวจค้ นทางเทคนิค < Explosive Ordance Disposal > มีหน้าที่เป็ นชุ ดที่ให้การสนับสนุนชุ ดปฏิบตั ิการต่าง ๆ เมื่อร้องขอ มีหน้าที่ดงั นี้ ๑. เริ่ มปฏิบตั ิงานก่อนวาระชองบุคคลสาคัญ ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ชม. ๒. ทาการตรวจสอบความปลอดภัยเกี่ ยวกับสถานที่ ด้วยเครื่ องมือทางเทคนิ คเกี่ ยวกับวัตถุระเบิดและ การลักลอบดักฟังทางเสี ยง ๓. ตรวจอุปกรณ์ถ่ายภาพ และควบคุมช่างภาพสื่ อมวลชน ๔. ตรวจสอบอาหาร และเครื่ องดื่มของบุคคลสาคัญ ๕. ตรวจสอบเกี่ยวกับหี บห่อของขวัญ และสิ่ งของต่าง ๆ ที่มีการมอบให้กบั บุคคลสาคัญ ๖. ตรวจค้นยานพาหนะของบุคคลสาคัญ ๗. เมื่อชุ ดตรวจค้นทางเทคนิ ค ตรวจสอบสิ่ งของต่าง ๆ เรี ยบร้ อยแล้วจะส่ งมอบให้กบั เจ้าหน้าที่ส่วน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการรักษาความปลอดภัยรับผิดชอบพื้นที่น้ นั ต่อไป ๘. เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้ ึนให้รายงานสถานการณ์ ต่อหัวหน้าชุ ดปฏิบตั ิการติดตาม < Detail Leader > และ หัวหน้าชุดล่วงหน้าทันที ๙. เมื่อได้รับรายงานเกี่ยวกับหี บห่อหรื อสิ่ งของที่น่าสงสัยให้ดาเนินการตรวจสอบทันที ๑๐. การจัดกาลัง ขึ้นอยูก่ บั ภารกิจของที่หมาย และข่าวสารที่มีผลกระทบต่อบุคคลสาคัญ ชุ ดสารวจล่ วงหน้ า < Advance Survey Team > เจ้าหน้าที่ ชุดนี้ เป็ นชุ ดที่ มีความสาคัญมาก ในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ เนื่ องจากผลการ สารวจในแต่ละพื้นที่ จะนามาวางแผนในการรักษาความปลอดภัย และออกคาสั่งในการปฏิ บตั ิภารกิจต่อไป มี หน้าที่ดงั นี้ ๑. เตรี ยมการปฏิ บ ตั ิ การ ในหน้าที่ รับ ผิดชอบตามกาหนดการให้แล้วเสร็ จก่ อนวาระงานของบุ คคล สาคัญ ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน ๒. ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่การข่าวในพื้นที่ปฏิบตั ิการ ๓. รวบรวมข่าวสารเรื่ องราวต่าง ๆ ในพื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไป ๔. หาสถานที่เป็ นห้องรับรอง < Holding Room > สาหรับบุคคลสาคัญเพื่อปฏิบตั ิภารกิจส่ วนตัวได้ ๕. หาสถานที่ต้ งั กองอานวยการรักษาความปลอดภัย ในกรณี ที่อยูใ่ นพื้นที่รับผิดชอบนั้นหลายวัน ๖. สารวจเส้นทาง อาคาร สถานที่ ฯลฯ โดยจัดทาเป็ นแผนผัง รู ปร่ าง กาหนดจุดวางกาลังของเจ้าหน้าที่ ชุดประจาสถานที่ เส้นทางการถอนตัว จุดจอดรถฉุกเฉิน< Stash Car > และพื้นที่ล่อแหลมอันตรายต่าง ๆ ๗. หาพื้ นที่ ที่ ป ลอดภัย< Save Heaven > ในสถานที่ น้ ัน ๆ ให้กบั บุ คคลส าคัญเมื่ อเกิ ดเหตุ ฉุกเฉิ นขึ้ น ก่อนที่จะพาบุคคลสาคัญไปเข้าพื้นที่ปลอดภัย ๘. ชี้แจงเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ถึงการปฏิบตั ิเมื่อบุคคลสาคัญมาถึง และเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ นขึ้น ๙. ส ารวจ โรงพยาบาล สถานี ตารวจ หน่ วยทหารที่ อยู่ใกล้เคี ยงกับ สถานที่ บุ คคลส าคัญ ไปโดยแจ้ง ข้อมูลเบื้องต้นให้กบั เจ้าของสถานที่น้ นั ให้ทราบ ๑๐. การประกอบกาลังอาจจัดจากเจ้าหน้าที่ต้ งั แต่ ๓ นาย ขึ้นไป

๒๒

๑๐.๑ หัวหน้าชุดปฏิบตั ิการ < Lead Advance > ๑๐.๒ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Advance Agent > ๑๐.๓ พลขับ < Drive > ชุ ดปฏิบัติการส่ วนล่ วงหน้ า < Advance Teams > เป็ นชุ ดที่ดาเนินการตรวจสอบการปฏิบตั ิการของ ชุดสารวจล่วงหน้าในด้านการประสานการปฏิบตั ิงาน ร่ วมกับชุดตรวจทางเทคนิค มีหน้าที่ดงั นี้ ๑. เริ่ มปฏิบตั ิภารกิจ ก่อนถึงวาระงานของบุคคลสาคัญ ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ชัว่ โมง ๒. สารวจเส้นทางต่าง ๆ จุดวางกาลังโดยประสานการวางกาลังตามพื้นที่อนั ตรายกับ ชุดประจาสถานที่ < Site Agents > ๓. เจ้าหน้าที่ชุดล่วงหน้า จะเป็ นผูน้ าบุคคลสาคัญเข้าไปยังที่หมายเนื่ องจากเป็ นผูท้ ี่ทราบเส้นทางต่าง ๆ ภายในสถานที่น้ นั เป็ นอย่างดี ๔. เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลแก่เจ้าหน้าที่ชุดติดตามเกี่ยวกับสถานการณ์ในพื้นที่ในขณะที่ขบวนรถกาลังเคลื่อนที่ เข้าสู่ ที่หมาย ๕. ควบคุมสื่ อมวลชน และประชาชนที่มาคอย ณ พื้นที่น้ นั ๖. ดาเนินการติดต่อสื่ อสารกับชุดปฏิบตั ิการทุกชุด ๗. การจัดกาลังอย่างน้อยประกอบด้วยเจ้าหน้าที่อย่างน้อย ๓ นาย คือ ๗.๑ หัวหน้าชุดล่วงหน้า < Leader Advance > ๗.๒ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Advance Agents > ๗.๓ พลขับ < Drive > ชุ ดปฏิบัติการส่ วนติดตาม < Follow Team > เจ้าหน้าที่ชุดนี้ เป็ นผูต้ ิดตามรักษาความปลอดภัยให้กบั บุคคลสาคัญโดยใกล้ชิด ภารกิจคือการป้ องกัน ไม่ให้บุคคลสาคัญ ได้รับอันตรายที่จะเกิดขึ้นไม่วา่ จะเป็ นการกระทาจากอุบตั ิเหตุ หรื อทาให้เสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยงก็ ตาม โดยใช้เทคนิคในการรักษาความปลอดภัยอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ หน้าที่ของชุดปฏิบตั ิการส่ วนติดตาม มีดงั นี้ ๑. ให้การรักษาความปลอดภัยแก่บุคคลสาคัญตลอด ๒๔ ชม. ๒. นาบุคคลสาคัญไปยังพื้นที่ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิ นขึ้น ๓. ดารงการติดต่อสื่ อสารกับชุดปฏิบตั ิการทุกชุด ๔. การจัดกาลังประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ ๕ นาย ๔.๑ หัวหน้าชุดปฏิบตั ิการส่ วนติดตาม < Detail Leader > มีหน้าที่ ๔.๑.๑ เป็ นผูร้ ับผิดชอบในเรื่ องการวางแผนงาน การควบคุมการทางานของเจ้าหน้าที่ชุด ติดตาม ๔.๑.๒ ดารงการติดต่อกับส่ วนพิธีการ หรื อนายทหารติดต่อ < Liasion >เพื่อให้แน่ ใจว่ามี การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกาหนดการหรื อไม่ หรื อว่ามีข่าวขาคุกคาม หรื อมีการเดินทางนอกกาหนดการหรื อไม่

๒๓

๔.๑.๓ นั่งไปในรถคัน เดี ยวกับ บุ ค คลส าคัญ โดยนั่งด้านหน้าคู่ ก ับ พลขับ รถของบุ ค คล สาคัญเพื่อรักษาความปลอดภัยให้กบั บุคคลสาคัญ และควบคุม สั่งการ การปฏิบตั ิการภายในรถของบุคคลสาคัญ โดนประสานกับรถปฏิบตั ิการติดตามได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในกรณี ที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิ นขึ้น ๔.๑.๔ มอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบให้กบั เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการส่ วนติดตาม การ พาหนีการปฏิบตั ิตามแผนเผชิญเหตุต่าง ๆ ๔.๑.๕ ปรับตนเองให้เข้ากับความต้องการของ บุ คคลสาคัญ โดยไม่ลดมาตรการในการ รักษาความปลอดภัย ๔.๑.๖ เป็ นผูน้ าเอาร่ างกายเข้าบังบุคคลสาคัญ ในกรณี ถูกเข้าทาร้าย < Close – in – body Cover > ๔.๑.๗ การบังคับ บัญชาสั่งการภายในชุ ด ให้พิจารณาถึ งลาดับของตาแหน่ ง การวางตัว ความประพฤติ ความยุติธรรม โดยเป็ นผูร้ ับผิดชอบการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ทุกคนในชุ ดปฏิบตั ิ ๔.๑.๘ รับผิดชอบอาวุธยุโธปกรณ์ท้ งั หมดภายในชุดปฏิบตั ิการ ๔.๒ รองหัวหน้าชุดปฏิบตั ิการติดตาม < Shift Leader > ๔.๒.๑ เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ความชานาญในด้าน เทคนิ คการรักษาความปลอดภัยเป็ นผูส้ ่ังการ ในด้านการปฏิบตั ิต่าง ๆ เพื่อดารงไว้ซ่ ึ งความสาเร็ จในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ๔.๒.๒ เป็ นผูด้ ารงการติ ดต่อสื่ อสารกับ ชุ ดปฏิ บ ตั ิ ก ารต่ าง ๆ ตลอดจนกองอานวยการ รักษาความปลอดภัย และเจ้าหน้าที่ส่วนต่าง ๆ ที่กาลังปฏิบตั ิภารกิจอยู่ ๔.๒.๓ นัง่ อยูใ่ นตาแหน่งหน้าซ้าย คู่กบั พลขับรถในรถปฏิบตั ิการติดตาม < Follow car > ๔.๒.๔ ประสานในการวางกาลังกับ เจ้าหน้าที่ ชุ ดล่ วงหน้าและชุ ดประจาสถานที่ เมื่อถึงที่เหมาย ๔.๒.๕ ดูแลการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ในชุดปฏิบตั ิการติดตาม ๔.๒.๖ เป็ นผูด้ ูแลปรับปรุ งแก้ไขมาตรการต่าง ๆ ในการรักษาความปลอดภัย ๔.๒.๗ ให้ขอ้ มู ลต่าง ๆ แก่ หัวหน้าชุ ด และสามารถปฏิ บตั ิหน้าที่เป็ นหัวหน้าชุ ดได้เมื่ อ ได้รับมอบหมาย ๔.๓ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการด้านการสื่ อสาร < Agents > มีหน้าที่ ๔.๓.๑ ดารงการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการชุดต่าง ๆ ที่ร่วมปฏิบตั ิภารกิจอยู่ ๔.๓.๒ ดูแลอุปกรณ์ และเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารประจาชุดปฏิบตั ิการ ๔.๓.๓ รับผิดชอบจัดทานามเรี ยกขาน และการเข้ารหัสตามหนังสื อประกอบ ในการใช้ เครื่ องมือสื่ อสารของหน่วย ๔.๓.๔ รับผิดชอบการปฏิบตั ิ ตามที่ได้รับมอบหมาย ๔.๓.๕ สังเกตการณ์ในพื้นที่รับผิดชอบ

๒๔

๔.๓.๖ ต้องประสานเรื่ องเส้นทางต่าง ๆ การจราจร การเปลี่ ยนช่ องเดิ นรถ โดนรับคาสั่ง จากรองหัวหน้าชุดฯ เป็ นต้น ๔.๓.๗ เมื่อถึงที่หมายทุกที่หมาย จะต้องลงมาอยูใ่ นรู ปขบวน < Formation > ทันที ๔.๓.๘ เมื่ อขบวนรถอยู่ในพื้นที่ อนั ตรายให้ลงมาทาการชักล้อม < Running to Fender > รอบรถบุคคลสาคัญทันที ๔.๓.๙ นัง่ ในตาแหน่งหลังขวา < Right Rear > RR

บุคคลสาคัญ

๔.๔ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการด้านเทคนิค มีหน้าที่ ๔.๔.๑ ดูแลรับผิดชอบเครื่ องมือทางเทคนิค ในการตรวจสอบสิ่ งของขั้นต้น ๔.๔.๒ ให้คาแนะนาเจ้าหน้าที่พิธีการเกี่ ยวกับการตรวจสอบสิ่ งของต่าง ๆ ที่จะเข้าถึ งตัว

๔.๔.๓ รับมอบหมายเป็ นเจ้าหน้าที่อาวุธกล ในชุดปฏิบตั ิการโดยต้อง ๔.๔.๓.๑ ตระหนักถึงเรื่ องแนวยิงของกระสุ นไม่ให้อยูใ่ นทิศทางของกลุ่มชน ๔.๔.๓.๒ พกอาวุธกลให้ถูกต้อง เมื่ออยู่ในยานพาหนะ โดยให้อาวุธอยู่ต่ากว่าระดับ หน้าต่างรถ นอกจากจาเป็ น ๔.๔.๓.๓ ตรวจสอบสภาพอาวุธ ว่า พร้ อมที่ จะปฏิ บตั ิ ภารกิ จได้ ก่ อนที่ จะนาขึ้ นรถ ติดตาม ๔.๔.๓.๔ การใช้อาวุธเป็ นทางเลือกสุ ดท้าย เพื่อรักษาชีวติ ของท่าน และบุคคลสาคัญ ๔.๔.๔ เมื่อถึงที่หมายจะต้องลงมาอยูใ่ นรู ปขบวนทันที ๔.๔.๕ รับผิดชอบการปฏิบตั ิเมื่อได้รับมอบหมาย ๔.๔.๖ นัง่ ในตาแหน่งหลังซ้าย < Left Rear > LR ๔.๕ พลขับรถติดตาม < Follow Car Drive > FCD มีหน้าที่ ๔.๕.๑ รั บ ผิดชอบยานพาหนะ มี ค วามรู ้ ในการขับ รถเชิ งปฏิ บ ตั ิ ก ารคู่ กบั รถของบุ ค คล สาคัญ < Limousine >รู ้จกั ยานพาหนะของตนเป็ นอย่างดี ๔.๕.๒ เตรี ยมพร้อมที่จะเคลื่อนรถได้ทนั ทีทุกเวลา ๔.๕.๓ ทาปฏิกิริยาตอบโต้การคุกคามโดยรับคาสั่งจากรองหัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัย < Shift Leader > ๔.๕.๔ รู ้จกั เส้นทางหลัก และเส้นทางรอง ที่จะนาบุคคลสาคัญไปถึงที่หมาย ๔.๕.๕ รั บ ผิ ด ชอบยานพาหนะในทุ ก ระบบ รวมทั้ง เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ป ระจ ารถ ยานพาหนะด้องพร้อมที่จะออกปฏิบตั ิการได้ ๔.๕.๖ เตรี ยมพร้อมยานพาหนะให้พร้อม ๓๐ นที ก่อนกาหนดการเดินทาง ๔.๕.๗ นัง่ ประจาอยูใ่ นรถ พร้อมทั้งติดเครื่ องรออยู่ ๑๐ นาที ก่อนกาหนดการเดินทาง ๔.๕.๘ รู ้จกั เส้นทางที่จะใช้ของขบวนรถ แม้วา่ จะมีรถนาก็ตาม

๒๕

๔.๕.๙ อย่าเก็บกุญแจแล้วล็อคเอาไว้ในรถ เมื่ อไม่ใช้รถให้ล็อค และเก็บกุญแจไว้ที่กอง อานวยการหรื อชุดประจาที่พกั ส่ วนกุญแจสารองเก็บไว้ที่รองหัวหน้าชุดติดตาม ชุ ดปฏิบัติการประจาสถานที่ < Site Agent > เป็ นเจ้าหน้าที่ปฏิ บตั ิการส่ วนที่ส่งไปวางกาลังไว้ ณ สถานที่ที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไป ทาหน้าที่เฝ้ า สังเกตการณ์ หรื อ สะกดรอยตามขบวนรถ < Counter Surveillance Agents > และในบางครั้ งอาจจะท าหน้าที่ เป็ นเจ้าหน้าที่ตรวจเส้นทาง < Pilot Car Agents > มีหน้าที่ ๑. ประจาจุดที่ สาคัญ ๆ เพื่อเป็ นจุดสังเกตการณ์ ตามจุดที่ ชุ ดสารวจล่วงหน้า กาหนดให้ในการแถลง แผนการรักษาความปลอดภัย ในแต่ละที่หมาย ๒. จะต้องประจาอยูท่ ี่จุดดังกล่าวภายใน ๑ ชัว่ โมง ก่อนที่บุคคลสาคัญจะมาถึงที่หมาย เจ้าหน้าที่เหล่านี้ จะยืนประจาจุด < Post Standing > โดยไม่ตอ้ งเคลื่อนย้ายที่จนกว่าจะได้รับคาสั่ง หรื อเกิดเหตุการณ์ข้ ึน ๓. จุดต่าง ๆ ที่ ชุดล่วงหน้ากาหนดให้กบั ชุ ดนี้ เจ้าหน้าที่ จะต้องรับผิดชอบ และต้องเข้าใจคาสั่งอย่าง ชัดเจน เมื่อใดที่มีขอ้ สงสัยให้รีบสอบถามจากหัวหน้าชุดทันที ๔. ในบางกรณี อาจจะเข้ามาร่ วมอยูใ่ นรู ปขบวน< Formations >ด้วย เมื่อได้รับคาสัง่ จากหัวหน้าชุด ๕. ทาการตรวจสอบพื้นที่รอบ ๆ บริ เวณจุดบังคับ < Choke Points > ภายใน ๓๐ นาที ก่อนที่ขบวนรถ ของบุคคลสาคัญจะไปถึง ๖. ดารงการติดต่อสื่ อสารกับชุดปฏิบตั ิการล่วงหน้า และชุดปฏิบตั ิการติดตามตลอดเวลา ๗. ในบางกรณี อาจจะทาหน้าที่เป็ นรถตรวจเส้นทาง < Pilot Car Agent > ล่วงหน้าขบวนรถอย่างน้อย ๕ นาที บนเส้นทางเดียวกัน และต้องคอยตรวจการณ์เส้นทางและพื้นที่ที่น่าสงสัย โดยเฉพาะบริ เวณจุดบังคับ< Choke Points > รวมปั ญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับขบวนรถได้ เช่น ๗.๑ การจราจร < Traffic > ๗.๒ ฝูงชนหรื อการเดินขบวน < Large Crowds > ๗.๓ อุบตั ิเหตุ < Accidents > ๗.๔ การก่อสร้าง < Construction > ๗.๕ กรณี เกิดเพลิงไหม้ < Fire > ๘. การจัดกาลัง ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ การข่าว และผลกระทบต่อบุคคลสาคัญ ประกอบด้วย ๘.๑ หน.ชุดปฏิบตั ิการ < Lead Agent > ๘.๒ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Agent > ๘.๓ พลขับ < Drive > ชุ ดสนับสนุนทางยุทธวิธี < Counter Assault Team > ภารกิจหลักของชุ ดสนับสนุ นทางยุทธวิธี คือเป็ นผูท้ าการตอบโต้เมื่อเกิดภัยคุกคาม หรื อการลอบโจมตี ต่อบุ คคลสาคัญ และช่ วยในการคุ ม้ ครองป้ องกันอันตรายให้กบั บุ คคลสาคัญในการหลบภัยชุ ดสนับสนุ นฯจะ เป็ นผูท้ าการตอบโต้ หรื อเบี่ยงเบนความสนใจของผูก้ ่อการร้าย มากกว่าการจะเข้าไปช่วยคุม้ ครอง หรื อพาบุคคล สาคัญหนีออกจากพื้นที่ นอกจากนี้ถา้ มีการโจมตีเกิดขึ้นก็ตอ้ งพร้อมจะเข้าตรึ งพื้นที่ได้

๒๖

การจัดกาลัง ประกอบด้วย ๑.๑ หัวหน้าชุดปฏิบตั ิการ ๑.๒ รองหัวหน้าชุดปฏิบตั ิการ ๑.๓ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ ๑.๔ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ (เพิ่มเติม) ๑.๕ พลขับ ชุ ดปฏิบัติการเตรียมพร้ อม < Reinforced Team > มีหน้าที่ ทดแทนชุ ดปฏิ บตั ิ การต่าง ๆ ที่ ไม่สามารถปฏอิ บตั ิ ภารกิ จได้ท นั เวลา สามารถปฏิ บตั ิ เป็ นชุ ด ปฏิบตั ิการได้ทุกชุด ปฏิบตั ิการเมื่อร้องขอ ชุ ดพยาบาลเคลื่อนที่ ให้การสนับสนุนการรักษาความปลอดภัยเมื่อได้รับการร้องขอ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้เฉพาะงานที่สาคัญ ๆ มักจะใช้ร่วมในขบวนรถของบุคคลสาคัญ มีหน้าที่ ๑. รักษาพยาบาลขั้นต้นให้แก่บุคคลสาคัญ เมื่อได้รับบาดเจ็บ หรื อรักษาโรคประจาตัวของบุคคลสาคัญ เมื่อเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน ๒. นาบุคคลสาคัญ เมื่อได้รับบาดเจ็บ นาส่ งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด ๓. อาจใช้รถพยาบาลนาบุคคลสาคัญ ไปยังพื้นที่ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น เมื่อรถบุคคลสาคัญ หรื อ รถของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยติดตาม ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ อาวุธยุโธปกรณ์ และยานพาหนะของเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย < Protective Detail Weapons, Equipment and Vehicles > อาวุธปื นพก < Hand Guns > อาวุธประจากายของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ส่ วนมากที่ใช้เป็ นปื นลู กโม่ < Revolver > และปื น พกกึ่งอัตโนมัติ สาหรับขนาดอาวุธนั้น แล้วแต่ความถนัดของเจ้าหน้าที่เอง ๑. ปื นลูกโม่ เป็ นปื นที่สะดวก และง่ายต่อการใช้ มีการเตรี ยมการในการใช้นอ้ ย และไม่ยงุ่ ยาก ๒. ปื นพกกึ่งอัตโนมัติ เป็ นปื นที่ง่ายต่อการใช้ เช่นเดียวกับปื นลูกโม่ ซึ่ งง่ายต่อการปกปิ ด มีอานาจการ ยิงรุ นแรง จานวนกระสุ นมีมากกว่า และมีข้ นั ตอนการใช้มากกว่าปื นลูกโม่ ปื นลูกซอง < Shot gun > ๑. เสี ยงและอานาจการยิงสามารถที่จะหยุดยั้ง และทาให้ฝ่ายตรงข้ามหยุดชะงักได้ ๒. กระสุ นปื นอาจจะทาอันตรายแก่ประชาชนที่อยูใ่ นพื้นที่ใกล้เคียงได้ ๓. กระสุ น Buckshot (๙ เม็ด) หรื อ SLUG สามารถหยุดยั้ง ยานพาหนะของฝ่ ายตรงข้ามได้ดีกว่าอาวุธ ปื นพก อาวุธกล < Submachine Gun >

๒๗

ชุดปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย จาเป็ นต้องมีอาวุธกลอยูใ่ นรถปฏิบตั ิการทุกคัน และ ณ ที่หมายที่ไม่ น่าไว้วางใจ โดยหัวหน้าชุดเป็ นผูก้ าหนด ๑. ควรเป็ นปื นที่ใช้กระสุ นขนาด ๙ มิลลิเมตร เป็ นปื นที่ปกปิ ดได้ในการพกพา สามารถยิงได้ในระบบ Automatic และ Semi-Automatic ๒. อาวุธกลนี้ ในการรักษาความปลอดภัย ตามปกติจะอยูใ่ นขบวนรถ เท่านั้นไม่ควรที่จะนาไปไหนรู ป ขบวนเดินเท้า ถ้าไม่มีข่าวสารผลกระทบที่สาคัญต่อบุคคลสาคัญ ๓. ในการสะพายอาวุธกล ให้สะพายไว้บริ เวณด้านหน้า หรื อด้านข้างภายในชุดสากล ยุทโธปกรณ์ ประจาตัวบุคคล < Personal Equipment > เช่น ๑. อาวุธประจากาย < Hand Gun > ๒. กระสุ นสารอง < Extra Ammunition > ๓. กุญแจมือ < Hang craft > ๔. เครื่ องมือสื่ อสาร พร้อมปากพูดหูฟัง < Radio > ๕. บัตรประจาตัวหรื อเครื่ องหมายบอกฝ่ าย < ID. Card, Badge > ๖. เสื้ อเกราะกันกระสุ น < Bullet-Resistant Vest > ยุทโธปกรณ์ ประจาชุ ด < Detail Equipment > เช่น ๑. ปื นลูกซอง < Shot Gun > ๒. ปื นกลมือ < Submachine Gun > ๓. กระสุ น < Ammunition > ๔. ผ้าคลุมระเบิด < Bomb Blanket > ๕. แก๊สน้ าตา < Tear Gas > ๖. หน้ากากป้ องกันไอพิษ < Gas Masks > ๗. ชุดปฐมพยาบาล < First Aid Equipment > ๘. คีมตัดลวด < Heavy Wire Cutters > ๙. ถ่านวิทยุสารอง < Extra Radio Batteries > ๑๐. สายพ่วงแบตเตอรี่ < Battery Jumper Cables > ๑๑. กล่องใส่ ยทุ โธปกรณ์ < Equipment Box > ๑๒. กล่องใส่ อาวุธปื น < Gun Box > ยานพาหนะ < Vehicle > ยานพาหนะของเจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย ที่ ใช้ในภารกิ จเป็ นรถติ ดตามนั้น อย่างน้อยจะต้องมี สมรรถภาพ เทียบเท่ารถของบุคคลสาคัญ หรื อมากกว่า ยานพาหนะที่ควรจัดเตรี ยมไว้มีดงั นี้ ๑. ยานพาหนะหุม้ เกราะสาหรับบุคคลสาคัญ และรถสารอง ๒. ยานพาหนะหุ ม้ เกราะสาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการชุดติดตาม และยานพาหนะสารองในกรณี ที่บุคคล สาคัญ มีข่าวสารที่มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย

๒๘

๓. ยานพาหนะต้องมีเจ้าหน้าที่อยูเ่ ฝ้าประจาตลอด ๒๔ ชัว่ โมง และพร้อมที่จะปฏิบตั ิภารกิจได้ทนั ทีการ ลอบประทุ ษ ร้ ายต่อบุ คคลสาคัญ ส่ วนใหญ่ เกิ ดขึ้ นเพราะ ความน่ าสนใจ หรื อการละเลยในหน้าที่ ของพลขับ เนื่องจากไม่ได้รับการฝึ กที่เพียงพอ จึงทาให้การปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย มีความเสี่ ยงมากขึ้น การใช้ เครื่ องมือสื่ อสาร วิทยุ ในการปฏิบตั ิภารกิจเจ้าหน้ารักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญนั้น คลื่นความถี่ของวิทยุจะใช้เป็ น ๒ ความถี่ ด้วยกัน เพื่อป้ องกันการสับสนในการติดต่อสื่ อสาร ในระหว่างการปฏิบตั ิภารกิจ ดังนี้ ๑. ความถี่หนัก จะใช้ในชุดปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย หรื อกลุ่มเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบตั ิการอยูใ่ นวงรอบ ชั้นใน รวมทั้งรถปฏิบตั ิการ และรถของบุคคลสาคัญด้วย ๒. ความถี่รอง สาหรับเจ้าหน้าที่ชุดสนับสนุนทางยุทธวิธีหรื อชุดสนับสนุ นการปฏิบตั ิการรักษาความ ปลอดภัย เช่น ชุดซุ่มยิง, จุดตรวจ, เจ้าหน้าที่สะกดรอย และเจ้าหน้าที่ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานข้างเคียง ๓. การใช้ นปส. ในการส่ งข้อความต่าง ๆ ทางวิทยุ หรื อในการส่ งข่าวทางโทรศัพท์ที่ไม่แน่ ใจในเรื่ อง ของการดักฟั งแล้ว ควรใช้รหัสด้วย การเปลี่ยนรหัสอย่างน้อย ๒ – ๓ เดือนต่อครั้ง หรื ออาจจะเปลี่ยนแปลงเร็ ว กว่านั้น จะขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ที่เกิดขึ้น คุณสมบัติทพี่ งึ ประสงค์ ของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัย ๑. มี ความจงรั กภักดี ซื้ อสั ตย์และไว้วางใจได้ เป็ นคุ ณสมบัติที่ส าคัญที่สุ ดของ เจ้าหน้าที่ รักษาความ ปลอดภัยบุ คคลสาคัญ หากเป็ นผูท้ ี่ ไว้วางใจไม่ได้ก็เท่ากับส่ งบุ คคลสาคัญเข้าไปอยู่ในกามื อของฝ่ ายตรงข้าม ดังนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบผูท้ ี่ จะเข้ามาเป็ นเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวอย่างละเอียด มิ ฉะนั้นฝ่ ายตรงข้ามอาจส่ งคน แทรกซึ มเข้ามาอยูใ่ นกลุ่มเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้และต้องเป็ นผูท้ ี่รัก และชอบงานด้านนี้เป็ นพิเศษ ๒. จิตใจมัน่ คง มีสุขภาพจิตดี ใจแข็ง ไม่หวัน่ ไหวง่าย มิฉะนั้นอาจตกอยูภ่ ายใต้อิทธิ พลของฝ่ ายตรงข้าม ได้ ๓. สุ ขภาพสมบูรณ์ และร่ างกายแข็งแรงทนต่องานตรากตรา ไม่มีโรคภูมิแพ้ หรื อการเจ็บป่ วยใด ๆ ที่ ขัดขวางต่อการปฏิ บตั ิหน้าที่ ซึ่ งบางครั้งอาจต้องปฏิ บตั ิงานตลอด ๒๔ ชัว่ โมง โดยไม่แสดงอาการอึดอัดหรื อ ควบคุมความรู ้สึกไม่ได้ภายใต้สภาวการณ์กดดันต่าง ๆ ที่คาดไม่ถึง อีกทั้งยังต้องมีความคล่องแคล่วว่องไวตื่นตัว ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ก ารตอบโต้ฝ่ ายตรงข้ามได้โ ดยฉับ พลัน มี เชาว์ไ ว ไหวพริ บ ปฏิ ภ าณดี มี ค วามสามารถเข้าคุ ม สถานการณ์ และสามารถปฏิ บตั ิหน้าที่อย่างราบรื่ น อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพใต้สภาวะคับขัน ถ้าปฏิ บตั ิ ส่ิ งเหล่ านี้ ไม่ได้แล้วจะเป็ นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไม่ได้เลย ๔. มีวนิ ยั อดทน และเสี ยสละ ความประมาท หรื อปล่อยตัวอาจจะทาให้เกิดความผิดพลาดอย่างร้ายแรง ได้ ซึ่ งไม่ อ าจจะแก้ต ัว ได้ อี ก เจ้า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย จะต้อ งสามารถปฏิ บ ัติ ก ารได้ ทุ ก พื้ น ที่ แ ละ สภาพการณ์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แม้วา่ พื้นที่หรื อสถานการณ์ขณะนั้น เป็ นสิ่ งที่ตนไม่ชอบก็ตาม ๕. เป็ นคนหู ไว และสายตาดีเป็ นเลิ ศ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะต้องมีประสาทสัมผัสที่ดีเยี่ยม โดยเฉพาะสัญชาตญาณที่รับรู ้ภยั ที่อาจเกิดขึ้น ๖. ไม่เป็ นโรคสุ ราเรื้ อรังหรื อติดยาเสพติด เพราะจะทาให้สมองเสื่ อมสภาพ ไม่ฉับไว ทาให้ไม่พร้อมที่ จะรับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

๒๙

๗. สามารถร่ วมงานกับผูอ้ ื่นเป็ นชุ ดปฏิ บตั ิได้ ถ้าเข้ากับผูอ้ ื่นภายในชุ ดไม่ได้แล้ว จะทาให้งานเสี ยหาย ตลอดจนสามารถสนทนากับชนทุกระดับได้ ๘. มีความกล้าหาญ การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ เป็ นงานที่เสี่ ยงต่ออันตราย ดังนั้น เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย ต้องพร้ อมที่ จะเสี ยสละชี วิตเพื่ อผูท้ ี่ ตนป้ องกันได้ค ลอดเวลา แต่ ท้ งั นี้ จะต้องเป็ นคนมี ความสุ ขสุ ขุมรอบคอบ เยือกเย็น มีการตัดสิ นใจที่ดี รู ้ ว่าควรจะทาอย่างไรในสถานการณ์ ฉุกเฉิ น มิ ใช่ ดนั ทะลุ ดุดนั เพียงอย่างเดียว เพราะอาจทาให้บุคคลสาคัญอาจต้องเสี ยชีวติ ได้ ๙. เข้า ใจการปฐมพยาบาลขั้น ต้น เกี่ ย วกับ บาดแผลอัน เกิ ด จากถู ก ยิ ง หรื อ ถู ก แทง หรื อ รั ก ษาโรค ประจาตัวของบุคคลสาคัญในขั้นต้นได้ ๑๐. เข้าใจการใช้เครื่ องมือสื่ อสารแบบต่าง ๆ ๑๑. สามารถใช้เครื่ องมือดับเพลิงได้ทุกชนิด ๑๒. มีความรู ้ดา้ นการค้นหา และเก็บกูว้ ตั ถุระเบิด, การเฝ้าตรวจด้วยเครื่ องมืออิเล็กทรอนิ กส์ การตรวจ ค้น, การคุม้ กันขบวนรถ, การซุ่มโจมตี และการต่อต้านการก่อการร้าย ๑๓. มีความรู ้เกี่ยวกับมารยาทในสังคม ระเบียบปฏิบตั ิทางพิธีการต่าง ๆ ทั้งของไทยและของนานาชาติ เพื่อจะได้วางตนได้เหมาะสมกับสถานที่ที่บุคคลสาคัญไปร่ วมงานด้วย คุณสมบัติเหล่ านี้มิได้ เกิดจากการฝึ กฝนเท่ านั้น แต่ ตัวเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญเอง จะต้ องพร้ อมทีจ่ ะปฏิบัติหน้ าทีอ่ ย่ างเต็มความสามารถ เพื่อให้ บรรลุภารกิจตามทีไ่ ด้ รับมอบหมายสาหรับการฝึ ก นั้น เป็ นเพียงให้ เกิดความเคยชินเท่านั้น ข้ อพึงระวังในการปฏิบัติของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ๑. ห้ามเป็ นฝ่ ายชักชวนให้บุคคลสาคัญสนทนาด้วย ๒. ในกรณี ที่จะต้องเข้าไปในพื้นที่ที่ยงั ไม่ผ่านการตรวจสอบให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคล สาคัญเป็ นผูน้ าเข้าในอาคารก่อนบุคคลสาคัญเดินผ่านเข้าประตูประมาณ ๑๕ ฟุต ๓. การขึ้นลงลิ ฟต์ให้เข้าก่อน และต้องคอยกดปุ่ มประตูให้บุคคลสาคัญเข้าไปในลิฟต์ให้เรี ยบร้อยการ ออกจากลิฟต์ก็ตอ้ งเป็ นฝ่ ายออกก่อน ๔. ในขบวนรถเมื่อบุคคลสาคัญขึ้นรถเรี ยบร้อยแล้วให้เคลื่อนขบวนทันที ๕. การวางตัว การแต่งกาย การแสดงกริ ยามารยาทและความประพฤติต่าง ๆ ของเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยบุคคลสาคัญ จะต้องเหมาะสม ๖. ไม่พยายามเข้าจับกุมผูท้ ี่ก่อการร้าย ๗. ไม่เข้าพัวพันกับผูก้ ่อการร้ายด้วยอาวุธ หรื อวิธีใดก็ตาม เว้นแต่เป็ นการปฏิบตั ิเพื่อระงับอันตรายที่จะ เกิดขึ้น โดยจะต้องนาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่อนั ตราย ไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๘. ไม่ควรทาอะไรที่ซ้ า ๆ จนเป็ นกิจวัตร ๙. อย่าจอดยานพาหนะไว้โดยไม่มีคนเฝ้า ๑๐. ต้องตรวจเส้นทางการถอนตัวทุกครั้ง ๑๑. จะต้องมีชุดล่วงหน้าทุกครั้งในการปฏิบตั ิงาน

๓๐

๑๒. จะต้องไม่ตื่นตกใจ แต่ให้ตื่นตัวอยู่เสมอ มิ ฉะนั้นแทนที่ จะรักษาความปลอดภัยให้บุคคลสาคัญ กลับเป็ นการทาร้ายบุคคลสาคัญเสี ยงเอง ดังนั้นเจ้าหน้าที่ตอ้ งมีการฝึ กอบรมอยูเ่ สมอ

----------------------------------------------

๓๑

มาตรการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ < Security Measures > แบบในการจัดและการวางกาลัง เพื่อให้การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยและมีประสิ ทธิ ภาพสมบูรณ์ ที่สุดนั้น เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องมีรูปแบบในการจัดและวางกาลังในการรักษาความปลอดภัยบุคคล สาคัญ ดังนี้.๑. การจัดกาลัง มีการจัดกาลังเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ออกเป็ น ๓ แบบ คือ ๑.๑ แบบเปิ ดเผย การจัดกาลังในรู ปแบบนี้ เป็ นการแสดงตัวของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้ ฝ่ ายตรงข้ามได้ทราบ เพื่อเป็ นการป้ องปรามการเข้าลอบทาร้ายต่อบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่ในรู ปแบบ นี้จะแสดงตนให้เห็นได้ชดั ว่า เป็ นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญอย่างใกล้ชิด ๑.๒ แบบปกปิ ด เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะไม่เปิ ดเผยแสดงตัวให้บุคคลทัว่ ไปทราบ โดยจะ แต่งกายคล้ายคลึงกับประชาชนทัว่ ๆ ไป หรื ออาจปะปนอยูก่ บั สื่ อมวลชน กลมกลืนกับสิ่ งแวดล้อม ของสถานที่น้ นั ๆ มักปฏิบตั ิหน้าที่ในการหาข่าว ดูแลความเคลื่อนไหวของกลุ่มชน หรื อบุคคลที่น่า สงสัย ส่ วนหนึ่งจะปะปนอยูก่ บั ฝูงชน อีกส่ วนหนึ่ งจะอยูใ่ กล้กบั บุคคลสาคัญ พร้อมที่จะเข้าขัดขวาง ยับยั้ง และป้ องกันเหตุร้ายที่จะเกิดขึ้นในทันที ๑.๓ แบบผสม เป็ นการจัดกาลังโดยนาเอาเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทั้ง ๒ รู ปแบบ มาปฏิบตั ิงาน ร่ วมกันในพื้นที่ เดี ยวกัน ส่ วนการวางกาลังจะใช้เจ้าหน้าที่ แต่ละแบบมากน้อยเพียงใดก็ข้ ึ นอยู่กบั สถานการณ์และข่าวที่ได้รับ ๒. การวางก าลัง < Concentric Rings of Security > ต้อ งประกอบด้ ว ยวงรอบอย่ า งน้ อ ย ๓ วงรอบ ด้วยกันในการจัดทาพื้นที่ให้เป็ นวงรอบเช่นนี้ เป็ นเครื่ องช่วยในการตรวจสอบบุคคลที่จะผ่านเข้าไปถึงตัวบุคคล สาคัญอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งแบ่งออกได้ดงั นี้ ๒.๑ วงรอบชั้นใน < Inner Perimeter > เป็ นการจัดวางก าลังเจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัยให้อยู่ ใกล้ชิดกับบุคคลสาคัญมากที่สุด และเป็ นชุ ดที่สามารถป้ องกัน และแก้ไขสถานการณ์ ที่เกิ ดขึ้นกับ บุคคลสาคัญได้ทนั ที วงรอบนี้ ถือเป็ นพื้นที่หวงห้ามและเข้มงวดที่สุด ในวงรอบนี้ เป็ นผูท้ ี่จาเป็ นต้อง เข้าไปใกล้บุคคลสาคัญเท่านั้นที่ จะอยู่ในวงรอบนี้ ได้ เช่ น เจ้าหน้าที่ พิธีการทู ต, คณะบุ คคลสาคัญ หรื อสมาชิกในครอบครัวบุคคลสาคัญ และคณะผูต้ อ้ นรับ ๒.๒ วงรอบชั้น กลาง < Middle Perimeter > คื อ วงรอบที่ ล้อมรอบวงชั้นใน จะมี เจ้าหน้าที่ รักษา ความปลอดภัยที่ ไ ม่ ได้อยู่ในรู ป ขบวน < Formations > หรื ออาจจะเป็ นเจ้าหน้าที่ ที่ ป ฏิ บ ัติการใน รู ปแบบปกปิ ด เจ้าหน้าที่ที่อยู่ในวงรอบนี้ ได้แก่ บุคคลที่จาเป็ นต้องอยูใ่ กล้กบั บุคคลสาคัญไม่มาก นัก เช่น ชุ ดล่วงหน้า, ชุ ดตรวจค้นวัตถุระเบิด, เจ้าหน้าที่สถานทูต, คณะทางานของบุคคลสาคัญ เป็ น ต้น

๓๒

๒.๓ วงรอบชั้นนอก < Outer Perimeter > หรื ออาจเรี ยกว่าเป็ นด่ านแรก ส าหรับ ฝ่ ายตรงข้ามที่ จะ เข้า ถึ ง ตัว บุ ค คลส าคัญ เป็ นพื้ น ที่ ที่ ห่ า งไกลจากบุ ค คลส าคัญ เจ้า หน้ า ที่ ที่ อ ยู่ใ นวงรอบนี้ ได้แ ก่ เจ้าหน้าที่ตารวจท้องที่, เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของสถานที่น้ นั , คนขับรถ เป็ นต้น การควบคุมบุคคลและสิ่ งของทีจ่ ะเข้ าถึงตัวบุคคลสาคัญอย่ างถูกต้ อง < Proper Access > เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย บุ ค คลส าคัญ ต้องมี ก ารตรวจสอบบุ ค คลที่ จะเข้าไปในแต่ ล ะวงรอบ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการตรวจสอบ และอยูใ่ นความควบคุมของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยตลอดเวลา เช่น ๑. การขอดูบตั รประจาตัวที่ถูกต้อง ๒. แจ้ ง รายชื่ อ ล่ ว งหน้ า เพื่ อ ท าการตรวจสอบกั บ เจ้า หน้ า ที่ ต ารวจในเรื่ องบั น ทึ ก ประวัติ อาชญากรรม ๓. ผ่านการตรวจค้นโดยการใช้มือ เครื่ องตรวจค้นหรื อซุ ม้ ตรวจโลหะ การกาหนดวงรอบของการรักษาความปลอดภัย ชุ ดปฏิ บตั ิ การส ารวจล่ วงหน้า < Advance Survey Team > จะเป็ นผูก้ าหนดวงรอบต่างๆ ขึ้ นในแต่ล ะ พื้นที่ โดยอาศัยปั จจัยต่างๆ เป็ นเครื่ องช่วยในการพิจารณา ดังนี้ ๑. จานวนกาลังพลที่มีอยู่ เจ้าหน้าที่ตารวจท้องที่ และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในพื้นที่ ๒. ระดับของการคุกคามต่อบุคคลสาคัญ ๓. จานวนฝูงชนที่มาร่ วมชุมชนในพื้นที่น้ นั ๆ รวมทั้งสื่ อมวลชนด้วย ๔. ข้อพิจารณาทางด้านการทูต ในกรณี ที่เป็ นกิจกรรมทางการทูต หรื อในบริ เวณสถานทูต การจัดทาระบบบัตรแสดงตน < Identification Media > เป็ นเรื่ องจาเป็ นที่สาคัญที่สุดสาหรับ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องทราบว่าบุคคลใดบ้างที่สามารถ จะเข้าถึ งตัวบุคคลสาคัญได้ ในการปฏิ บตั ิภารกิจการรักษาความปลอดภัยนั้น เราจะจัดทาเครื่ องหมายบอกฝ่ าย หรื อบัตรแสดงตน เพื่อที่ จะเข้าไปในพื้นที่ น้ ันๆ และมี การควบคุ มการแจกจ่ายและตรวจสอบ โดยเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย การจัดทาบัตรแสดงตนทาได้ ดังนี้ ๑. บัตรประจาตัวแบถาวร เช่น เป็ นบัตรมีรูปถ่ายติดหน้าอกเสื้ อด้านซ้าย อาจใช้เฉพาะทีมรักษาความ ปลอดภัยบุคคลสาคัญ เป็ นต้น ๒. บัตรแบบชัว่ คราว หรื อเป็ นเข็มกลัด < Pin > เพื่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยสามารถทราบได้ว่า เข็มกลัดในรู ปต่างๆ เป็ นเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบตั ิในส่ วนใด เช่น ๒.๑ เข็มกลัดติดหน้าอกเสื้ อ อาจแบ่งเป็ น ๔ ประเภท ดังนี้ ๒.๑.๑ S < Support > คือ หน่วยสนับสนุนต่างๆ ๒.๑.๒ R < Residence > คือ เจ้าหน้าที่ประจาที่พกั หรื อพนักงานโรงแรม ๒.๑.๓ G < Guests > คือ แขกผูท้ ี่เข้ามาพบกับบุคคลสาคัญ ๒.๑.๔ E < Enforcement > คือ เจ้าหน้าที่ในและนอกเครื่ องแบบ และเจ้าหน้าที่ที่พกอาวุธ

๓๓

ในกรณี ที่เป็ นบัตรประจาตัวในรู ปแบบต่างๆ หรื อสามารถที่จะกาหนดประเภทเป็ นสี ได้ เช่นเดียวกันกับ เข็มกลัด และถ้าเป็ นบุคคลประเภทที่ไม่ได้กาหนดไว้ตามบัตรสี เจ้าหน้าที่จาเป็ นต้องใช้การตรวจสอบจากบัตร ประจาตัวประชาชนได้ทนั ที เข็มกลัดและบัตรสี น้ ีควรจะใช้เพียงภารกิจเดียว ในการแจกจ่ายบัตรแต่ละครั้ง ต้องจัดเจ้าหน้าที่ผรู ้ ับผิดชอบในเรื่ องการจัดระบบการออกบัตรแสดงตน ดังกล่ าว และต้องมี การเก็บ บัญชี ของจานวนบัตรที่ ออกไปให้ผูใ้ ดบ้าง ถ้าสงสั ยในตัวบุ คคลให้ขอดู จากบัตร ประชาชนเพิม่ เติม หรื อหาผูท้ ี่ยนื ยันได้วา่ บุคคลนั้นมีสิทธิ เข้าไปในพื้นที่ได้จริ ง วินัยในการรักษาความลับ เป็ นหลักที่พึงยึดถือปฏิบตั ิสาหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทุกนายจะไม่นาเอารายละเอียดเกี่ยวกับ กาหนดการต่างๆ ของบุคคลสาคัญ ตลอดจนการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับบุคคลสาคัญ ไปเปิ ดเผยให้ผอู ้ ื่นทราบ และ จะต้องมัน่ ใจว่าเอกสารต่างๆ ถู กเก็บไว้ในที่ ปลอดภัย เมื่ อไม่ใช้แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวของบุ คคลสาคัญก็ จะแจ้งข่าวสารให้ทราบเท่าที่จาเป็ นเท่านั้น การลวง เป็ นมาตรการที่ ใช้ประกอบกับวินยั ในการรักษาความลับ เพื่อเป็ นการมิให้ฝ่ายตรงข้ามล่วงรู ้ ข่าวสาร เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของบุคคลสาคัญ การลวงควรกระทาอย่างแนบเนียน โดยไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามจับกลลวงได้ เช่น การปลอมตัว, การลวงในขบวนรถ, การออกข่าวลวง เป็ นต้น การรวบรวมข่ าวสารทีม่ ีผลกระทบกระเทือนต่ อบุคคลสาคัญ ต้องมีการวางแผนในการหาข่าวและรวบรวมข่าวสารจากหน่ วยข่าวต่างๆ เพื่อหาข่าวที่ มีผลกระทบ กระเทือนต่อบุคคลสาคัญอยูต่ ลอดเวลา เช่น ข่าวเกี่ยวกับบุคคลที่น่าจะเป็ นผูล้ อบทาร้ายต่อบุคคลสาคัญ ในทุกๆ พื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไปปรากฏตัว การเสนอแนะไม่ ให้ บุคคลสาคัญเสี่ ยงต่ ออันตราย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญจะต้องหมัน่ เสนอแนะไม่ให้บุคคลสาคัญกระทาการใดๆ ที่ เสี่ ยงต่ออันตราย เช่ น การเสนอแนะให้บุคคลสาคัญสวมเสื้ อเกราะอ่อนเพื่อป้ องกันกระสุ น หรื อให้เปลี่ยนยาน พานะที่ใช้อยู่เป็ นประจาหรื อเปลี่ ยนเส้นทางที่กาหนดไว้ในกาหนดการ มาตรการนี้ ข้ ึนอยู่กบั ประสิ ทธิ ภาพใน การหาข่าวสารที่มีผลกระทบต่อบุคคลสาคัญ และการวิเคราะห์การปฏิบตั ิของหัวหน้าชุดปฏิบตั ิการติดตาม การทาพืน้ ทีใ่ ห้ เกิดความปลอดภัย มาตรการนี้ไม่เป็ นการปฏิบตั ิที่เจาะจงเฉพาะ การให้ความปลอดภัยแก่อาคารสถานที่และบริ เวณต่างๆ ที่ บุคคลสาคัญจะเดิ นทางไปเท่านั้น ยังหมายถึ งการควบคุ มบุ คคลที่ น่าจะเป็ นอันตรายต่อบุ คคลสาคัญที่ อยู่ใน บริ เวณนั้นด้วย พืน้ ทีห่ ลบภัย < Safe haven > ในกรณี ที่ บุ ค คลส าคัญ ไปปรากฏตัว ณ ที่ ใดที่ ห นึ่ ง เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย ต้องเตรี ยมพื้ น ที่ ปลอดภัยไว้ให้กบั บุ คคลสาคัญในทุ กสถานที่ พื้นที่ หลบภัยนี้ คือ พื้นที่ที่อยู่ในสถานที่ ที่ให้ความปลอดภัยได้ ชัว่ คราว สาหรับบุคคลสาคัญและครอบครัว ซึ่ งอาจจะเป็ นห้องพักที่อยูใ่ นวงรอบชั้นในสุ ดห้องใดห้องหนึ่ ง ซึ่ ง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้กาหนดขึ้น เพื่อให้เวลาแก่เจ้าหน้าที่ตารวจหรื อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

๓๔

เตรี ยมการที่ จะตอบโต้ และรั บ มื อกับ ผูก้ ่ อการร้ าย ในกรณี ที่ มี ก ารโจมตี ห ลัก ในการพิ จารณาเลื อกห้ องที่ จะ กาหนดเป็ นพื้นที่หลบภัยได้น้ นั ควรพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ ๑. เส้ น ทางที่ จะไปยัง พื้ น ที่ ห ลบภัย < Accessibility > เป็ นเส้ น ทางที่ จ ะน าบุ ค คลส าคัญ ไปยัง พื้ น ที่ ปลอดภัยนี้ ควรไปได้โดยไม่ตอ้ งผ่านพื้นที่อนั ตรายใดๆ ๒. สามารถให้ค วามคุ ม้ กันได้ < Ability to secure > ห้องนี้ จาเป็ นอย่างยิ่งที่ จะให้ก ารคุ ม้ กันชี วิตของ บุคคลสาคัญ และครอบครัว ตลอดจนเจ้าหน้าที่ได้ ๓. สามารถที่จะต่อสู ้ได้ < Ability to Defend > ควรมีพ้ืนที่ที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย สามารถทา การต่อสู ้เพื่อป้ องกันพื้นที่น้ ี ได้ เป็ นห้องหรื อพื้นที่ที่ได้เปรี ยบในการป้ องกันจากฝ่ ายผูก้ ่อการร้าย เช่น อาจจะอยู่ ในพื้นที่สูงกว่าสามารถมองเห็นการเข้ามาได้จากด้านบน ๔. ดาเนิ นการติดต่อสื่ อสารได้ < Ability to Communicate > สามารถติดต่อสื่ อสารกับกองอานวยการ รักษาความปลอดภัย หรื อชุดปฏิบตั ิการทุกชุ ดได้ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ตารวจในพื้นที่โดยทางโทรศัพท์ หรื อวิทยุก็ ตาม และจะต้องมีเครื่ องดับเพลิง, เครื่ องให้แสงสว่าง กรณี เกิดไฟดับขึ้น ๕. มีเส้นทางถอนตัวได้อย่างปลอดภัย < Ability to Escape > ในกรณี น้ ีจะต้องมีเส้นทางในการพาบุคคล สาคัญถอนตัวออกไปยังรถฉุกเฉิน < Stash Car > ได้อย่างปลอดภัย โดยกาหนดเส้นทางเอาไว้ในแผนเชิญเหตุ ๖. สามารถถ่วงเวลาได้ < Ability to Hold > ในห้องนี้ ควรมีอุปกรณ์และเครื่ องมือที่เหมาะสมที่สามารถ จะตรึ งพื้นที่น้ ีไว้ได้อย่างน้อยระหว่าง ๑๕ ถึง ๖๐ นาที ในระหว่างเริ่ มการโจมตี ๗. การเสริ มความปลอดภัย < Reinforced > ควรมี การเสริ มความปลอดภัยด้านเครื่ องมื อต่างๆ และมี ทางออกฉุ กเฉิ นสารองไว้ดว้ ย การเสริ มความปลอดภัยกระทาได้ดงั นี้ ๗.๑ ประตูหอ้ งควรมีความหนา หรื อเสริ มด้วยเหล็ก ๗.๒ ควรมีเหล็กดัดติดอยูท่ ุกหน้าต่าง ๗.๓ บานพับประตูหน้าต่าง ควรติดตรึ งอย่างหนาแน่น และป้ องกันการถอดออกได้ ๗.๔ กรอบหรื อวงกบประตูควรหนาอย่างน้อย ๒ นิ้ว และตรึ งแน่นกับกาแพง ๗.๕ กลอนควรเป็ นกลอนเดื อย ปิ ดเปิ ดด้วยกุ ญ แจ < Dead Bolt > อย่างน้อยมี บ านละ ๒ กลอน ติดตั้งห่างกัน ๑๒ นิ้ว เป็ นอย่างน้อย

๓๕

การวางแผนปฏิบัติการรักษาความปลอดภัย < Securerity Planning > ในการวางแผนการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญนั้น จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องถื อเป็ นระเบียบปฏิบตั ิ ประจา < SOP > แผนจะต้องบรรจุ รายละเอี ยดต่ างๆ ที่ จาเป็ นจะต้องปฏิ บ ัติท้ งั สิ้ น แผนนี้ ควรเขี ยนขึ้ น และ แจกจ่ายให้กบั ฝ่ ายอานวยการหรื อหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องได้รับทราบ และเจ้าหน้าที่ที่เป็ นกุญแจสาคัญเท่านั้นที่ ต้องได้รับแผนสมบูรณ์ นอกจากนั้นแล้วพวกเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการอื่นๆ ก็ให้ทราบเพียงเรื่ องใหญ่ๆ ของแผน และ ทาความเข้าใจในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่โดยเฉพาะของแต่ละบุคคล คาแนะนาต่างๆ ต้องง่ายในการทาความ เข้าใจและปฏิบตั ิตาม แผนที่ดีจะต้องมีความอ่อนตัว แผนจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ขนาดของภารกิจที่จะต้อง ปฏิบตั ิ และต้องมีเวลาเพียงพอสาหรับแจกจ่าย ตลอดจนซักซ้อมการปฏิบตั ิที่ได้วางแผนไว้ หนทางที่จะนาไปสู่ ความส าเร็ จในการรักษาความปลอดภัยนี้ อยู่ที่การวางแผนอย่างละเอี ยดต่ อเนื่ อง การเลื อกใช้ม าตรการอย่าง รอบคอบพิถีพิถนั การฝึ กอบรม และการนาเจ้าหน้าที่มาให้ใช้เป็ นประโยชน์ คาจากัดความ การวางแผนเป็ นกรรมวิธี อ ัน ต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ งใช้เตรี ย มการเพื่ อ ให้ บ รรลุ ค วามส าเร็ จในภารกิ จ ที่ ไ ด้รั บ มอบหมาย หรื อที่ ได้คาดคิ ดไว้ การวางแผนย่อมเกี่ ยวกับการตรวจสอบรายละเอียดของการปฏิ บตั ิที่คาดไว้ว่า จะต้องกระทา แนวทางในการวางแผน เป็ นแนวทางที่ผบู ้ งั คับบัญชาให้กบั เจ้าหน้าที่จดั ทาแผน เพื่อใช้ในการทา หรื อทบทวนประมาณการของ เจ้าหน้าที่จดั ทาแผน ความมากน้อยของแนวทางในการวางแผนจะเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ขึ้นอยูก่ บั ๑. ภารกิจของหน่วย ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถกาหนดกิจเฉพาะต่างๆ ที่จะต้องกระทาเพื่อให้บรรลุภารกิจ นั้น และกาหนดกิ จแฝงขึ้นตามที่ตนพิจารณาเห็ นเหมาะสม ซึ่ งเจ้าหน้าที่จดั ทาแผนน่ าจะให้ความ สนใจ ๒. ปริ มาณและความถูกต้องเชื่อถือได้ของข่าวสารที่มีอยู่ ๓. สถานการณ์ในขณะนั้น ๔. ประสบการณ์ที่เคยได้รับ ๕. ความสามารถและความคุน้ เคยของหน่วยปฏิบตั ิที่มีต่อภูมิประเทศ สิ่ งแวดล้อม และฝ่ ายตรงข้าม สิ่ งทีต่ ้ องการของแผน ๑. กาหนดเวลาเดินทาง < Itinerary > วัน เวลา สถานที่ที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไป ตลอดจนประเภท ของงานพิธี ๒. วิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่ปฏิบตั ิงาน < Area Study > โดยประมาณการณ์ดา้ นการข่าว ๓. เหตุ ก ารณ์ ที่ น่ าสนใจ < Extraordinary Factors > ที่ เคยเกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ น้ ัน ๆ เช่ น การลอบสั งหาร บุคคล บุคคลวิกลจริ ต เป็ นต้น

๓๖

๔. การประสานงาน < Coordination > กับเจ้าหน้าที่ต่างๆ เช่ น ตารวจ ทหาร ในพื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะ เดินทางไป ๕. กองบังคับการ < Command Post > สถานที่ต้ งั หมายเลขโทรศัพท์ นามเรี ยกขาน ๖. สายการบัง คับ บัญ ชา < Chain of Command > มี ก ารควบคุ ม บัง คับ บัญ ชา และการสั่ ง การอย่า ง ถูกต้อง ตามลาดับ ๗. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย < Protective Details > รวบรวมรายชื่ อเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนร่ วมในการ ปฏิบตั ิท้ งั หมดในแผน และแบ่งมอบหน้าที่เป็ นรายบุคคล เป็ นผลัด และเป็ นชุด ๘. การแต่งกาย < Clothing > ประเภทการแต่งกายของเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่ และในแต่ละภารกิจ ๙. เครื่ องมือ < Equipments > ประกอบด้วย เครื่ องมือทั้งหมดที่ตอ้ งใช้ประจาตัว และประจาชุด สาหรับ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๑๐. การติ ดต่อสื่ อสาร < Communication > ประกอบด้วย ความถี่ หลัก ความถี่ รอง นามเรี ยกขาน รหัสพิเศษ และอื่นๆ ที่ตอ้ งการ ๑๑. แผนที่ < Maps > เพื่อใช้สาหรับการแบ่งมอบพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๑๒. ค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา < Funding > ไม่รวมเบี้ ยเลี้ ยงปกติ ค่าใช้จ่ายพิ เศษที่ จาเป็ นต้องใช้ เช่น ค่าเช่ารถยนต์ ค่าโดยสารยานพาหนะ ซื้ ออุปกรณ์ที่จาเป็ น ฯลฯ ๑๓. ข้อห่วงใยพิเศษในการรักษาความปลอดภัย ๑๔. การประชาสัมพันธ์ ๑๕. ข่าวสารฉุ กเฉิ นเบ็ดเตล็ดต่างๆ รายละเอียดเกีย่ วกับตัวบุคคลสาคัญ ๑. บุคคลสาคัญเป็ นใคร ๒. มีตาแหน่งหน้าที่อะไร ๓. ทาไมต้องจัดการรักษาความปลอดภัยให้ (เพื่อเป็ นการให้เกียรติ หรื อมีอนั ตรายจริ ง ถ้ามีอนั ตราจริ ง น่าจะมาจากใคร ความรุ นแรงของภัยที่น่าจะเกิดขึ้น) ๔. บุคคลสาคัญเป็ นที่ชอบ หรื อชังของประชาชน ๕. ลักษณะการดารงชีวติ และศาสนาของบุคคลสาคัญ ๖. ประวัติการเจ็บป่ วย, ประเภทกลุ่มเลือด ๗. บุคคลสาคัญมีปฏิกิริยาต่อการรักษาความปลอดภัยอย่างไร ๘. บุคคลสาคัญมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาตัวหรื อไม่ เป็ นใคร มีอาวุธอะไร ๙. ภาพถ่ายปั จจุบนั ของบุคคลสาคัญ ๑๐. ความมุ่งหมายของการเยีย่ ม ๑๑. สุ ขภาพโดยทัว่ ไป

๓๗

๑๒. นิ สัยส่ วนตัว เช่น ชอบเดิ นตอนเช้า ชอบใช้เวลาตอนกลางคืน หรื อไม่ชอบเล่นกีฬาอะไร ชอบ อาหารประเภทใด เกลียดสิ่ งใดบ้าง เป็ นต้น เมื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลสาคัญแล้ว จะต้องมีการพิจารณาวิธีการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย ที่เหมาะสมต่อไป บริเวณงานพิธีหรื อทีห่ มาย งานพิธี หรื อที่ หมายแต่ละแห่ งย่อมมี สภาพไม่เหมือนกัน ดังนั้น ข่าวสารสาคัญที่ ตอ้ งการทราบจะได้ จากการสารวจของชุ ดสารวจล่วงหน้า ซึ่ งการปฏิ บตั ิหน้าที่ของชุ ดสารวจล่วงหน้าจะต้องกระทาอย่างละเอียด รอบคอบ เพื่อที่จะได้ขอ้ มูลมาใช้วางแผนการปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้อง แต่สิ่งที่ควรจะนามาพิจารณา ไม่วา่ จะปฏิบตั ิ หน้าที่ในงานพิธี หรื อสถานที่ใดก็ตาม คือ ๑. งานสารวจล่วงหน้าได้ดาเนินการแล้วหรื อยัง และได้มอบหมายให้ผใู ้ ดเป็ นผูด้ าเนินการ ๒. มีเจ้าหน้าที่จากหน่วยใดบ้างร่ วมปฏิบตั ิหน้าที่ในครั้งนี้ ๓. มีสื่อมวลชนรวมอยูด่ ว้ ยหรื อไม่ ๔. การแต่งกายควรเป็ นลักษณะใด ๕. มีการตรวจสอบห้องพัก สานักงาน ห้ องน้ า และอื่นๆ รวมทั้งสถานที่น้ นั ๆ เพื่อความปลอดภัยของ บุคคลสาคัญหรื อไม่ ๖. งานพิธีน้ นั ๆ จัดให้บุคคลทัว่ ไปหรื อเฉพาะแขกรับเชิญ ๗. กรณี ที่จดั เฉพาะแขกรับเชิญ มีการกาหนดใช้มาตรการแสดงตนชนิดใด เช่น บัตรเชิญ เป็ นต้น ๘. มีการมอบสิ่ งของให้บุคคลสาคัญหรื อไม่ ถ้ามีของเหล่านี้คืออะไร ควรตรวจสอบความปลอดภัยด้วย เครื่ องมือพิเศษหรื อไม่ ข้ อพิจารณาในการทาแผน ๑. ความล่ อแหลมต่ออันตราย ในงานพิ ธีต่างๆ ที่ มีการประชาสัม พันธ์ ล่วงหน้าให้ประชาชนทัว่ ไป ทราบ ถือว่าบุคคลสาคัญที่จะมาในพิธีน้ นั อยูใ่ นสถานะที่ล่อแหลมต่ออันตรายมากที่สุด ในกรณี น้ ี เราอาจใช้เจ้าหน้าที่ตารวจยืนรักษาการณ์เพิ่มขึ้นก็ได้ และช่วงเวลาที่ล่อแหลมต่อการถูกทาร้ายมาก ที่สุด ได้แก่ ขณะที่บุคคลสาคัญกาลังลงจากรถ หรื อขึ้นรถ ขณะที่เดินเข้า และออกจากที่หมาย หรื อ อยูท่ ่ามกลางกลุ่มชน ๒. ขณะบุคคลสาคัญมาถึง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญจะต้องยื นวางกาลังให้กบั บุคคล สาคัญ ในรู ปแบบที่กาหนด ๓. ขณะพบปะกับประชาชน โดยให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยืนระวังป้ องกันในที่เหมาะสม ถ้าอยู่ ในงานพิธีที่จดั เฉพาะแขกรับเชิญ ให้ตรวจสอบจานวนแขกว่ามีมากกว่าที่ควรจะเป็ นหรื อไม่ ๔. ขณะกล่าวสุ นทรพจน์ ให้จดั เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยืนตามจุดที่ครอบคลุมบริ เวณให้กว้าง ที่สุด ๕. ขณะนัง่ การวางแผนจัดที่นง่ั สาหรับบุคคลสาคัญ และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ให้ มองในแง่ของการรักษาความปลอดภัย ซึ่ งต้องขึ้นกับประเภทของงานพิธี และผังโครงสร้างของสถานที่ดว้ ย

๓๘

๖. ขณะใช้ลิฟท์ ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญเดิ นนาบุ คคลสาคัญเข้าลิ ฟท์ก่อน เพื่อ หยุดลิฟท์ไว้จนกระทัง่ ทุกคนขึ้นหมด เมื่อลิฟท์จอดชั้นที่ตอ้ งการ ให้ออกจากลิฟท์ก่อน เพื่อตรวจความปลอดภัย ในกรณี ที่มีเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยจานวนเพียงพอ ควรให้เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยไปรอที่ ช้ นั ที่ บุคคลสาคัญจะออกจากลิฟท์ เพื่อรอรับคณะเมื่อลิฟท์ถึงที่หมาย ๗. ขณะอยูต่ ามห้างร้านและที่โล่งแจ้งสาธารณะ ให้ยืนคล้อยหลังไปด้านข้างของบุคคลสาคัญเล็กน้อย แต่ขณะเดียวกันต้องพร้อมที่จะก้าวไปข้างหน้า เมื่อมีผใู ้ ดก็ตามจะเข้าประชิดตัวบุคคลสาคัญ ลาดับขั้นในการวางแผน ลาดับ ในการวางแผน คื อ การเรี ย งล าดับ ของขั้นต่ างๆ ของการท างานของหน่ วยบังคับ บัญ ชา และ เจ้าหน้าที่จดั ทาแผน ซึ่ งดาเนิ นไปด้วยดี สมเหตุสมผลสาหรับการพัฒนาแผน ลาดับการวางแผนกสาหรับการ ปฏิบตั ิการ ดังนี้ ๑. การคาดคะเน เป็ นขั้นแรกในลาดับการวางแผน ทั้งผูบ้ งั คับบัญชาและเจ้าหน้าที่จดั ทาแผนวิเคราะห์ และประเมินค่าข้อเท็จจริ ง และแนวโน้มต่างๆ เพื่อกาหนดการปฏิ บตั ิที่น่าจะเป็ นไปได้ และเพื่อ คาดคะเนความคลี่คลายในอนาคต ๑.๑ ระยะเวลาระหว่างการคาดคะเน กับ การปฏิ บ ตั ิ ก ารจะต้องไม่ ห่ างกัน มาก เพราะถ้าห่ างมาก เพี ยงใด โอกาสที่ ก ารปฏิ บ ัติจะเกิ ดขึ้ น ตรงตามที่ ค าดคะเนไว้ย่อมจะลดน้อ ยลงเพี ย งนั้น ทั้ง นี้ เพราะว่าการ คาดคะเนในระยะยาวนั้น ผูค้ าดคะเนมีขอ้ เท็จจริ งอยูน่ อ้ ย ต้องอาศัยสมมติฐานเป็ นส่ วนใหญ่ ๒. การตรวจสอบการปฏิบตั ิที่น่าจะเป็ นไปได้และกาหนดลาดับเร่ งด่วนเพื่อการเตรี ยมการต่อไป ขั้นนี้ เกี่ ยวข้องกับการวิเคราะห์ การปฏิ บตั ิ ที่ ได้คาดคะเนไว้แล้ว และวิเคราะห์ ส มมติ ฐาน เพื่ อกาหนด ลาดับความสาคัญของการปฏิบตั ิที่น่าจะเป็ นไปได้ ๓. ศึกษาพิจารณาเรื่ องที่มีอยูใ่ นการปฏิ บตั ิเพื่อกาหนดภารกิ จสมมติ กระทาเพื่อเตรี ยมหน่ วยให้พร้ อม สาหรับเหตุการณ์อนั มีเหตุผลทั้งปวง ๔. การวิ เคราะห์ ภ ารกิ จ เพื่ อ ก าหนดงานต่ า งๆ ตามภารกิ จ ที่ ต้อ งท า ตลอดจนความยุ่ ง ยาก และ ความสาคัญของงานตามลาดับ ๕. การกาหนดแนวทางในการวางแผน สาหรับงานของภารกิ จแต่ละงาน แนวทางในการวางแผนนี้ ทา ให้ผูว้ างแผนทุกคนทางานไปในแนวทางเดี ยวกันและในเวลาเดี ยวกัน แนวทางในการวางแผนเกื้ อกูลแก่การ วางแผนพร้อมๆ กัน โดยพื้นฐานสาหรับข้อพิจารณาและประมาณการต่างๆ ที่จาเป็ นสาหรับการปรับปรุ งแผน สาคัญของแนวทางดังกล่าวนี้ ได้แก่ ๕.๑ แนวทางในการวางแผนด้วยวาจา จากการวิเคราะห์ ภารกิ จที่ ได้มอบหรื อที่ สมมติ ข้ ึน หนทาง ปฏิบตั ิขอ้ คาดคะเน หรื อระเบียบปฏิบตั ิที่ผบู ้ งั คับบัญชาสั่งการไว้ ๕.๒ นโยบายที่ผบู ้ งั คับบัญชามอบหมาย ๕.๓ ระเบียบปฏิบตั ิประจา < Standing Operation Procedures > ๖. ทาข้อพิจารณาในการวางแผน เพื่อพัฒนาแผนโครง โดยกาหนดปั จจัยสาคัญในการปฏิบตั ิการอย่าง หนึ่ ง และสารวจรายละเอียดต่างๆ ของปั จจัยเหล่านี้ แบบของข้อพิจารณาของฝ่ ายอานวยการ เริ่ มทาขึ้นจากผล

๓๙

ของการวางแผนทัว่ ไป และกระท าไปอย่างต่ อเนื่ อง สามารถปรั บ ให้เข้ากับ สถานการณ์ โดยเฉพาะได้อย่าง รวดเร็ ว ข้อพิจารณาในการวางแผนเหล่านี้จาเป็ นมาก สาหรับการกาหนดหาความน่าจะเป็ นไปได้ในขั้นต้นของ หนทางปฏิบตั ิต่างๆ ๗. การตรวจความเหมาะสมของหนทางปฏิ บตั ิและเลื อ กหนทางปฏิ บ ตั ิ การพิจารณาหนทางปฏิ บ ตั ิ ทั้งหลายที่เกี่ ยวข้อง มิ ใช่ เป็ นการตัดหนทางการปฏิ บตั ิ ท้ งั ปวงที่ มีอยู่ ให้เหลื อเพียงหนทางปฏิ บตั ิเดี ยวเท่านั้น หนทางปฏิบตั ิหลายๆ หนทาง อาจต้องรักษาไว้เพื่อให้ความมัน่ ใจอย่างมีเหตุผลว่า หน่วยปฏิบตั ิพร้อมที่จะเผชิ ญ กับเหตุการณ์ท้ งั ปวงได้ หนทางปฏิบตั ิที่เพิ่มเติมอาจต้องรักษาไว้เพื่อใช้เป็ นแผนสารอง ๘. การทาแผนสมบูรณ์ แผนสมบู รณ์ จดั ท าขึ้ นส าหรั บหนทางปฏิ บ ตั ิ แต่ล ะหนทางที่ กาหนดไว้ เพื่ อ เพิ่มเติมรายละเอียดทั้งหมดที่จาเป็ นลงไปให้เป็ นแผนที่สมบูรณ์ รายละเอียดเหล่านี้ ได้มาจากการประมาณการ ข้อพิจารณา และการวิเคราะห์ปัญหา หรื อมาจากข้อพิจารณาใหม่ๆ ซึ่ งได้ทาขึ้นเมื่อการวางแผนได้กา้ วหน้าไป ๙. การดาเนิ นการซักซ้อม ในขั้นนี้ จะกระทาหรื อไม่ย่อมแล้วแต่หน่ วยปฏิ บตั ิ และเวลา ตลอดจนสิ่ ง อานวยความสะดวกที่มีอยู่ ลักษณะของแผน ส่ วนประกอบอันสาคัญของแผนหนึ่ งๆ นั้นคือ แผนต้องให้หนทางปฏิบตั ิที่แน่นอน และต้องปฏิบตั ิตาม แผนนั้นด้วย แผนที่ดีมีลกั ษณะดังนี้ ๑. ต้องสามารถบรรลุภารกิจ แผนนั้นบรรจุวตั ถุประสงค์ของการวางแผนหรื อไม่ ๒. ต้องอาศัยข้อเท็จจริ งและสมมติฐานที่เหมาะสม ได้มีการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดว่า ถูกต้อง หรื อไม่ และได้มีการลดสมมติฐานให้เหลือน้อยที่สุดหรื อไม่ ๓. ต้องใช้กาลังพลอาวุธยุทโธปกรณ์ ที่มีอยู่ แผนนี้ ใช้การได้หรื อไม่ มี กาลังส่ วนใดของหน่ วยบ้างที่ ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ๔. ต้องมีการจัดตามความจาเป็ น แผนนี้กาหนดความสัมพันธ์ ชัดเจน และความรับผิดชอบที่แน่นอน ๕. ต้องมี ความต่ อเนื่ อง แผนนี้ ก าหนดหน่ วย เจ้าหน้าที่ ยุท โธปกรณ์ และการจัดระเบี ยบไว้เต็ม ตาม ระยะเวลา ๖. ต้องมีการกระจายอานาจ แผนนี้มีการแบ่งมอบอานาจให้มากที่สุดเท่าที่สามารถควบคุมได้หรื อไม่ ๗. ต้องมีการติดต่อโดยตรง แผนนี้ ยอ่ มให้มีการประสานงานในระหว่างปฏิบตั ิตามแผน ด้วยการพบปะ โดยตรงระหว่างเจ้าหน้าที่ในระดับเดียวกัน และเจ้าหน้าที่ที่ทางานร่ วมกันหรื อไม่ ๘. ต้องง่าย ส่ วนต่างๆ ของแผนที่ไม่จาเป็ นต่อความสาเร็ จในการปฏิบตั ิได้ตดั ทิ้งไปหรื อไม่ ได้ลดส่ วน ต่างๆ ทั้งหมดให้เป็ นแบบฟอร์ มที่ง่ายที่สุด หรื อได้ขจัดความเข้าใจผิดที่อาจเกิดขึ้นให้หมดไปหรื อไม่ ๙. ต้องตัวอ่อนได้ แผนนี้ เปิ ดช่ องให้สามารถปรับให้เหมาะสมกับสภาพการปฏิบตั ิที่เปลี่ยนไปหรื อไม่ และถ้าจาเป็ น ได้กาหนดเงื่อนไขสาหรับหนทางปฏิบตั ิสารองหรื อไม่ ๑๐. ต้องมีการควบคุม มีวิธีการ หรื อจัดให้มีวิธีการอย่างเพียงพอเพื่อให้มน่ั ใจว่าได้ปฏิบตั ิตามแผน ตามที่ผบู ้ งั คับบัญชาตั้งใจไว้หรื อไม่

๔๐

๑๑. ต้อ งประสาน แผนนี้ ได้ป ระสานกัน อย่ า งเต็ ม ที่ แ ล้ ว หรื อ ไม่ เมื่ อ เห็ น สมควรได้ แ จ้ง ให้ ผูบ้ งั คับบัญชาทราบถึงการทางานไม่พร้อมกัน และการไม่ประสานกันหรื อไม่ แผนทีค่ วรจัดทาขึน้ ๑ แผนถาวร จัดทาไว้ในโอกาสที่มีภารกิจที่ตอ้ งปฏิบตั ิเป็ นการประจาบ่อยครั้ง ๒ แผนชัว่ คราว จัดทาขึ้นในกรณี ที่ไม่ได้จดั เตรี ยมแผนการปฏิบตั ิเป็ นการถาวรไว้ ๓ แผนฉุกเฉิน เป็ นแผนที่จดั ทาขึ้นไว้เพื่อแก้ไขสถานการณ์อนั อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อน การแบ่ งขั้นตอนในการปฏิบัติการ ในการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ หน่วยงานที่ได้รับมอบภารกิจต้องวางแผนขั้นตอน ในการปฏิบตั ิ เพื่อความเรี ยบร้อยสมบูรณ์จนกระทัง่ บรรลุภารกิจ โดยมีแนวทางดังต่อไปนี้ ๑. ขั้นตอนเตรี ยมการ แบ่งออกเป็ น ๒ ขั้นตอน ๑.๑ การประสานงาน ๑.๑.๑ ประสานงานกับ เจ้าหน้ าที่ ทุ ก ฝ่ ายที่ จ ะต้อ งเกี่ ย วข้อ งกับ การเตรี ย มการต้อ นรั บ เช่ น เจ้าของหน่ วยงานที่กาหนดวาระงาน ฝ่ ายปกครอง ฝ่ ายเตรี ยมการต้อนรับ หน่ วยงาน และตารวจ โรงพยาบาล ท้องถิ่น และหน่วยสื่ อสารในท้องถิ่น ๑.๑.๒ จัดส่ งชุดปฏิบตั ิการทางข่าวลับ เพื่อรวบรวมข่าวสารที่อาจเป็ นภัยต่อบุคคลสาคัญ ๑.๑.๓ จัดส่ งชุ ดส ารวจล่ วงหน้า เดิ นทางไปยังพื้ นที่ ป ฏิ บ ตั ิ ก ารเป็ นการล่ วงหน้า เพื่ อทาการ สารวจสถานที่ พร้อมทั้งบันทึกภาพบริ เวณที่บุคคลสาคัญจะเดินทางไป ๑.๒ การวางแผน ๑.๒.๑ ต้องพิจารณาวางแผนให้เหมาะสมกับความมากน้อย และความถู กต้องของข่าวสารที่ ได้รับ ๑.๒.๒ จัดการทาแผนที่แสดงการวางกาลังของหน่ วยรักษาความปลอดภัยและของเจ้าหน้าที่ ฝ่ ายบ้านเมื อง เช่ น หน่ วยทหาร ตารวจ ในพื้นที่ให้สอดคล้องต้องกัน เพื่อไม่ให้เกิ ดช่ องว่างในการรักษาความ ปลอดภัย ๑.๒.๓ สรุ ปข่าวในพื้นที่ ตลอดจนการจัดกาลังเสนอการรักษาความปลอดภัยให้บุคคลสาคัญได้ ทราบเป็ นการล่วงหน้า ๑.๒.๔ จัดทาแผนฉุกเฉิน หรื อแผนเผชิญเหตุ เพื่อเตรี ยมแก้ไขสถานการณ์อนั เกิดขึ้น ๒. ขั้นการปฏิบตั ิการ รวมเจ้าหน้าที่ทุกส่ วนชี้ แจงรายละเอียดเกี่ยวกับแผนปฏิ บตั ิงาน หน้าที่ของแต่ละ บุคคล เช่น ชุ ดปฏิบตั ิการล่วงหน้า ต้องปฏิบตั ิภารกิจในพื้นที่ใดบ้าง จัดกาลังอย่างไร วางกาลังในพื้นที่ อย่างไร ๓. ขั้นการวิจารณ์ และการรายงานหลังจากเสร็ จสิ้ นภารกิจ ๓.๑ ในการปฏิ บตั ิ การรักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญ ในแต่ละครั้งที่ จะให้ได้ผลในการปฏิ บตั ิ สมบูรณ์ ที่สุดนั้น จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบผลการปฏิ บตั ิครั้งก่อนๆ ว่ามีอุปสรรคขัดข้องหรื อปั ญหาใดบ้าง

๔๑

เพื่อที่จะได้ดาเนิ นการแก้ไข มิให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก นอกจากนั้นจะต้องได้รับข่าวที่มีอยูเ่ ดิม ซึ่ งได้จาก การปฏิบตั ิในครั้งก่อนที่มีลกั ษณะงานเช่นเดียวกัน เช่น บุคคลสาคัญคนเดียวกัน และเดินทางไปยังสถานที่แห่ ง เดียวกัน เคยมีข่าวสารใดที่มีผลกระทบกระเทือนต่อการรักษาความปลอดภัย ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ ได้จากรายงาน ผลการปฏิบตั ิในครั้งก่อน ๓.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจารณ์ และการรายงานหลังการปฏิบตั ิ ๓.๒.๑ เพื่อเป็ นฐานข่าว ในการปฏิบตั ิงานครั้งต่อไป ๓.๒.๒ เพื่อเป็ นแนวทาง ในการปฏิบตั ิงานครั้งต่อไป โดยปรับปรุ งแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มาแล้วเท่าที่สามารถจะทาได้ ๓.๒.๓ เป็ นประวัติศาสตร์ ของหน่วยและชาติ ๓.๓ การวิจารณ์ เป็ นเรื่ องสุ ดท้ายของภารกิจในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ผูท้ ี่ร่วมภารกิจ ทั้งหมดต้องมาพร้อมกัน และวิจารณ์กนั ว่าเรื่ องต่างๆ ที่ได้ทาไปแล้วนั้นเหมาะสมหรื อไม่ เพียงใด เพื่อให้มีความ กระจ่างแจ้งในเรื่ องต่างๆ ทั้งหมด และเพื่อเป็ นการปรับปรุ งในการปฏิ บตั ิภารกิ จ ไหวพริ บ และเทคนิ คต่างๆ เป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ ตอ้ งมี การวิพ ากษ์วิจารณ์ การวิจารณ์ น้ ี จะได้ผลดี ที่สุ ดก็ตอ้ งรี บ ท าให้ เร็ วที่ สุด หลังจากเสร็ จ ภารกิจไปแล้ว และมีความจาเป็ นที่ตอ้ งทาเป็ นส่ วนหนึ่งของงานตามภารกิจ ในการดาเนินการวิจารณ์ เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบต้องไม่ทาให้เกิดการกระทบกระเทือนกันขึ้น ต้องทาอย่างตรงไปตรงมา และไม่ทาเป็ นเรื่ องส่ วนตัว การติเตียนเป็ นรายบุคคลต้องทาเป็ นส่ วนตัว แต่การยกย่องชมเชย ควรจะทาในที่ประชุ ม เพื่อให้เป็ นบทเรี ยนใน การที่จะปฏิบตั ิภารกิจครั้งต่อไปให้ดีข้ ึน การวิจารณ์ควรจะพูดถึงเรื่ องเหล่านี้เป็ นพิเศษคือ ๓.๓.๑ การข่าวที่ได้รับทราบ เพียงพอต่อการปฏิบตั ิการหรื อไม่ ถ้าไม่เพียงพอยังขาดสิ่ งใดบ้าง ที่ตอ้ งการทราบ ๓.๓.๒ ความเหมาะสมของการวางแผนการรัก ษาความปลอดภัย ยังขาดในเรื่ องใดบ้างที่ จาเป็ นต้องใช้ในการปฏิบตั ิงาน ๓.๓.๓ มารยาท และการวางตัว ของเจ้า หน้ า ที่ มี ค วามเหมาะสมหรื อ ไม่ เพี ย งใด และมี ข้อบกพร่ องที่ควรต้องแก้ไขประการใดบ้าง ๓.๓.๔ การวางตาแหน่ งในการรั ก ษาความปลอดภัย มี ข ้อบกพร่ องหรื อไม่ และการแก้ไ ข อย่างไร ๓.๓.๕ การริ เริ่ ม และไหวพริ บของเจ้าหน้าที่ ในการแก้ไขปั ญหาการรักษาความปลอดภัยมี มากน้อยเพียงใด หาข้อบกพร่ องต่างๆ เพื่อจะได้ปรับปรุ งแก้ไขโดยการฝึ กให้มากขึ้น ๓.๓.๖ ความคล่องแคล่วของเจ้าหน้าที่มีเพียงพอที่จะให้เกิดความมัน่ ใจในความปลอดภัยของ ตัวบุคคลสาคัญเองหรื อไม่ ๓.๓.๗ ข้อผิดพลาดอื่นๆ และข้อควรแก้ไข ๓.๔ ขั้นตอนในการดาเนินการวิจารณ์ จะต้องครอบคลุมเรื่ องสาคัญ ดังต่อไปนี้ ๓.๔.๑ แจ้งภารกิ จให้ทราบอีกครั้ง เพื่อเป็ นการเตือนความจาในพื้นฐานเบื้องต้นกับผูร้ ่ วมงาน เพราะว่าผูร้ ่ วมงานอาจจะเกี่ยวข้องกับงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ

๔๒

๓.๔.๒ ทบทวนวิธีการและเทคนิ คที่นามาใช้ ควรจะได้มีการสรุ ปอย่างสั้นๆ ถึงวิธีการที่ได้ใช้ เพื่อความมุ่งหมายที่วางไว้ ๓.๔.๓ ประเมินค่าการปฏิ บตั ิงาน ซึ่ งเป็ นเรื่ องสาคัญที่ สุดในการวิจารณ์ โดยการใช้บนั ทึกที่ จดจาไว้ในขณะปฏิบตั ิงาน เจ้าหน้าที่เป็ นผูร้ ับผิดชอบชี้แจง และถกแถลงในปั ญหาที่สาคัญๆ โดยชี้จุดอ่อนต่างๆ พร้อมทั้งวิธีแก้ไขปรับปรุ ง จุดสาคัญๆ ต้องชี้ให้เห็นแต่อย่าเอาเรื่ องส่ วนตัวมากล่าว ๓.๔.๔ การควบคุมพวกที่จะถกแถลง เจ้าหน้าที่ผดู ้ าเนินการวิจารณ์จะต้องถกแถลงถึงจุดสาคัญ ต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว และแนะนาเรื่ องอื่นๆ ที่จะนาเข้าถกแถลง ๓.๔.๕ สรุ ปการวิจารณ์ควรจะเป็ นการสรุ ปอย่างสั้นๆ แต่เข้าใจได้ง่าย และครอบคลุมไปจนถึง จุดสาคัญต่างๆ ทั้งหมด เจ้าหน้าที่ผดู ้ าเนินการวิจารณ์ควรแนะนาให้ศึกษา และแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ ที่เป็ นมา แล้ว แต่ตอ้ งไม่เป็ นการวิพากษ์วจิ ารณ์ที่ให้ร้ายต่อกัน ๓.๕ การรายงาน ต้องทาเป็ นแบบบรรยายถึ งหัวข้อสาคัญของภารกิ จในการรักษาความปลอดภัย จะต้องเขียนรายงานให้เร็ วที่สุดที่จะทาได้หลังจากได้ปฏิบตั ิภารกิจเสร็ จสิ้ นแล้ว บันทึกต่างๆ ที่เจ้าหน้าที่ควบคุม ได้จดไว้ในขณะปฏิ บตั ิการ ต้องรวบรวมเข้าไว้ในรายงานนี้ ดว้ ย ข้อยุ่งยากที่ได้พบมา หรื อวิธีการที่ควรยกเลิก เสี ยต้องเน้นให้เห็ นเป็ นพิเศษ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวางแผนการประสานงาน ของเจ้าหน้าที่ และเครื่ องมื อเครื่ องใช้ตอ้ งเขี ยนไว้อย่างละเอียด นอกจากนั้นยังต้องเก็บสาเนารายงานไว้เพื่ อ แก้ไขปรับปรุ งในการปฏิบตั ิครั้งต่อไป ๓.๖ หัวข้อการรายงาน ควรมีรายละเอียดดังนี้ ๓.๖.๑ ภารกิจได้รับมอบตามคาสั่ง................ที่...............ลง.............เรื่ อง.................. ๓.๖.๒ ความเหมาะสมของแผนการปฏิบตั ิ ๓.๖.๒.๑ การจัด ก าลัง และการแบ่ ง มอบงาน ครบถ้วนสมบู ร ณ์ ห รื อ ไม่ สิ่ ง อุ ป กรณ์ เครื่ องมือเครื่ องใช้ จาเป็ นต้องเพิ่มเติมหรื อไม่ ๓.๖.๒.๒ ความจาเป็ น ในการต้องการเครื่ องมือเทคนิคเพิ่มเติม และใช้ในกรณี ใด ๓.๖.๒.๓ ตาแหน่ งการวางกาลังของเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย มี ความเหมาะสม หรื อไม่ ๓.๖.๓ ได้รับการสนับ สนุ น ทางด้านการข่าวเพี ยงพอหรื อไม่ อย่างไร และการข่าวเพิ่ มเติ ม ระหว่างปฏิบตั ิงานมากน้อยแค่ไหน ๓.๖.๔ การปฏิบตั ิงานตามภารกิจ ๓.๖.๔.๑ การประสานงานล่ วงหน้า หน่ วยที่ ป ระสานและความร่ วมมื อที่ ได้รับ การ สารวจล่วงหน้า มีขอ้ บกพร่ องอะไรบ้างที่ทาให้การปฏิบตั ิงานไม่บงั เกิดผลดีเท่าที่ควร ๓.๖.๔.๒ การปฏิบตั ิการล่วงหน้า ไปถึงก่อนกาหนดการที่บุคคลสาคัญจะมากี่ชวั่ โมง ๓.๖.๔.๓ การตรวจความปลอดภัยเกี่ ยวกับสถานที่ มีสถานที่ใดบ้างที่ดาเนิ นการตรวจ ไม่ได้ และเพราะเหตุใด ๓.๖.๔.๔ การวางกาลังตามวงรอบต่างๆ มีความเหมาสม หรื อไม่เพียงใด ๓.๖.๔.๕ ข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ และการปรับปรุ งแก้ไขมาตรการในการรักษาความ ปลอดภัย

๔๓

การชี้แจงก่อนการปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ผจู ้ ดั ทาแผนในการปฏิบตั ิ จะเป็ นผูช้ ้ ี แจงถึงหัวข้อทั้งหมดของแผนการปฏิ บตั ิการ ซึ่ งมีหัวข้อ สาคัญๆ ดังต่อไปนี้ ๑. การวางตัวและมารยาทของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนั้น เป็ นผูท้ ี่ ผ่านการคัดเลือกมาแล้วเป็ นอย่างดี ทั้งท่วงท่าลักษณะ ความฉลาด มีปฏิภาณไหวพริ บ มีความริ เริ่ ม และความคล่องตัว ซึ่ งคุ ณสมบัติเหล่านี้ จะทาให้สามารถปฏิ บตั ิงานตามภารกิ จให้สาเร็ จลุ ล่วงไป ด้วยดี รวดเร็ ว และถู กต้องเหมาะสมกับเหตุการณ์ และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิ ดขึ้นโดย ไม่คาดคิดมาก่อนได้ทนั ท่วงที กระนั้น ก็ตามเจ้าหน้าที่ ทุกคนควรได้รับการชี้ แจง เพื่อเน้นให้ ตระหนักอยูเ่ สมอในเรื่ องที่กล่าวมานี้ เรื่ องสาคัญอีกประการหนึ่ งคือ การวางตัว และมารยาท ซึ่ งจะต้องศึ กษาอย่างละเอียดทุกครั้งก่อนออก ปฏิบตั ิงาน โดยจะต้องทราบอุปนิ สัยใจคอของบุคคลสาคัญ ความชอบ ไม่ชอบ รายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ เท่าที่ จะหาได้ เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างเหมาะสม เป็ นที่พอใจของบุคคลสาคัญ และไม่ก่อให้เกิ ด ความราคาญการชี้ แจงจะต้องเน้นให้ทราบภารกิจแต่ละครั้งว่า เป็ นการปฏิ บตั ิอย่างเป็ นทางการ ไม่เป็ นทางการ หรื อเป็ นการส่ วนตัว เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบตั ิตนได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ซึ่ งเรื่ องต่างๆ ที่กล่าวมา นี้ นอกจากมีความรู ้ความเข้าใจในหน้าที่ที่จะต้องปฏิบตั ิในแต่ละครั้งเป็ นอย่างดีแล้ว ยังต้องอาศัยประสบการณ์ ชั้นเชิ ง และไหวพริ บของเจ้าหน้าที่แต่ละคนนั้นด้วย ซึ่ งถ้าเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทุกคนสามารถปฏิบตั ิ ได้ดงั นี้แล้ว จะเป็ นการขจัดความขัดแย้ง ความไม่พอใจของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ าย รวมทั้งบุคคลสาคัญเองให้หมดไป ๒. การใช้อาวุธ เพื่อป้ องกันอันตรายที่อาจเกิดจากอุบตั ิเหตุ การใช้อาวุธควรกาหนดลงไปว่า เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย จะใช้อาวุธยิงได้เพียงใด อาวุธต่างๆ ควรพร้อมที่จะใช้งานได้เสมอ ในขณะที่ ทาการรักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ที่ตอ้ งอยูป่ ระจาตัวบุคคลสาคัญต้องพกอาวุธไว้ในที่ที่สามารถ นาออกใช้ได้ทนั ที โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับภารกิจ โดยปกติยอ่ มไม่เปิ ดเผยเป็ นที่หวาดเสี ยวแก่ ผูอ้ ื่น นอกนั้นก็มีอาวุธพิเศษ และอาวุธอื่นๆ ที่จะใช้ต่อต้านการก่อกวนด้วยวิธีต่างๆ เช่น เครื่ องช๊อต ไฟฟ้า แก๊สน้ าตา เป็ นต้น ในการชี้ แจงทุกครั้ง จะต้องกากับเรื่ องการเลือกใช้อาวุธที่กล่าวมานี้ เพื่อประกันมิให้เกิดความผิดพลาด ขึ้นโดยเด็ดขาด ๓. การควบคุมฝูงชน เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยควรจะเข้าใจหลักการควบคุมฝูงชน เพื่อให้สามารถ ปฏิบตั ิการได้โดยเหมาะสมเมื่อเกิดปั ญหาเฉพาะหน้าขึ้น ซึ่ งจาเป็ นต้องใช้ความรวดเร็ วและฉับพลัน เพื่อมิให้เกิด เหตุการณ์ลุกลามใหญ่โตขึ้น สาหรับการควบคุมฝูงชนกล่าวโดยสังเขปดังนี้ ๓.๑ พฤติกรรมของกลุ่มและฝูงชน ๓.๑.๑ กลุ่มชน < Crowd > หมายถึง คนจานวนมากที่มารวมตัวชุ มนุ มกันชัว่ คราว ถ้ากลุ่มชนมี พฤติกรรมที่รุนแรงจะกลายเป็ นฝูงชน < mob > จะไม่สนใจต่อกฎหมาย และเจ้าหน้าที่ จะเชื่ อฟัง และปฏิบตั ิตาม ผูน้ าไปในทางที่ผดิ กฎหมาย และในทางที่ขดั ขวางการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ จะใช้อารมณ์ และขาดเหตุผล

๔๔

๓.๑.๒ กลุ่มชนมีอยูห่ ลายประเภท ตามวัตถุประสงค์ที่ไปร่ วมชุ มนุ มกัน อาจแบ่งเป็ นประเภท ใหญ่ๆ ๒ ประเภท ดังนี้ ๓.๑.๒.๑ กลุ่ มชนที่ ไปชุ มนุ ม โดยธรรมชาติ เช่ น ไปดู กีฬ า หรื อมุ งดู อุบตั ิ เหตุ ซึ่ งไม่ มี ความผูกพันกันโดยเฉพาะ แต่ไปชุมนุมกันเพื่อความบันเทิง หรื ออยากรู ้อยากเห็น ๓.๑.๒.๒ กลุ่มชนที่ ไปชุ มนุ มโดยมีแผน จะมี การนัดหมายกันเพื่อมุ่งผลประโยชน์อนั เดียวกัน ๓.๒ การตื่นตระหนกของฝูงชน จะเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะต้องพิจ ารณาให้รอบคอบในการควบคุ ม ฝูงชน เพราะจะก่อให้เกิดการดิ้นรนแสวงหาความปลอดภัย โดยปราศจากเหตุผล และตื่นเต้นสุ ดขีดจนควบคุ ม ตัวเองไว้ไม่อยู่ อาจตัดสิ นใจที่จะกระทาในสิ่ งที่คาดไม่ถึง เหตุที่ทาให้เกิดความตื่นตระหนก มีดงั นี้ ๓.๒.๑ คิดว่าถูกคุกคาม จะทาให้หนีโดยไม่คานึงถึงชีวติ และผูอ้ ื่น ๓.๒.๒ เมื่ออยูใ่ นลักษณะติดกับ มีภยั ใกล้ตวั และเส้นทางหนีจากัด ๓.๒.๓ เมื่อเส้นทางหนีถูกตัดขาดบางส่ วนหรื อทั้งหมด ๓.๒.๔ เมื่อคิดว่าทางหนียงั คงเปิ ดอยู่ ๓.๒.๕ เมื่อใช้สารควบคุมจลาจลต่อฝูงชนที่แออัด ๓.๓ การป้ องกันการตื่นตระหนก ๓.๓.๑ ให้มีการประชาสัมพันธ์โดยต่อเนื่อง ๓.๓.๒ จัดให้มีช่องทางหนี และดารงไว้อย่างต่อเนื่อง ๓.๓.๓ เมื่อจาเป็ นต้องใช้การควบคุมจลาจล ต้องแจ้งให้ฝงู ชนทราบ และเริ่ มใช้แต่นอ้ ย ๓.๔ หนทางปฏิบตั ิของฝูงชน ๓.๔.๑ การล่วงเกินด้วยวาจา ๓.๔.๒ การใช้ผหู ้ ญิง เด็กและผูส้ ู งอายุให้อยูแ่ นวหน้า ๓.๔.๓ การใช้วสั ดุปิดกั้น ๓.๔.๔ การเปิ ดเครื่ องปิ ดกั้น ๓.๔.๕ การขว้างปา ๓.๔.๖ การโจมตีต่อเจ้าหน้าที่ และยานพาหนะ ๓.๔.๗ การใช้ยานพหานะหรื อวัตถุอื่นๆ เข้าชนเจ้าหน้าที่ ๓.๔.๘ การใช้เพลิงหรื อวัตถุระเบิด ๓.๔.๙ การใช้อาวุธเข้าต่อสู ้ ๓.๕ การควบคุมกลุ่มชน หรื อฝูงชน มี ๔ วิธี คือ ๓.๕.๑ การเฝ้าสังเกตความคืบหน้าของกลุ่มชน เพื่อทราบปฏิกิริยา และเจตนารมณ์ ของฝูงชน และหาโอกาสชักนาหรื อจูงใจให้กลุ่มชนสลายตัว นอกจากนี้ ให้เปิ ดระบบการสื่ อสารกับผูน้ ากลุ่มเพื่อขอทราบ เจตนารมณ์และความมุ่งหมาย

๔๕

๓.๕.๒ การทาให้สลายตัว แตกตัว กระจายออกและจะต้องกาหนดมาตรการควบคุ ม ให้กลุ่ม ชนสลายตัวไปตามเส้นทางที่ควบคุมไว้ จัดให้มีการรักษาความปลอดภัยสถานที่ที่กลุ่มชนขนาดย่อยอาจใช้เป็ น เป้ าหมาย วิธีการปฏิ บตั ิสาหรับเส้นทางเลื อกนี้ คือ การประกาศให้สลายตัว แสดงกาลังใช้รูปขบวนสลายฝูงชน และการใช้การควบคุมจลาจล ๓.๕.๓ การจากัดเขตให้กลุ่มชนรวมตัว ณ ที่ปัจจุบนั เพื่อไม่ให้กลุ่มชนขยายการดาเนิ นการใน เชิงรุ กออกนอกพื้นที่ ทางเลือกนี้มีวิธีการปฏิบตั ิโดยใช้รูปขบวนสลายฝูงชน การลาดตระเวน และการปิ ดกั้นเป็ น หลัก ๓.๕.๔ การสกัดกั้นไม่ให้กลุ่มชนเคลื่อนที่ไปยังสถานที่หรื อพื้นที่สาคัญที่เป็ นเป้ าหมาย หรื อที่ ล่อแหลมต่อการถูกโจมตีของผูก้ ่อความวุน่ วาย ๓.๖ เทคนิคการควบคุมกลุ่มชน มี ๑๑ ประการ คือ ๓.๖.๑ การสังเกตการณ์ ๓.๖.๒ การสื่ อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนเจตนารมณ์ และความต้องการ ๓.๖.๓ การบังคับทิศทาง ๓.๖.๔ การหันเหความสนใจ ๓.๖.๕ การขอความร่ วมมือ ๓.๖.๖ การประกาศ ๓.๖.๗ การแสดงกาลัง ๓.๖.๘ การใช้รูปขบวนสลายกลุ่มชน ๓.๖.๙ การจับกุม ๓.๖.๑๐ การใช้น้ าฉี ด ๓.๖.๑๑ การใช้สารควบคุมจลาจล

-------------------------------------------------

๔๖

การสารวจล่วงหน้ าและชุ ดส่ วนล่วงหน้ า < ADVANCE SURVEY AND ADVANCE TEAMS > เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องรับผิดชอบความปลอดภัยของบุคคลสาคัญ ไม่ให้เกิดอันตรายขึ้นใน ระหว่างการเดิ นทาง การปฏิบตั ิภารกิจในพื้นที่ และการเดินทางกลับที่พกั ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจึงจัดให้มี เจ้าหน้าที่ ชุ ดล่ วงหน้า < Advance Agent > เพื่ อเดิ นทางไปยังที่ ห มายที่ บุ ค คลส าคัญ จะไปปฏิ บ ตั ิ ภารกิ จ เพื่ อ ดาเนินการในด้านการรักษาความปลอดภัย และจัดเตรี ยมการในเรื่ องความจาเป็ นต่างๆ หลักพืน้ ฐานในการปฏิบัติการสารวจล่วงหน้ า ๑. รวบรวบข่าวสาร < Inquire of Any Intelligence > ข่าวสารต่างๆ ในพื้นที่ ที่บุคคลสาคัญจะไป เพื่อ นาไปประกอบการวางแผนในการรักษาความปลอดภัย ๒. ทาพื้นที่ให้ปลอดภัย เพื่อให้บุคคลสาคัญสามารถปฏิบตั ิภารกิจได้ ๓. ให้ บุ ค คลส าคัญ เสี่ ย งอัน ตรายน้ อ ยที่ สุ ด ทั้ง ที่ เกิ ด จากความจงใจกระท า หรื อจากอุ บ ัติ เหตุ จาก ผูก้ ่อการร้ายขณะที่อยูใ่ นพื้นที่น้ นั ๆ การสารวจล่วงหน้ า < Advance Survey > เป็ นการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย การทาแผนและการเตรี ยมการติดต่อประสานงานในเรื่ องต่างๆ ตามลาดับ ในพื้ นที่ ที่ บุ ค คลส าคัญ จะเดิ น ทางไป การปฏิ บ ตั ิ การส ารวจล่ วงหน้านั้น ต้องท าการส ารวจพื้ น ที่ ล่วงหน้าก่ อนกาหนดการที่ บุคคลส าคัญจะเดิ นทางไป อย่างน้อย ๓ วัน จานวนเจ้าหน้าที่ที่ ปฏิ บตั ิการส ารวจ ล่วงหน้านั้น ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ ๓ คน หรื อมากกว่า การเตรียมการในการสารวจล่วงหน้ า เมื่ อเจ้าหน้าที่ ส ารวจล่ วงหน้า ได้รับทราบกาหนดการของบุ คคลสาคัญแล้ว จะต้องมี ความมัน่ ใจใน ความถู กต้องของข่าวสารที่ ได้รับ เพราะข่าวสารเหล่ านี้ เป็ นสิ่ งสาคัญที่ จะนามาใช้ในการวางแผน การติ ดต่อ ขอรับการสนับสนุ นข่าวสารที่เกี่ยวกับพื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะเดิ นทางไปนั้น จาเป็ นที่จะต้องมีข่าวสารในเรื่ อง ดังนี้ ๑. ปัญหาด้านการเมืองในพื้นที่ ๑.๑ ท่าทีของประชาชนที่มีต่อบุคคลสาคัญเป็ นอย่างไร ๑.๒ บุคคลสาคัญเคยมาพื้นที่น้ ี หรื อไม่ ถ้ามา ประชาชนต้อนรับอย่างไร และมีปัญหาอะไรเกิ ดขึ้น บ้าง ๑.๓ มีข่าวการต่อต้านบุคคลสาคัญหรื อไม่ ๑.๔ ในพื้นที่เคยมีประวัติการต่อต้านทางการเมืองหรื อไม่ ๑.๕ มีบุคคลวิกลจริ ตในพื้นที่น้ นั หรื อไม่ ๑.๖ ขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ตารวจ ทหาร ในพื้นที่ ๑.๗ มีการข่มขู่ต่อบุคคลสาคัญหรื อไม่ ๑.๘ มีการเคลื่อนไหวของฝ่ ายตรงข้ามเข้ามาในพื้นที่หรื อไม่

๔๗

๒. ข้อมูลเพื่อเตรี ยมการสารวจ ๒.๑ กาหนดการของบุคคลสาคัญ รวมทั้งครอบครัวพร้อมคณะ เพื่อเตรี ยมการสารวจล่วงหน้า และ วางแผนการปฏิบตั ิ ๒.๒ กาหนดการเดินทางไปยังที่หมายต่างๆ เพื่อเตรี ยมเส้นทางหากมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่และ เวลาจะต้องทราบทันที ๒.๓ ในบางพื้นที่ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้เคยทาการสารวจล่วงหน้าไว้แล้ว สามารถนาผล การสารวจเดิมมาใช้เป็ นแนวทางในการสารวจได้ ๒.๔ ชื่ อเจ้าหน้าที่พิธีการในแต่ละพื้นที่ ที่ชุดสารวจล่วงหน้าจะต้องไปติดต่อ เจ้าหน้าที่ จะต้องรู ้ ว่า การประสานงานนั้นไม่ใช่เป็ นการออกคาสั่ง หรื อเรี ยกร้องในสิ่ งที่ตอ้ งการ ต้องมีศิลปะในการพูด มีการอ่อนตัว ได้ เพื่อมีความรู ้สึกอันดีระหว่างเจ้าของพื้นที่ และเจ้าหน้าที่สารวจล่วงหน้า และจะเป็ นผลดีสาหรับบุคคลสาคัญ ในการมาเยือนในครั้งนั้น เมื่อชุดสารวจล่วงหน้าได้รับข่าวสารข้อมูลต่างๆ เรี ยกร้องแล้ว จะเริ่ มปฏิบตั ิภารกิจในพื้นที่ที่ได้รับมอบ โดยมี ก ารประสานติ ด ต่ อกับ เจ้า หน้าที่ ในพื้ น ที่ เพื่ อ หาข้อ มู ล ต่ างๆ ในด้านการข่ าว และการเมื อง ตลอดจน ประสาน และเสนอแนะแนวทางต่างๆ เพื่อให้การรักษาความปลอดภัยกระทาได้อย่างสมบู รณ์ และลุ ล่วงไป ด้วยดี ถ้าการปฏิ บตั ิการรักษาความปลอดภัยมีหลายหน่ วยงานต้องมีการประสานการปฏิ บตั ิกนั ตลอดเวลา เมื่อ รวบรวมข่าวสารข้อมูลต่างๆ ได้แล้วจะนาข้อมูลเหล่านั้นรายงานผลส่ งให้กบั หัวหน้าชุ ดติดตาม < Detail Leader > ทันที เพื่อที่จะพิจารณาและวางแผนในการรักษาความปลอดภัย และแจกจ่ายแผนให้กบั ผูป้ ฏิบตั ิต่อไป ชุ ดปฏิบัติการล่ วงหน้ า < Advance Team > เป็ นส่ ว นหนึ่ งของชุ ด รั ก ษาความปลอดภัย มี หั ว หน้ า ชุ ด ล่ ว งหน้ า < Lead Advance Agent > เป็ น ผูร้ ับผิดชอบในการปฏิ บตั ิภารกิ จ โดยเป็ นผูต้ รวจสอบผลการปฏิบตั ิของชุ ดสารวจล่วงหน้าทั้งหมดในพื้นที่ชุด ล่วงหน้านี้ จะต้องไปถึ งที่หมายก่อนที่บุคคลสาคัญจะไปถึ งอย่างน้อย ๒ ชัว่ โมง โดยที่ตอ้ งแน่ ใจว่า พื้นที่น้ นั ๆ ปลอดภัยก่อนที่จะให้ชุดปฏิบตั ิการติดตาม และบุคคลสาคัญเข้ามาในพื้นที่น้ นั ข้ อพิจารณาเกีย่ วกับเส้ นทาง ภายใน และภายนอก ๑. พิจารณาเรื่ องกาหนดการของบุคคลสาคัญ เวลาถึง และเวลากลับ ๒. เส้นทางที่เข้าไปยังที่หมาย โดยมีเส้นทางหลัก เส้นทางรอง และเส้นทางฉุกเฉิน ๓. รู ้จุดที่ต้ งั ของ Safe House เส้นทางที่ใกล้ และปลอดภัยที่สุดที่จะเดินทางไปที่นน่ั ๔. เวลาที่ใช้ในการเดินทางไปยังพื้นที่น้ นั ๆ ๕. หาบริ เวณที่จอดรถของบุคคลสาคัญ เมื่อมาถึงและออกจากพื้นที่ ๖. จัดเตรี ย มรั้ วควบคุ ม ฝูง ชน และเครื่ อ งกี ด ขวาง พร้ อ มทั้งจัดที่ ให้ ส าหรั บ สื่ อ มวลชน กรณี มี ก าร สัมภาษณ์ ๗. ก่อนที่ขบวนรถจะเข้าถึงพื้นที่ ต้องอย่าให้มีรถจอดอยูใ่ นบริ เวณพื้นที่ที่ขบวนรถจะจอด หรื อบริ เวณ ใกล้เคียง

๔๘

๘. หาจุดสาหรับจอดรถฉุกเฉิน ๙. กาหนดสถานที่ หรื อห้องฉุ กเฉิ น < Safe Heaven > ซึ่งเป็ นสถานที่ที่ปลอดภัยสาหรับบุคคลสาคัญใน พื้นที่น้ นั รถฉุ กเฉิน < Stash Car > เป็ นรถฉุ กเฉิ นหรื อรถสารวจสาหรับบุคคลสาคัญ ในกรณี ที่เกิ ดเหตุการณ์ ข้ ึนแล้ว ไม่สามารถนาบุคคล สาคัญหลบหนี ทางขบวนรถ < Motocade > ได้ ชุ ดล่วงหน้าจะต้องเตรี ยมที่จอดรถฉุ กเฉิ นไว้บริ เวณใกล้เคียงที่ หมาย และเป็ นพื้นที่ปลอดภัย เส้นทางถอนตัวไปยังรถฉุ กเฉิ น ไม่ควรจะอยูใ่ นพื้นที่สังหารด้วยเมื่อเกิดเหตุการณ์ ขึ้น ชุ ดล่วงหน้าจะนาชุ ดติดตามและบุคคลสาคัญ < Secure Package > ออกไปจากพื้นที่สังหาร โดยหลบหนี ไป ยังรถฉุ กเฉิ น และนาไปยังพื้นที่ปลอดภัย ข้ อพิจารณาอื่นๆ ๑. เมื่อบุคคลสาคัญเดินทางมาถึงพื้นที่ จะต้องปฏิบตั ิภารกิจใดบ้างตามกาหนดการที่กาหนดไว้ ๒. มีการทักทาย แนะนาตัว < Meet and Greet > บริ เวณที่จอดรถหรื อไม่ ๓. จุดประสงค์ที่บุคคลสาคัญไปเพื่ออะไร ๔. ภายในพื้นที่น้ นั มีกี่ที่หมายที่บุคคลสาคัญจะต้องไป ๕. ต้องทราบเส้ น ทางเข้าออก แผนผัง ของสถานที่ น้ ัน ๆ รวมทั้ง ทางหนี ไ ฟ ลิ ฟ ท์ เส้ น ทางถอนตัว เส้นทางฉุกเฉิน ๖. ต้องทราบจานวน ลิฟท์ ขนาดความจุของลิฟท์ ห้องควบคุม ๗. บันไดที่จะใช้เป็ นทางขึ้นลงสารองแทนลิฟท์ ๘. การควบคุมบุคคลและสิ่ งของที่จะเข้าถึงตัวบุคคลสาคัญ ๙. กาหนดบัตรแสดงตนของสื่ อมวลชน ๑๐. ต้องทราบรายชื่อแขกที่พกั อยูช่ ้ นั บน ชั้นล่าง และห้องข้างเคียงกับบุคคลสาคัญ ๑๑. ขอ Master Key จากโรงแรม ที่สามารถเปิ ดห้องพักได้ทุกห้องบนชั้นที่พกั ๑๒. ต้องทราบที่ต้ งั ของห้องสุ ขา ว่าอยูท่ ี่ใดบ้าง ในสถานที่น้ นั ๑๓. จัดห้องรับรอง < Holding Room > สาหรับแขกที่จะเข้าพบบุคคลสาคัญ และจะต้องมีโทรศัพท์อยู่ ในห้องนั้นด้วย ๑๔. ถ้า อยู่ใ นพื้ น ที่ น้ ั น เป็ นเวลานานๆ จะต้อ งจัด ให้ มี ก องอ านวยการการรั ก ษาความปลอดภัย < Command Post > พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ท้ งั หมด ๑๕. พิจารณาการวางกาลังของเจ้าหน้าที่ชุดติดตามในสถานที่น้ นั ๆ ๑๖. จัดห้องพักผ่อน < Down Room > ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๑๗.ประสานติดต่อสื่ อสารกับหน่วยที่เกี่ยวข้องในพื้นที่น้ นั

๔๙

การชี้แจงแก่เจ้ าหน้ าทีต่ ารวจในพืน้ ที่ ๑. แนะนาเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนร่ วมในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ เรื่ องการยืนต้องหันหน้าเข้า หาฝูงชน ตรวจการณ์ในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย ห้ามหันหน้าเข้าหาบุคคลสาคัญเป็ นอันขาด ๒. แนะนาเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยทุ ก นายไม่ ตอ้ งแสดงความเคารพ หรื อยืน ตรง เมื่ อบุ ค คล สาคัญเดินผ่าน ๓. แนะนาเจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัยทุ ก นาย ไม่ หย่อนยานต่อหน้าที่ ต้องคอยระวังตลอดเวลา ขณะที่บุคคลสาคัญอยู่ จนกระทัง่ ลับสายตาไป ๔. แจ้งให้มีการจัดเจ้าหน้าที่ประจาสถานที่ เช่น อาคาร สะพาน โดยมีเครื่ องหมายบอกฝ่ ายที่เห็นได้ชดั ๕. แจ้งฝ่ ายพิธีการให้ทราบว่า เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจาเป็ นต้องทราบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ของกาหนดการทันที ข้ อพิจารณาในการจัดวางกาลัง เจ้าหน้าที่ล่วงหน้าจะต้องพิจารณาปั จจัยต่างๆ ดังนี้ ๑. ทราบกาหนดเวลาที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาสถานที่ < Site Agents > ต้องวางกาลังตาม จุดต่างๆ ที่กาหนดไว้ เพื่อรักษาความปลอดภัยสถานที่น้ นั ๆ ๒. กาหนดให้ทีมเก็บกูว้ ตั ถุระเบิด < EOD > มาทาการตรวจสอบที่หมายต่างๆ ในพื้นที่ ๓. การควบคุมฝูงชน สื่ อมวลชน ๔. จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบบัตรเชิ ญของแขก หรื อบัตรแสดงตนของสื่ อมวลชน ก่อนเข้าไปในพื้นที่ ๕. มีความจาเป็ นที่จะต้องใช้เครื่ องมือตรวจค้นโลหะหรื อซุม้ ตรวจโลหะ < Gate Way > หรื อไม่ ๖. มีแผนสาหรับหลบหนี ฉุกเฉิ น โดยทางเฮลิคอปเตอร์ หรื อไม่ ถ้ามีใช้สถานที่ใด จากหน่วยงานใด มี ที่สาหรับจอดหรื อไม่ < Landing Zone > LZ นักบินเคยลงที่จุดนั้นหรื อไม่ การจัดทาแผนงานต่ างๆ ในกรณีฉุกเฉิน < Establishing Emergency Reaction Plans > แนวทางในการปฏิบตั ิเมื่อเกิ ดกรณี ฉุกเฉิ น เมื่อต้องนาบุคคลสาคัญไปยังโรงพยาบาล ซึ่ งเจ้าหน้าที่ตอ้ ง ทราบที่ ต้ งั ของโรงพยาบาลในบริ เวณนั้น โดยต้องไปทาการสารวจล่ วงหน้า หาข้อมู ลต่างๆ จากโรงพยาบาล เสี ยก่อน ซึ่ งข้อมูลที่ควรรับทราบมีดงั ต่อไปนี้ ๑. เส้นทางไปยังโรงพยาบาล จะใช้เส้นทางใด ระยะทางเท่าใด และใช้เวลาเท่าใด ๒. รายชื่อโรงพยาบาลใกล้เคียงที่สามารถจะเลือกได้ ๓. มีบริ การฉุกเฉินตลอด ๒๔ ชัว่ โมง จุดที่ต้ งั ของห้องฉุ กเฉิ น ๔. มีบริ การด้านรถพยาบาลหรื อไม่ ระดับความสามารถของแพทย์และเครื่ องมือทันสมัย หรื อไม่ ๕. หมายเลขโทรศัพท์ของโรงพยาบาล ห้องฉุ กเฉิ น และชื่อเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลที่สามารถติดต่อได้ ๖. จัดส่ งข้อมูลประวัติส่วนตัวของบุคคลสาคัญให้กบั โรงพยาบาล ๗. ประสานกับทางโรงพยาบาล ในกรณี ที่บุคคลสาคัญจะต้องเข้าพักอยูใ่ นโรงพยาบาล จะต้องจัดพื้นที่ ให้กบั รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

๕๐

การจัดทาแผนในกรณีเมื่อเกิดการโจมตี ๑. ต้องทราบหมายเลขโทรศัพท์และจุดที่ต้ งั ของสถานีตารวจที่ใกล้ที่สุด ๒. เลือกสถานที่ปลอดภัย < Save House > ที่สามารถนาบุคคลสาคัญหลบภัยได้ในพื้นที่น้ นั ๓. เลือกเส้นทางที่ดีที่สุดที่ไปยังสถานที่ปลอดภัย < Safe House > จากเส้นทางต่างๆ ภายในพื้นที่น้ นั ๔. ทุกที่หมายต้องเตรี ยมจุดจอดรถฉุ กเฉิ น < Stash Car > ไว้เสมอ เพื่อนาบุคคลสาคัญไปยังสถานที่ ปลอดภัย ๕. เลือกเส้นทางหลัก เส้นทางรอง และเส้นทางฉุกเฉิน เพื่อเป็ นเส้นทางในการถอนตัว ๖. ศึกษารู ปแบบของการโจมตีแบบต่างๆ ที่อาจจะเป็ นไปได้ในพื้นที่น้ นั ๆ และเตรี ยมแผนเผชิ ญเหตุ แต่ละแบบไว้ การจัดทาแผนในกรณีเกิดเพลิงไหม้ < Reaction to Fire Emergency > ๑. เครื่ องดับเพลิ งที่ใกล้ที่สุด อยู่ที่ไหน และเป็ นแบบใด ใช้กบั เพลิ งประเภทใด หมดอายุการใช้งาน หรื อไม่ ๒. ทางออกหนีไฟทั้งหมดอยูท่ ี่ใดบ้าง ใช้ได้หรื อไม่ ๓. ในอาคารนั้นมีระบบเตือนไฟของตึกหรื อไม่ ๔. สถานี ตารวจดับเพลิงที่ใกล้ที่สุด อยูท่ ี่ไหน มีขีดความสามารถในการดับเพลิงในระดับใด หมายเลข โทรศัพท์อะไร ข้ อพิจารณาต่ างๆ เกีย่ วกับเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัย < Agent Consideration > ถึงแม้วา่ ความต้องการของเจ้าหน้าที่จะเป็ นเรื่ องสุ ดท้ายที่เจ้าหน้าที่จะต้องพิจารณาก็ตาม แต่ก็เป็ นเรื่ องที่ เราไม่ควรละเลย ดังนี้ ๑. จัดให้มีหอ้ งพักผ่อนของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย < Down Room > ๒. จัดให้มีเครื่ องดื่ม อาหารว่าง ที่รับประทานอาหารของเจ้าหน้าที่ ๓. ถ้าจัดให้มีกองอานวยการรักษาความปลอดภัย ต้องจัดให้มีการสับเปลี่ยนหน้าที่ ๔. ถ้ามีการเปลี่ ยนแปลงกาหนดการ จะต้องมีการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ในชุ ดต่างๆ ได้ทราบ เพื่อ เตรี ยมการในเรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หัวข้ อการตรวจสอบพืน้ ฐานของเจ้ าหน้ าทีป่ ฏิบัติการล่วงหน้ า < Basic Advance Security Checklist > ๑. พบและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของพื้นที่น้ นั ๆ หรื อพบกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยใน พื้นที่น้ นั ๆ ประสานขั้นตอนต่างๆ ที่บุคคลสาคัญจะต้องปฏิบตั ิ ตั้งแต่มาถึงจนกลับ ซึ่ งมีหัวข้อ ต่างๆ ดังนี้ ๑.๑ มีภยั คุกคามใดๆ ในการมาเยือนครั้งนี้บา้ งหรื อไม่ ๑.๒ มีสื่อมวลชนมาร่ วมด้วยหรื อไม่ ๑.๓ ในพื้นที่น้ ี มีส่ิ งใดที่อาจเป็ นภัยต่อบุคคลสาคัญได้ ๑. กาหนดเส้นทางมายังพื้นที่น้ นั ๆ และกาหนดจุดการวางกาลังของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ประจาสถานที่ < Site Agents >

๕๑

๒. จัดทาแผนเผชิ ญเหตุที่น่าจะเกิ ดขึ้น ตั้งแต่ลงจากรถ เข้ามาทักทายการปฏิ บตั ิ ตามกาหนดการ จนกระทัง่ กลับออกจากพื้นที่น้ นั ๓. กาหนดจุ ดจอดของขบวนรถเมื่ อมาถึ ง รวมทั้งที่ จอดคอยของขบวนรถทั้งหมด < Motorcade Staging Areas > ๔. กาหนดห้องรับ รอง < Holding Room > ห้องที่ ปลอดภัยสาหรับ บุ คคลส าคัญ และต้องทราบ หมายเลขโทรศัพท์ของห้องนั้นด้วย ๕. สารวจห้องน้ าว่ามีอยูท่ ี่ใดบ้าง เป็ นห้องน้ ารวมหรื อไม่ ๖. จุดสาหรับจอดรถฉุ กเฉิ น < Stash Car > และเส้นทางที่จะหาบุคคลสาคัญไปยังรถฉุ กเฉิ นอย่าง ปลอดภัย ๗. จัดเจ้าหน้าที่ ในการล็อคลิ ฟ ท์ไ ว้ส าหรั บ บุ ค คลส าคัญ และเส้ น ทางที่ จะไปยัง บัน ไดส ารอง สาหรับขึ้นลงว่าอยูท่ ี่ใด ๘. ตรวจสอบเรื่ องเครื่ องมือดับเพลิงในสถานที่น้ นั ๙. จัดให้มีการตรวจสอบสถานที่ โดยชุ ดตรวจค้นวัตถุ ระเบิด < Explosive Ordnance Disposal > ซึ่ งต้องรวมถึงมาตรการในการตรวจหี บห่ อของขวัญ และสิ่ งของที่จะมอบให้กบั บุคคลสาคัญ ตลอดจนตรวจอุปกรณ์ถ่ายภาพของสื่ อมวลชน ๑๐. เตรี ยมมาตรการในเรื่ องการรักษาความปลอดภัยของสื่ อมวลชน ๑๑. ทาการตรวจสอบประวัติเจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง คนงาน ในสถานที่น้ นั ท่ านต้ อ งแน่ ใจว่ า พื้ น ที่ น้ ั น ปลอดภั ย และไม่ มี อัน ตรายก่ อ นที่ ท่ า นจะปล่ อ ยให้ บุ ค คลส าคั ญ และเจ้ าหน้ า ที่ ปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยชุ ดติดตามเข้ ามาในพืน้ ทีน่ ้ ัน ตัวอย่างบัญชีการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยล่ วงหน้ า ๑. หัวข้ อปฏิบัติของส่ วนล่วงหน้ า ๑.๑ ชื่อหัวหน้าชุดล่วงหน้า…………………………………………………………………..….. ๑ . ๒ วั น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ส ถ า น ที่ .................................................................. ๑ . ๓ วั น ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . โ ด ย ................................................................. ๑ . ๔ วั น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ชี้ แ จ ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . โ ด ย .................................................................. ๑ .๕ เดิ น ท างอ ย่ า งเป็ น ท างก าร ................................................ไ ม่ เป็ น ท างก าร ...................................... ๑.๖ การเดินทางของบุคลสาคัญ เครื่ องบิน – เฮลิคอปเตอร์ – รถไฟ – รถยนต์................................ ๑ . ๗ ชื่ อ -ส ถ า น ที่ ป ล า ย ท า ง ....................................................................................................................

๕๒

๑ .๘ ชื่ อ -ส ถ า น ที่ ป ล า ย ท า ง ส า ร อ ง ......................................................................................................... ๑.๙ เจ้า หน้ า ที่ ติ ด ต่ อ ..................................โทร............................ที่ พ ัก ......................โทร .................... ๖-๗ ๑.๑๐ รองหัวหน้าชุดส่ วนล่วงหน้า (ชื่อ)................................โทร............................................ ที่ทางาน โทร..................................................................................................................... ๑.๑๑ เจ้าหน้าที่ติดต่อชุดเก็บกูว้ ตั ถุระเบิด (ชื่อ)................................โทร.................................. ที่ทางาน โทร..................................................................................................................... ๑. เมื่อถึงพืน้ ที่ ได้เตรี ยมสิ่ งต่อไปนี้แล้วหรื อยัง ๒.๑ พบเจ้าหน้าที่ตารวจในพื้นที่ ทุกพื้นที่ที่เกี่ยวข้องและชี้แจง ๒.๒ พบหรื อโทรศัพท์กบั เจ้าหน้าที่พิธีการ และติดต่อเรื่ องกาหนดการของบุคคลสาคัญ ๒.๓ จัดการประชุมร่ วมกับเจ้าหน้าที่ตารวจในพื้นที่ ๒.๔ เตรี ยมการสารวจ-เส้นทาง-สนามบิน-รถไฟ-สนามจอดเฮลิคอปเตอร์ -โรงแรม-ที่พกั -ขบวน รถยนต์-อาคาร-สถานที่ ๒.๕ ปรึ กษากับหน่ วยข่าวกรองในพื้นที่ และตรวจแฟ้ มเพื่อศึกษาเรื่ องที่เคยเกิดขึ้นในระหว่างการ มาในพื้นที่ของบุคคลสาคัญในครั้งที่แล้ว ๒.๖ จัดเตรี ยมรั้วควบคุมฝูงชน และเครื่ องกีดขวาง (ถ้าจาเป็ น) ที่ไหน/เมื่อไร ๒.๗ บันทึกเวลา และระยะทางระหว่างจุดต่างๆ ที่เดินทาง ๒.๘ เตรี ยมจัดกองอานวยการรักษาความปลอดภัย ๒.๙ ชื่อเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงานประจากองอานวยการ ๒.๑๐ เตรี ยมวิทยุที่มีความถี่วทิ ยุ สามารถติดต่อกับตารวจท้องที่ได้ ๒.๑๑ ชี้แจงกาลังเจ้าหน้าที่ทุกนาย เพื่อทาการแบ่งมอบประจาจุด ๒.๑๒ จัดที่พกั ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย < Down Room > ๒.๑๓ จัดเตรี ยมที่พกั ผ่อนสาหรับบุคคลสาคัญ < Holding Room > ๑. การชี้แจงแก่เจ้ าหน้ าทีต่ ารวจและทหารในพืน้ ที่ การปฏิบตั ิต่อไปนี้ จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องชี้ แจงต่อเจ้าหน้าที่ตารวจ ทหาร หรื อเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยอื่นๆ ทุกคน ๓.๑ แนะนาเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนร่ วมในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ การยืนจะต้ องหันหน้ า เข้ าหาฝูงชน หรื อพืน้ ทีท่ รี่ ับผิดชอบ หรื อจุดทีเ่ ป็ นอันตราย และห้ ามหันหน้ าเข้ าหาบุคคลสาคัญเป็ นอันขาด ๓.๒ แนะนาเจ้าหน้าที่ที่ร่วมในการรักษาความปลอดภัยทุกนาย ไม่ ต้องแสดงความเคารพหรื อยืน ตรง เมื่อบุคคลสาคัญผ่านไปไม่วา่ จะเดินทางด้วยรถยนต์ หรื อเดินทางด้วยเท้า

๕๓

๓.๓ แนะนาเจ้าหน้าที่ที่ร่วมในการรักษาความปลอดภัยทุกนายอย่าหย่อนยานต่อหน้าที่ หรื อมองดู บุคคลสาคัญหลังจากที่ ขบวนรถผ่านไป ต้องเฝ้ าระมัดระวังอยู่ จนกระทัง่ บุ คคลสาคัญลับสายตาไปแล้ว และ ปฏิบตั ิภารกิจเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วเท่านั้น ๓.๔ จัดเจ้าหน้าที่นอกเครื่ องแบบไปประจาสถานที่สูงข่ม เช่น อาคาร สะพาน และอื่นๆ โดยให้มี เครื่ องหมายแสดงฝ่ ายให้เห็นชัดเจน อาจให้สวมหมวกกันน๊อค หรื ออะไรก็ได้เพื่อเป็ นที่สังเกต ๓.๕ แจ้งให้คณะกรรมการการประกอบพิธีฯ และ/หรื อเจ้าหน้าที่ล่วงหน้าของฝ่ ายการเมืองให้ทราบ ว่า เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยจะต้ องรับทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่นอกเหนือจากกาหนดการ แม้ ว่าการ เปลี่ยนแปลงนั้น จะไม่ มีผลกระทบกระเทือนต่ อการรั กษาความปลอดภัยก็ตาม เนื่ องจากการเปลี่ ยนแปลงครั้ง นั้นอาจมีผลกระทบกระเทือนแผนการปฏิบตั ิท้ งั หมด ๓.๖ ชี้แจงเจ้าหน้าที่ถึงการปฏิบตั ิในการระวังป้ องกันเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น การสารวจ สนามบิน – สนาม ฮ. – สถานีรถไฟ ๑. พบผูจ้ ดั การหรื อผูอ้ านวยการหรื อผูร้ ับผิดชอบของท่าอากาศยาน สนามจอด ฮ. – สถานีรถไฟ ๒. พบผูแ้ ทนของสายการบินที่บุคคลสาคัญใช้เดินทาง ๓. ชี้แจงตารวจ และหน่วยดับเพลิง ๔. พบเจ้าหน้าที่ติดต่อสาหรับชุดส่ วนล่วงหน้า ๕. เตรี ยมการในเรื่ อง ๕.๑ การรักษาความปลอดภัยเครื่ องบิน ๕.๒ การเติมน้ ามันเชื้อเพลิง ๖. กาหนดสถานที่สาหรับนักข่าว ๗. กาหนดสถานที่สาหรับประชาชนที่มาต้อนรับ ๘. จัดหาเครื่ องกีดขวางตามเส้นทางที่บุคคลสาคัญจะใช้ (ถ้าจาเป็ น) ๙. สารวจปริ มณฑลรอบนอก และภายใน ๑๐. จัดเตรี ยมรถพยาบาล ๑๑. จัดหาเครื่ องมือต่างๆ เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ ๑๒. จัดเตรี ยมการรักษาความปลอดภัยกระเป๋ าเดินทาง ๑๓. จัดเตรี ยมเครื่ องหมายแสดงตนสาหรับหน่วยที่ร่วมปฏิบตั ิ ๑๔. ที่ต้ งั ห้องสุ ขา โรงแรมและ/หรื อทีพ่ กั ๑. พบผูจ้ ดั การและ/หรื อเจ้าของโรงแรม ๒. พบตารวจ, หน่วยดับเพลิง และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของโรงแรม ๓. ปรึ กษาเจ้าหน้าที่ติดตามเกี่ยวกับกาหนดการพักแรม ๔. ปรึ กษากับเจ้าหน้าที่พิธีการทางฝ่ ายการเมือง ๕. เลือกห้องชุดพิเศษสาหรับบุคคลสาคัญ

๕๔

เส้ นทาง

อาคาร

๖. จัดแบ่งห้องพักสาหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยร่ วมกับชุดประจาที่พกั ๗. ทาการสารวจห้องชุดของบุคคลสาคัญ และห้องข้างเคียง ๘. ตั้งจุดเฝ้าตรวจหน้าห้องพักบุคคลสาคัญ ร่ วมกับชุดประจาที่พกั ๙. เลือกห้องควบคุมการรักษาความปลอดภัย ๑๐. กาหนดจุดรักษาความปลอดภัย ๑๑. มีกุญแจสารองสาหรับห้องชุดหรื อที่พกั ๑๒. จัดให้มีหอ้ งรับพัสดุไปรษณี ยภัณฑ์ ให้อยูห่ ่างจากบุคคลสาคัญ และมีการตรวจสอบของขวัญ ๑๓. จัดเตรี ยมเครื่ องมือเทคนิค เพื่อการตรวจความปลอดภัยสถานที่ ๑๔. ให้คาแนะนากับตารวจท้องที่ และเจ้าหน้าที่ดบั เพลิงในด้านการรักษาความปลอดภัย และมอบพื้นที่ ที่รับผิดชอบ ๑๕. สารวจอุปกรณ์ดบั เพลิง ร่ วมกับผูแ้ ทนของหน่วยดับเพลิง ๑๖. ตรวจค้น และตรวจสอบการทางานของลิฟท์ ๑๗.ตรวจสอบรายชื่ อพนักงานบริ การประจาลิฟท์, แม่บา้ น, คนครัวและอื่นๆ ที่จะเข้าใกล้บุคคลสาคัญ (ข้อมูลที่ตอ้ งการอย่างน้อยที่สุดจะต้องได้ คือ ชื่อเต็ม ที่อยูป่ ั จจุบนั วันเดือนปี เกิด) ๑. ทาการสารวจการรักษาความปลอดภัย ๑.๑ มีการควบคุมทางแยกใต้สะพาน ๑.๒ บนสะพานลอย, สะพานรถไฟ, ท่อระบายน้ า ๒. ที่ต้ งั ของโรงพยาบาล, หมายเลขโทรศัพท์และเลือกเส้นทางฉุ กเฉิ นจากแต่ละจุดในกาหนดการ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ผู้สื่อข่ าว ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

พบกับตารวจท้องที่และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของอาคาร ตรวจสอบอาคารที่น่าเป็ นอันตรายที่สุดที่ใกล้เส้นทางที่ใช้ เลือกตาแหน่งที่ควรมีเจ้าหน้าที่ประจาบนหลังคาหรื อดาดฟ้า เตรี ยมเจ้าหน้าที่สื่อสารติดต่อกับตารวจท้องที่ตามเส้นทาง ชี้แจงตารวจตามจุดที่ได้รับมอบ พบติดต่อกับเจ้าหน้าที่พิธีการ ติดต่อสานักงานของผูส้ ื่ อข่าวเมื่อมีปัญหา จัดเตรี ยมเครื่ องหมายแสดงตนสาหรับผูส้ ื่ อข่าว ชี้แจงเจ้าหน้าที่ตารวจเกี่ยวกับเครื่ องหมายแสดงตนของผูส้ ื่ อข่าว จัดพื้นที่สาหรับผูส้ ื่ อข่าวในแต่ละพื้นที่

๕๕

โรงพยาบาล ๑. ติดต่อกับโรงพยาบาล เพื่อขอคาแนะนาในการปฏิบตั ิเกี่ยวกับตัวบุคคลสาคัญ ๒. แจ้งให้ผอู ้ านวยการโรงพยาบาลทราบถึงโรคประจาตัว และสภาพร่ างกายของบุคคลสาคัญ เพื่อให้ แน่ใจว่าโรงพยาบาลมีแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคนั้นอยู่ ๓. ตรวจสอบว่าโรงพยาบาลมีความสามารถที่จะรับรักษาพยาบาล เนื่ องจากกระสุ นปื น หรื อบาดเจ็บ จากสาเหตุพิเศษอื่นๆ ได้หรื อไม่ ๔. แจ้งกรุ๊ ปเลือดของบุคคลสาคัญให้ทางโรงพยาบาลได้ทราบเพื่อจัดเตรี ยมต่อไป แบบสอบถามการสารวจเส้ นทางล่วงหน้ า ๑. ระยะทางการเดินทางเท่าใด ๒. เวลาที่ใช้ในการเดินทางเท่าใด ๓. อธิ บายเส้นทางโดยละเอียด จากจุดเริ่ มต้นไปจนถึงที่หมาย ๔. บอกจานวนอาคาร ตามเส้นทางโดยประมาณ ๕. ขบวนรถต้องผ่านทางแยกกี่แห่ง ๖. มีฝาท่อระบายน้ าที่คนลงได้ เป็ นจานวนเท่าใดตลอดเส้นทาง ๗. มีถงั ขยะ ตูไ้ ปรษณี ย ์ เสาไฟฟ้า และอื่นๆ ตามเส้นทางผ่าน ที่อาจมีการวางกับระเบิดได้บา้ ง หรื อไม่ ๘. ตามเส้นทางมีสะพานลอยและอุโมงค์ผา่ นเป็ นจานวนเท่าใด ๙. เส้นทางเดินจะต้องผ่านสวนสาธารณะหรื อบริ เวณป่ าบ้างหรื อไม่ ๑๐. สอบถามเจ้าของอาคาร ผูจ้ ดั การ เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยประจาอาคาร และร้องขอให้ปิ ด หน้าต่างมิให้คนขึ้นไปอยูบ่ นหลังคา และขอทราบเกี่ยวกับคนที่มีพฤติการณ์น่าสงสัย หรื อผิดปกติที่ อยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียง การสารวจสถานทีข่ ้นั ต้ น ๑. บริ เวณที่ขบวนรถมาถึงพื้นที่เป็ นอย่างไร ๒. ขบวนรถจะจอด ณ ที่ใด ๓. ใครเป็ นเจ้าหน้าที่ที่ จะต้อนรับ ขบวนรถ และระวังป้ องกันรักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญและ คณะ ในระหว่างการเยือนในพื้นที่น้ นั ๔. เส้นทางที่จะใช้ในการเดินเข้าสู่ ตวั อาคาร คือ เส้นทางใด ๕. การขึ้นลิฟท์ ขึ้นได้ครั้งละกี่คน ๖. การตรวจสอบลิฟท์ครั้งแรกก่อนใช้ จะต้องติดต่อกับใคร ๗. ห้องน้ าที่ใกล้ที่สุด สาหรับบุคคลสาคัญและคณะอยูต่ รงไหน ๘. โทรศัพท์ที่ใกล้ที่สุดสาหรับบุคคลสาคัญจะใช้ได้ ๙. ห้องที่ใกล้ที่สุดที่บุคคลสาคัญจะใช้ประชุมลับได้ อยูท่ ี่ไหน ๑๐. ห้องน้ าสตรี ที่ใกล้ที่สุด สาหรับสตรี ที่ร่วมคณะเดินทาง ๑๑. เครื่ องมือดับเพลิงที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ไหน เป็ นแบบอะไร

๕๖

๑๒. สถานีดบั เพลิง ที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ไหน หมายเลขโทรศัพท์อะไร ๑๓. อาคารนั้นๆ มีระบบเตือนอัคคีภยั หรื อไม่ ๑๔. โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ไหน หมายเลขโทรศัพท์อะไร ๑๕. สถานีตารวจที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ไหน หมายเลขโทรศัพท์อะไร ๑๖. เส้นทางออกที่เป็ นเส้นทางหลัก และเส้นทางรองเป็ นอย่างไร ๑๗.เวลาในการเยือนรวมถึงการปราศรัย นานเท่าใด

-------------------------------------------------

๕๗

เทคนิคในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ในรู ปขบวนเดิน/ตามสถานทีต่ ่ างๆ < Protective Security Formation/Tactics and special Situation > ในการวางกาลังรักษาความปลอดภัยนั้น ต้องการความพร้อมเพรี ยงเป็ นอย่างมาก ความสาเร็ จ จะเกิดขั้นได้อยูท่ ี่การประสานงาน และการช่วยเหลือซึ่ งกันและกันของแต่ละหน่วย ข้อผิดพลาดของ เจ้าหน้าที่เพียงคนเดียว อาจจาทาให้เสี ยหายหมดทั้งหน่วยได้ เทคนิคในการรักษาความปลอดภัยนั้น มิได้ หมายความว่าจะให้ความปลอดภัยได้อย่างแน่นอนโดยสมบูรณ์ เจ้าหน้าที่ทุกคนควรจะได้รับการอบรม ให้พยายามปฎิบตั ิตามมาตรการที่ได้วางไว้มากที่สุด เจ้าหน้าที่ที่ดีควรต้องทาการฝึ กซ้อมอย่างดี ในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นขึ้นถึงแม้วา่ จะอยูใ่ นภาวะที่ตื่นตระหนก หรื ออาการตกใจ ก็ตอ้ งสามารถแก้ปัญหาได้ ถูกต้อง โดยสัญชาติญาณเจ้าหน้าที่เหล่านี้ จะต้องมีความรู ้ความเข้าใจในลักษณะต่างๆ ของภารกิจรวมถึง เทคนิคพิเศษในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญในโอกาสต่างๆ ด้วย การรักษาความปลอดภัยในขณะเดินทางด้ วยเท้า ในบางโอกาสบุคคลสาคัญจะไปยังสถานที่ต่างๆ ด้วยการเดิน ซึ่ งในการเคลื่อนที่น้ ี จะเป็ นจุดที่ ล่อแหลมต่ออันตรายมาก จึงต้องมีแบบ และวิธีการรักษาความปลอดภัยที่รัดกุม และมีประสิ ทธิ ภาพเป็ น อย่างยิง่ ในที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะการรักษาความปลอดภัยของชุดติดตามบุคคลสาคัญเท่านั้น ส่ วนมาตรการ อื่น ๆ นั้น เป็ นหน้าที่ของชุดสารวจล่วงหน้า และชุดล่วงหน้าเป็ นผูด้ าเนินการสาหรับรู ปแบบ และการ วางกาลัง การรักษาความปลอดภัยของชุดปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยส่ วนติดตามมีดงั นี้ ในการกาหนดการวางตัวและ จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญในขณะเดินเท้า ให้พิจารณาดังนี้ ๑.๑ ข่าวสารที่มีผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับบุคคลสาคัญ ๑.๒ ประเภทของพิธีการที่บุคคลสาคัญต้องไปร่ วม ๑.๓ ความต้องการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ๑.๔ รู ปแบบการวางตัวให้เข้ากับพิธีการ/สถานการณ์ ๑.๕ การใช้ร่างกายเป็ นเกราะคุม้ กันให้บุคคลสาคัญ ๑.๖ การรักษาภาพพจน์ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๑.๗ การสังเกตการณ์ และการเตรี ยมพร้อมทางจิตใจของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย รู ปแบบการวางตัวเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะต้องนามาดัดแปลงให้เข้ากับสถานการณ์ แม้จะ ใช้รูปแบบที่ได้รับการฝึ กฝนมา เป็ นมาตรฐานในการปฏิบตั ิ แต่ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยทุกคน จะต้องสามารถปรับตาแหน่งของตนเมื่อจาเป็ น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อบุคคลสาคัญ ให้มากที่สุด ดังนั้นการทางานเป็ นชุด และการฝึ กฝนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จะทาให้เกิดผลสาเร็ จในการ ปฏิบตั ิ ซึ่ งเจ้าหน้าที่ตอ้ งทราบในเรื่ องต่อไปนี้

๑.

เส้นทางในการพาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่อนั ตราย

๕๘

๒. กาหนดการต่างๆ ในพิธี ๓. ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับบุคคลสาคัญ ๔. ข้อมูลเกี่ยวกับคณะติดตามบุคคลสาคัญ

ในการปฏิบตั ิผทู ้ ี่มีบทบาทสาคัญยิง่ คือ หัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัยส่ วนติดตาม ซึ่ งเมื่อเกิดเหตุ ฉุ กเฉิ น จะต้องทาหน้าที่พาบุคคลสาคัญออกให้พน้ จากพื้นที่อนั ตราย และนาไปยังสถานที่ปลอดภัยซึ่งได้ จัดเตรี ยมไว้ในแผนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น ดังนั้นเพื่อให้การปฏิบตั ิเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยหัวหน้าชุด ฯ จะต้องทราบรายละเอียดของพื้นที่ปฏิบตั ิการจากชุดสารวจล่วงหน้า ซึ่ งถ้าเป็ นไปได้ในขั้นตอนของการ สารวจล่วงหน้าพื้นที่ต่าง ๆ ตามกาหนดการ ควรให้หวั หน้าชุดติดตาม ร่ วมอยูใ่ นชุดสารวจล่วงหน้าด้วย ทุกครั้ง และในระหว่างเดินทางใกล้จะถึงที่หมาย จะต้องติดต่อกับชุดล่วงหน้า เพื่อทราบสถานการณ์ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้หวั หน้าชุด ฯ จะต้องวางรู ปแบบการวางกาลังในขณะเดินทางด้วยเท้า ให้เข้ากับสถานการณ์ พร้อมทั้งกาหนดสัญญาณนัดหมายต่าง ๆ ตามความเหมาะสม และต้องให้มีการ ซักซ้อมรู ปขบวนการรักษาความปลอดภัยทุกครั้ง ก่อนออกปฏิบตั ิภารกิจ การรักษาความปลอดภัยให้ บุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะต้องรู ้วา่ จุดใดน่าจะเป็ นจุดคับขันที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ บุคคลสาคัญได้มากที่สุดเพื่อจะจัดการวางกาลังเจ้าหน้าที่ ณ จุดนั้นได้ถูกต้อง แต่ท้ งั นี้ตอ้ งระวังมิให้มีการ วางกาลังมากเกินไป จนเกินกว่าเหตุ และมิให้ประชาชนทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้น เจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยจะต้องทราบถึงความต้องการ หรื อไม่ตอ้ งการของบุคคลสาคัญโดยละเอียด เพื่อประโยชน์ใน การวางตัวเจ้าหน้าที่ในทางเปิ ดเผยและทางลับว่าควรจะจัดเท่าใด การสังเกตการณ์และการเตรี ยมพร้อมทางจิตใจของเจ้าหน้าที่น้ ีมีความสาคัญยิง่ เมื่ออยูท่ ่ามกลาง ฝูงชน เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องไม่เกิดความคิดว่า “ไม่มีใครทาอะไรบุคคลสาคัญ” ให้พึงระลึกว่าบุคคลสาคัญ อาตตะเป็ นอันตรายได้ตลอดเวลา ทั้งจากอุบตั ิเหตุ และการจงใจกระทา อีกประการหนึ่ง ในระหว่างหรื อ ก่อนปฏิบตั ิภารกิจ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องไม่ดื่มสุ ราโดยเด็ดขาด มิฉะนั้นแล้วการ สังเกตการณ์ และการเตรี ยมพร้อมทางจิตใจจะลดลงไป การวางกาลังและจานวนเจ้ าหน้ าทีใ่ นรู ปขบวนต่ างๆ การวางกาลัง และจานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ที่ใช้ติดตามรักษาความปลอดภัยบุคคล สาคัญในโอกาสต่างๆ นั้น เปรี ยบเสมือน “ห่ อพัสดุ” < Secure Package > ในรู ปขบวนการรักษาความปลอดภัย จะต้องขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ถ้าในกรณี ที่พ้ืนที่น้ นั มีฝงู ชนหน้าแน่นมาก รู ปขบวนก็จะกระชับมากขึ้น ถ้ามีประชาชนน้อย รู ปขบวนก็จะกว้างออกไปอีก แต่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะต้องอยูใ่ กล้กบั บุคคลสาคัญ พอที่จะเข้าช่วยเหลือ หรื อป้ องกันการเข้าทาร้ายต่อบุคคล สาคัญได้ ในการเดินรู ปขบวนนี้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องใช้ความระมัดระวังโดยจะต้อง สังเกต บุคคลสาคัญ ให้อยูใ่ นสายตาตลอดเวลา และต้องทราบว่าบุคคลสาคัญอยูใ่ นตาแหน่งใด ภายในรู ปขบวน เดินนั้น นอกจากจะมีบุคคลสาคัญแล้ว อาจจะมีนายทหารติดต่อ หรื อคณะผูต้ อ้ นรับฝ่ ายเรา อยูใ่ น รู ปขบวนด้วย เมื่อเกิดการเข้าทาร้ายต่อบุคคลสาคัญในรู ปขบวนขึ้น เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้อง

๕๙

เข้าป้ องกันเฉพาะบุคคลสาคัญเท่านั้น และรี บพาบุคคลสาคัญ ออกจากพื้นที่อนั ตรายทันที พื้นที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ในรู ปขบวนเดินนี้ จะถือเป็ น ๓๖๐ องศา ตลอดเวลา สาหรับทิศทางที่บุคคลสาคัญเดินจะเป็ น ๑๒ นาฬิกาเสมอ และขณะอยูใ่ นรู ปขบวนเดินนั้น ถ้าเจ้าหน้าที่คนใดคนหนึ่งจาเป็ นที่จะต้องออกไปจากรู ปขบวนเดิน ตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ตอ้ งมีการ เปลี่ยนแปลงทันที เพื่อให้การรักษาความปลอดภัยต่อบุคคลสาคัญ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ หรื อเรา อาจจะเรี ยกว่า รู ปขบวนมีการอ่อนตัวได้ < Formation is Flexible > การเดินในรู ปขบวนนั้น เจ้าหน้าที่ ทุกคนในรู ปขบวนจะต้องทราบตาแหน่งของตนเองเป็ นอย่างดี โยการทางานกันเป็ นทีม การวางกาลังของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัย < Agent Composition within Protective Formations > ๑. เจ้ าหน้ าที่ ๑ คน < One Agent > ใช้ในกรณี เดียว คือในโอกาสที่บุคคลสาคัญ อยูใ่ นพื้นที่ปลอดภัยและใช้เมื่อเดินจากห้องหนึ่งไป ยังอีกห้องหนึ่ง หรื อในพื้นที่อื่นที่มีการรักษา ความปลอดภัยทัดเทียมกันกับในที่พกั โดยมีหวั หน้าชุด ติดตาม < Detail Leader > DL เป็ นผูร้ ับผิดชอบ และ จะต้องเดินอยูก่ บั บุคคลสาคัญตลอดเวลา พื้นที่รับผิดชอบ คือ ๓๖๐ องศา ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ. ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

๖๐

๒. เจ้ าหน้ าที่ ๒ คน < Two Agents > ปกติใช้ในโอกาสที่อยูภ่ ายในอาคารที่มีการรักษาความปลอดภัย เช่น ในที่พกั ชัว่ คราวหรื อการ ไปปรากฏตัวในที่รับแขกส่ วนตัว ประกอบด้วย a. หัวหน้าชุดติดตาม < Detail Leader > DL b. รองหัวหน้าชุดติดตาม < Shift Leader > SL

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๓. เจ้ าหน้ าที่ ๓ คน < Three Agents >

แบบที่ ๑ แบบลิ่มแหลมหน้า < Wedge Formation > ใช้ในการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ ซึ่ งมีประชาชนไม่หน้าแน่นและสามารถใช้ในกรณี ที่ไม่เป็ นทางการ เช่นการไป ชมภาพยนตร์ ฟังเพลงและอื่น ๆ เป็ นต้น การจัดกาลังในแบบนี้เป็ นการจัดกาลังขนาดเล็กที่สุด ในขณะออกนอก สถานที่ ที่มีกี่รักษาความปลอดภัยที่ดี

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

A

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๑

แบบที่ ๒ แบบลิ่มแหลมหลัง ใช้ในโอกาสที่รับแขกหรื อยืนปราศรัย ในที่มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ. ๔. เจ้ าหน้ าที่ ๔ คน < Four Agents > การรักษาความปลอดภัยในรู ปขบวน ๔ คนนี้ หัวหน้าชุดติดตาม < DL >ไม่ตอ้ งทาการตรวจการณ์ ภายนอกรู ปขบวน มีหน้าที่รับผิดชอบบุคคลสาคัญเท่านั้นรู ปขบวนนี้แบ่งเป็ น ๒ ลักษณะ คือ ๑. แบบสี่ เหลี่ยมขนนเปี ยกปูน < Diamond Formation > เป็ นรู ปขบวนการวางกาลัง เพื่อช่วยในการรักษาความปลอดภัยให้กบั บุคคลสาคัญได้เป็ นอย่างดี ในกรณี ที่ตอ้ งพาบุคคลสาคัญเดินผ่านฝูงชนจานวนมาก หรื อมีการให้สัมภาษณ์จากสื่ อมวลชน และต้องการ การ คุม้ กันอย่างแน่นหนา ซึ่ งสามารถป้ องกันได้ทุกทิศทาง แต่บุคคลสาคัญส่ วนมากไม่ชอบให้ใช้รูปการวาง กาลังแบบนี้ เนื่องจากมองเห็นประชาชนไม่ถนัด และ ทาให้ประชาชนไม่ให้เห็นบุคคลสาคัญ

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๒

๒. แบบกล่องสี่ เหลี่ยม < Box Formation > การวางกาลังแบบนี้ จะใช้ในสถานการณ์ที่บุคคลสาคัญเดินในที่โล่ง และประชาชนถูกกันให้อยูห่ ่างจาก บุคคลสาคัญ การยืนของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญมี ๒ นาย อยูใ่ กล้ตวั บุคคลสาคัญเพื่อสามารถ ช่วยเหลือบุคคลสาคัญได้ทนั ที เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น ข้อเสี ยอยูท่ ี่ความปลอดภัยด้านหลังบุคคลสาคัญจะมีนอ้ ยลง และโอกาสที่ จะสั ง เกตเห็ น ภัย ล่ วงหน้าไม่ มี แต่ ก ารวางก าลังแบบนี้ บุ ค คลส าคัญ มกชอบให้ ใช้เพราะไม่ มี เจ้าหน้าที่เดินบังด้านหน้า และด้านหลังซึ่ งสะดวกในการแสดงความเป็ นกันเองกับประชาชนได้

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๓

๕. เจ้ าหน้ าที่ ๕ คน < Five Agents > ประกอบด้วย ๕.๑ หัวหน้าชุดติดตาม < Detail Leader > DL ๕.๒ รองหัวหน้าชุดติดตาม < Shift Leader > SL ๕.๓ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Right Rear > RR ๕.๔ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Left Rear > LR ๕.๕ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Agent > A

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๔

๖. เจ้ าหน้ าที่ ๖ คน < Hexagon Formation > ประกอบด้วย ๖.๑ หัวหน้าชุดติดตาม < Detail Leader > DL ๖.๒ รองหัวหน้าชุดติดตาม < Shift Leader > SL ๖.๓ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Right Rear > RR ๖.๔ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Left Rear > LR ๖.๕ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Agent > A ๖.๕ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ < Agent > A

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๕

การทาวงล้ อมเพื่อป้ องกันบุคคลสาคัญ < A Defensive Circle > ในกรณี ที่มีฝูงชนหน้าแน่ นมาก เช่ น ในการสัมภาษณ์ ของสื่ อมวลชนซึ่ งจะเข้ามาล้อมบุคคลสาคัญไว้ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องมีมาตรการในการให้ความปลอดภัยแก่บุคคสาคัญ ซึ่ งในกรณี น้ ี ต้องทาวง ล้อมเพื่อป้ องกันให้กบั บุคคลสาคัญดังนี้ คือ ๑. ให้เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย ในรู ป ขบวนติดตามจะปรับ รู ป ขบวนให้เล็ก ลงจนเกื อบชิ ดกัน พร้อมกับหันหน้าไปทางด้านนอกของรู ปขบวน ๒. ให้ใช้มือด้านในของแต่ละคน จับที่เข็มขัดของเจ้าหน้าที่คนที่อยูท่ างด้านหน้าของตนไว้ พร้อมกับ เคลื่อนที่พาบุคคลสาคัญออกไปยังที่หมาย อาจจะเป็ นขบวนรถหรื อห้องประชุมก็ได้ ๓. หัวหน้าชุดติดตาม จะเป็ นผูก้ าหนดทิศทางที่จะนาบุคคลสาคัญออกไปจากพื้นที่น้ นั

ระยะห่าง ๑ ช่วงแขน

ตาแหน่งและลักษณะการเดิน รปภ.

๖๖

การแสดงทิศทางตามเข็มนาฬิ กา < Clock Method > การแสดงทิศทางตามเข็มนาฬิกานั้น เป็ นการช่วยบอก ทิศทางให้กบั เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ได้ทราบถึง อันตรายต่าง ๆ ที่จะเข้ามากระทาต่อ บุคคลสาคัญ หรื อ ทิศทางที่เกิดเหตุการณ์ข้ ึน หรื ออาจจะเป็ นการแจ้งทิศทาง การเคลื่อนที่ของรู ปขบวนในการรักษาความปลอดภัย บุคคลสาคัญก็ได้โดยจะกาหนดให้ทิศทางการเคลื่อนที่ ของบุคคลสาคัญ เป็ น ๑๒ นาฬิกา ดังนี้

ระดับความสู งทีใ่ ช้ ร่วมกับระบบนาฬิ การ เป็ นการแจ้งระดับความสู ง หรื อต่าของที่หมายที่เกิดขึ้น เพื่อทาให้คน้ หาที่หมายได้รวดเร็ วขึ้น ดังนี้ ๑. ระดับสู ง < High Level > เป็ นที่หมายที่อยูส่ ู งเหนือศีรษะขึ้นไป ๒. ระดับกลาง < Middle Level > เป็ นที่หมายระดับความสู งของร่ างกาย ๓. ระดับต่า < Low Level > เป็ นระดับที่ต่ากว่าร่ างกาย การใช้ เสี ยงสั ญญาณ < Sound Off > สาหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเมื่อมีการลอบทาร้ายบุคคล สาคัญ เจ้าหน้าที่จะต้องมีระบบในการสื่ อสาร เพื่อบอกทิศทางของฝ่ ายตรงข้ามที่เข้ามาลอบทาร้ายเป็ น อย่างดี และที่เหมาะสมที่สุด คือการใช้เสี ยงสัญญาณ การปฏิบตั ิน้ ีควรจะแสดงทิศทางการลอบทาร้ายได้ ดีเท่ากับ การบอกอธิ บายทิศอย่างตรง ๆ และควรใช้คาพูดที่ส้ นั ที่สุดเท่าที่จะทาได้ โดยไม่ตอ้ งอธิ บาย อย่างละเอียด ถ้าเจ้าหน้าที่ไม่มีการกาหนดเสี ยงสัญญาณแล้ว จะไม่ทราบว่าผูล้ อบทาร้ายอยูท่ ี่ใด หรื อ เห็นทิศทางที่เกิดอันตราย และจะไม่ทราบว่าจะนาบุคคลสาคัญไปยังทิศใด การใช้เสี ยงสัญญาณเป็ นคาพูดให้ได้ผลจะต้องประกอบด้วย ชนิดของอาวุธและทิศทาง โดยบอก เป็ นมุมตามเข็มนาฬิกา ซึ่งตามปกติแล้วจะถือทิศทางเคลื่อนที่ของบุคคลสาคัญเป็ น ๑๒ นาฬิกา เช่น ของร่ างกายให้ใช้สัญญาณว่า “ ต่า ” เป็ นการให้สัญญาณตาแหน่งที่อยูข่ องผูล้ อบทาร้าย แต่ถา้ ผูล้ อบ ทาร้ายไม่มีอาวุธ ให้ใช้สัญญาณว่า “ คน ๓ นาฬิกา ” หรื อ “ กล้อง ๑๑ นาฬิกา ต่า ”,”คนบนหลังคา ๑๐ นาฬิกา สู ง” “ ๓ คนในรถ ๕ นาฬิกา ” เป็ นต้น การให้สัญญาณนั้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ได้มีการเตรี ยมตัวอยูต่ ลอดเวลา

๖๗

การปฏิบัติเมื่อบุคคลสาคัญถูกลอบทาร้ าย < Agent Reactions to an Attack on the Protectee > ๑. การแจ้งตาแหน่งของภัยที่เกิดขึ้น < Sound Off > โดยให้เจ้าหน้าที่ผทู ้ ี่เห็นคนแรก ต้องตะโกน บอกเจ้าหน้าที่ในขบวนทั้งหมด เพื่อให้ทราบทิศทางที่ผลู ้ อบทาร้ายเข้ามาทาร้าย วิธีการ หรื ออาวุธที่ใช้ ๒. การเข้าป้ องกันต่อบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่ผทู ้ ี่อยูใ่ กล้ที่สุด เข้าดาเนินการต่อต้านการ กับผูก้ ่อการร้าย โดยใช้เจ้าหน้าที่ชุดติดตามให้นอ้ ยที่สุด ซึ่ งการปฏิบตั ิต่อไป เป็ นหน้าที่ของชุดประจา สถานที่ ส่ วนที่เหลือให้นาบุคคลสาคัญออกไปจากพื้นที่ โดยใช้ร่างกายเข้าบังบุคคลสาคัญไว้ < Body Protection > หรื อเรี ยกว่า “ CAVE IN ” โดยให้หวั หน้าชุดดึงตัวบุคคลสาคัญให้ยอ่ ต่าลง ระวังอย่า ให้ลม้ ใช้มือจบขอบกางเกงของบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่รีบพาออกไปจากพื้นที่และก้มศีรษะให้มากที่สุด เจ้าหน้าที่อีกส่ วนหนึ่งให้กาบังทางด้านข้าง และด้านหลัง แล้วพยายามให้การกาบังตัวบุคคลสาคัญให้ มากที่สุด ๓. การพาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่ < Evacuate > นาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่ เพื่อนาไปยัง พื้นที่ปลอดภัยโดยเร็ ว โดยใช้เส้นทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่เกิดเหตุ จนกว่าจะพ้นจากพื้นที่สังหาร การ ปฏิบตั ิจะต้องมีข้ นั ตอนที่มีการซักซ้อมมาเป็ นอย่างดี มีการเตรี ยมพร้อมทางจิตใจ และต้องคอยตื่นตัวต่อ การโจมตีครั้งที่สองที่อาจจะเกิดขึ้นอีก การป้ องกันภัยแต่ ละประเภท การระวังป้ องกันภัยแต่ละประเภทที่อาจเกิดขึ้นกับบุคคลสาคัญ ซึ่ งมีประเภทของการประทุษร้าย ที่น่าจะเกิดขึ้นน้อยที่สุดได้แก่ การประทุษร้ายด้วยวาจาด้วยการชกต่อย อาวุธประจากาย อาวุธประทับบ่า และด้วยวัตถุระเบิด เป็ นต้น การประทุษร้ายแต่ละแบบ จะมีมาตรการตอบโต้แตกต่างกันไปตาม สถานการณ์ แต่ที่สาคัญเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญไม่มีหน้าที่ตอ้ งเข้าต่อสู ้กบั คนร้าย นอกจากกระทาเพื่อระวังป้ องกันให้เกิดความปลอดภัยแก่บุคคลสาคัญ และนาบุคคลสาคัญออกจาก พื้นที่อนั ตรายโดยเร็ วที่สุดตามแผนเผชิ ญเหตุที่เตรี ยมไว้ และในกรณี ที่คนร้ายเข้าประชิดตัวบุคคลสาคัญ มาก ชุดติดตามจะให้เจ้าหน้าที่ที่อยูใ่ กล้คนร้ายมากที่สุด เข้าขัดขวางคนร้ายด้วยความสามารถทั้งสิ้ นที่ มีอยู่ เจ้าหน้าที่ที่เหลือนาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่อนั ตราย แนวทางปฏิบตั ิการระวังป้ องกันมีดงั นี้ ๑. ภัยด้วยวาจา เจ้าหน้าที่จะต้องไม่โต้เถียง และอย่าปล่อยให้บุคคลสาคัญดาเนินการใดๆ ต่อผูก้ ล่าววาจา เมื่อจาเป็ นให้กนั ตัวบุคคลสาคัญออกไปจากสถานที่น้ นั ๒. ภัยจากการชกต่อย ให้เจ้าหน้าที่ที่อยูใ่ กล้คนร้าย หรื ออยูท่ ิศทางที่คนร้ายวิง่ เข้ามา ปะทะกับ คนร้าย ด้วยการต่อสู ้มือเปล่า เพื่อป้ องกันมิให้เข้าถึงตัวบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่ที่เหลือนาบุคคลสาคัญ ให้ออกห่างจากพื้นที่น้ นั เมื่อมีการขว้างปาสิ่ งของใส่ บุคคลสาคัญ ให้ใช้ร่างเกยเจ้าหน้าที่เข้าบัง ๓. ภัยจากอาวุธประจากาย ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๑ นาย ใช้ร่างกายของตนเข้าขวาง ระหว่างบุคคลสาคัญกับคนร้ายแล้วทาการต่อสู ้ดว้ ยวิธีต่างๆ แต่ท้ งั นี้ตอ้ งมิให้เสี ยการกาบังให้บุคคล สาคัญ เจ้าหน้าที่ที่เหลือพาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่ทนั ที ๔. ภัยจากอาวุธประทับบ่า ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับอาวุธประจากาย ๕.ภัยจากวัตถุระเบิด ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยใช้ร่างกายของตนเข้าขวางระหว่างบุคคล

๖๘

สาคัญกับคนร้าย และจับให้บุคคลสาคัญนอนลงกับพื้นพร้อมทั้งใช้ร่างกายของตนคล่อมบุคคลสาคัญ การควบคุมฝูงชน ณ ทีห่ มาย < Crowd Control > การควบคุมฝูงชน ณ ที่หมาย ที่บุคคลสาคัญจะมาเยือนนั้น จาเป็ นที่จะต้องมีการควบคุมดูแล ฝูงชนที่มาคอยต้อนรับ ซึ่ งเป็ นหน้าที่ของ ชุดล่วงหน้า และชุดประจาสถานที่ ที่จะจัดวางกาลังใน จุดล่อแหลมอันตรายต่าง ๆ การควบคุมนั้นอาจแบ่งประเภทของฝูงชนได้ ๒ ประเภท คือ ๑. ฝูงชนที่เป็ นมิตร < Friendly Crowds > เป็ นฝูงชนที่ไม่เป็ นอันตรายต่อบุคคลสาคัญ และ จามีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย การใช้เจ้าหน้าที่ตารวจในพื้นที่ ก็สามารถที่จะควบคุมไว้ได้ ๒. ฝูงชนที่ไม่เป็ นมิตร < Unfriendly or Hostile Crowds > เป็ นฝูงชนที่มารวมตัวกัน เพื่อ ต่อต้านบุคคลสาคัญ การปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนั้น จะต้องไม่พูดคุยกับกลุ่มฝูงชน ไม่แสดงความคิดเห็นใด ๆ ทั้งสิ้ น อย่าปล่อยให้ป้าย หรื อข้อความต่าง ๆ หันเหความสนใจในการ ปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ได้ ถ้าสังเกตเห็นความผิดปากติของคนที่น่าสงสัย ให้ส่งเจ้าหน้าที่ เข้าไปอยู่ ระหว่างผูน้ ้ นั กับบุคคลสาคัญ จนกว่าจะเดินผ่านไป การรักษาความปลอดภัยในสถานทีต่ ่ าง ๆ < Special Situations > ๑. เมื่อบุคคลสาคัญเดินตามแนวรั้ว < Fence Line > ลักษณะในการรักษาความปลอดภัยนี้ จะใช้ในกรณี ที่บุคคลสาคัญเยีย่ มเยียนประชาชนซึ่ งอยูใ่ นที่ที่กาหนดโดยอาจมีเชือก รั้ว หรื อเจ้าหน้าที่ ตารวจคอยกั้นมิให้ล้ าเขต บางครั้งอาจจะมีผทู ้ ี่ไม่หวังดีต่อบุคคลสาคัญ โดยการจับมือแน่น และไม่ ยอมปล่อย ให้เจ้าหน้าที่ใช้วธิ ี การ หักนิ้วหัวแม่มือ < Thumb Break > ก็ได้ แต่เจ้าหน้าที่ที่อยูใ่ นรู ปขบวน จะต้องคอยสังเกตดูมือของผูค้ นในฝูงชน เป็ นพิเศษ ในการจัดรู ปขบวน หรื อการวางกาลังเจ้าหน้าที่ มีดงั นี้ ๑.๑ การจัดวางกาลังในกรณี น้ ี ให้หวั หน้าชุด และรองหัวหน้าชุดจะอยูใ่ นตาแหน่งหลังขวา และ ซ้ายติดกับตัวบุคคลสาคัญตลอดเวลา ๑.๒ หัวหน้าชุดล่วงหน้าเดินนาบุคคลสาคัญไปในเส้นทางที่กาหนดเพื่อพบปะทักทายกับ ประชาชน ๑.๓ เจ้าหน้าที่ชุดประจาสถานที่ จะต้องเข้ามาปะปนอยูใ่ นแถวที่สองของแถวฝูงชนที่มาคอย ต้อนรับ โดยเคลื่อนที่ขนานไปกับบุคคลสาคัญ และเป็ นผูค้ อยสังเกตการณ์ตลอดเวลา ถ้ามีผทู ้ ี่ตอ้ งการจะ ทาร้ายบุคคลสาคัญ จะต้องอยูใ่ นบริ เวณแถวที่สอง และอาจเกิดความกลัวขึ้น ถ้ามีการใช้อาวุธขึ้น เจ้าหน้าที่ในแถวที่สอง จะสามารถหยุดยั้งได้

๖๙

การรักษาความปลอดภัยเมื่อบุคคลสาคัญเดินตามแนวรั้ว Fence Line

๗๐

การรักษาความปลอดภัยขณะเมื่อบุคคลสาคัญยืนต้ อนรับแขก < Receiving Line > ในโอกาสที่บุคคลสาคัญเป็ นเจ้าภาพในงานเลี้ยงรับรอง และจะต้องมายืนต้อนรับแขกที่มาในงาน เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องมีมาตรการในการวางตัวให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม เพื่อ สังเกตการณ์แขกที่มาในงาน ซึ่ งพอจะแสดงแนวทางในการวางกาลังดังนี้ ๑. หัวหน้าชุดประจาสถานที่ และเจ้าหน้าที่ชุดติดตาม จะมีหน้าที่คอยสังเกตแขกที่จะเข้ามา พบกับบุคคลสาคัญ โดยวางตัวอยุก่ ่อนถึงบุคคลสาคัญในตาแหน่งที่สามารถสังเกตแขกที่มาพบ และ สัมผัสมือกับบุคคลสาคัญได้ และสามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทนั ที เมื่อมีเหตุการณ์ที่เกิดจากคนร้ายซึ่ ง ปะปนเข้ามาเป็ นแขกรับเชิญ ๒. หัวหน้าชุด และรองหัวหน้าชุดติดตาม ยืนติดกับบุคคลสาคัญทางด้านหลังซ้าย และขวา คอย ร่ วมกับชุดล่วงหน้า และมีหน้าที่เตรี ยมนาทางให้กบั ชุดติดตาม เมื่อบุคคลสาคัญจะกระทาภารกิจต่อไป

การรักษาความปลอดภัยขณะเมื่อบุคคลสาคัญยืนต้ อนรับแขก Receiving Line

RR A

DL

SL VIP LR

๗๑

การรักษาความปลอดภัยในขณะกล่าวบนเวที < Banquet,Speech or Press Conference > ในโอกาสที่บุคคลสาคัญต้องขึ้นไปกล่าวปราศรัย หรื อการแถลงข่าวบนเวทีน้ นั เจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย จะต้องมีการรักษาความปลอดภัยให้ ซึ่ งต้องมีการวางกาลังตามจุดต่าง ๆ ภายในสถานที่ นั้น ๆ โดยมีการวางแผนจากการสารวจล่วงหน้า และการเตรี ยมการของชุดล่วงหน้า เป็ นผูก้ าหนดจุด การวางกาลังต่างๆ ซึ่ งมีการปฏิบตั ิดงั นี้ ๑. ขณะที่บุคคลสาคัญขึ้นไปบนเวทีน้ นั หัวหน้าชุดติดตามจะต้องอยูบ่ นเวทีดว้ ย โดยอยูบ่ ริ เวณ ด้านหลังของบุคคลสาคัญ และพร้อมที่จะเอาตัวเข้าบังบุคคลสาคัญได้ทนั ท่วงที เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้ ึน ๒. ภายในห้องต้องมีการวางกาลังตามจุดต่าง ๆ ดังนี้ ๒.๑ ทางเข้า – ทางออก หรื อ ทางขึ้น – ทางลง เวที ๒.๒ บริ เวณด้านหลังเวที ที่มีทางเข้าออก สาหรับเจ้าหน้าที่ ๒.๓ บริ เวณหน้าเวที ๒.๔ ภายในกลุ่มผูส้ ื่ อข่าว หรื อผูเ้ ข้ารับฟัง ๓. นอกจากพื้นที่ภายในห้องแล้ว ควรจัดเจ้าหน้าที่ประจาตามห้องควบคุม แสง เสี ยง บนระเบียง เป็ นต้น ๔. จัดเจ้าหน้าที่ ประจาห้องเครื่ องฉายภาพต่าง ๆ ๕. จัดเตรี ยมเส้นทางออกฉุ กเฉิ น เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้ ึน โดยหัวหน้าชุดประจาสถานที่ เป็ นผูน้ าไปยัง เส้นทางนั้น

๗๒

การรักษาความปลอดภัยในขณะบุคคลสาคัญเดินขึน้ -ลงบันได < Stairways and Escalators > เมื่อบุคคลสาคัญมีการเคลื่อนที่ไปตามสถานที่ใดก็ตาม ด้วยรู ปขบวนเดินเท้านั้น ในบางพื้นที่ มีขีดจากัดในการใช้รูปขบวนในการรักษาความปลอดภัยซึ่ งต้องมีการเปลี่ยนแปลงรู ปขบวน เพื่อให้ เหมาะสมกับสถานที่ ในกรณี ที่บุคคลสาคัญจะต้องเคลื่อนที่โดยการใช้บนั ไดนั้น มีการวางกาลัง ดังนี้ ๑. เจ้าหน้าที่ชุดล่วงหน้า หรื อชุดประจาสถานที่ วางกาลังอยูด่ า้ นบนหรื อด้านล่างของบันได ก่อนบุคคลสาคัญจะขึ้นหรื อลง โดยกันผูท้ ี่จะใช้บนั ไดไว้ก่อนเพื่อให้มีความปลอดภัยมากที่สุด ๒. เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการชุดติดตาม LR เดินนาบุคคลสาคัญขึ้น หรื อลงบันไดก่อน ๓. ขณะที่บุคคลสาคัญเดินขึ้นหรื อลงบันไดนั้น หัวหน้าชุดติดตามจะต้องอยูใ่ กล้กบั บุคคลสาคัญ ทางด้านหลังเสมอ ๔. เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการติดตามที่เหลือ เดินตามบุคคลสาคัญ พร้อมกับ ให้การรักษาความปลอดภัย รอบตัว ๕. จัดเจ้าหน้าที่ประจาจุดบริ เวณด้านล่างของบันไดด้วย ๖. ในขณะที่บุคคลสาคัญ ขึ้นหรื อลงบันได ต้องแน่ใจว่า ไม่มีผอู ้ ื่นใช้บนั ไดสวนทางได้

๗-๑๕

๗๓

การรักษาความปลอดภัยในขณะทีบ่ ุคคลสาคัญเข้ า-ออกจากลิฟท์ < Elevators > แบ่งออกเป็ น ๒ กรณี คือ ๑. ในกรณี ที่มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยควบคุมอยู่ ๑.๑ หัวหน้าชุดล่วงหน้า เดินนาบุคคลสาคัญ พร้อมรู ปขบวนไปที่หน้าลิฟท์ โดยมีเจ้าหน้าที่ ชุดล่วงหน้า หรื อชุดประจาสถานที่ ยืนรอควบคุมลิฟท์ให้เปิ ดรออยู่ ๑.๒ หัวหน้าชุดล่วงหน้า เปิ ดทางให้เจ้าหน้าที่ชุดติดตาม ๑ คน เข้าไปก่อน เพื่อควบคุมแผงบังคับ ๑.๓ บุคคลสาคัญ และหัวหน้าชุดติดตาม เข้าในลิฟท์ พร้อมกับ เจ้าหน้าที่ชุดติดตามอีก ๑ คน โดยหัวหน้าชุดติดตาม ยืนบังบุคคลสาคัญไว้ ๑.๔ หัวหน้าชุดล่วงหน้าจะเข้าลิฟท์เป็ นคนสุ ดท้าย พร้อมกับยืนบังบุคคลสาคัญให้มากที่สุด จะเห็นได้วา่ ภายในลิฟท์จะมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยถึง ๔ คนที่คอยคุม้ กันให้กบั บุคคล สาคัญ เมื่อลิฟท์ถึงชั้นที่ตอ้ งการ จะมีเจ้าหน้าที่ชุดล่วงหน้า หรื อชุดประจาสาถานที่ คอยอยูด่ า้ นนอก ลิฟท์ เพื่อให้ความปลอดภัย ในการออกจากลิฟท์น้ นั ก็ให้ปฏิบตั ิกลับกันกับการเข้าลิฟท์ คือ หัวหน้าชุด ล่วงหน้า ออกจากลิฟท์เป็ นคนแรก ตามด้วยเจ้าหน้าที่ชุดติดตาม ๑ คน บุคคลสาคัญ หัวหน้าชุด ติดตาม และเจ้าหน้าที่ที่เหลืออยู่ จะสังเกตได้วา่ ในการใช้ลิฟท์จะไม่มีรองหัวหน้าชุดติดตามอยูภ่ ายใน ลิฟท์ เพราะในกรณี เกิดเหตุการณ์ข้ ึน รองหัวหน้าชุด ฯ จะสามารถแก้ปัญหาได้ในกรณี ที่หวั หน้าชุด ฯ อยูใ่ นลิฟท์ ในบางกรณี ที่ลิฟท์ในสามารถบรรจุคนได้มาก ชุดปฏิบตั ิการติดตามไม่สามารถเข้าไปในลิฟท์ ได้ หมด ผูท้ ี่จะต้องเข้าไปในลิฟท์อย่างน้อยที่สุด คือ หัวหน้าชุดติดตาม และ หัวหน้าชุดล่วงหน้า

๗๔

การรักษาความปลอดภัยในขณะทีบ่ ุคคลสาคัญออกจากลิฟท์ < Elevators >

๒. ในกรณี ที่จาเป็ นต้องใช้ลิฟท์ร่วมกับผูอ้ ื่น การปฏิบตั ิเหมือนกับการใช้ลิฟท์โดยมีเจ้าหน้าที่ควบคุม แต่ให้มีการแบ่งลิฟท์ออกเป็ น ๒ ส่ วน โดยให้เจ้าหน้าที่ก้ นั ระหว่าง บุคคลสาคัญ และผูอ้ ื่นที่ใช้ลิฟท์อยูใ่ นขณะนั้น การรักษาความปลอดภัยขณะทีบ่ ุคคลสาคัญเดินออกกาลังกาย < Walking Move > บางครั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย อาจจะต้องพบบุคคลสาคัญ ที่ชอบเดินออกกาลังกาย เพื่อพักผ่อน เป็ นระยะทางไกล ๆ การเดินออกกาลังกาย จาเป็ นต้องมีการเปลี่ยนแปลงรู ปขบวนบ้าง เล็กน้อย ซึ่งความต้องการของบุคคลสาคัญในขณะนั้น ต้องการความเป็ นส่ วนตัวบ้าง เจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัยจึงต้องให้ความสะดวกสบายแก่บุคคลสาคัญ แต่ก็ตอ้ งไม่ทาให้มาตรการในการรักษาความ ปลอดภัยลดน้อยลง ในการปฏิบตั ิน้ นั อาจจัดให้ เจ้าหน้าที่ล่วงหน้าเดินนาหน้าบุคคลสาคัญ และหัวหน้า ชุดติดตาม จัดเจ้าหน้าที่ชุดติดตามเดินอยูฝ่ ่ังตรงข้ามเพื่อคอยสังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่ที่เหลือ กระจาย กาลังอยูร่ อบ ๆ แต่อย่าลืมว่า รถบุคคลสาคัญหรื อรถติดตาม จะต้องแล่นตามอยูข่ า้ งหลังช้า ๆ พร้อมที่จะ เข้าไปพาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่ทนั ที เมื่อเหตุการณ์ฉุกเฉิ นขึ้น

๗๕

การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญในขณะเล่ นกอล์ ฟ การรักษาความปลอดภัยในสนามกอล์ฟนี้ เป็ นสิ่ งจาเป็ นที่เจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัยควร ให้ความสนใจ เพราะมีจุดล่อแหลมต่อการรักษาความปลอดภัยเป็ นอย่างยิง่ ส่ วนมากจะมาจากอาวุธยิง เล็งตรงในระยะไกล ดังนั้นการปฏิบตั ิงานทุกอย่างต้องเป็ นไปอย่างรอบคอบ เจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยชุดติดตามจะต้องศึกษาแผนผังของสนามกอล์ฟ และรับฟังการแถลงผลการสารวจจากชุด สารวจล่วงหน้า ให้เข้าใจทุกอย่างชัดเจน โดยเฉพาะเส้นทางต่าง ๆ ในสนามกอล์ฟ เพราะจะต้องให้ รถติดตาม หรื อรถของบุคคลสาคัญวิง่ ตามเส้นทางนี้ เพื่อให้ใกล้บุคคลสาคัญมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ในระหว่างที่บุคคลสาคัญอยูใ่ นแฟร์ เวย์ควรให้หวั หน้าชุดฯ หรื อเจ้าหน้าที่คนใคคนหนึ่ง ติดตามบุคคล สาคัญโดยใกล้ชิดตลอดเวลา แต่ท้ งั ทีตอ้ งไม่ใกล้เกินไป จนทาให้บุคคลสาคัญรู ้สึกราคาญ หรื อทาให้ เสี ยสมาธิ ในการเล่นกอล์ฟ และต้องไม่แนะนาเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการตีกอล์ฟ เว้นแต่เมื่อถูกถาม เจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ ีจะต้องให้การระวังป้ องกันต่อบุคคลสาคัญ โดยเอาตัวกาบังอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ยิงด้วยอาวุธระยะไกล เมื่อได้รับสัญญาณแจ้งเหตุจากเจ้าหน้าที่คนอื่น ๆ นอกจากนี้จะต้องคุม้ กันอันตราย ที่อาจจะเกิดจากการที่คนร้ายปลอมตัวเป็ นคนงานประจาสนาม หรับเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ให้เดินตามขอบ แฟร์ เวย์ เพื่อสังเกตการณ์รักษาปลอดภัย ที่อาจจะเกิดขึ้นกับบุคคลสาคัญจากอาวุธยิงระยะไกล และให้สัญญาณแก่เจ้าหน้าที่ที่ติดตามบุคคลสาคัญเมื่อเห็นสิ่ งผิดสังเกต เมื่อบุคคลสาคัญจะเข้าในบริ เวณที่พกั ระหว่างหลุม เพื่อดื่มเครื่ องดื่ม สถานที่น้ ีจะเป็ นจุดล่อแหลมอีกจุก หนึ่ งที่คนร้ ายอาจจะวิ่งเข้ามาทาร้ ายบุคคลสาคัญ จากที่ ใดที่หนึ่ งก็ได้ ดังนั้นจะต้องมีชุดรักษาความปลอดภัย ล่วงหน้า เข้าตรวจเสี ยก่อน หรื อมิฉะนั้นก่อนจะรอบ การจัดทีมกอล์ฟ ควรให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ตี กอล์ฟเป็ นทีมนาก็ได้อาวุธยุทโธปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้ที่เจ้าหน้าที่ชุดติดตามควรนาไปกับชุดมีดงั นี้ ๑. อาวุธกลซึ่ งให้อยูใ่ นลักษณะปิ ดซ่อนพอสมควร เพื่อมิให้เสี ยบรรยากาศการตีกอล์ฟ ของบุคคลสาคัญ ๒. กล้องส่ องสองตา ๓. ชุดปฐมพยาบาลและยาที่จาเป็ น ๔. อาวุธปื นพกประจาตัว ๕. เครื่ องมือสื่ อสาร

๗๖

Stash Car

การรักษาความปลอดภัยขณะเดินทางด้ วยเครื่ องบิน เครื่ องบินที่ใช้แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ เครื่ องบินที่จดั เฉพาะประเภทหนึ่ง และเครื่ องบิน พาณิ ชย์ธรรมดาอีกประเภทหนึ่ง ดังนี้ ๑. เครื่ องบินประจาตัวของทางราชการ ๑.๑ การควบคุมด้านความปลอดภัยเครื่ องบิน จะใช้ผเู ้ ชี่ยวชาญทางด้านการต่อต้านการก่อ วินาศกรรม และหัวหน้าช่างเครื่ องบินเป็ นผูต้ รวจสอบเครื่ องบินอย่างละเอียด เพื่อหาสิ่ งแปลกปลอมและ ชั้นส่ วนที่อาจก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ เมื่อตรวจเรี ยบร้อยแล้วให้จดั ยามเฝ้าเครื่ องบินตลอดเวลา และอนุญาตให้ เฉพาะบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเครื่ องบินเท่านั้นที่จะเข้าไปในบริ เวณที่จอดได้ ๑.๒ เชื่อเพลิง และการควบคุมขณะจอดแวะระหว่างทาง การเติมเชื้อเพลิงควรเป็ น ผูท้ ี่ผา่ นการ ตรวจสอบแล้ว ๒. เครื่ องบินพาณิ ชย์ การรักษาความปลอดภัยให้กบั เครื่ องบินประเภทนี้ มีปัญหาหลายประการ ในปั จจุบนั นี้ อันตรายที่เกิดจากการใช้อาวุธบังคับขู่เข็ญนักบิน ในขณะทาการบินอยูใ่ นอากาศ เพื่อให้ปฏิบตั ิอย่างใด อย่างหนึ่งปรากฏมากขึ้นมีสถิติแสดงว่าคนร้ายประเภทต่าง ๆ ได้ใช้อาวุธบังคับให้นกั บินบังคับเครื่ องบิน

๗๗

ไปในทิศทางที่ตนต้องการ หรื อต้องการจับตัวผูโ้ ดยสาร มีจานวนมากขึ้น ทั้งใน และนอกประเทศ จึง น่าจะเป็ นข้อห่วงใย ถึงความปลอดภัยในการใช้เครื่ องบินพาณิ ชย์อยูเ่ สมอ นอกจากนี้อนั ตรายอาจเกิดใน รู ปต่าง ๆ ดังนี้ ๒.๑ ผูก้ ่อการร้ายอาจถือโอกาสเดิ นทางปะปนมากับผูโ้ ดยสารอื่น แล้ววางระเบิดไว้ โดยตั้งเวลาให้ ระเบิดหลังจากที่ตนลงจากเครื่ องบินแล้ว หรื อมิฉะนั้นก็หาโอกาสเข้าทาร้ายบุคคลสาคัญในเครื่ องบิน โดยยอม ถูกจับภายหลัง ๒.๒ ติดต่อขอความร่ วมมือกับศุลกากรของประเทศต่างๆ ที่เครื่ องบินจะออก และพักระหว่างทางไว้ ล่วงหน้า เพื่ อให้มีการตรวจกระเป๋ าเดิ นทาง และพัสดุ ทุกชิ้ นของผูโ้ ดยสารที่ ข้ ึนมาใหม่อย่างเข้มงวด รวมทั้ง กระเป๋ าถือด้วย ถ้าจาเป็ นควรมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยร่ วมอยูด่ ว้ ยในขณะตรวจ ๒.๓ เพื่อป้ องกันมิให้ผโู ้ ดยสารอื่นถูกใช้เป็ นเครื่ องมือในการหิ้วกระเป๋ าระเบิด หรื อวัตถุที่เป็ นภัยเข้า ไปในเครื่ องบินโดยไม่รู้ตวั ควรทาการประกาศให้ผโู ้ ดยสารทราบ ในขณะที่กาลังตรวจกระเป๋ าว่าอาจมีคนร้ าย หลอกให้ผูโ้ ดยสารลักลอบนาทอง หรื อเพชรเถื่ อนออกนอกประเทศ จึงขอให้ผูโ้ ดยสารทุ กคนตรวจของใน กระเป๋ าพร้ อมๆ กันไปด้วยเป็ นของๆ ตนอย่างแท้จริ ง และกระเป๋ ากับหี บห่ อทุ กชิ้ นมีเจ้าของที่จะไปพร้อมกับ เครื่ องบินจริ ง ข่าวสารทุกอย่างเกี่ยวกับการเดินทาง ควรจะเก็บไว้เป็ นความลับและแจ้งโดยอาศัยหลัก “จากัดให้ทราบ เท่าที่จาเป็ น” เท่านั้น อาจจะเปิ ดเผยข่าวให้ประชาชนทัว่ ไปรู ้หลังจากออกเดินทางแล้วก็ได้ การรักษาความปลอดภัยขณะทาการบิน ๑. ขณะที่บุ ค คลสาคัญ เดิ นทางไปยังเครื่ องบิ น ให้เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย ตารวจ และทหาร รักษาการณ์บริ เวณท่าอากาศยาน ปฏิบตั ิหน้าที่ตามจุดต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ ๒. จัดที่ให้บุคคลสาคัญและคณะผูต้ ิดตามนัง่ แยกจากผูโ้ ดยสารอื่นๆ และไม่ควรอนุ ญาตให้ผไู ้ ม่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องเข้ามาในบริ เวณดังกล่าวเป็ นอันขาด ๓. ควรจัดที่นง่ั ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้อยูต่ อนหน้าสุ ดของแถวผูโ้ ดยสารธรรมดาที่ติดกับ ทางเดิ นไปสู่ บริ เวณที่ น่ังของบุ คคลสาคัญ เพื่อป้ องกันมิ ให้มีผูโ้ ดยสารอื่ นเข้ามาปะปน และสามารถควบคุ ม ผูโ้ ดยสารชั้นอื่นได้ในกรณี จาเป็ น ๔. ควรจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนัง่ ข้างหน้าและข้างหลังของบุคคลสาคัญ ๕. ขณะที่เครื่ องหยุดพักระหว่างทางจะต้องมีเจ้าหน้าที่รักษาการณ์ท้ งั ภายในและภายนอกเครื่ องบิน ผูท้ ี่ เข้ามาในเครื่ องบิ นขณะนั้น เช่ น เจ้าหน้าที่ ศุล กากร และคนท าความสะอาด เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย จะต้อ งติ ด ตามควบคุ ม ตลอดเวลา การเติ ม เชื้ อ เพลิ ง และการบริ ก ารอื่ น ๆ จะต้อ งมี หั ว หน้ า ช่ า งเครื่ อ งบิ น ควบคุมดูแลอยูด่ ว้ ย ๖. การรั ก ษาความปลอดภัย ขณะลงจากเครื่ อ งบิ น ตามปกติ ก่ อ นที่ บุ ค คลส าคัญ จะเดิ น ทางไป ต่างประเทศ มักจะให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยชุ ดหนึ่ งเดินทางไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ของประเทศที่จะไปเยือนเป็ นการล่วงหน้า เพื่อเตรี ยมวางแผนการรักษาความปลอดภัยในท้องถิ่นต่างๆ

๗๘

การรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยาน ๑. ประสานกับเจ้าหน้าที่การท่าอากาศยาน ๒. เตรี ยมการด้านการรักษาความปลอดภัยเครื่ องบิน ๓. ตรวจสอบบริ เวณและอุปกรณ์ ณ ลานจอดเครื่ องบิน ๔. ตรวจว่ามีการบริ การฉุ กเฉิ นอะไรบ้าง ๕. ตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยตามลานวิง่ ๖. ตรวจสอบว่า ๖.๑ บุคคลสาคัญคนอื่นๆ จะอยู่ ณ จุดใด ๖.๒ คณะต้อนรับจะอยู่ ณ จุดใด ๖.๓ ประชาชนอื่นๆ จะอยู่ ณ จุดใด ๗. ตรวจสอบการเตรี ยมการต่างๆ เกี่ยวกับกระเป๋ าเดินทาง ๘. ตรวจสอบยานพาหนะที่จะใช้ในขบวน เช่น ประเภทและทะเบียนรถ สถานที่จอดรถ เป็ นต้น ๙. ตรวจสอบว่ามีชุดเก็บกูร้ ะเบิดหรื อไม่ ๑๐. กาหนดท่าอากาศยานสารองไว้ ๑๑. เครื่ องหมายแสดงตนของพนักงานท่าอากาศยานและเจ้าหน้าที่อื่น ๑๒. การสนับสนุนของเจ้าหน้าที่ตารวจที่ได้เตรี ยมไว้ หรื อที่จะปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ๑๓. การรักษาความปลอดภัยห้องพักผูโ้ ดยสารบุคคลสาคัญ การรักษาความปลอดภัยในขณะเดินทางโดยเรื อ การวางแผนการรักษาความปลอดภัย ในขณะที่บุคคลสาคัญเดินทางโดยเรื อนั้น ต้องคานึงถึง ๑. ชนิด ขนาด และความสามารถของเรื อ ที่จะต่อต้านดินฟ้าอากาศและคลื่นลมได้เพียงใด ๒. การตรวจสภาพเรื อต้องกระทาอย่างละเอียด ร่ วมกับเจ้าหน้าที่ผรู ้ ับผิดชอบเรื อลานั้น ๓. ตรวจสอบขั้นต้นว่ามีบุคคลที่ไม่มีหน้าที่ หรื อมีวตั ถุหีบห่อแอบซุ กซ่อนไปในเรื อบ้างหรื อไม่ ๔. กองทัพเรื อควรรับผิดชอบ หรื อช่วยในขณะเตรี ยมการ ๕. ใช้มนุษย์กบตรวจใต้ทอ้ งเรื อ เพื่อหาเครื่ องมือก่อวินาศกรรม ๖. หัวหน้าคนครัวนาตรวจอาหาร ห้องเย็นเก็บอาหาร ครัว และห้องอาหาร ๗. ตรวจสอบเครื่ องมือสื่ อสาร และตรวจสอบเครื่ องมือดับเพลิงทุกชนิด ๘. ถ้าเป็ นเรื อใหญ่ ควรมีลานสาหรับ ฮ. ลงจอดได้ดว้ ย ๙. เครื่ องช่วยชีวติ ในยามฉุ กเฉิ นมีเพียงพอ และใช้การได้หรื อไม่ ๑๐. มีการซักซ้อมเมื่อเกิดอัคคีภยั บนเรื อ หรื อไม่ ๑๑. เจ้าหน้าที่ตอ้ งคอยสังเกตดูเรื ออื่นๆ ที่จะเข้าไปเทียบกับเรื อของบุคคลสาคัญ

๗๙

การรักษาความปลอดภัยขณะเดินทางโดยรถไฟ ๑. โดยธรรมดาจุดที่จะเกิดอันตรายต่อบุคคลสาคัญนั้น จะมีข้ ึนในขณะที่รถไฟ ถึง หรื อออกจากสถานี ด้วยเหตุที่บริ เวณนั้น มีคนหนาแน่นพร้อมด้วยหี บห่อ และสัมภาระต่างๆ ๒. ต้องจัดตูโ้ ดยสารพิเศษสาหรับบุคคลสาคัญ ๓. ร่ วมกับการรถไฟในการดาเนิ นการตรวจสอบรถไฟทั้งขบวน ตั้งแต่หวั รถจักร จนถึงรถตูท้ า้ ยขบวน และให้ตรวจสอบโดยละเอียดสาหรับตูข้ องบุคคลสาคัญ ๔. ตรวจสอบประวัติ พลขับ ช่างเครื่ อง และพนักงานประจารถที่ตอ้ งเข้าใกล้ บุคคลสาคัญ ๕. ตรวจสอบเส้นทาง สะพาน อุโมงค์ จุดล่อแหลมบนเส้นทาง ๖. ตรวจสอบจานวนผูโ้ ดยสารที่ร่วมไปกับขบวนรถ ๗. โดยธรรมดาแล้วรถตูบ้ ุคคลสาคัญจะอยูก่ ลางๆ ขบวนมากกว่าจะปิ ดท้ายขบวน ๘. ควรจัดรถกรุ ยตรวจเส้นทางล่วงหน้าไปก่อน และอย่าทิ้งระยะห่างมากจนเกินไป ๙. เมื่อรถไฟหยุดระหว่างทาง หรื อสงสัยว่าจะมีเหตุร้าย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องลงไปรักษา ความปลอดภัยโดยรอบขบวนรถทันที ๑๐. ควรจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาที่หอ้ งควบคุมการสับหลีกด้วย ๑๑. หากรถไฟแล่นช้าลง ต้องคอยตรวจสอบบุคคลที่อาจจะกระโดดขึ้นรถ หรื อลงบนหลังคา ๑๒. ห้ามผูโ้ ดยสารอื่นๆ เดิ นมาข้างรถตูข้ องบุ คคลส าคัญ ในขณะที่ บุ คคลส าคัญลงจากรถไฟไป ชัว่ คราว ดังนั้น ควรมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจานวนหนึ่งควบคุมทางที่จะเข้าไปยังรถนั้น ๑๓. ควรติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของรถไฟในเรื่ องกาหนดเวลา และสถานที่ที่รถไฟจะหยุดก่อนล่วงหน้า ๑๔. ติดต่อกับตารวจรถไฟและตารวจท้องที่ ให้เตรี ยมวางกาลังไว้คอยช่ วยเหลื อ ในขณะที่ รถไฟ หยุดตามสถานีต่างๆ การรักษาความปลอดภัยต่ อบริเวณทีพ่ กั เป็ นการประจา ตามปกติอาคารที่ทางานของรัฐบาล ซึ่ งประกอบด้วยที่ทางานของบุ คคลสาคัญ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ ประจาสานักงานของบุ คคลสาคัญและที่ พ กั ของบุ คคลสาคัญ นั้น มักจะตั้งอยู่ภายในบริ เวณเดี ยวกัน หรื ออยู่ ใกล้ชิดกัน ในกรณี เช่นนี้ ปัญหาการจัดการรักษาความปลอดภัยจะลดน้อยลง แต่ถา้ สานักงานต่างๆ ตั้งอยูห่ ่างกัน เป็ นระยะไกลๆ จาเป็ นที่ จะต้องเพิ่ มก าลังของฝ่ ายรัก ษาการณ์ และขอบเขตการปฏิ บ ตั ิ งานเพิ่ ม ขึ้ นอี ก ถึ งแม้ ขอบเขตของงานเพิ่มขึ้น แต่ระเบียบวิธีปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยส่ วนใหญ่ก็ยงั คงปฏิบตั ิเหมือนเดิม ในการจัดให้มีก ารรั กษาความปลอดภัยอย่างถู ก ต้อง และเหมาะสมแก่ ที่ พ กั และที่ ท างานของบุ คคล สาคัญได้น้ นั ประการแรกจะต้องหาสิ่ งกีดขวางเป็ นรั้วรอบขอบชิดให้ได้เสี ยก่อน จะเป็ นรั้วหรื อกาแพงล้อมรอบ ก็ได้ ป้ อมยามรักษาการณ์ จะต้องตั้งไว้ ณ ทางเข้าออกของยานพาหนะ และผูต้ ิดต่อเยี่ยมเยียนทุกแห่ งทางเข้า ต้องสร้ างขึ้นในลักษณะที่จะสามารถตรวจสอบบุ คคล หรื อยานพาหนะที่ เข้าหรื อออกได้ง่าย ยามรักษาการณ์ ประจาทางเข้า-ออกจะต้องมีสมุดจดบันทึกยานพาหนะ และชื่ อผูต้ ิดต่อเยี่ยมเยียนซึ่ งต้องมีการลงชื่ อผูม้ าติดต่อ เยีย่ มเยียน บุคคลผูร้ ับการเยีย่ ม เวลาเข้า-ออกในเวลากลางคืน ประตูเข้าทุกแห่ งที่ยงั เปิ ดอยูจ่ ะต้องมีระบบให้แสง

๘๐

สว่างอย่างใดอย่างหนึ่ ง อาจติดตั้งโคมไฟที่ร้ ัวทั้งหมด และจุดสาคัญๆ ภายในบริ เวณ จุดสาคัญเหล่านี้ควรมีป้อม ยามรักษาการณ์ ซึ่ งได้แก่ ที่พกั ตึกที่ทางาน โรงไฟฟ้ า ระบบติดต่อสื่ อสาร เชื้ อเพลิง และเครื่ องมือดับเพลิง ซึ่ ง จะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป การรักษาความปลอดภัยต่ อทีพ่ กั และการซื้ออาหาร การรักษาความปลอดภัยต่อประจาที่พกั เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องผ่านการตรวจสอบเป็ นอย่างดี ซึ่ งจะต้อง พิจารณาถึงความซื่ อสัตย์ และความจงรักภักดีดว้ ย การจัดเจ้าหน้าที่น้ นั ควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่ ๒ คน หรื อ ๓ คน จากชุดปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยส่ วนที่พกั อยูป่ ระจา ณ ที่พกั ตลอด ๒๔ ชม. ทุกวัน และถ้าทาได้ควรจัดให้ มีที่พกั อยู่ในที่พานักของบุคคลสาคัญนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการปฏิ บตั ิหน้าที่ และการให้ความปลอดภัย แก่ที่พกั ตลอดเวลา ผูม้ าติดต่อเยี่ยมเยียนทุกคนจะได้รับการตรวจสอบอย่างรอบคอบถี่ถว้ น และถ้าจาเป็ นอาจจะต้องมีการ ตรวจค้นอาวุธด้วย ต้องมีส มุดบันทึ กผูม้ าติ ดต่อเยี่ยมเยียน ซึ่ งมี ชื่ อ วัน เวลา และเหตุ ผลของการเยี่ยม ควรมี เจ้าหน้าที่หนึ่ งคนติดตามผูม้ าติดต่อเยี่ยมเยียนทุกคน ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลที่รู้จกั หรื อไม่ก็ตาม และถ้าไม่มีการนัด หมายใดๆ ไม่ควรอนุ ญาตให้แขกเดินไปมาในที่ต่างๆ ได้ตามใจภายในเขตที่พกั ของบุคคลสาคัญนั้น ควรมีการ ตรวจที่พกั วันละ ๒ ครั้ง หลังจากบุคคลสาคัญได้ออกไปในตอนเช้า และก่อนกลับที่พกั ในตอนบ่าย เพื่อตรวจ ค้นหาสิ่ งต่อไปนี้ ๑. วัตถุระเบิด ๒. สายไฟที่ถูกตัด หรื อทาให้เสี ยหายอย่างใดอย่างหนึ่ง ๓. ข้อบกพร่ องในการติดต่อสื่ อสาร ๔. หี บห่อซึ่ งเป็ นที่น่าสงสัย ๕. สารเคมีที่เป็ นอันตราย ๖. การพยายามก่อวินาศกรรม การซื้ออาหาร วิธีการซื้ ออาหารให้แก่บุคคลสาคัญ มีดงั นี้ ๑. ไปยังร้านค้าด้วยตัวเอง และเลือกซื้ อของเช่นเดียวกับคนซื้ อของทัว่ ไป เมื่อห่ อของเสร็ จเรี ยบร้อยส่ ง ให้เจ้าหน้าที่ ซึ่ งจะนาไปส่ งยังครัวของบุคคลสาคัญต่อไป ไม่ควรเป็ นที่เปิ ดเผย ๒. คัดเลือกผูจ้ าหน่ายให้มีนอ้ ยราย ๓. ไม่ควรสั่งซื้ ออาหารทางโทรศัพท์ ควรให้คนไปซื้ อเองทุกครั้ง อาหารดังกล่าวอาจถูกวางยาพิษ หรื อ ถูกคนอื่นกลัน่ แกล้งได้ การรักษาความปลอดภัยต่ อทีท่ างาน การรักษาความปลอดภัยต่อสถานที่ทางานสามารถกระทาได้เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยต่อที่ พัก จะมีขอ้ แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือ ๑. ควรตั้งป้ อมยามรักษาการณ์บริ เวณทางเข้าตัวอาคารเพื่อตรวจสอบบุคคลทุกคนที่เข้าหรื อออกบริ เวณ อาคารนั้น

๘๑

๒. ยามรักษาการณ์ ที่ทางเข้า ควรตรวจสอบกับเลขานุ การของบุ คคลสาคัญก่อนอนุ ญาตให้ผูม้ าติดต่อ เยีย่ มเยียนเข้ามาพบได้ ๓. ถ้าผูม้ าติดต่อหรื อเยี่ยมเยียนโดยมีการนัดหมายไว้ก่อน จะต้องมียามรักษาการณ์ ติดตามบุคคลผูน้ ้ นั ไปยังจุดตรวจสอบต่อไป ๔. ควรจัดห้องเป็ นพิเศษไว้สาหรับแขกที่มาติดต่อเยี่ยมเยียน การทาเช่นนี้ เป็ นการป้ องกันไม่ให้แขกได้ รู ้เห็นการปฏิบตั ิงานภายในสานักงาน หรื อเข้าถึงมาตรการในการรักษาความปลอดภัย ๕. ในเวลาราชการควรให้มีเจ้าหน้าที่ประจาการอยู่ ๒ หรื อ ๓ คน ซึ่ งพร้อมที่จะติดต่อเรี ยกตัวได้ทนั ที โดยอยูข่ า้ งนอกสานักงานของบุคคลสาคัญ ๑ คน อีก ๒ คน อยูใ่ นที่ซ่ ึ งใกล้กบั ห้องทางาน ๖. ควรมีการตรวจสอบสานักงานของบุคคลสาคัญโดยละเอียด ตลอดทัว่ ทั้งตัวอาคาร การตรวจสามารถ ใช้บญั ชี ตรวจสอบเช่นเดียวกับที่ใช้ในการตรวจสอบที่พกั ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ภายในสถานที่ทางานจะต้องมีการ ตรวจสอบเพื่อการรักษาความปลอดภัยโดยละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินการ และเก็บรักษาวัสดุลบั การตรวจสอบ นี้ทาได้เมื่อบุคคลสาคัญได้ออกจากสานักงานไปแล้ว ๗. หลัง จากเวลาราชการตามปกติ ยามรั ก ษาการณ์ ส าหรั บ บริ เวณภายนอกอาคารที่ ท างานจะต้อ ง รับผิดชอบดังต่อไปนี้ ๗.๑ รักษาความปลอดภัยต่อช่องทางเข้า-ออก ๗.๒ ลาดตระเวนเพื่อการรักษาความปลอดภัย และเพื่อป้ องกันอัคคีภยั ๗.๓ จัดตั้งป้ อมยามขึ้นที่ ช่องทางเข้า-ออกที่สาคัญ และจัดให้มีการลงชื่ อหรื อบันทึกการเข้า -ออก หลังจากเวลาราชการ ตามปกติจะอนุ ญาตให้เข้าได้เฉพาะบุคคลที่ได้แสดงตัวโดยถูกต้อง และมีอานาจหน้าที่ เท่านั้น ๘. เนื่ องจากบุคคลสาคัญมักจะใช้เวลาส่ วนมากในการเข้าประชุม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจึงควร รู ้ถึงเหตุผลของการจัดประชุม และวิธีการที่จะให้ความคุม้ กันอย่างเหมาะสมแก่บุคคลสาคัญนั้น การประชุมเป็ น วิธีการหนึ่งที่ทาให้บุคคลสาคัญได้รับข่าวสาร และความรู ้เกี่ยวกับปั ญหาต่างๆ ในปั จจุบนั ที่อยูใ่ นความสนใจ ในขณะเดี ยวกันบุคคลสาคัญใช้วิธีการนี้ แถลงต่อประชาชนทางหนังสื อพิมพ์ สื่ อมวลชน การประชุ มอาจจะจัด ขึ้นในสานักงานของบุคคลสาคัญเอง หรื อในห้องอื่นที่จดั ไว้เพื่อวัตถุประสงค์น้ ี ๘.๑ ก่อนการประชุมควรมีการตรวจสถานที่ที่จะใช้โดยละเอียด เพื่อตรวจเครื่ องดักฟังเสี ยงที่อาจซุ ก ซ่ อนไว้ เมื่อตรวจทางเทคนิ คเรี ยบร้ อยแล้ว จะต้องจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยแก่ห้องนั้นจนกว่าจะเสร็ จ สิ้ นการประชุม ๘.๒ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะต้องทาการตรวจสอบรายชื่ อบุคคลที่จะเข้าประชุ ม ฟั งการ ประชุม เพื่อพิจารณาว่าใครควรอยูใ่ นข่ายการเฝ้าตรวจเป็ นพิเศษ ๘.๓ เจ้าหน้าที่ ควรเชิ ญผูเ้ ข้าประชุ มไปยังห้องรับแขก และให้คอยอยู่จนถึ งเวลาประชุ ม เจ้าหน้าที่ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผูเ้ ข้าประชุ มทุกคนเป็ นผูท้ ี่ได้รับเชิญ หรื อเป็ นผูแ้ ทน ในกรณี ที่ไม่รู้จกั ตัว ควรขอร้อง ให้แสดงเอกสารหลักฐานแสดงตัว หรื อหนังสื อมอบหมายที่เกี่ยวข้อง

๘๒

การรักษาความปลอดภัย ณ ทีพ่ กั ในโรงแรม การรักษาความปลอดภัยสถานที่ พ กั ของบุ คคลส าคัญ นอกจากจัดชุ ดประจาที่ พ กั แล้ว ควรพิ จารณา เพิม่ เติมในเรื่ องต่อไปนี้ดว้ ย ๑. ประสานกับฝ่ ายบริ หารและ/หรื อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของโรงแรม ๒. การจัดที่พกั ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ควรเป็ นชั้นเดียวกับบุคคลสาคัญ ๓. ห้องควบคุมการรักษาความปลอดภัย < Command Post > ให้มีการกาหนดห้องเจ้าหน้าที่ประจา และ ต้องมีเจ้าหน้าที่ประจาตลอด ๒๔ ชม. ๔. การสื่ อสารในห้องควบคุมการรักษาความปลอดภัย คนสนิ ทของบุคคลสาคัญ และเจ้าหน้าที่บริ หาร ของโรงแรมจะต้องทราบหมายเลขโทรศัพท์ของห้องควบคุมการรักษาความปลอดภัยด้วย ๕. กุ ญ แจที่ ใ ช้ไ ขห้ อ งพัก ของบุ ค คลส าคัญ และห้ อ งอื่ น ๆ ของเจ้าหน้ าที่ ใ นคณะ ควรขอมาไว้ที่ ห้องควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรื อให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเก็บรักษาไว้ ๖. ตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ ข้าพักคนอื่นๆ ของโรงแรม ๗. ถ้าทาได้ให้ขอลิ ฟท์สาหรับบุคคลสาคัญใช้โดยเฉพาะ สาหรับลิฟท์อื่นๆ ให้ต้ งั ระบบบังคับไม่ให้ หยุดที่ช้ นั ที่บุคคลสาคัญพักอยู่ ๘. ตูไ้ ปรษณี ย ์ ถังใส่ ขยะมูลฝอย และภาชนะอื่นๆ ในบริ เวณโรงแรม ให้ตรวจดูความปลอดภัย ๙. การตรวจสอบเกี่ยวกับหี บห่อที่จะมอบให้กบั บุคคลสาคัญ ๑๐. ให้ทาเครื่ องหมายติดกระเป๋ าเดินทางทั้งหมด เพื่อป้ องกันการเพิ่มจานวนในขณะทาการขนย้าย ๑๑. ห้องที่อยูเ่ หนือใต้และข้างๆ ห้องบุคคลสาคัญมีใครพักอยู่ การรักษาความปลอดภัยต่ องานเลีย้ งในโรงแรม งานเลี้ยงในโรงแรมเป็ นโอกาสอันดีสาหรับผูท้ ี่คิดจะทาร้ายบุคคลสาคัญ ตามปกติบุคคลทัว่ ไปย่อมรู ้วา่ บุคคลสาคัญมีกาหนดการที่จะไปปรากฏตัวในงานที่เกี่ยวกับภารกิจของเขา ประตูเข้าออกและช่องหน้าต่างซึ่ งมี อยูน่ บั ไม่ถว้ น ตลอดจนอันตรายจากไฟไหม้น้ นั จะก่อให้เกิดปั ญหาในการรักษาความปลอดภัยอย่างหนัก จึงมี วิธีการปฏิบตั ิโดยสังเขปดังนี้ ๑. ห้องที่เลือกใช้เป็ นห้องจัดเลี้ยงควรอยูช่ ้ นั ล่างๆ มีหน้าต่างไม่มาก มีช่องทางออกเพียงเฉพาะที่จะให้ ความปลอดภัย ในกรณี เกิดอัคคีภยั ไม่ควรให้มีคนเดินผ่านห้องจัดงานไปได้ตามปกติ ๒. ห้องจัดงานเลี้ ยง ควรมีกาแพงหนาข้างหลังที่นงั่ ของบุคคลสาคัญ ถ้าไม่มีก็ตรวจบริ เวณนั้นและวาง กาลังของชุดประจาสถานที่ไว้ ๓. มีการตรวจสอบโดยชุ ดทางเทคนิ ค ณ ห้องจัดเลี้ ยงในโรงแรมโดยละเอี ยด เพื่อค้นหาเครื่ องดักฟั ง เสี ยงทุกชนิดและวัตถุระเบิด เมื่อตรวจเสร็ จแล้วควรมอบพื้นที่ให้กบั ชุดประจาสถานที่ หรื อเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยของสถานที่น้ นั ๆ เป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบจนกว่าบุคคลสาคัญจะเสร็ จภารกิจและออกจากห้องไป ๔. ตรวจโดยละเอียดทั้งโรงแรม เพื่อหาข้อบกพร่ องของเครื่ องไฟฟ้ า และเครื่ องมื อเครื่ องใช้ต่างๆ ที่ อาจจะก่อให้เกิดไฟไหม้ได้ รวมทั้งการตรวจสอบเส้นทางหนีไฟ ๕. ตรวจรายชื่อบุคคลทุกคนที่พกั อยูใ่ นโรงแรมนั้นว่ามีบุคคลน่าสงสัยหรื อไม่

๘๓

๖. ตรวจประวัติคนงานที่อยูใ่ นโรงแรมนั้นทุกคน หรื อควรวางเจ้าหน้าที่ไว้สังเกตพฤติกรรม ๗. เมื่อบุคคลสาคัญเข้าไปในโรงแรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยติดตามไปด้วย และมีการ คุม้ กันตลอดเวลาที่อยูใ่ นสถานที่น้ นั การรักษาความปลอดภัยตามภัตตาคาร มาตรการแรกที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จะต้องกระทาในการรักษาความปลอดภัยตามภัตตาคาร คือ จัดชุดล่วงหน้าสารวจสถานที่เพื่อนาข้อมูลมาวางแผน ซึ่ งมีส่ิ งที่น่าสนใจคือ ๑. ทางเข้าออก ห้องน้ า ครัว และห้องบริ การอื่นๆ ๒. การจัดที่นงั่ ให้บุคคลสาคัญ และคณะ ควรหลี กเลี่ ยงบริ เวณที่มีหน้าต่าง ถ้าอยูใ่ นร้านอาหารควรให้ ห่างบริ เวณที่มีคนพลุกพล่านให้มากที่สุด ๓. มีเครื่ องหมายแสดงตนสาหรับเจ้าหน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานใกล้กบั บุคคลสาคัญ ๔. การจัดที่นง่ั ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ๔.๑ ควรเป็ นทาเลที่มองเห็นบริ เวณรอบๆ ได้ชดั ๔.๒ อยูใ่ กล้กบั บุคคลสาคัญ ๔.๓ ไม่แสดงกริ ยาแอบฟังการสนทนาของบุคคลสาคัญ ๕. ถ้าท าได้ให้ ขอรายการอาหารไว้ก่ อน และสั่ งอาหารไว้ก่อนด้วย ขณะปฏิ บ ตั ิ หน้าที่ ในภัตตาคาร เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะต้องคอยตื่นตัวอยูเ่ สมอ แต่ขณะเดียวกันต้องรู ้จกั ตัดสิ นใจให้ถูกต้อง ถ้าจานวน ผูต้ ิดตามในคณะของบุคคลสาคัญมีมาก เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยก็อาจเข้าไปร่ วมนัง่ โต๊ะเดียวกันกับบุคคล สาคัญได้ สิ่ งสาคัญอีกประการหนึ่ งคือ ต้องคอยสังเกตการณ์ ห้องน้ าไว้เสมอ เมื่อบุคคลสาคัญจะลุ กไปห้องน้ า ให้เดินตามไปด้วย ถ้าห้องน้ ามีทางเข้า-ออกทางเดียว ควรเข้าไปตรวจดู ก่อนแล้วจึงออกมายืนรอข้างนอก ถ้ามี หลายทางให้ยนื รอภายในบริ เวณห้องน้ าด้วย ขณะที่รับประทานอาหาร เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะต้องทานอาหารไปก่อน เพื่อให้ตวั เองพร้อม ที่จะลุกจากโต๊ะอาหารได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาคอยชาระเงินหรื อลุกไปโดยไม่ได้ชาระเงิน การรักษาความปลอดภัยในงานเลีย้ งรับรองและงานเลีย้ งอาหารค่าส่ วนตัว งานเลี้ยงรับรอง และงานเลี้ยงอาหารค่าส่ วนตัว เป็ นงานที่มีแต่เฉพาะแขกรับเชิ ญเท่านั้น ทาให้การรักษา ความปลอดภัยสะดวกขึ้ น แต่ก็ไม่ควรประมาท เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยจะต้องยึดหลักมาตรการรักษา ความปลอดภัยที่ใช้ขณะอยูใ่ นร้านอาหารทัว่ ๆ ไป คือ ให้ยืนคล้อยหลังไปด้านข้างของบุคคลสาคัญเล็กน้อย แต่ ในขณะเดี ย วกัน ต้อ งพร้ อ มที่ จะก้า วไปข้า งหน้ า เมื่ อ มี ผู ใ้ ดก็ ต ามจะเข้ามาประชิ ด ตัว บุ ค คลส าคัญ สิ่ ง อื่ น ที่ จาเป็ นต้องทราบคือ จะมีใครบ้างมาร่ วมงาน เพราะนอกจากบุคคลสาคัญแล้ว บางครั้งก็มีบุคคลอื่นอีกในจานวน แขกที่ได้รับเชิ ญที่อาจเป็ นเป้ าหมายของการประทุษร้ายได้ ซึ่ งอาจมีผลกระทบกระเทือ นต่อบุ คคลสาคัญด้วย ต้องมี การกาหนดให้มีหลักฐานแสดงตน และการตรวจสอบความถู กต้องของแขกทุ กๆ คนที่ ม าร่ วมในงาน รับรอง และงานเลี้ยงอาหารค่า จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นต้องมีมาตรการรวมไปถึงผูแ้ ทนสื่ อมวลชน เจ้าหน้าที่ และแขก อื่นๆ ด้วย

๘๔

การรักษาความปลอดภัยในโรงมหรสพ ๑. ที่นงั่ ของบุคคลสาคัญ ต้องอยูใ่ นทาเลที่จะให้ความปลอดภัยต่อบุคคลสาคัญได้ทุกด้าน ๒. ที่นง่ั ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ให้จดั ไว้ใกล้ทางเดินของแถวที่บุคคลสาคัญนัง่ หรื อไว้ขา้ ง หลังที่นง่ั ของบุคคลสาคัญด้านที่บุคคลสาคัญจะเข้าและออกจากที่นง่ั ๓. ถ้าเป็ นการแสดงสดให้ท าการตรวจสอบว่ามี อาวุธอะไรบ้างที่ อาจใช้เป็ นเครื่ องมื อท าร้ ายบุ ค คล สาคัญ

เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยต้ องระลึกเสมอว่าตนมิได้ มาชม การแสดง จะต้ องคอยตื่นตัวและพร้ อมที่จะปฏิบัตหิ น้ าทีไ่ ด้ทุกเมื่อ การรักษาความปลอดภัยในที่สังสรรค์ และทีป่ ระชุ ม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญจะต้องให้ความสนใจต่อผูท้ ี่จะเข้าร่ วมในการสังสรรค์ หรื อ การประชุมนั้นๆ ด้วย ถ้าทาได้ควรให้มีการตรวจสอบ และแสดงหลักฐานในการแสดงตนของผูท้ ี่จะเข้าร่ วมงาน ด้วย ในที่ประชุ มที่เปิ ดให้สาธารณชนเข้าร่ วมด้วยนั้น การปฏิ บตั ิดงั กล่าวย่อมทาไม่ได้ ดังนั้น จึงต้องอาศัยการ จัดชุ ดสารวจล่วงหน้า และขอให้เจ้าหน้าที่ตารวจให้การสนับสนุ น ณ ที่น้ นั เมื่อเห็ นว่าจาเป็ น ในกรณี ที่ตอ้ งจัด เจ้าหน้าที่ ตารวจนอกเครื่ องแบบ ปะปนอยู่กบั ประชาชนทัว่ ๆ ไป เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญ จะต้องรู ้วา่ เจ้าหน้าที่เหล่านั้นเป็ นใครบ้าง การวางต าแหน่ ง รั ก ษาความปลอดภัย ในที่ พ บปะสั ง สรรค์และที่ ป ระชุ ม แต่ ล ะครั้ งจะต่ างกัน ตาม ประเภทของงาน และสถานที่ในการประชุมที่มีสาธารณชนเข้าร่ วมฟังด้วย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องยืน ในตาแหน่งที่ช่วยให้ตนเองมองเห็นภายในบริ เวณกว้างที่สุด

-------------------------------------------------

๘๕

ความรู้ เกีย่ วกับการขับรถยนต์ ในรู ปแบบของการรักษาความปลอดภัย < Introduction To Counterterrorist Driving > รถยนต์ของเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยส่ วนติ ดตามสามารถใช้ในการรั กษาความปลอดภัยให้กบั บุคคลสาคัญได้ ทั้งทางรุ กและทางรับ ถ้าพลขับของรถบุคคลสาคัญ และพลขับของรถส่ วนติดตาม มีความเข้าใจ ในเทคนิ คต่างๆ ของการขับรถในรู ปแบบของการรักษาความปลอดภัยเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะพลขับที่มีหน้าที่ โดยตรง สาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการอื่น ก็ตอ้ งสามารถปฏิบตั ิหน้าที่แทนพลขับได้ เมื่อจาเป็ น การใช้ รถยนต์ ในเชิ งรุกและเชิงรับ การปฏิ บ ตั ิ ใ นเชิ งรุ ก คื อการใช้รถยนต์เข้าชนสิ่ ง กี ดขวางที่ ส ามารถชนได้ โดยไม่ เกิ ดอัน ตราย และ สามารถผ่านสิ่ งนั้นไปได้ เช่น รถยนต์ เป็ นต้น หรื อการนารถยนต์ให้ผา่ นพื้นที่สังหารของฝ่ ายตรงข้ามได้ หรื อ เข้าชนเพื่อทาลายการลอบโจมตีของฝ่ ายตรงข้าม การปฏิบตั ิในเชิงรับ คือการใช้รถยนต์เพื่อนาบุคคลสาคัญหลบหนี จากการซุ่ มโจมตี หรื อจากการลอบ สังหารในรู ปแบบต่างๆ ที่สามารถเกิ ดขึ้น โดยใช้เทคนิ คในการขับรถในรู ปแบบของการรักษาความปลอดภัย แบบต่างๆ เป็ นการปฏิบตั ิของรถบุคคลสาคัญ และรถติดตาม ซึ่ งต้องมีการประสานกันเป็ นอย่างดี ความปลอดภัยเบื้องต้ นของยานพาหนะ พลขับรถของบุคคลสาคัญ จะต้องมีความรู ้ข้ นั พื้นฐานเกี่ยวกับรถยนต์ที่ตนเองเป็ นผูข้ บั ขี่ เพื่อประโยชน์ ในการตรวจสอบสมรรถนะของรถยนต์ ซึ่ งจะต้อ งแน่ ใ จว่า มี ค วามปลอดภัย ต่ อ บุ ค คลส าคัญ ในขณะใช้ ยานพาหนะ ไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานการณ์เช่นไรก็ตาม รายการตรวจสอบที่สาคัญมีดงั นี้ ๑. เครื่ องยนต์ จะต้องปรับให้อยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ อยู่เสมอ ซึ่ งเมื่อปล่อยเกี ยร์ ว่าง เครื่ องยนต์จะต้อง เดินเรี ยบ ๒. เบรก ตรวจสอบน้ ามัน เบรค, สายเบรก, แป้ น เบรก ให้ ท ดลองเบรกเมื่ อใช้ค วามเร็ วของรถยนต์ ประมาณ ๓๐ กม./ชม. แล้วปล่อยพวงมาลัยรถยนต์จะต้องไม่ปัดไปข้างใดข้างหนึ่ง ๓. ยางรถยนต์ ตรวจให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานเสมอ ความดันของลมจะต้องตรวจสอบเมื่ออุณหภูมิ ปกติ ยางที่ใช้จะต้องเป็ นยางชนิดเดียวกันทั้ง ๔ ล้อ และจะต้องให้ความดันของลมยางเท่ากันเสมอ ๔. พวงมาลัย ควรจะหมุนไปมาได้เล็กน้อยเมื่ออยูก่ บั ที่ ขณะที่รถวิ่งทางตรง เมื่อปล่อยมือทั้งสองข้าง รถควรจะวิง่ ตรงไปข้างหน้าและดูที่ยางรถยนต์ ถ้าขอบยางสึ กไม่เท่ากัน แสดงว่าศูนย์รถไม่ดี ๕. ตรวจสอบฝาปิ ดต่างๆ ในห้องเครื่ องยนต์วา่ อยู่ในลักษณะเรี ยบร้อย ถ้าฝาหม้อน้ าเก่าให้เปลี่ ยนใหม่ และหมัน่ ตรวจสายพานอยูเ่ สมอ ๖. ระบบพยุงตัวรถ ทดสอบโดยลองกดตัวถังรถด้านบนของล้อแล้วปล่อย ถ้ารถยกกลับขึ้นมาเพียงครั้ง เดียวแสดงว่าโช้คอัพใช้ได้ ๗. แบตเตอรี่ ตอ้ งหมัน่ ทาความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ อยูเ่ สมอ ๘. ดวงไฟมีความสาคัญมาก โดยเฉพาะไฟท้ายหลังรถ

๘๖

๙. มาตรวัดต่างๆ ทางานตามปกติหรื อไม่ ๑๐. ตรวจเช็คดูน้ ามันเกียร์ ถ้าเป็ นเกียร์ ธรรมดาจะต้องตรวจดูน้ ามันคลัช ๑๑. เพลา เวลาเปลี่ยนเกียร์ เดินหน้า-ถอยหลัง จะต้องไม่มีเสี ยงดัง ๑๒. น้ ามันจะต้องเต็มถังเสมอ และมีกุญแจปิ ดฝาถังน้ ามัน ๑๓. ท่อไอเสี ยอย่าให้มีจุดรั่ว คาร์ บอนมอนนอกไซด์อาจจะรั่วเข้ามาในรถ และทาอันตรายกับบุคคล สาคัญได้ การรักษาความปลอดภัยโดยพลขับ เมื่อบุคคลสาคัญไม่ได้อยูภ่ ายในรถยนต์ พลขับรถบุคคลสาคัญและพลขับรถติดตาม ควรทาการตรวจ การณ์ ระมัดระวังขบวนรถของบุคคลสาคัญไม่ควรนัง่ พักอยูใ่ นรถของตนเอง พลขับของบุคคลสาคัญควรจะมี ความรู ้ทางด้านการรักษาความปลอดภัยด้วย และจะต้องประสานงานกับพลขับรถคันอื่นๆ ในขบวนของบุคคล สาคัญ โดยท างานในลัก ษณะเป็ นที ม ควรมี กระจกเงาเล็ กๆ ไว้ส่องดู ใต้ทอ้ งรถยนต์ของบุ คคลส าคัญ เพราะ อาจจะมีการลอบนาระเบิด หรื อสิ่ งแปลกปลอมอื่นๆ มาลอบวางไว้ใต้ทอ้ งรถได้ ความรู้ พืน้ ฐานในการขับรถ < Basics of Vehicle Operation > หลักการขับรถและการทางานของรถยนต์ทุกคัน ทุกชนิ ดจะเหมือนกัน จะต่างกันที่ขนาด และรู ปแบบ เช่น รถขนาดเล็ก หรื อรถขนาดใหญ่ แบบเก๋ ง แบบตรวจการณ์ และอื่นๆ โดยมีหลักการที่สาคัญดังต่อไปนี้ ๑. วิธีนง่ั รถและท่านัง่ < Driver Position > ๑.๑ เท้าเหยียบได้ถึงพื้นรถ ๑.๒ นัง่ ถึงโคนเบาะที่นงั่ หลังพิงพนัก ๑.๓ เมื่อเหยียดแขนข้อมือจะต้องอยูต่ รงส่ วนบนของพวงมาลัย ๑.๔ ใช้เข็มขัดนิรภัยให้รัดพอเหมาะ ไม่ขดั ขวางการเคลื่อนไหว ๑.๕ วางมื อบนพวงมาลัย ให้มี กาลังที่ จะบังคับ รถได้ โดยอยู่ที่ ตาแหน่ ง ๑๐ นาฬิ กา และ ๒ นาฬิกา ๑.๖ วางเท้าในลักษณะที่สามารถใช้กาลังได้มากที่สุด ๑.๗ การหมุนพวงมาลัย ต้องใช้มือจับตลอดเวลาอย่าให้มือไขว้กนั ๑.๘ ใช้ส้นเท้าขวาเป็ นจุดหมุนระหว่างคันเร่ งและเบรค ๒. การควบคุมทิศทางด้วยสายตา < Ocular Control > โดยการใช้หลัก ทางธรรมชาติ ของมนุ ษ ย์ คื อ ตาเรา มักจะเห็ นในทิ ศ ทางที่ ร่างกายของเราหันไป ดังนั้น เราต้องมองไปในทิ ศทางที่ เราต้องการจะให้รถยนต์ของเราเคลื่ อนที่ ไป เราสามารถใช้หลักการนี้ เพื่ อ หลีกเลี่ยงการมีอุบตั ิเหตุแทนที่เราจะมองไปยังสิ่ งที่เรากาลังจะชน ให้เรามองไปยังช่องทางที่รถเราจะไป ๓. การเสี ย การทรงตัวของล้อ หลัง < Oversteering > เกิ ด จากการเลี้ ย วโค้ง ด้วยความเร็ ว ซึ่ งล้อหน้ า สามารถเลี้ยวไปได้ แต่ลอ้ หลังทั้งสองปั ดออกนอกเส้นทาง ซึ่ งอาจแก้ไขได้ดว้ ยการ ๓.๑ ถอนเท้าจากคันเร่ งเล็กน้อย ๓.๒ หมุนพวงมาลัยไปตามทิศทางที่รถหมุน

๘๗

๓.๓ อย่าเหยียบเบรค ๔. การเสี ยการทรงตัวของล้อหน้า < Understeering > เกิ ดจากการเลี้ ยวโค้งด้วยความเร็ วสู ง ท าให้ล้อ หน้าทั้งสองไม่เกาะถนน รถยนต์จะเคลื่อนที่ต่อไปในทิศทางเดิม ทาให้ไม่สามารถเลี้ยวได้ ซึ่ งอาจแก้ไขได้ดว้ ย การ ๔.๑ ถอนเท้าจากคันเร่ งเล็กน้อย ๔.๒ ค่อยๆ หมุนพวงมาลัยเล็กน้อยเพื่อทาการเลี้ยว แล้วจึงคืนให้พวงมาลัยตั้งตรง ๔.๓ อย่าเหยียบเบรก เทคนิคของการเบรค < Braking Techniques > การเบรค เป็ นขั้นตอนหนึ่ งเมื่อมีแรงกดลงที่คนั เบรก ซึ่ งทาให้การหมุนของล้อรถช้าลง หรื อหยุดการ หมุนของล้อรถที่ช้าลงนี้ ก่อให้เกิ ดการเสี ยดสี และแรงต้านทานระหว่างยางและพื้นผิวถนน จึงทาให้รถช้าลง หรื อหยุดได้ ๑. การเบรคที่ไม่ถูกต้อง < Improper Braking > ในขณะที่ รถอยู่ในความเร็ วสู ง เมื่ อมี การเหยียบเบรก เพื่อต้องการให้รถหยุดในระยะทางสั้นๆ จะทาให้มีความร้อนสะสมขึ้นระหว่างยางและพื้นผิวถนน จนท าให้ยางละลาย และท าให้เบรกเกิ ดการล็อคตัว และต่อมาคื อ เกิ ดการล็ อคของล้อรถ ท าให้ สู ญเสี ยการทรงตัว ไม่สามารถควบคุมพวงมาลัย และความคงที่ของรถอาจจะทาให้รถหมุนได้ ๒. การเบรคแบบย้ า < Threshold braking > การเบรกในระบบย้ าจะกล่าวถึ งระบบเบรกในรถทัว่ ๆ ไป ซึ่ งไม่ได้ใช้เบรกในระบบ ABS เทคนิ คของการใช้เบรกในระบบนี้ เป็ นการเบรกรถแบบมีประสิ ทธิ ภาพที่ สุด เพราะเป็ นการใช้กลไกของเบรกอย่างเต็มที่ เป็ นการเกาะถนนของยางได้อย่างดี และสามารถหยุดได้ก่อนที่ลอ้ จะ ล็อค การเบรกในระบบนี้ เริ่ มจากการเหยียบเบรกลงไป ไม่ใช่ การกระแทกเบรค เมื่อได้ยินเสี ยงยางเสี ยดสี กบั ถนน การเหยียบเบรกลงไปอีก ผลจะทาให้ลอ้ ของรถเกิดอาการล็อค รถจะเสี ยการทรงตัวทันที การปฏิบตั ิเมื่อได้ ยินเสี ยงยางเสี ยดสี กบั ถนน ให้ถ อนเท้าออกจากเบรกเล็ กน้อยจนล้อคลายล็ อค แล้วจึ งเหยียบเบรกลงไปอี ก จนกระทัง่ ได้ยนิ เสี ยงยางเสี ยดสี กบั ถนนอีกครั้ง แล้วจึงเหยียบเบรคจนสุ ด การเลีย้ วโค้ งด้ วยความเร็ว < Curves and Corner > ในบางกรณี พลขับรถของบุคคลสาคัญ ต้องนาบุคคลสาคัญออกจากพื้นที่สังหารเพื่อไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยเร็ ว การใช้ ค วามเร็ ว จะท าให้ บุ ค คลส าคัญ มี ค วามปลอดภัย สู ง แต่ ใ นการใช้ ค วามเร็ ว นั้ นก็ ต้ อ งมี ความปลอดภัยสู งเช่นเดียวกัน ในการใช้ความเร็ วบนทางโค้งนั้นจะต้องใช้พ้ืนที่บนถนนที่มีอยูใ่ ห้มากที่สุด และ พยายามเคลื่อนที่ให้เป็ นเส้นตรงให้มากที่สุด ในการขับรถยนต์โดยใช้ความเร็ วในทางโค้งนั้น แบ่งออกเป็ น ๒ กรณี คือ ๑. ในกรณี ที่ไม่มีรถสวนทางขณะเลี้ ยวโค้ง การปฏิ บตั ิจะต้องแบ่งส่ วนโค้งออกเป็ น ๓ จุด เพื่อใช้ทาง โค้งนั้นเป็ นเส้นตรงมากที่สุด ๑.๑ จุดทางเข้า < Enter Point > คือจุดที่เริ่ มแตะเบรกและเริ่ มเลี้ยวโค้ง ๑.๒ จุ ด กลาง < Apex > คื อ จุ ด สมมติ ที่ อ ยู่ก ลางโค้ง ถนนด้า นในระหว่า งจุ ด ทางเข้า และจุ ด ทางออก และเป็ นช่องทางของรถที่สวนมา

๘๘

๑.๓ จุดทางออก < Exit Point > คือจุดที่เริ่ มออกจากทางโค้งและเริ่ มเร่ งความเร็ วของรถ ๒. ในกรณี ที่ มี รถสวนทางขณะเลี้ ยวโค้ง การปฏิ บ ตั ิ ต้องมี ค วามสัม พัน ธ์ ในการใช้เบรค พวงมาลัย คันเร่ ง ความเร็ ว โดยที่ สายตาจะต้องมอบอยู่ที่บริ เวณเส้ นแบ่งช่ องทางวิ่งกลางถนนเสมอ จนรถผ่านทางโค้ง เรี ยบร้อยแล้ว อย่ามองเส้นถนนขอบทาง เพราะจะทาให้กะระยะช่องทางไม่ถูก อาจเกิดอันตรายได้ การคืนเข้ าถนนเมื่อรถตกไหล่ถนน < Off-road Recovery > กรณี ที่ รถตกขอบถนนลงไปบนไหล่ ท าง ด้วยล้อหน้าและหลัง ทางด้านใดด้านหนึ่ งของถนน ด้วย ความเร็ วสู ง และเป็ นทางตรง การปฏิบตั ิทาดังนี้ ๑. ค่อยๆ ถอนเท้าจากคันเร่ ง ๒. ขับคร่ อมถนน โดยบังคับให้ลอ้ ๒ ล้อ อยูบ่ นถนน อีก ๒ ล้อ อยูบ่ นไหล่ทาง ๓. ดูให้แน่ใจว่าทิศทางข้างหน้าไม่มีสิ่งกีดขวาง ๔. เลือกพื้นที่ที่จะนารถกลับเข้าไปในถนน โดยเลือกบริ เวณที่ไหล่ถนนเสมอกันกับพื้นถนนมากที่สุด ๕. เมื่ อมีโอกาส ให้หมุนพวงมาลัยให้น้อยที่ สุด เพื่อกลับเข้าไปในถนน ถ้าหักพวงมาลัยขึ้นถนนแรง อาจจะทาให้รถเสี ยการทรงตัว เทคนิคพิเศษในการขับรถ < Special Driving Techniques > ๑. การถอยหลัง-กลับรถ ๑๘๐ องศา < Reverse ๑๘๐-Degree Turn > หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า J-turns เป็ นวิธีการปฏิบตั ิเมื่อมีส่ิ งกีดขวางอยูด่ า้ นหน้า ไม่สามารถที่จะเคลื่อนที่ผา่ นไปได้ และมีการโจมตี ขบวนรถทางด้านข้าง เราจะใช้วธิ ี น้ ีได้ต่อเมื่อพื้นที่ดา้ นหลังไม่มีสิ่งกีดขวาง การปฏิบตั ิกระทาดังนี้ ๑.๑ ทาการเบรกด้วยวิธีย้า < Threshold break > จนรถหยุดสนิท ๑.๒ เปลี่ยนเกียร์ เป็ นเกียร์ ถอยหลัง ๑.๓ เหยียบคันเร่ งเบาๆ แล้วเพิม่ ความเร็ ว ๑.๔ ขณะเพิ่มความเร็ ว ให้นับหนึ่ งพันหนึ่ ง หนึ่ งพันสอง หนึ่ งพันสาม หนึ่ งพันสี่ (ประมาณสี่ วินาที) ๑.๕ เมื่อนับถึงหนึ่ งพันสี่ ให้ถอนเท้าจากคันเร่ ง แล้วหมุนพวงมาลัยอย่างเร็ วเข้าไปในช่ องเดิ น รถที่วา่ ง ๑.๖ในขณะที่รถกาลังเลี้ยว คืนพวงมาลัยให้อยูใ่ นตาแหน่งตรง เข้าเกียร์ เดินหน้าไว้ (ในกรณี รถที่ เป็ นเกียร์ ออโตเมติค ต้องให้รถกลับตัวเรี ยบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนเป็ นเกียร์ เดินหน้า) ๑.๗ เมื่อรถกลับตัวเรี ยบร้อยแล้ว เร่ งความเร็ วออกจากพื้นสังหารทันที การปฏิ บตั ิอาจทาพร้อม กับรถปฏิบตั ิการติดตามได้ถา้ ได้รับการฝึ กมาอย่างดี ๑.๘ ห้าม ปฏิบตั ิในขณะที่พ้ืนที่ดา้ นหลังไม่ปลอดภัย ๑.๙ ห้าม หันไปมองข้างหลัง หรื อมองกระจกส่ องหลัง ในขณะที่กาลังถอยหลัง ให้มองตรงไป ด้านหน้า ใช้เส้นแบ่งครึ่ งถนนเป็ นเครื่ องช่วยในการควบคุมทิศทางขณะที่กาลังถอยหลัง

๘๙

๒. การขับชนรถที่ขวางหน้า < Ramming > เป็ นการชนผ่านเครื่ องกีดขวาง เพื่อนาบุคคลสาคัญออกจาก พื้นที่สังหารโดยเร็ วที่สุด อาจจะมีรถหนึ่งคันหรื อมากกว่าหนึ่งคันขวางอยู่ และไม่สามารถใช้เส้นทางอื่นได้ การ ขับชนนี้อาจใช้ประกอบกับการขับ J-Turn ด้วยก็ได้ ๒.๑ ในกรณี ที่มีรถขวางอยู่ ๑ คัน ๒.๑.๑ ในขณะที่รถเข้าใกล้รถที่ขวางอยู่ ให้ลดความเร็ วลง ๒.๑.๒ เปลี่ยนเกียร์ ลงเป็ นเกียร์ ต่า ๒.๑.๓ จุดที่จะต้องพุ่งชนคื อ บริ เวณจุดกึ่ งกลางของล้อหน้าหรื อล้อหลัง โดยใช้มุมขวาหรื อ มุมซ้ายของรถเป็ นจุดชน ๒.๑.๔ เมื่ อ ก าหนดจุ ด ที่ จะชนแล้ว ให้ ม องผ่านเลยไปข้างหน้ า ดู ทิ ศ ทางที่ จ ะเคลื่ อ นที่ ไ ป หลังจากชนแล้ว เพิ่มความเร็ วเพื่อผ่านออกจากจุดชนไป ๒.๑.๕ เมื่อรถทั้งสองกระแทกกันแล้ว เหยียบคันเร่ งต่อไปจนกระทัง่ พ้นจากพื้นที่สังหาร ๒.๒ ในกรณี ที่มีรถขวางอยู่ ๒ คัน ๒.๒.๑ การปฏิบตั ิข้ นั ตอนจะเหมือนกับการชนรถ ๑ คัน แต่จุดกระแทกจะเปลี่ยนไป ๒.๒.๒ ถ้ารถทั้งสองอยู่ใกล้กนั จุ ดที่ กระแทกควรเป็ นตรงกลางระหว่างรถทั้งสอง หรื อยาง ด้านนอกล้อใดล้อหนึ่ง ๒.๒.๓ ถ้ารถทั้งสองอยูเ่ ฉี ยงกันเป็ นมุมแหลม หันออกจากรถจุดที่กระแทก คือตรงกึ่งกลาง ๒.๒.๔ ถ้ารถทั้งสองอยู่เฉี ยงกันเป็ นมุ มแหลม หันหน้าเข้ารถจุ ดที่ กระแทกคือล้อใดล้อหนึ่ ง ของยางด้านนอก ๒.๓ การถอยชนทางด้านหลัง ขั้นตอนจะเหมือนกับการขับชนทางด้านหน้า ต่างกันตรงที่ ใช้ทา้ ย รถชน เทคนิคพิเศษในการขับรถ รปภ. < Special Protective Motorcade Techniques > ๑. การเลี้ ยว ๑๘๐ องศา < Tandam “ J ” Turns > ในกรณี ที่ ร ถของบุ ค คลส าคัญ และรถติ ด ตามไม่ สามารถเคลื่อนที่ไปได้ เนื่องจากมีรถกีดขวางและมีการโจมตีทางด้านข้าง การปฏิบตั ิ ๑.๑ หัวหน้าชุดฯ จะแจ้งให้ รองหัวหน้าชุดฯ ในรถติดตามทราบว่า มีรถกีดขวางอยูบ่ นถนนข้างหน้า ๑.๒ รองหัวหน้าชุดฯ จะออกคาสั่งให้กลับรถ ๑๘๐ องศา ๑.๓ รถบุ คคลส าคัญ ลดความเร็ วเพื่ อให้รถติ ดตามแซงขึ้ นไปเพื่อท าการป้ องกันให้ก ับ รถบุ คคล สาคัญ ๑.๔ รถทั้งสองทาการเบรกให้รถหยุดสนิ ท รถบุคคลสาคัญเริ่ มทา J-Turn ก่อน รถติดตามจะเริ่ มทา J – Turn เมื่อรถบุคคลสาคัญเริ่ มเลี้ยว หรื อถ้าได้รับการฝึ กฝนมาอย่างดีแล้ว รถทั้งสองคันจะสามารถทา J – Turn ได้พร้อมกัน ๑.๕ เมื่อรถทั้งสองทา J – Turn เรี ยบร้อยแล้ว ให้เพิ่มความเร็ ว เพื่อออกจากพื้นที่สังหารนั้นโดยเร็ ว

๙๐

๒. การใช้รถบุคคลสาคัญ ชนผ่านสิ่ งกีดขวาง < Limousine Push/Ram > ในกรณี ที่รถของบุคคลสาคัญ ใช้การไม่ได้ และต้องใช้วธิ ี ชนผ่านสิ่ งกีดขวาง ดังนี้ ๒.๑ รถของบุคคลสาคัญ ปลดเกียร์ วา่ ง หัวหน้าชุดฯ แจ้งให้ทราบว่ารถเสี ย เคลื่อนที่ไม่ได้ ๒.๒ รองหัวหน้าชุดฯ ในรถติดตามจะสั่งการให้รถติดตามทาการดันรถของบุคคลสาคัญ โดยแจ้งให้ รถบุคคลสาคัญทราบว่า ต้องกระแทกที่จุดใด ๒.๓ คนขับรถบุคคลสาคัญ ควบคุ มรถให้พุ่งเข้ากระแทกตรงจุดที่กาหนด รถติดตามต้องเร่ งเครื่ อง เพื่อเป็ นการดันรถบุคคลสาคัญให้ผา่ นเครื่ องกีดขวางไปจนกว่าจะพ้นจุดอันตราย การรักษาความปลอดภัยขณะเดินทางด้ วยรถยนต์ และขบวนรถยนต์ การเลือกใช้รถยนต์ในการรักษาความปลอดภัยนั้น ยานพาหนะทุกคันต้องอยูใ่ นสภาพที่ดีเลิศ และควร จะได้มีการตรวจกันเป็ นประจา เพื่อกาจัดข้อบกพร่ องต่างๆ ที่จะเกิ ดขึ้น พลขับควรได้รับการฝึ กฝนเป็ นอย่างดี และสามารถไว้ใจได้ดว้ ย ยานพาหนะทุกคันต้องได้รับการดูแลป้ องกันตลอดเวลา รถของเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยควรจะตามหลังรถบุคคลสาคัญให้ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทาได้ โดยต้องคานึ งถึ งความปลอดภัยในการขับ ด้วยรถที่นาขบวนควรจะอยูห่ ่ างจากรถบุคคลสาคัญพอประมาณ เพื่อสามารถสังเกตเห็นอันตราย และสามารถ รายงานสภาพผิดปกติ ต่างๆ ได้ รถยนต์สารองในขบวนเป็ นสิ่ งจาเป็ น เพื่ อให้ส ามารถใช้ได้ทนั ท่วงที หากมี เหตุการณ์ ฉุกเฉิ นขึ้น รถนา รถติดตามและยานพาหนะทุ กคันที่ ใช้ในการรักษาความปลอดภัย ต้องมีเครื่ องมื อ สื่ อสารที่ ส ามารถติ ดต่ อกันได้ตลอดเวลา และหากท าได้ควรมี ไว้ในรถของบุ ค คลส าคัญ นั้นด้วย ส าหรั บ ใน เหตุการณ์ ที่มีความจาเป็ นต้องให้ความปลอดภัยอย่างเต็มที่ อาจใช้ยานพาหนะลวงคันหนึ่ งหรื อสองคัน ซึ่ งมี บุ คคลที่ มี รูป ร่ างหน้าตาคล้ายกับ บุ คคลส าคัญ ร่ วมขบวนไปด้วย และต้องปฏิ บ ตั ิ ตามกฎจราจร และก าหนด ความเร็ วตามสภาพของถนนอีกด้วย การจัดขบวนรถยนต์ อย่างเป็ นทางการ < Full Formal Motocade > ๑. รถตรวจเส้นทาง < Pilot Car > ๑.๑ ตรวจและรายงานสภาพเส้นทางล่วงหน้าขบวนรถ ๒ – ๕ นาที ๑.๒ ควรมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจา ๑ คน ๑.๓ อาจอยูห่ ่างจากรถต้นขบวนตั้งแต่ ๑๐๐ เมตร ถึง ๑ กิโลเมตร ๑.๔ ตรวจเส้นทาง และสภาพการจราจร การจัดขบวนรถยนต์ อย่างไม่ เป็ นทางการ < Informal Motorcade > การจัดขบวนรถอย่างไม่เป็ นทางการนี้ มีโอกาสใช้ในกรณี เดินทางไปในระยะใกล้ๆ เช่น ไปทางาน ไป เล่นกีฬา ไปธุ รกิจส่ วนตัว บางครั้งอาจจะไม่จดั รถนา รถผูต้ ิดตาม และรถปิ ดท้ายก็ได้ ตาแหน่ งทีน่ ั่งในรถยนต์ ของบุคคลสาคัญ < Personnel Position Principal’s car > ภายในรถของบุคคลสาคัญจะประกอบด้วย บุคคลสาคัญ หัวหน้าชุ ดติดตาม รักษาความปลอดภัย และ พลขับ

๙๑

ตาแหน่ งทีน่ ั่งในรถยนต์ ของบุคคลสาคัญ Personnel Position Principal’s Car

DL

V

D V = บุคคลสำคัญ DL = หัวหน้ ำชุดติดตำม D = พลขับ

การปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ตามตาแหน่ง มีดงั นี้ ๑. พลขับ ๑.๑ ต้องมีความเชี่ ยวชาญในเรื่ อง การขับรถยนต์เป็ นอย่างดี เพื่อนาบุคคลสาคัญไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยเร็ วที่สุด เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น ๑.๒ การขับรถ จะต้องมีความสัมพันธ์กนั กับรถติดตามของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ ๑.๓ ต้องมีความเข้าใจสัญญาณไฟหน้าของรถเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เพื่อปฏิบตั ิในเรื่ องต่างๆ เช่น การเปิ ด-ปิ ดไฟหน้าช่วงสั้นๆ หลายครั้งให้เตรี ยมตัวรับสถานการณ์ฉุกเฉิ น เป็ นต้น ๑.๔ เข้าใจการส่ งสัญญาณไฟเลี้ ยวหรื อไฟฉุ กเฉิ น เพื่อส่ งข่าวให้รถเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย ทราบ เช่ น ไฟฉุ ก เฉิ น กระพริ บ ๓ ครั้ ง แล้วหยุดและกระพริ บ ต่ ออี ก ๓ ครั้ ง ท าเช่ น นี้ ไ ปเรื่ อย ๆ จนกว่ารถเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะเข้าใจว่ามีเหตุการณ์ไม่ไว้วางใจตามเส้นทางข้างหน้า ๒. หัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัย < Detail Leader > ๒.๑ ควบคุมการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย ๒.๒ ตรวจตราความเรี ยบร้อย เมื่อบุคคลสาคัญขึ้นนัง่ ประจาที่ เช่น การกดล๊อค และปิ ดประตู เป็ น ต้น ๒.๓ สั่งการให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้เข้าประจาข้างรถบุคคลสาคัญ < Run To Fenders > เมื่อรถยนต์ใกล้เข้าที่จอด

๙๒

๓. ตาแหน่งที่นง่ั ของบุคคลสาคัญ ๓.๑ สะดวกในการขึ้ น – ลงรถยนต์ โดยไม่ตอ้ งอ้อมตัวรถ ซึ่ งถ้าอ้อมตัวรถจะมี ระยะเวลาที่ เป็ น เป้ าหมายของผูล้ อบทาร้ายมากขึ้น ๓.๒ อยูใ่ กล้การระวังป้ องกันของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๓.๓ อาจนั่งอี ก ด้านหนึ่ งได้ข องเบาะหลังในกรณี ที่ จาเป็ นต้องให้บุ ค คลส าคัญ ขึ้ น หรื อลงจาก ทางด้านขวามือ

ตาแหน่ งทีน่ ั่งของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัยในรถติดตาม Personnel Positions in Follow Car

SL

LR

D A

RR

SL = รองหัวหน้ ำชุด ฯ RR = เจ้ ำหน้ ำที่ปฏิบัตกิ ำร ฯ LR = เจ้ ำหน้ ำที่ปฏิบัตกิ ำร ฯ A = เจ้ ำหน้ ำที่ปฏิบัตกิ ำร ฯ D = พลขับรถ

หน้ าทีแ่ ละการปฏิบัติของเจ้ าหน้ าทีต่ ามตาแหน่ งในรถติดตาม ๑. พลขับ < Driver > D ๑.๑ คุม้ กันมิให้รถคันอื่นเข้าใกล้บุคคลสาคัญ ๑.๒ ส่ งและรับสัญญาณไฟกับรถบุคคลสาคัญ เพื่อประสานการปฏิบตั ิโดยใกล้ชิด ๑.๓ คุม้ กันเมื่อรถบุคคลสาคัญถูกปิ ดเส้นทาง โดยใช้เทคนิคในการขับรถชนสิ่ งกีดขวาง ๒. รองหัวหน้าชุดติดตาม < Shift Leader > SL ๒.๑ ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๒.๒ สังเกตการณ์ไปยังรถบุคคลสาคัญตลอดเวลา ๒.๓ ควบคุมการติดต่อสื่ อสาร ๒.๔ ควบคุมการปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย โดยผ่านหัวหน้าชุดติดตาม

๙๓

๓. หมายเลข ๒, ๓, ๔ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย มีหน้าที่ สังเกตการณ์ รักษาความปลอดภัยทาง ด้านข้าง ตามที่ ไ ด้รับ มอบหมาย ปฏิ บ ัติก ารซัก ล้อม < Run TO Fenders > ตามค าสั่ งรองหัวหน้าชุ ด ติดตาม พืน้ ทีร่ ับผิดชอบของเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัยในขบวนรถ < Motorcade Operations Security Zones of Responsibility > พื้นที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในขบวนรถ จะคล้ายกับในรู ปขบวนเดิม โดยใช้ ระบบนาฬิกา เพื่อให้ครอบคลุ มพื้นที่ได้อย่างทัว่ ถึง การกาหนดให้ ๑๒ นาฬิกา เป็ นทิศทางเคลื่อนที่ของขบวน รถ การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ แบ่งออกได้ดงั นี้ ในรถบุคคลสาคัญ ๑. พลขับรถบุคคลสาคัญ จาก ๑๐.๐๐ น. ถึง ๓.๐๐ น. ๒. หัวหน้าชุดติดตาม จาก ๙.๐๐ น. ถึง ๒.๐๐ น. ในรถติดตาม ๑. รองหัวหน้าชุดติดตาม จาก ๙.๐๐ น. ถึง ๒.๐๐ น. ๒. พลขับรถติดตาม จาก ๑๐.๐๐ น. ถึง ๓.๐๐ น. ๓. เจ้าหน้าที่หลังซ้าย จาก ๖.๐๐ น. ถึง ๑๑.๐๐ น. ๔. เจ้าหน้าที่หลังขวา จาก ๑.๐๐ น. ถึง ๖.๐๐ น. ๑

พื้นที่รับผิดชอบอาจมีการเปลี่ ยนแปลงขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ ในกรณี ที่ในรถติดตามมีเจ้าหน้าที่อยูเ่ พียง ๒ หรื อ ๓ คน พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบก็ ต้อ งเพิ่ ม มากขึ้ น แต่ ร องหั ว หน้ า ชุ ด ฯ ที่ อ ยู่ ใ นรถติ ด ตามต้อ งคอยตรวจการณ์ ดู สถานการณ์รอบข้าง และด้านหน้าของรถบุคคลสาคัญเสมอ สิ่ งทีเ่ จ้ าหน้ าทีค่ วรปฏิบัติขณะอยู่ในรถติดตาม ๑. สังเกตการณ์ และตื่นตัวเสมอ ๒. คอยเตือนพลขับต่ออันตรายต่างๆ ตามเส้นทาง ๓. ไม่สนทนากับพลขับและเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยคนอื่นถ้าไม่จาเป็ น

๙๔

๔. ไม่เปิ ดวิทยุติดรถยนต์ฟัง ๕. ขณะรถแล่นไม่ให้ล็อคประตู ๖. ให้หมุนกระจกรถขึ้นเสมอ ๗. ห้ามสู บบุหรี่ ขณะนัง่ ในรถติดตาม ๘. ให้พิจารณาการใช้เส้นทางฉุกเฉินและเส้นทางหลบหนีไว้ดว้ ยเสมอ เทคนิคในการขับรถในระบบรักษาความปลอดภัย < Motorcade Movement Techniques > รู ปขบวนแบบพื้นฐาน < The Basic Configuration > เป็ นรู ปขบวนที่มีรถบุคคลสาคัญ และรถติดตามใน ระยะใกล้ เยื้องไปทางช่องทางที่วา่ งเล็กน้อย รู ปแบบอาจแตกต่างออกไป ขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยต่างๆ เช่น ๑. ระดับภัยคุกคาม < The Threat Level > ๑.๑ ระดับสู ง < High Threat > รถติดตามจะเคลื่อนที่ตามรถของบุคคลสาคัญอย่างใกล้ชิด และคอย ป้ องกันเพื่อมิให้เกิดอันตรายต่างๆ ขึ้น ๑.๒ ระดับ กลาง < Medium Threat > รถติดตามจะลดระดับ การปฏิ บตั ิการเคลื่ อนที่ ตามรถบุ คคล สาคัญลง ๑.๓ ระดับต่า < Low Threat > ขบวนรถจะเคลื่ อนที่ ไปกับสภาพการจราจรทัว่ ไป และปฏิ บตั ิ ตาม สัญญาณจราจรที่มีอยู่ ๒. ความเร็ ว < Speed > รถติดตาม ควรทิ้งระยะระหว่างรถบุคคลสาคัญให้เพียงพอ แต่ไม่เป็ นอันตราย จนเกินไป ในกรณี ที่ใช้ความเร็ วสู ง รู ปขบวนแบบพืน้ ฐาน The Basic Configuration

๙๕

เทคนิคในการเคลื่อนทีบ่ นถนน < Road Movement Techniques > ในการเคลื่อนที่ของขบวนรถ ต้องมีการให้การรักษาความปลอดภัยเช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัย ในรู ป ขบวนเดิ ม คื อ ป้ องกัน พาหนี และเอาตัวเข้าขวางระหว่างบุ ค คลส าคัญ และฝ่ ายตรงข้าม เทคนิ ค ที่ จะ กล่าวถึงต่อไปนี้เป็ นการปฏิบตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับขบวนรถทั้งสิ้ น ซึ่ งแบ่งออกได้ดงั นี้ ๑. หลักเกี่ยวกับ “ห่ อพัสดุ” < Package Concept > เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องคิดเสมอว่า ขบวน รถทั้งหมดจะเป็ นเหมือนห่ อพัสดุ ที่อยู่รวมกัน ซึ่ งรถทุ กคันในขบวนจะต้องถู กกาหนดจานวนไว้ เรี ยบร้อยแล้ว พลขับรถทุกคนต้องรู ้จกั “พื้นที่ ปลอดภัย” ตามเส้นทางทุกเส้นทางที่ขบวนรถต้อง ผ่าน พร้อมทั้งสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ท้ งั ขบวน ๒. ความรับผิดชอบของพลขับ < Driver Responsibilities > ๒.๑ พลขับรถบุคคลสาคัญ ๒.๑.๑ เมื่อรถบุคคลสาคัญจะเลี้ยว ให้เคลื่อนรถเข้าไปด้านในของถนน เพื่อเปิ ดช่องทางให้รถ ติดตามเข้ามาช่วยขวางทางให้ ๒.๑.๒ พลขับรถบุคคลสาคัญต้องถือเสมือนว่ารถทั้ง ๒ คัน เป็ นรถคันเดียวกัน นัน่ คือ ต้องมีที่ พอสาหรับรถ ๒ คัน ในเวลาที่จะเข้าหรื อผ่านจุดใดๆ ที่น่าจะเป็ นอันตราย ๒.๑.๓ การขับรถบุคคลสาคัญควรขับอย่างนิ่มนวลหลีกเลี่ยงการหยุดกะทันหัน หรื อกระตุกรถ ๒.๒ พลขับรถติดตาม ๒.๒.๑ กาหนดจุดจอดรถ ที่สามารถป้ องกันให้กบั รถของบุ คคลสาคัญได้ ในขณะที่กาลังจะ ออกเดินทาง หรื อขณะที่จะถึงที่หมาย ๒.๒.๒ ใช้เทคนิ ค การขับ รถติ ด ตามคอยกัน รถต่ างๆ ที่ จะเข้าใกล้รถบุ ค คลส าคัญ เพื่ อเปิ ด โอกาสให้รถบุ คคลสาคัญสามารถเคลื่ อนที่ ได้ การเคลื่ อนที่ ของรถติดตามย่อมขึ้ นอยู่กบั การเคลื่ อนที่ ของรถ บุคคลสาคัญ ๒.๒.๓ ในกรณี ทีเกิ ดเหตุ การณ์ ฉุกเฉิ น รถติดตาม และรถบุ คคลสาคัญ จะต้องเคลื่ อนที่ ด้วย ความเร็ วที่สัมพันธ์กนั อย่างปลอดภัย ๓. กรณี ถนนมีสองช่องทาง < Two – Lane Road > ๓.๑ รถติดตามด้านหลังของบุคคลสาคัญให้เยื้องไปทางด้านขวา โดยให้มุมซ้ายด้านหน้ารถติดตาม อยูก่ ่ ึงกลางรถบุคคลสาคัญ ๓.๒ เมื่อใกล้จะผ่านทางแยก หรื อพื้นที่อนั ตราย รถบุคคลสาคัญจะเคลื่อนไปทางด้านตรงข้ามพื้นที่ อันตราย ๓.๓ รถติดตามจะเคลื่อนที่ข้ ึนไปอยูร่ ะหว่างจุดอันตราย กับรถของบุคคลสาคัญ เมื่อเลยพื้นที่น้ นั ไป แล้ว ก็จะกลับไปอยูใ่ นรู ปขบวนแบบเดิม ๔. กรณี ถนนมีหลายช่องทาง < Multi-lane Road >

๙๖

๔.๑ เมื่อรถบุคคลสาคัญอยูใ่ นช่องทางขวา รถติดตามควรคร่ อมช่องทางเยื้องไปทางซ้าย เพื่อกันรถ คันอื่นไม่ให้เข้าใกล้รถบุคคลสาคัญ ๔.๒ ให้ ระมัด ระวัง ในกรณี ที่ รถติ ดตามคร่ อมช่ อ งทางด้านซ้ ายมากเกิ น ไป ท าให้ รถขนาดเล็ ก สามารถผ่านเข้ามาระหว่างรถติดตามทางด้านขวาไปถึงรถบุคคลสาคัญได้ ๕. การปฏิบตั ิเมื่อขบวนรถหยุดท่ามกลางการจราจร < Stopped in Traffic > ๕.๑ รถบุคคลสาคัญ ควรจอดให้มีที่วา่ งด้านหน้าพอสมควร เพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ผา่ นไปได้ ๕.๒ รถบุ คคลสาคัญ ควรจอดไม่ให้คู่กบั รถทางด้านข้าง เพื่ อไม่ให้รถอื่ นสามารถมองเข้ามาเห็ น บุคคลสาคัญได้ ๕.๓ รถติดตาม จอดอยูด่ า้ นหลังรถบุคคลสาคัญ โดยเยื้องไปทางซ้าย เพื่อเป็ นการขวางไม่ให้รถที่อยู่ ช่องทางติดกันขึ้นมาเท่ากับรถบุคคลสาคัญ ๕.๔ จอดเว้นระยะระหว่างท้ายรถบุ ค คลส าคัญพอสมควร เพื่ อที่ จะสามารถเคลื่ อนที่ ได้ เมื่ อเกิ ด เหตุการณ์ฉุกเฉิ นขึ้น ๕.๕ รถติดตามควรให้ความสนใจเป็ นพิเศษเกี่ยวกับรถที่เข้ามาจอดขนานกับรถบุคคลสาคัญ ๖. การจราจรที่ป้อนเข้ามาในช่องทางเดินรถ < Merging Traffic > เมื่อขบวนรถเคลื่อนที่ผา่ นช่องทางเดินรถที่มีการจราจรป้ อนเข้ามา < On-Ramp > ซึ่ งอาจจะมีรถจาก ช่องทางเหล่านี้ เข้ามาแทรกขบวนได้ ในการปฏิบตั ิของรถติดตามจะต้องเบนออกทางด้านที่มีการป้ อนการจราจร เข้ามา เพื่อออกไปขวางทาง ในขณะที่กระทาดังกล่าวนี้ ต้องไม่ลดความเร็ ว แต่ตอ้ งรักษาความเร็ วให้สัมพันธ์กบั รถบุ คคลสาคัญตลอดเวลา ถ้าจาเป็ นรถติ ดตามอาจแจ้งให้รถบุ คคลส าคัญหลี กเข้าไปด้านใน เพื่อให้ห่างจาก การจราจรที่ป้อนเข้ามา ๗. การเปลี่ยนช่องทางเดินรถ < Lane Changes > เมื่ อรถบุ คคลส าคัญก าลังเคลื่ อนที่ อยู่และต้องการที่ จะเปลี่ ยนช่ องทาง ไม่ ว่าจะเป็ นทางซ้ายหรื อ ช่องทางขวา หัวหน้าชุ ดฯ จะเป็ นผูแ้ จ้งทางเครื่ องมือสื่ อสารไปยังรถติดตาม หรื ออาจจะใช้สัญญาณไฟเลี้ยวก็ได้ รองหัวหน้าชุ ดฯ จะเป็ นผูแ้ จ้งให้รถของบุคคลสาคัญเปลี่ ยนช่ องทางตามที่ตอ้ งการ โดยที่รถติดตามจะเปลี่ยน ช่ องทางก่อนเพื่อเข้าไปกันรถในช่ องทางดังกล่าว ในกรณี ที่จะทาการเปลี่ ยนช่ องทางจานวนหลายๆ ช่ องทาง การปฏิบตั ิจะเหมือนกัน แต่ตอ้ งเปลี่ยนทีละหนึ่งช่องทางเท่านั้น ๘. การเลี้ยวของขบวนรถ < Motorcade Turns Left And Right Hand > ในขณะที่ขบวนรถของบุคคลสาคัญจะเลี้ยวตามแยกต่างๆ ซึ่ งเป็ นจุดอันตราย รถติดตามรักษาความ ปลอดภัย จะต้องให้ความช่วยเหลือพลขับรถบุคคลสาคัญในการเลี้ยว โดยกันรถอื่นไม่ให้มาชนรถบุคคลสาคัญ ทางด้านที่พลขับรถบุคคลสาคัญมองเห็นไม่ถนัดว่ามีรถมาหรื อไม่ ส่ วนทางด้านที่เห็ นถนัดให้พลขับรถบุคคล สาคัญคอยระวังเอง ซึ่ งต้องมีความตื่นตัวคอยรับสถานการณ์ฉุกเฉิ นอยูต่ ลอดเวลา

๙๗

การเตรียมการป้ องกันการซุ่ มโจมตี ในการป้ องกันขบวนรถถูกซุ่มทาร้าย นับว่าเป็ นเรื่ องจาเป็ นอย่างยิง่ ที่พลขับรถติดตาม และพลขับรถของ บุคคลสาคัญจะต้องทราบว่าควรจะปฏิบตั ิอย่างไร ซึ่ งมีขอ้ พิจารณาดังนี้.๑. หลีกเลี่ยงการกระทาผิดกฎจราจร ๒. ใช้ความเร็ วที่เหมาะสม ๓. รักษาความลับ ในเรื่ องกาหนดการของบุคคลสาคัญ ๔. ระมัดระวัง พื้นที่อนั ตรายตามข้อมูลที่ชุดสารวจล่วงหน้าให้ไว้ ๕. ให้คอยตื่นตัวต่อสิ่ งผิดปกติตามเส้นทาง ๖. ใช้หลักการขับรถในการรักษาความปลอดภัยเสมอ ๗. ให้การอบรม และดูแลพลขับให้ตื่นตัวอยูเ่ สมอ ๘. รถติดตามจะต้องไม่ล็อคประตู ๙. ระวังยุทธวิธีหนั เหความสนใจในการซุ่มโจมตีของผูก้ ่อการร้าย ๑๐. ดารงการสื่ อสารกับกองอานวยการและชุดล่วงหน้าตลอดเวลา ๑๑. รายงานการผ่านจุดที่สาคัญให้กองอานวยการและชุดล่วงหน้าทราบตลอดระยะทาง ๑๒. เมื่อมีข่าวสารที่อาจจะเกิดอันตรายต่อบุคคลสาคัญให้พิจารณาเพิ่มมาตรการในการรักษาความ ปลอดภัยให้มากขึ้น ๑๓. พิจารณาให้มีการพรางตัวบุคคลสาคัญเมื่อมีข่าวสาร ๑๔. พิจารณาในการออกข่าวลวงเกี่ยวกับกิจกรรมของบุคคลสาคัญ ๑๕. แจ้งเวลาที่จะถึงที่หมายให้ชุดล่วงหน้าทราบ การปฏิบัติเมื่อมีการซุ่ มโจมตี ๑. ให้ใช้เทคนิคการขับรถ โดยอาจใช้การกลับรถ ๑๘๐ องศา เพื่อให้การกาบังแก่รถบุคคลสาคัญ ๒. ห้ามหยุดรถเด็ดขาดเมื่อมีส่ิ งกีดขวางข้างหน้า ให้ทาการขับรถชน < Ramming > เพื่อพาบุคคลสาคัญ ออกจากพื้นที่สังหารทันที ๓. ให้พาบุคคลสาคัญออกไปจากพื้นที่อนั ตรายทันที สิ่ งแรกที่ควรพิจารณา มิใช่เข้าต่อสู ้กบั ผูก้ ่อการร้าย เสี ยเอง นอกเสี ยจากไม่มีทางเลี่ยงจริ งๆ ซึ่ งเมื่อถึงเวลานั้น ควรปฏิบตั ิดงั นี้คือ ๓.๑ นารถปฏิบตั ิการติดตาม เข้าไปขวางระหว่างรถของบุคคลสาคัญกับคนร้าย ๓.๒ ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเข้าต่อสู ้กบั คนร้าย ๓.๓ เมื่อบุคคลสาคัญพ้นจากพื้นที่อนั ตรายแล้ว ให้รถติดตามผละออกไปจากพื้นที่ เพื่อเข้าขบวน ตามเดิม แต่ในกรณี ที่รถของบุคคลสาคัญใช้การไม่ได้ ให้ใช้รถติดตามพาบุคคลสาคัญออกไปจากพื้นที่สังหาร แทนการนารถเข้าไปขัดขวางผูก้ ่อการร้าย สิ่ งทีค่ วรปฏิบัติเมื่อรถของบุคคลสาคัญประสบอุบัติเหตุ

๙๘

๑. ในกรณี ที่เกิดอุบตั ิเหตุไม่ร้ายแรง และบุคคลสาคัญไม่ได้รับบาดเจ็บ รถของบุคคลสาคัญยังใช้การได้ ให้ขบวนรถเคลื่อนที่ต่อไปทันทีที่ทาได้ สิ่ งที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญควรปฏิบตั ิ ขณะนั้น คือ ๑.๑ หาข้อมูลว่าบุคคลสาคัญปลอดภัยหรื อไม่ ๑.๒ รายงานรายละเอียดให้ผบู ้ งั คับบัญชาทราบ ๑.๓ ให้ขบวนรถเคลื่อนต่อไปทันที ๑.๔ รายงานกาหนดเวลาใหม่ที่จะถึงที่หมายให้ชุดล่วงหน้าทราบ ๒. ในกรณี ที่บุคคลสาคัญไม่ได้รับบาดเจ็บ แต่รถของบุ คคลสาคัญอยู่ในสภาพใช้การไม่ได้ ให้ทิ้งรถ ของบุ ค คลส าคัญ พร้ อมพลขับ ไว้ ณ ที่ เกิ ด เหตุ ส่ วนบุ คคลส าคัญ ให้เปลี่ ยนไปนั่งรถส ารอง หรื อรถ ติดตามของเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย และบุ คคลอื่นๆ ในคณะให้น่งั รถสารอง หรื อรอแก้ปัญหา ต่อไป เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ ให้หวั หน้าชุ ดติดตามรี บแจ้งไปยังกองอานวยการรักษาความปลอดภัยว่า บุคคล สาคัญไม่ได้รับบาดเจ็บหรื ออันตราย และให้รีบเดินทางต่อไปทันที เพราะการอยูใ่ นที่เกิดเหตุนานๆ จะ เป็ นการหันเหความสนใจที่คนร้ายอาจสร้างกับดักไว้ได้ ๓. ในกรณี ที่บุคคลสาคัญได้รับบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุ ให้พิจารณาการปฏิบตั ิดงั นี้ ๓.๑ การขยับตัวของบุคคลสาคัญจะเป็ นอันตรายหรื อไม่ ๓.๒ ใช้รถของบุคคลสาคัญเอง หรื อใช้รถของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยพาบุคคลสาคัญไปยัง โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด ๓.๓ รายงานรายละเอี ย ดให้ ก องอ านวยการฯ ทราบ เพื่ อ ให้ รี บ ด าเนิ น การแจ้ง การบาดเจ็บ ให้ โรงพยาบาลเตรี ยมการรักษาพยาบาล ๓.๔ ระหว่างรอรถพยาบาลให้นาบุคคลสาคัญไปยังที่ปลอดภัย ๓.๕ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุ คคลสาคัญ ควรให้การปฐมพยาบาลต่อบุ คคลสาคัญ และอยู่ ใกล้ชิดตลอดเวลา ๓.๖ เมื่อรถพยาบาลมาถึ ง ให้นาบุคคลสาคัญขึ้นรถ และติดตามโดยใกล้ชิด พร้อมทั้งระมัดระวังว่า เป็ นรถพยาบาลจริ งหรื อเป็ นรถที่คนร้ายแอบอ้าง ๓.๗ เมื่อถึงโรงพยาบาล ให้ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลตามที่ส่วนอานวยการฯ จัดเตรี ยมไว้ และอยูก่ บั บุคคลสาคัญ พร้อมทั้งรายงานกองอานวยการฯ ทราบทุกขั้นตอน การปฏิบัติเมื่อบุคคลสาคัญอาจเปลีย่ นเส้ นทางเดินทาง ในบางโอกาสบุคคลสาคัญอาจเปลี่ ยนแผนเดิ นทางได้หรื อต้องเปลี่ ยนเส้นทาง เพราะมีอุปสรรคบาง ประการบนเส้ นทางที่ กาหนดในแผนที่ ไม่ ว่าจะเป็ นด้วยเหตุ ป ระการใดก็ตาม เมื่ อมี ความจาเป็ นต้องเปลี่ ยน เส้นทางให้ปฏิบตั ิดงั นี้ ๑. รายงานให้กองอานวยการทราบเกี่ยวกับการเปลี่ยนเส้นทางทันที ๒. ถ้ามีการเปลี่ยนเวลาการถึงที่หมาย ให้รายงานกองอานวยการ ฯ ทันที ๓. จะต้องแจ้งให้รถทุกคันในขบวนทราบกรณี การเลือกเส้นทางใหม่

๙๙

๔. ถ้าจะต้องหยุด ฌ ที่แห่ งใดที่ไม่มีนกาหนดการ ระหว่างการใช้เส้นทางใหม่น้ ี ให้พยายามติดต่อ กัน กองอานวยการ ฯ ขอให้จดั ชุดล่วงหน้าไปสารวจสถานที่ และจัดเจ้าหน้าที่ตารวจไปประจาก่อนที่คณะ จะไปถึง การเปลี่ยนเส้ นทางโดยที่มิได้คาดหมายนี้ บางครั้งเป็ นผลดีในการรักษาความปลอดภัยแต่มีผลเสี ย ในต้านการ สารวจเส้นทาง หรื อสถานที่ ซึ่ งอาจไม่มีการสารวจหรื อทาได้ไม่ทนั การชั กล้อม < Running The Fenders > เป็ นมาตรการหนึ่ งในการปฏิ บตั ิการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญในขณะที่ ขบวนรถของบุ คคล สาคัญ เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วต่า อย่างช้า ๆ ในหมู่ฝงู ชนที่ค่อนข้างมากหรื อหนาแน่น การปฏิบตั ิกระทาได้ ดังนี้ ๑. หัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัย จะเป็ นผูส้ ง่ั การให้ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการชักล้อม ๒. รองหัวหน้าชุดในรถติดตาม สั่งการให้เจ้าหน้าที่หลังซ้าย และหลังขวาลงจากรถ และวิง่ ไปที่ ประตู ด้านหลังทั้งสองข้างของรถบุคคลสาคัญ เพื่อเดินตรวจการณ์และให้การคุม้ กันต่อบุคคลสาคัญ โดย ใช้หลังมือที่ อยูใ่ กล้ตวั รถ แตะตัวถังของรถไว้ เพื่อกะระยะระหว่างตัวของเจ้าหน้าที่ และตัวถังของรถยนต์ ๓. ในกรณี ที่มีฝูงชนหนาแน่นมาก และอยูใ่ กลับริ เวณตัวรถของบุคคลสาคัญ จะต้องเพิ่มอีก ๒ คน คือ รองหัวหน้าชุ ด ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เหลือ โดยรองหัวหน้าชุด ฯ จะเข้าไปแทนเจ้าหน้าที่ในตาแหน่งประตูตา้ นซ้าย ส่ วนเจ้าหน้า ที่ ในตาแหน่ งนั้น ก็ จะเลื่ อนขึ้ น ไปอยู่บ ริ เวณด้า นซ้ ายล้อหน้า ของรถยนต์ท างด้านขวา ปฏิ บ ัติ เช่นเดียวกัน ๔. เมื่อเห็นว่าปลอดภัยแล้ว รองหัวหน้าชุดจะ!ปี นผูส้ ั่งกลับขึ้นรถติดตามโดยทาการขึ้นรถพร้อมๆ กัน ๕. ในการถอนตัวขึ้นรถของเจ้าหน้าที่ ไม่ตอ้ งวิ่งกลับมาที่รถแต่ชะลอความเร็ วในการเดิ น เพื่อให้ รถ ติดตามขึ้นมารับ ๖. เมื่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ขึ้นรถเรี ยบร้อย ขบวนรถก็จะเพิ่มความเร็ วเพื่อผ่านพื้นที่น้ นั การ เคลื่ อนย้ ายบุ คคลสาคัญจากขบวนรถโดยไม่ มีภัยคุ กคาม < Evacuation Procedures for a Limousine not under Duress > ในขบวนรถ < Motorcade > กรณี ที่รถของบุคคลสาคัญไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ เนื่องจากการ ขัดข้อง ของระบบเครื่ อ งยนต์ เจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัย มี วิธี ก ารที่ จ ะน าบุ ค คลส าคัญ ลงจากรถคัน ที่ ขัด ข้อ ง เคลื่อนย้ายไปยังรถสารอง หรื อรถติดตาม ได้อย่างปลอดภัย ดังนี้คือ ๑. พลขับจะแจ้งให้กบั หัวหน้าชุด ฯ ทราบ ๒. หัวหน้าชุ ด ฯ แจ้งให้กบั รองหัวหน้าชุ ด ฯ ในรถติดตามทราบและแจ้งให้มีการเคลื่ อนย้ายบุคคล สาคัญไปยังรถสารอง < Spare Limousine > ๓. รถทั้งสองคันเคลื่ อนที่ ไปยังชุ ดที่ ป ลอดภัยแล้ว จอดสู่ กนั โดยรถส ารองอยู่ทางด้านซ้าย รถบุ คคล สาคัญอยูท่ างด้านขวาโดยมีรถติดตามเคลื่อนที่ตามไปด้านหลังรถบุคคลสาคัญ ๔. เจ้าหน้าที่ในรถติดตาม ลงจากรถอยูร่ อบบริ เวณรถทั้งสองคัน ๕. หัวหน้าชุดฯ ลงจากรถ เพื่อนาบุคคลสาคัญทาการเคลื่อนย้ายไปยังรถสารอง โดยใช้ประดูรถทั้ง สอง เป็ นที่กาบัง

๑๐๐

๖. เมื่ อบุ ค คลส าคัญ เข้านั่งที่ เรี ยบร้ อยแล้ว หัวหน้าชุ ด ฯ เข้าไปนั่งในตาแหน่ งเติ ม ในขณะเดี ยวกัน เจ้าหน้าที่ชุดติดตามกลับเข้าในรถติดตามและเคลื่อนที่เข้ารู ปขบวนต่อไป ๗. สาหรับรถของบุคฅลสาคัญที่เสี ย จะต้องมี พลขับ และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเหลืออยู่ ๘. ในกรณี ที่รถสารองไม่มีในขบวน สามารถใช้รถเหล่านี้สาหรับบุคคลสาคัญได้ ๘.๑ รถติดตาม < Follow Car > ๘.๒ รถนาขบวน < Lead Car> ๘.๓ รถอื่น ๆ ที่สามารถหาได้ การเคลื่ อนย้ ายบุ คคลสาคัญจากขบวนรถเมื่ อถู กโจมตี < Evacuation Procedures for a Limousine While under Duress > ในกรณี ที่ขบวนรถถูกโจมตี ทาให้รถของบุคคลสาคัญไม่สามารถที่จะเคลื่ อนที่ไปได้ หัวหน้าชุด ฯ จะ เป็ นผูส้ ่ังการให้ทาการเคลื่อนย้ายบุคคลสาคัญออกจากรถไปยังรถของเจ้าหน้าที่ติดตาม การปฏิบตั ิ จะกระทา ดังนี้ ๑. เมื่อถูกโจมตี และมีรถที่จอดขวางอยูข่ า้ งหน้า รถบุคคลสาคัญไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ หัวหน้าชุดฯ จะ สั่งการให้รถติดตามเข้าดันรถของบุคคลสาคัญไปทางด้านซ้ายหรื อขวา ชนสิ่ งกี ดขวาง < Ramming > เพื่อเปิ ด เส้นทางข้างหน้า ๒. พลขับรถบุฅคลสาคัญถอนเท้าออกจากเบรค ปล่อยให้รถติดตามคันรถ ไปในทิศทาพี่หัวหน้าชุ ด ฯ กาหนด เพื่อให้หพ้นจากพื้นที่อนั ตราย ๓. หลังจากที่ออกมาพ้นพื้นที่อนั ตรายแล้ว หัวหน้าชุดฯจะสัง่ ให้รถทั้งสองคัน แยกออกจากกัน โดย พล ขันรถของบุคคลสาคัญปล่อยให้รถไหลไปข้างหน้า ๓. พลขับรถติดตามนารถขึ้นไปเทียบกับรถของบุคคลสาคัญ ในด้านตรงข้ามกับด้านที่มีการ โจมตี รถ บุคคลสาคัญจะอยู่ระหว่างรถติดตามกับผูก้ ่ อการร้ าย เมื่อรถทั้งสองสามารถเข้าเที ยบกันได้แล้ว ก็จะหยุดการ เคลื่อนที่ ๔. รองหัวหน้าชุ ด ฯ และเจ้าหน้าที่หลังซ้าย พร้อมอาวุธลงจากรณข้ายิงต่อสู ้กบั ผูก้ ่อการร้าย เพื่อคุม้ กัน การเคลื่อนย้ายบุคคลสาคัญส่ วนพลขับและเจ้าหน้าที่หลังขวาคอยระวังป้ องกันทางด้านตรงข้าม ๖. หัวหน้าชุดฯ จะพาบุคคลสาคัญออกจากรก โดยปี นข้ามเบาะหน้ามายังเบาะหลัง และพาบุคคลสาคัญ ออกจากรถ ไปขึ้นรถติดตามทันที ๗. รองหัวหน้าชุ ด ฯ ถอนตัวขึ้นรถติดตาม และสั่งให้พลขับเคลื่ อนที่ออกจากพื้นที่น้ นั โดยเร็ ว และพา ไปยังพื้นที่ปลอดภัย < Safe House > ๘. เจ้าหน้าที่หลังซ้าย และพลขับรถบุคคลสาคัญ ยังอยูท่ ี่รถพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในขบวนรถทั้งหมด การปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยขณะขบวนรณข้าที่หมาย < Arrivals > ในขณะที่ ขบวนรถของบุ คคลสาคัญกาลังจะเข้าที่ หมายนั้นเจ้าหน้าที่ รัก ษาความปลอดภัยที่ อยู่ ณ ที่ หมาย คือเจ้าหน้าที่ชุดล่วงหน้า และชุ ดประจาสถานที่ แต่ผูท้ ี่จะรอรับบุคคลสาคัญ เมื่อขบวนรถถึง ที่หมาย คือ

๑๐๑

ชุดล่วงหน้าจะมีการประสานการติดต่อกันตลอดเวลาในขณะเดินทาง เมื่อใกล้จะถึงที่หมาย ชุ ดติดตามจะทราบ ถึงขั้นตอนการปฏิบตั ิต่าง ๆ ของบุคคลสาคัญ ณ ที่หมายขั้นตอนการปฏิบตั ิ เมื่อเข้า ถึงที่หมายมีดงั นี้ ๑. หัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัยล่วงหน้า จะรายงานสถานการณ์ต่าง ๆ ของที่หมาย ให้ชุดรักษา ความ ปลอดภัยส่ วนติดตามทราบ เรื่ องที่รายงานได้แก่ กาหนดการที่บุคคลสาคัญต้องปฏิบตั ิ ผูท้ ี่มาให้การ ต้อนรับ มี การมอบสิ่ งของอะไรบ้าง จานวนเท่ าใด และมี ล ัก ษณะพิ เศษอะไรบ้าง จานวนประชาชนที่ ให้ การต้อนรั บ สื่ อมวลชนมีการขอสัมภาษณ์ หรื อไม่ ถ้ามีเกี่ ยวกับเรื่ องอะไร และข่าวสารอื่น ๆ ที่จาเป็ น ต่อการปฏิ บตั ิของชุ ด ติดตาม และชุดท้าย คือการรายงานถึงความพร้อมของที่หมาย ๒. เมื่อหัวหน้าชุ ดติดตามรับทราบสถานการณ์ จากชุ ดล่วงหน้าแล้วให้สั่งการจัดรู ปขบวน การวางตัว ขณะเดินเท้า และให้นายทหารติดต่อหรื อคนสนิทแนะนาให้บุคคลสาคัญทราบ ในเรื่ องการรักษาความ ปลอดภัย ๓. ชุดรักษาความปลอดภัยล่วงหน้า วางกาลังให้ครอบคลุมพื้นที่ล่อแหลมต่ออันตราย พลขับมองหาเจ้าหน้าที่ชุดล่วงหน้า โดยปกติมกั จะเป็ นหัวหน้าชุ ดล่วงหน้า ซึ่ งจะออกมายืนกาหนด ชุ ดจอดรถ บริ เวณที่หมาย ๕. เมื่ อเห็ นรถบุ คคลส าคัญ หัว หน้าชุ ดล่ วงหน้าจะให้สั ญ ญาณจอดโดยยื่น แขนออกมา เพื่ อให้จอด ตรงที่กาหนด คือบริ เวณประดูที่บุคคลสาคัญนัง่ อยูจ่ ะต้องตรงกับมือของหัวหน้าชุดล่วงหน้า ๖. พลขับ ของรถบุ ค คลส าคัญ และรถติ ด ตาม ชลอความเร็ ว ของรถ เพื่ อ ให้ เจ้าหน้ าที่ รั ก ษาความ ปลอดภัยลงจากรถได้โดยไม่เป็ นอันตรายและใช้มือข้างที่อยูใ่ กล้รถแตะตัวถังแล้ววิง่ ตามรถและ สังเกตการณ์ ทางต้านที่ตนรับผิดชอบ ๗. เจ้าหน้าที่ชุดติดตามจะเข้าประจาชุดที่รถบุคคลสาคัญ ดังนี้ ๗.๑ รองหัวหน้าชุด ฯ อยูบ่ ริ เวณประ-ตูหน้าด้านซ้ายของรถบุคคลสาคัญ หันหน้าออกนอกรถ ๗.๒ เจ้าหน้าที่หลังซ้าย อยูบ่ ริ เวณล้อหลังซ้ายหันหน้าออกจากรถ ๗.๓ เจ้าหน้าที่หลังขวา อยูบ่ ริ เวณประดูหลังทางขวาของรถ และหันหน้าออกจากรถเช่นกัน ๘. พลขับรถติดตามจะจอดรถใกล้กบั รถของบุคคลสาคัญ แต่จะไม่จอดอยูใ่ นขบวนรถ เพื่อที่จะสามารถ เคลื่อนที่ออกได้ตลอดเวลา ๙. เมื่อหัวหน้าชุ ดล่วงหน้า เห็นว่าพื้นที่บริ เวณนั้นปลอดภัยแล้ว ก็จะให้สัญญาณบอก หัวหน้าชุ ดติดตาม ด้วยการเคาะกระจกหน้าต่าง หรื ออาจจะยกนิ้ วหัวแม่มือ หรื อแจ้งทางวิทยุ เมื่อหัวหน้าชุดติดตามออกมาจากรถ หัวหน้าชุดล่วงหน้าจะเคลื่อนตัวไปข้างหน้าเพื่อพร้อมที่จะนาบุคคลสาคัญเข้าไปยังที่หมาย ๑๐. เมื่อบุคคลสาคัญลงจากรถแล้ว เจ้าหน้าที่ชุดติดตามทั้งหมดเข้ามาเดินอยูใ่ นรู ปขบวน นาบุคคลสาคัญเข้าที่หมายต่อไป การที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ จะตามเข้าไปในอาคาร หรื อ งานพิธีดว้ ยหรื อไม่ หรื อจานวนเท่าใดนั้น ขึ้นอยูก่ บั ประเภทของสถานที่ งานพิธี ความต้องการของบุคคลสาคัญ และการประมาณสถานการณ์ ๑๑. ประตูรถของบุคคลสาคัญจะยังคงเปิ ดอยู่ ล้าเกิ ดเหตุการณ์ข้ ึนชุ ดติดตามจะพาบุคคลสาคัญกลับมา ขึ้นรถ และออกจากพื้นที่น้ นั ทันที การปฏิบัตกิ ารรักษาความปลอดภัยขณะขบวนรถออกจากทีห่ มาย < Departures >

๑๐๒

การปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย ในขณะที่บุคคลสาคัญจะออกจาก ที่หมายเพื่อมาขึ้นรถนั้น จะต้อง เข้ม งวดเป็ นพิ เศษ เพราะเป็ นช่ วงที่ ล่อแหลมต่ออันตรายมากที่ สุด การปฏิ บตั ิ จะคล้ายกันกับการรั กษาความ ปลอดภัย ขณะที่เข้าที่หมาย คือ ๑. หัวหน้าชุ ดติดตาม จะแจ้งให้ขบวนรถทราบว่าจะเริ่ มมีการเคลื่อนขบวน หัวหน้าชุดประจาสถานที่ < Site Agent > จะรออยูท่ ี่ขบวนรถ เมื่อรู ปขบวนของบุคคลสาคัญใกล้จะถึงรถยนต์ หัวหน้าชุดประจาสถานที่ จะ เป็ นผูเ้ ปิ ดประตูให้บุคคลสาคัญ ๒. หั ว หน้ า ชุ ด ประจ าสถานที่ ให้ สั ญ ญาณฝึ กชุ ด ติ ด ตาม ขึ้ น รถติ ด ตามรั ก ษาความปลอดภัย ใน ขณะเดียวกันชุดรักษาความปลอดภัยประจาสถานที่ เข้าชักล้อมรถยนต์ของบุคคลสาคัญ หัวหน้าชุ ดให้ สัญญาณ พลขับนารถออกทันที ๓. ชุดรักษาความปลอดภัยประจาสถานที่ วิ่งชักล้อมรถของบุคคลสาคัญไประยะหนึ่ งจนกว่าจะทัน ฝูง ชนที่หนาแน่น ๕. ในกรณี ที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ชุดประจาสถานที่ วางกาลังรอบรถบุคคลสาคัญ เจ้าหน้าที่ชุดติดตามจะ เข้า ประจาชุดเดิม รอบรถของบุคคลสาคัญ ๕.หัวหน้าชุ ดติดตาม จะเป็ นผูเ้ ปิ ดประตูรถให้กบั บุคคลสาคัญ เมื่อหัวหน้าชุ ดขึ้นรถเรี ยบร้ อยแล้ว ก็จะ ทาการล็อคประตูรถทั้งหมด เมื่ อ รถบุ ค คลส าคัญ เริ่ ม เคลื่ อ นที่ เจ้า หน้ า ที่ ชุ ด ติ ด ตามก็ เคลื่ อ นที่ ต ามรถบุ ค คลส าคัญ โดยปฏิ บ ัติ เช่ นเดี ยวกับการชักล้อม < Running the Fenders > เมื่อผ่านพ้นฝูงชนที่หนาแน่ น จะถอนตัวกลับขึ้นรถ ติดตาม เพื่อเข้าขบวนต่อไป

๑๐๓

การค้ นหาและการตรวจสอบ < Searching Operations > การค้นหาและการตรวจสอบเป็ นมาตรการส่ วนหนึ่งของการระวังป้ องกันและการรักษาความ ปลอดภัย ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่ตอ้ งปฏิ บตั ิเป็ นอันดับแรกก่อนการปฏิบตั ิในส่ วนอื่นๆ การจัดลาดับขั้นตอน ในการค้นหา และตรวจสอบจะต้องจัดให้มี ข้ ึนเพื่อให้การปฏิ บตั ิเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และเพื่อให้แน่ ใจ ว่าได้ทาการ ตรวจสอบทุ กพื้นที่ โดยไม่ได้ละทิ้งพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ ง การตรวจค้นอย่างไม่มีระเบียบแบบแผน อาจทาให้เกิ ด ความสับสนว่าพื้นที่น้ นั ๆ ได้ทาการตรวจสอบแล้วหรื อยัง นอกจากนั้นพื้นที่ใหญ่ ๆ บางส่ วน อาจไม่ได้รับการ ตรวจสอบ หรื อบางพื้นที่ ตรวจสอบซ้ ากันหลายครั้ง ซึ่ งเป็ นการเสี ยเวลา การตรวจสอบ จะต้องปฏิ บตั ิก่อนที่ บุคคลสาคัญจะไปถึงพื้นที่น้ นั ๆ การจัดชุ ดตรวจค้น ชุ ด ตรวจค้น พื้ น ที่ ที่ เหมาะสม เป็ นสิ่ งที่ ส าคัญ มากของการปฏิ บ ัติก ารตรวจค้น จานวน เจ้าหน้าที่ข้ ึนอยูก่ บั ความสาคัญของบุคคลขนาดสถานที่ซ่ ึงประกอบด้วย หัวหน้าชุด เป็ นผูท้ ี่รับผิดชอบในการตรวจค้น ซึ่ งโดยปกติแล้ว ไม่ตอ้ งทาหน้าที่ในการตรวจค้นเอง แต่ แบ่งมอบพื้นที่ตรวจ และรับผิดชอบกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ชุดตรวจได้อย่างใกล้ชิด เจ้าหน้าที่ประจาชุด เจ้าหน้าที่แต่ละนาย ให้ปฏิ บตั ิการตรวจในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย และจะต้อง ไม่ เปลี่ยนพื้นที่ นอกจากจะได้รับคาสั่งโดยตรงจาก หัวหน้าชุด ความมุ่งหมายเพื่อ ๑. ให้ เจ้าหน้าที่ ทุ ก นาย ท าการตรวจโดยรอบห้อ งและหลี ก เลี่ ย งการตรวจซ้ า ซ้ อ นกับ คนอื่ น หรื อ หลงเหลือพื้นที่ที่ยงั ไม่ได้ทาการตรวจสอน ๒. ท าให้ภายในห้องมี เจ้าหน้าที่ ไม่ม ากเกิ นความจาเป็ น และไม่เป็ นการยุ่งยากในการควบคุ ม และ สังเกตการณ์ของหัวหน้าชุด การพัฒนาปรับปรุ งการปฏิบตั ิในเรื่ องเทคนิฅการตรวจให้มีประสิ ทธิ ภาพทั้งเป็ นชุด และเป็ นรายบุคคล นั้นขึ้นอยูก่ บั การควบคุม และการฝึ กฝนตลอดเวลา ไม่ เพี ยงแต่ ชี วิต ของบุ ค คลส าคั ญ เท่ านั้ น ที่ ฝากไว้ กับ เจ้ าหน้ าที่ชุ ด ตรวจ แต่ ยั งรวมถึ งทุ ก ชี วิต ที่อ ยู่ โดยรอบบุคคลสาคัญ รวมทั้งเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดภัยต่ างๆ อีกด้ วย กฎทัว่ ไปของการปฏิบัติการตรวจสอบ ๑. สารวจหาข้อมู ลล่ วงหน้าเท่าที่จะทาได้ว่า บุ คคลสาคัญจะเข้าไปในสถานที่ ใดแน่ นอน โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในบริ เวณที่สาธารณะ ๒. ถ้าเป็ นไปได้ พยายามสารวจหาสถานที่รับรองสารอง เพื่อสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ถา้ สถานที่ รับรองจริ งไม่เหมาะสมหรื อมีอนั ตราย ๓. ชี้ แจงผูแ้ ทนของหน่ วยงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื อหมู่คณะที่ได้จดั เตรี ยมห้องรับรอง ไว้ให้กบั บุคคลสาคัญ ให้นาสิ่ งของที่ไม่จาเป็ นทุกอย่างออกจากห้องรับรองไปไว้ที่อื่น เช่น

๑๐๔

๓.๑ จะต้องไม่มีสิ่งของใด ๆ ในโต๊ะ และตูท้ ี่มีลิ้นชัก แทะลิ้นชักต้องเปิ ดทิ้งไว้ ลิ้นชักเก็บเอกสาร และสิ่ งที่ไม่จาเป็ นอื่นๆ ควรนาออกนอกห้อง ๓.๒ จะต้องให้เปิ ดไฟทุกดวง เครื่ องปรับอากาศทุกตัว และเครื่ องใช้ไ ฟฟ้ าอื่นๆ ไว้และสิ่ งที่มีฝา ปิ ด ให้เปิ ดออกไว้ ๓.๓ ที่นอนควรจะถอดผ้าปู ที่นอนออก และเฟอร์ นิเจอร์ ก็ควรถอดปลอกออกด้วย พร้ อมทั้งให้ เลื่อนเฟอร์ นิเจอร์ เหล่านี้ให้ห่างจากกาแพง ๓.๔ รายการต่อไปนี้เช่น หนังสื อ หีบ รู ปปั้ นแกะสลัก ฯลฯ ควรจะนาออกนอกห้อง ๓.๕ จะต้องทาให้ง่าย และรวดเร็ วในการเคลื่อนย้ายสิ่ งของออกนอกห้องทั้งหมด และเพิ่มเติมสิ่ งที่ ต้องการหลังจากตรวจความปลอดภัยแล้ว ๔. ในพื้นที่หนึ่ งๆ จะต้องได้รับการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเสมอ อาจจะทาดเวยสายตา หรื อ ใช้เครื่ องมือเทคนิคก็ได้ เทคนิ ค ในการตรวจค้ น การตรวจค้น และการตรวจสอบการรั ก ษาความปลอดภัย เกี่ ย วกับ สถานที่ อย่ า ใช้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภั ยชุ ดอื่ น ๆ เพราะการตรวจค้ นจาเป็ นอย่ างยิ่ งที่จะต้ องใช้ เจ้ าหน้ าที่ทางเทคนิ ค โดยเฉพาะ ซึ่ งจะต้องเป็ นผูม้ ีความเชี่ ยวชาญทางด้านเทคนิ คเป็ นพิเศษ นอกเหนื อไปจากเจ้าหน้าที่รักษา ความ ปลอดภัยอื่นๆการตรวจค้นแบ่งออกเป็ นประเภทได้๒ประเภทใหญ่ๆ คือ ๑. การตรวจความปลอดภัยสถานที่ในด้านการรักษาความปลอดภัย ในการปฏิ บ ตั ิ งานจะต้องแน่ ใจว่า ไม่มีส่ิ งใดที่ จะเป็ นอันตรายต่อบุ คคลสาคัญ ทั้งที่ กระท าโดยตั้งใจ หรื อไม่ก็ตาม เช่น การพบวัตลุระเบิดหรื อแม้แต่สปริ งของเก้าอี้ชารุ ด ซึ่ งต้องทาเครื่ องหมาย และเคลื่อนย้ายออก ทันที การตรวจสามารถแบ่งขั้นตอนการปฏิบตั ิใต้ดงั นี้ ๑.๑ ก่ อนเข้าห้องที่ จะทาการตรวจค้น หัวหน้าชุ ดจะต้องแบ่ งห้องออกเป็ นส่ วนๆ และมอบหมาย ความรับผิดชอบให้กบั เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงาน ๑.๒ การปฏิบตั ิที่ดีตอ้ งเริ่ มตั้งแต่ประตูและเดนสารวจรอบๆ ห้อง ๑.๓ ให้แบ่งแต่ละส่ วนนั้นออกเป็ นส่ วนย่อยๆ อี กครั้งหนึ่ งเช่ นส่ วนที่ เหนื อกว่าหรื อต่ ากว่าระดับ ไหล่ เพดาน ฝาผนัง และพื้นห้องอาจจะแบ่งเป็ น ๒,๓ หรื อ ๔ ส่ วน ก็ได้ตามความจาเป็ น การทาวิธีน้ ี เพื่อจะให้ เจ้าหน้าที่แต่ละคน ใต้ตรวจพื้นที่ให้เป็ นไปตามลาดับขั้นตอน และหัวหน้าชุดสังเกตได้ง่าย ๑.๔ เมื่อได้ทาการตรวจสอบความปลอดภัยแล้ว เฟอร์นิเจอร์ควรจะพิงไว้กบั ข้างฝา หรื อตั้งกลับหัว เพื่อแสตงให้เห็นว่าได้ทาการตรวจสอบแล้ว ๑.๕ ตรวจสอบที่ เท้าแขนใต้ที่ กนั ฝุ่ นที่ นั่งพนัก พิ งของเฟอร์ นิเจอร์ ทุ ก ชิ้ น การตรวจนี้ ไม่เพี ยงแต่ ตรวจ วัตถุระเบิดหรื อเครื่ องดักฟังทางเสี ยงและต้องตรวจสิ่ งที่เป็ นเข็มแทงทะลุเครื่ องเรื อนหรื อสปริ งที่เสี ยด้วย ๑.๖ สิ่ งของทุกอย่างภายในห้อง ต้องนาการเคลื่ อนย้ายในระหว่างการปฏิ บตั ิ การตรวจค้น เพื่อให้ แน่ใจว่า ไม่มีสายไฟที่นอกเหนือจากความจาเป็ นซึ่ งอาจต่อระหว่างเฟอร์นิเจอร์ กบั พื้นห้อง ๑.๗ อย่าเคลื่อนสารสิ่ งของใด ๆ จนกว่าจะได้ทาการตรวจสอบโดยรอบ เพื่อทาเครื่ องหมายสิ่ งของ ที่น่าจะมีปัญหาเสี ยก่อน

๑๐๕

๑.๘ ตรวจค้นสิ่ งที่น่าจะมีปัญหา เช่น ๑.๘.๑ ตะเข็บผ้าคลุมเฟอร์นิเจอร์ลวดสปริ ง เตียงนอนหรื อที่นอนมีรอยชารุ ด ๑.๘.๒ มีรอยซ่อม หรื อทาสี ใหม่ที่บริ เวณเวณฝาผนังหรื อพื้นห้อง ๑.๘.๓ มีเครื่ องหมายแสดงว่า ได้รับการซ่อมแซม หรื อมีสิ่งของทดแทนของเดิม ๑.๘.๔ พื้นที่มีหลุม หรื อพรมถูกเคลื่อนย้ายใหม่ ๑.๘.๕ เฟอร์นิเจอร์ เปี ยกชื้น หรื อมีรอยต่าง หรื อมีกลิ่นเหม็น ๑.๙ อย่าตรวจข้ามพื้นที่ใด ๆ ให้ตรวจสอบทุกอย่างที่พบเห็น ๑.๑๐ ไฟทุกดวงเครื่ องปรับอากาศ โทรศัพท์ฯลฯ ควรจะต้องได้ผ่านการตรวจอย่างถี่ ถว้ น และจะต้อง แน่ใจว่าเมื่อทาการเปิ ดปิ ดสวิทซ์ไฟฟ้าแต้วจะไม่มีอนั ตรายใด ๆ เกิดขึ้น ๑.๑๑ ตะปูควงตามรอยต่อของขอบประดู หน้าต่างชารุ ดหรื อไม่ทาการตรวจและซ่อมทันทีเมื่อชารุ ด ๑.๑๒ รอยต่อตามผนังห้องว่าง ตรวจสอบวิธีการเปิ ดไฟ หรื อใช้ตะเกี ยงเพื่อทดสอบตามมุมห้องว่ามี แสงไฟลอดหรื อไม่ ถ้ามีแสดงว่ามีการชารุ ด ซึ่ งการตรวจด้วย วิธีน้ ีจะดีกว่าการตรวจด้วยตาเปล่า ๑.๑๓ ถอดแผงไฟต่าง ๆ ออกเพื่อตรวจเช็คด้านหลัง ๑.๑๔ ตรวจสอบผ้าขนสัตว์ในโซฟาทั้งหมดโดยใช้มือกดตามส่ วนต่าง ๑.๑๕ ตรวจสอบเครื่ องตกแต่งผ้าม่านโดยใช้ปลายนิ้วกดเบา ๆ และดึงออกจากผนังแต้วตรวจด้านหลัง ๑.๑๖ เปิ ดลิ้นชัก และประตูท้ งั หมดบางกรณี อาจต้องเปิ ดลิ้นชักด้วยเชือก เมื่อมี สิ่ งบอกเหตุที่น่าสงสัย ๑.๑๗ ตรวจสอบ รู ปถ่าย และกรอบรู ป เพื่อหาช่องหรื อรู ต่าง ๆ ๑.๑๘ เพื่อความสะดวกสบาย อาจใช้เครื่ องตรวจค้นโลหะสาหรับเฟอร์ นิเจอร์ และฝาผนังทั้งหมด ๑.๑๙ ช่องระบายอากาศ ทางเดินฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องตรวจจุดที่บุคคลสาคัญผ่าน เพื่อไปเปิ ด ประตูหอ้ ง ๑.๒๐ พรมที่ ช ารุ ดที่ ทิ้ ง แล้วหรื อ สิ่ งใด ๆ ที่ อ ยู่ในห้ อ งที่ ส ามารถเป็ นเหตุ ท าให้ บุ ค คลส าคัญ ได้รับ บาดเจ็บ ได้ ควรจะนาไปไว้ที่อื่นหรื อต้องตรวจความปลอดภัยเป็ นอย่างดี ๑.๒๑ ก่อนที่จะเข้าทาการตรวจในพื้นที่หรื อห้องใด ๆ จะต้องยึดถื อหลักความปลอดภัย และพยายาม ตรวจค้นว่ามีอะไร ที่พอจะป้ องกันอันตรายที่อาจจะถึ งแก่ชีวิตได้เมื่อพบให้นาไปไว้ในที่ปลอดภัยสู งสุ ด ของ พื้นที่น้ นั การปฏิบัติเมื่อตรวจพบ เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ตรวจพบสิ่ งที่น่าสงสัยให้หัวหน้าชุ ดสั่งเจ้าหน้าที่คนอื่นหยุดการตรวจ ในขณะที่ผูพ้ บ กาลังตรวจสอบ เมื่อทราบแน่แล้วว่าสิ่ งที่พบนั้นไม่มีอนั ตราย ก็ให้ดาเนิ นการตรวจต่อไป แต่ถา้ ยังไม่แน่ ใจ ให้ นาเจ้าหน้าที่ท้ งั หมดออกจากพื้นที่น้ นั ผูท้ ี่พบวัตถุน้ นั ให้ใช้เชื อกผูกกับสิ่ งของ และปล่อยปลายเชื อกออกไป ถึง ด้านนอกเป็ นการท าเครื่ อ งหมาย ให้ ก ับ เจ้าหน้ าที่ เก็ บ กู้ว ตั ถุ ร ะเบิ ด มาท าการเก็ บ กู้ห รื อ ท าลายต่ อ ไป เมื่ อ เจ้าหน้าที่เก็บกูช้ ุดนี้ทางานเสร็ จเรี ยบร้อย เจ้าหน้าที่ชุดตรวจก็จะเข้าทาการตรวจต่อไป ๒. การตรวจสอบเครื่ องลักลอบดักฟังทางเสี ยง

๑๐๖

ถามเวลา หรื อสถานการณ์บีบบังคับ ควรต้องทาการตรวจสอบการลักลอบดั กฟั งทางเสี ยงของฝ่ ายตรง ข้ามในพื้นที่น้ นั ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าบุคคลสาคัญจะต้องพักอยูใ่ นพื้นที่น้ นั ในบางเวลา และบางครั้งอาจจะใช้ เป็ นที่ประชุ มลับ เจ้าหน้าที่ชุดเทคนิ ค จะต้องทาการตรวจเช็ ค ด้วยเครื่ องมื อป้ องกันการลอบฟั งอย่างละเอียด อย่างไรก็ตามชุดล่วงหน้า ควรจะต้องทาการตรวจอีกครั้งหนึ่งเพือ่ ความแน่ใจ ตามการกิจของตน การปฏิบัติการตรวจสอบ ๑. จะตองมีแบบพิมพ์เขียวของอาคารและห้อง ๑.๑ ประโยชน์ของแบบพิมพ์เขียว เพื่อตรวจสอบว่าขนาดของจริ งเท่ากับขนาดในแบบพิมพ์ หรื อไม่ ถ้าห้องเล็กกว่าในแบบที่แสดงไว้จะต้องตรวจสอบว่าเพราะอะไร และเปลี่ยนแปลงเมื่อใด ๑.๒ จากพิม พ์เขียว สามารถคาดคะเนแหล่ งที่ เป็ นชุ ดอันตรายได้ เช่ น อุ โมงค์ช่ องระบายอากาศ ทางเดินติดต่อระหว่างตึก หรื อทางเดินในตึกต่อจากบันไดไปยังห้องต่าง ๆ ๑.๓ แบบพิมพ์เขียวจะแสดงตาแหน่งโดยประมาณของตะปูต่างๆ เพื่อสะดวกในการตรวจค้นโลหะ ที่อยูใ่ นฝาผนัง ซึ่งสามารถจะทาให้ทราบได้วา่ โลหะที่ตรวจพบด้วยเครื่ องมือนั้น เป็ นตะปูหรื ออย่างอื่น ๒. ถ้าตรวจพบเครื่ องลักลอบดักฟั งทางเสี ยง ฌ ที่ใดที่หนึ่งแล้วให้ทาการด้นหาอีกอันหนึ่งทันที เพราะ อัน แรกอาจติ ด ตั้ง ไว้ เพื่ อ ให้ ต รวจพบได้โ ดยง่ า ย และเมื่ อ พบแล้ว จะคิ ด ว่า ห้ อ งนั้ น ปลอดภัย แล้ว และไม่ ดาเนิ นการตรวจด้นต่อไปเช่นเดียวกัน ถ้าตรวจด้นพบวัตถุระเบิดลูกหนึ่งหรื อวัตถุ อื่น ๆ ที่อาจเป็ นอันตราย ต่อ บุคคลสาคัญ ให้รีบดาเนินการตรวจค้นต่อไปในทันที ๓. การสารวจห้องเพื่อตรวจค้น ๓.๑ ที่ต้ งั ของเฟอร์ นิเจอร์ ในห้องบุคคลสาคัญ จะใช้เป็ นที่ทางานส่ วนตัวหรื อไม่ถา้ ใช้ให้จดั ที่ต้ งั ใหม่ โดยให้พน้ จากสายตาของคนทัว่ ไป ซึ่ งอาจจะใช้ม่านหรื อฉากกั้นก็ได้ ๓.๒ บานหน้าต่างขนาดใหญ่ อาจจะใช้การสั่นสะเทื อน เป็ นสื่ อสาหรับคลื่ นเสี ยงดังนั้นอาจจะใช้ ม่านบังตา หรื อฉากขนาดใหญ่มากั้นได้ ๓.๓ ขนาดของห้องเก็บเสี ยงมีอะไรเป็ นเสี ยงรบกวน และได้เตรี ยมการป้ องกัน เพื่อทาให้ห้องยาก แก่ การดักฟั งบ้าง หรื อไม่ ตัวอย่าง เช่ น ที่ นัง่ ของบุ คคลสาคัญในพื้นที่ อยู่ระหว่างเครื่ องปรับอากาศและวิท ยุ หรื อ เครื่ องเล่นเทปซึ่ งสามารถทาเป็ นเสี ยงรบกวน เพื่อให้ดกั ฟังมีความสับสนในการฟังได้เป็ นอย่างดี ๓.๔ ตาแหน่ งของห้องนอน ห้องพักผ่อน ห้องทางาน และอื่นๆ ของบุคคลสาคัญ อยูท่ างด้านหน้า ของบ้านพักหรื อไม่ สิ่ งเหล่านี้เป็ นชุดไห้มีผลู ้ อบยิงได้เช่นเดียวกันกับมีผลในการลอบฟัง ๔. ท าการเปิ ดและตรวจสอบอย่ า งละเอี ย ดเกี่ ย วกับ แผงไฟฟ้ า หลอดไฟ วิ ท ยุ โทรทัศ น์ ระบบ อินเตอร์ คอม วอลสปี คเกอร์ โทรศัพท์ ฯลฯ สิ่ งเหล่านี้ ไม่เพียงแต่ ติดเครื่ องมือลักลอบดักฟั งทางเสี ยง ได้เท่านั้น แต่สายไฟของสิ่ งเหล่านี้ ยงั สามารถส่ งคลื่นเสี ยงได้อีกด้วย ดังนั้นสายไฟควรจะต้องตรวจ ในรายละเอียดจนถึ ง สายเมน และจนถึงส่ วนที่ทางานขั้นสุ ดท้าย คือแผงไฟ ๕. สายไฟทุกเส้นที่ออกจากห้อง ควรจะตรวจจดต่อกันสายอื่นด้วยโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสายไฟ ที่ไม่ได้ แสดงไว้ในแบบพิมพ์เขียว

๑๐๗

๖. ตรวจท่ อน้ า เครื่ องท าความร้ อน และท่ อส าหรั บ เดิ นสายไฟว่ามี ก ารเปลี่ ย นแปลงลัก ษณะ หรื อ หุ่นจาลองให้เหมือนจริ งหรื อไม่ ๗. ตรวจรู ตะปูท้ งั หมดด้วยความระมัดระวังทาการตรวจสอบด้ามสิ่ งใดอยูใ่ นนั้น และต้องตรวจ อย่าง ระมัดระวังว่าถ้ามีการเพิ่มเติมอันใหม่ข้ ึนหรื อไม่ ๘. ถ้าเจ้าหน้าที่ตรวจได้รับการสนับสนุนจากชุดตรวจการลักลอบดักฟั งทางเสี ยง จะทาให้การตรวจ มีด วามสะดวกรวดเร็ วขึ้ น แต่ท้ งั สองฝ่ ายต้องทางานร่ วมกันโดยเจ้าหน้าที่ เทคนิ คสามารถที่จะให้คาแนะนา ใน เทคนิคต่าง ๆ เพื่อช่วยให้งานสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี การเฝ้าตรวจพืน้ ทีห่ ลังการตรวจสอบ โดยปกติหลังจากทาการตรวจเสร็ จสิ้ นแต้ว จะต้องทาการรักษาความปลอดภัยพื้นที่น้ นั ๆ อาจใช้ คนฝ้า หรื อใช้เครื่ องมือเฝ้าตรวจตลอดเวลา การปฎิ บตั ิที่ดี ต้องทาการให้เป็ นไปตามลาดับ เพื่อให้แน่ ใจว่า ทุกพื้นที่ ได้รับการตรวจแล้ว เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องปฏิ บตั ิงานโดยต่อเนื่ องตลอดเวลาในขณะที่ คณะของ บุคคลสาคัญ อยูใ่ นพื้นที่ และอย่าคิดว่าเมื่อบุคคลสาคัญและคณะเข้าไปยังพื้นที่น้ นั ๆ แล้วไม่จาเป็ น ที่จะต้องเฝ้า พื้นที่ภายนอกที่ได้ทาการตรวจแล้วต่อไปอีก ในกรณี เกี่ยวกับแม่บา้ นทาความสะอาด ไม่ควรอนุญาตให้นารถเข็นเข้าไปในห้องของบุคคลสาคัญ ควร ให้ทิ้งไว้ภายนอกให้นาเข้าไปเพียงผ้า ผ้าขนหนู และอื่น ๆ ที่ตอ้ งการเท่านั้น การปฏิ บตั ิ ที่ดีจะต้องมี เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยประจาอยูใ่ นห้อง และเป็ นผูท้ ี่ตอ้ งมีความพร้อมตลอดเวลา และจะต้องสนองตอบทันที ถ้า บุคคลสาคัญต้องการสิ่ งใด เจ้าหน้าที่ตอ้ งควบคุมการเตรี ยมของว่าง หรื อเครื่ องดื่ ม รวมถึงการส่ งไปยังห้องพัก ได้ท นั ที เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยประจาที่ พ กั ไม่ควรอนุ ญาตให้เจ้าพนักงานนาอาหาร หรื อ เครื่ องดื่ ม รวมทั้งสิ่ งอื่นๆ เข้าไปในห้องนอกจากได้รับคาอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ หรื อบุคคลสาคัญเท่านั้น การค้ นหาวัตถุระเบิดตามสถานทีต่ ่ าง ๆ การค้นหาวัตถุระเบิดควรจะได้กระทาขึ้นในทุกๆพื้นที่ก่อนที่บุคคลสาคัญจะเดินทางมาถึง ถ้ามีเวลาไม่ มากนักจะทาการตรวจค้นเฉพาะพื้นที่ที่บุคคลสาคัญพานักและแบ่งเวลาไปทาการตรวจพื้นที่ใกล้เคียง ที่พานัก ห้องที่ ใช้ประโยชน์ อื่ น ๆ ตู ห้ ้องควบคุ มโทรศัพท์ห้องควบคุ มพลังงานต่ างๆ ห้องท าความเย็น และอื่ น ๆ ที่ คล้ายคลึงกัน ทาการตรวจตามรอยต่อ หรื อฝุ่ นที่เกาะตามช่องของกระดานว่า เป็ นขี้เลื่อย หรื อที่คล้ายคลึง ที่เป็ น เครื่ องแสดงว่าไล้ทาการต่อเติมใหม่ ตามปกติการตรวจควรขอดวามร่ วมมือจาก ผูจ้ ดั การของสถานที่ เพื่อที่จะ สามารถดาเนินการตรวจได้ทุกห้องและยังสามารถให้การช่วยเหลือโดยการชี้ แจงรายละเอียดของ สถานที่ หรื อ สิ่ งของต่าง ๆ ภายในบริ เวณที่ทาการตรวจได้อีกด้วย และให้ความสนใจเป็ นพิเศษ ในการตรวจ ห้องควบคุมการ ทางานของมอเตอร์ และการทางานการเคลื่ อนไหวของตัวลิฟท์ ตรวจภายในห้องลิ ฟท์หลังคา ด้านข้าง และพื้น ระบบการเคลื่ อนไหวของตัวลิฟท์ตอ้ งมีความปลอดภัยมากที่ สุดเท่าที่ จะทาไล้ ต้องแน่ ใจว่า ไม่มีวสั ดุ และสิ่ ง แปลกปลอมติดอยูต่ ามผนังของตัวลิ ฟท์สายสลิ งค์ หรื อเครื่ องถ่วง โดยปกติผูต้ รวจค้นไม่ จาเป็ นต้องขึ้นไปยืน บนหลังคาของลิ ฟท์ในขณะลิ ฟท์ทางาน วิศวกรของอาคารสามารถจะช่ วยเหลื อ ในการ ชี้ แจงการทางานของ ประตู การทางานของลิฟท์และการแก้ไขกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น

๑๐๘

ในบางครั้งเมื่อตรวจลิฟท์ครบถ้วนสมบู รณ์ แล้ว ควรทดลองการทางานของลิ ฟท์อีกครั้งหนึ่ ง เพื่ อให้ แน่ ใจ ว่าทุกอย่างทางานโดยสมบูรณ์ ไม่มีส่ิ งใดที่มองข้ามไป ในกรณี ที่ชุดตรวจค้นมิได้กาหนดให้มีการตรวจ ลิฟท์ไว้ จะต้องให้ชุดรักษาความปลอดภัยส่ วนล่วงหน้า ดาเนินการตรวจแทนซึ่งจะเว้นไม่ได้เด็ดขาด เส้ นทางขบวนรถยนต์ ก่ อนที่ บุ คคลส าคัญ จะผ่านเส้ นทางที่ กาหนดไว้ควรจะมี การสารวจเส้ นทางเหล่ านั้นก่ อนเพราะตาม เส้นทางนั้นอาจจะมีการวางระเบิดได้ดว้ ยเหตุน้ ีสิ่งสาคัญประการแรก ควรจะตรวจโดยตรงตามบริ เวณช่อง หลุม ของพื้นถนน หรื อบริ เวณข้างถนนโดยเฉพาะถนนที่มีการลาดยาง ถ้ามีช่องหลุมเกิดขึ้นต้องทาการดูแล เป็ นพิเศษ ตามไหล่ถนนที่มีการก่อสร้างอยูใ่ ห้สังเกตให้ละเอียด เครื่ องหมายการจราจรต่าง ๆ ก็อาจจะซ่ อน สายชุ ดระเบิด ได้ หรื อแม้แต่ตามสองข้างทางที่ มี ถงั เก็บ ขยะ กระถางค้นไม้ดูโทรศัพ ท์ตูไ้ ปรษณี ย ์ ป้ ายรถเมล์ ควรจะตรวจ เช่ นกัน สิ่ งที่สาคัญเป็ นพิเศษ ได้แก่ บริ เวณสะพาน ท่อวางสายต่าง ๆ นอกจากนั้นเครื่ องกีดขวาง บนห้องถนน ควรจะเอาออกไป เพราะเป็ นอุปสรรคต่อรถยนต์ของบุ คคลสาคัญ (เละทาให้ง่ายต่อการดักซุ่ ม โจมตี สาหรับ เส้นทางที่ได้ประกาศว่าบุคคลสาคัญจะผ่าน จะต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างสู ง ทุกชุ ดบนถนนต้อง ไม่มีสิ่งกีดขวางอย่างน้อย ๑๕ นาที ก่อนที่บุคคลสาคัญจะไปถึง สนามกอล์ฟ การตรวจค้นวัตลุ ระเบิ ดที่ ส นามกอล์ฟ ตามปกติ จะปฏิ บ ตั ิ เช่ นเดี ยวกับ การส ารวจในตัวอาคารอื่ น ๆ ก่อนที่บุคคลสาคัญจะเดินทางมากึง พื้นที่ที่บุคคลสาคัญจะต้องผ่านในชัว่ ระยะเวลาหนึ่ง ต้องมีการตรวจสอบ ในกรณี ที่ บุ ค คลส าคัญ เล่ น กอล์ ฟ ชุ ด รั ก ษาความปลอดภัย ส่ วนล่ วงหน้าควรร้ องขอชุ ดตรวจค้น มา ด าเนิ น การตรวจตามแฟร์ เวย์ที่ บุ ค คลส าคัญ จะใช้ ล้า ไม่ มี ชุ ด ตรวจให้ ก ารสนับ สนุ น ชุ ด ส่ ว นล่ ว งหน้ า ต้อ ง ดาเนิ นการตรวจเอง การตรวจควรสนใจเป็ นพิเศษกับค้นไม้ ทุ่มไม้บริ เวณใกล้เคียงกับกรี นกอล์ฟ และสถานที่ อื่น ๆ ที่น่าจะเป็ นอุดล่อแหลมต่ออันตราย ตามปกติจะต้องมีชุดเก็บวัตถุระเบิดประจาอยูใ่ นสโมสรของสนาม กอล์ฟ พร้ อ มที่ จ ะให้ ก ารสนับ สนุ น โดยทัน ที เมื่ อ ได้รับ การร้ อ งขอ และต้อ งจัด รถปฏิ บ ัติ ก ารรั ก ษาความ ปลอดภัย ในขณะที่บุคคลสาคัญเล่นกอล์ฟด้วย ซึ่ งอาจเป็ นรถสองล้อก็ได้เพื่อง่ายต่อการเข้าไปในสนามกอล์ฟ สถานทีอ่ ื่น ๆ เนื่องจากมีสถานที่อื่น ๆ อีกหลายแห่งที่บุคคลสาคัญจะต้องเดินทางไปถึง ซึ่ งไม่สามารถคาดการณ์ได้วา่ เหตุ ร้า ยจะเกิ ดขึ้ น เมื่ อใด ดัง นั้น ชุ ด ตรวจค้น จึ งต้องไปปฏิ บ ัติห นาที่ ตามมาตรการต่ างๆ เพื่ อเตรี ย มส าหรั บ เหตุการณ์ ที่อาจเกิ ดขึ้น อย่างไรก็ตาม การตรวจค้นนั้น ควรครอบคลุมทุกพื้นที่ที่บุคคลสาคัญพานักอยู่ รวมทั้ง สถานที่ใกล้เคียงโดยรอบ ทั้งนี้ตอ้ งพิจารณาถึงความเหมาะสม และเวลาที่เอื้ออานวยด้วย เครื่ องมือและอุปกรณ์ การตรวจค้ น ในการตรวจค้นแต่ละครั้งนั้นไม่สามารถกาหนดได้ว่าควรใช้เครื่ องมืออะไรบ้างในบางครั้งเครื่ องมื อ บางชนิ ดอาจใช้ตรวจเพียงครั้งเดี ยว หรื อบางชนิ ดใช้ตรวจตลอดเวลา ในการตรวจแต่ละครั้ง ไม่จาเป็ นต้องมี เครื่ อ งมื อ มากชิ้ น นัก และควรเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ง่ า ยต่ อ การน าหาด้ว ยบุ ค คล เครื่ องมื อ ที่ จะกล่ าวต่ อ ไปนี้ เป็ น เครื่ องมือที่จาเป็ นต้องใช้สาหรับเจ้าหน้าที่ชุดตรวจค้นแต่ละคน

๑๐๙

๑. ไฟฉายและข้อต่อสาหรับไฟฉาย เป็ นไฟฉายชนิดปากกาใช้แบตเตอรี่ ๒ ก้อน สามารถพกใส่ กระเป๋ า เสื้ อเชิ้ต หรื อกระเป๋ าเสื้ อแจ็กเก็ตได้ นอกจากนี้ยงั นามาต่อด้ามเพื่อใช้ประโยชน์ในการตรวจรู เล็ก ๆ ตาม มุมห้อง ที่ไม่สามารถมองได้ ๒. มี ด พกสารพัด ประโยชน์ เป็ นชุ ด มี ดหกที่ ป ระกอบด้วยใบมี ด และเครื่ องมื อ อื่ น ๆ เช่ น ไขควง กรรไกร ตะไบฯลฯ ซึ่งอาจเป็ นมีดของลูกเสื อหรื อ Swiss Ajmy Knife ๓. เครื่ องฟั งเสี ยงของแพทย์ สามารถใช้ตรวจฟั งเสี ยงของระเบิดที่ทางานด้วยนาฬิกาได้ แต่เครื่ องมือนี้ ไม่ ได้ออกแบบมา เพื่ อฟั งเสี ยงที่ใช้อากาศหรื อของแข็งเป็ นสื่ อของเสี ยง และไม่ส ามารถใช้ในการดักฟ้ ง ได้ ทัว่ ไป ดังนั้นจึ งควรใช้เครื่ องมื ออิ เลคทรอนิ คส์ ส เตททรอสโคป ซึ่ งเป็ นเครื่ องมือที่มีป ระสิ ท ธิ ภาพมาก และ สามารถประดิษฐ์ได้เอง ๔. ไขควง จะต้องมีขนาดต่าง ๆ ที่สามารถใช้ในการถอด เคลื่อนย้ายเครื่ องทา ความเย็นตลอดจนวัต ถุ บางชนิด รวมทั้งแผ่นโลหะที่อาจปกปิ ดวัตถุระเบิด ๕. กุญแจเลื่อน ขนาดที่เหมาะสมที่สุดคือขนาด๔ หรื อ๖นิ้วเพื่อใช้ในการถอดน๊อต ๖. พรอบส์ < PROPE > ที่ใช้ในการตรวจค้นมี ๒ ขนาด คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง๑/๑๖นิ้วยาว๑๒นิ้ ว ใช้ในการตรวจเช็คดเฟอร์ นิเจอร์ เบาะนัง่ รถยนต์เหล็กแหลมขนาดที่ ๒ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง๑/๘นิ้ วยาว๑๒นิ้วใช้ ในการตรวจพื้ น ดิ น กระถางต้น ไม้แ ละสนามหญ้า ลัก ษณะโดยทั่ว ไปของพรอบส์ จ ะต้อ งไม่ เป็ นสื่ อ น า กระแสไฟฟ้ ามีที่ฟ้องกันการสปาร์ ค และไม่เป็ นแม่เหล็ก เพราะส่ วนประกอบของอุปกรณ์ประกอบด้วย อโลหะ ผสมพลาสติก ไนล่อนอลู มินมั่ มีลกั ษณะเป็ นเข็ม เหมาะสาหรับการตรวจเฟอร์ นิเจอร์ อุปกรณ์ที่ประกอบด้วย โลหะผสมทองแดง ทองเหลือง หรื อเหล็กสแตนเลส ก็ใช้ในการตรวจพื้นดินได้เช่นเดียวกัน ๗. แถบพลาสติกเป็ นแถบขนาด ๒ x ๕นิ้ว หนาประมาณ ๑/๓๒ นิ้วใช้ในการตรวจประตู หน้าต่างโต๊ะ และลิ้นชักที่สามารถซ่อนสายไฟฟ้า หรื อการผูกติดวัตถุระเบิดได้เครื่ องมือนี้ยงั ใช้ในการถอดล็อคประตูได้ ๘. ม้วนแถบกระดาษ ใช้กระดาษที่ มีความกว้าง ๒ นิ้ ว ในการท าเครื่ องหมาย หรื อพื้ นที่ ที่ได้ทาการ ตรวจค้นแต้ว โดยนาไปติดไว้ที่ บานประดูเมื่อพบวัตถุ ระเบิด นอกจากนั้น แถบกระดาษยังสามารถแสดงจุด ที่ พบระเบิ ดได้โดยวางจากประตู ท างเข้า ไปยัง จุ ด ที่ พ บระเบิ ด ซึ่ ง การปฏิ บ ัติเช่ น นี้ ท าให้ ชุ ดเก็ บ กู้วตั ถุ ระเบิ ด สามารถที่จะทราบตาแหน่งที่พบระเบิดได้เร็ วขึ้น โดยไม่จาเป็ นต้องใช้เจ้าหน้าที่ชุดตรวจเป็ นผูช้ ้ ีนา ๙. กระจกเงาขนาดมือถือ เป็ นกระจกเงาขนาดเล็กประมาณ ๒x๓ นิ้วใช้สาหรับ ตรวจค้นด้านหลัง หรื อ ใต้เฟอร์นิเจอร์ กระจกนี้ ยังสามารถต่อกับด้ามต่อเพื่อยืน่ เข้าไปตรวจในช่องเล็ก ๆ ได้ การตรวจค้นตัวอาคาร ตามลักษณะทัว่ ๆ ไปของอาคาร และสถานการณ์ จะแตกต่างกันออกไป จนไม่สามารถ จะพัฒนาระบบการตรวจให้เป็ นแบบมาตรฐานที่จะใช้ทาการตรวจได้ทุกอาคารด้วยวิธีเดียวกันได้ แต่สามารถที่ จะยึดถือหลักการตรวจเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิได้โดยดัดแปลงให้เข้ากับสถานการณ์เป็ นกรณี ไป การปฏิบตั ิ ต่อไปนี้ เป็ นเพียงแนวพื้นฐานที่ใช้ในการวางแผนการปฏิบตั ิทว่ั ๆ ไป การตรวจอาคาร และยานพาหนะมี หลัก พื้นฐาน ๒ ประการดังนี้ ๑. เริ่ มปฏิบตั ิการตรวจค้นจากภายนอกแล้วจึงปฏิบตั ิการตรวจภายใน ๒. การตรวจภายในเริ่ มตรวจจากระดับต่าแล้วสู งขึ้นไปจนถึงชั้นบนชุด

๑๑๐

หลักทั้งสองประการนี้เป็ นที่นิยมกันมานาน และเป็ นหลักมาจากสามัญสานึก การกระทาแบบนี้เป็ นการ ลด อัตราการเสี่ ยงอันตรายของเจ้าหน้าที่ตรวจค้นและผูพ้ กั อาศัย การตรวจค้นรถยนต์ การวางระเบิดในรถยนต์เป็ นวิธี การปฏิ บ ตั ิที่ มีป ระสิ ท ธิ ภาพ และเป็ นที่ นิยมที่สุ ดของคนร้ านเพราะ สามารถที่จะเจาะจงสังหารผูห้ นึ่ งผูใ้ ดได้โดยเฉพาะ ตังนั้นเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย จะต้องรู ้ จกั วิธีการ ตรวจค้นยานพาหนะขั้นพื้นฐานได้เป็ นอย่างสิ โดยไม่ตอ้ งใช้เครื่ องมือใดๆทาการตรวจเป็ นพิเศษ ๑. การตรวจค้นยานพาหนะ จะต้องกระทาเป็ นเรื่ องปกติธรรมดา การตรวจจะต้องกระทาการตรวจทั้ง รถบุคคลสาคัญ รถติดตาม และรถสารอง การตรวจค้นรถคันหนึ่ ง ๆ ควรตรวจให้เสร็ จเรี ยบร้อยก่อนใช้งานไม่ น้อยกว่า ๓๐ นาที การตรวจค้นควรกระทาในบริ เวณที่ปลอดคน หรื อมีผสู ้ นใจน้อยที่สุด และไม่ควรตรวจค้นรถ เมื่อการรักษาความปลอดภัยต่อผูต้ รวจเองมีไม่เพียงพอ ๒. การตรวจค้น ขบวนรถ จะต้อ งกระท าทุ ก ครั้ งที่ บุ ค คลส าคัญ เดิ น ทาง ไปยัง ที่ ห มายต่ า ง ๆ ยก เว้นเสี ยแต่วา่ รถคันนั้น จะอยูภ่ ายใต้การดูแลของ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอย่างใกล้ชิดตลอดเวลาอยูแ่ ล้ว การแนะแนวทางปฏิ บตั ิการตรวจที่ จะกล่าวต่อไป เป็ นการใช้ในการตรวจค้นตามปกติ โดยไม่มีการ คุ กคาม หรื อเหตุอนั น่ าสงสัยอยู่ก่อน การเปิ ดรถจากระยะไกล จะไม่กล่ าวในรายละเอียดในบทนี้ ซึ่ งเป็ นการ ปฏิ บ ตั ิ ของชุ ดตรวจทางเทคนิ คโดยเฉพาะ ส าหรับ ในกรณี ที่มีการคุ กคาม หรื อมี สาเหตุ ที่น่าเชื่ อว่ามี การวาง ระเบิดไว้แล้ว เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องร้องขอให้หน่วยเก็บวัตถุระเบิดมาดาเนิ นการช่วยเหลือทันที ๓. การตรวจค้นยานพาหนะต้องมีการกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบที่แน่นอนเช่นเดียวกับการตรวจ ค้น สถานที่ มีการสาเนินการตามรายการสาหรับการตรวจค้น เมื่อผูต้ รวจค้นได้พบสิ่ งที่น่าสงสัย ต้องหยุดทาการ ตรวจทันที และแจ้งผูเ้ ชี่ ยวชาญทางวัตถุระเบิดมาพิสูจน์ทราบโดยทันที การปฏิบตั ิกระทา ดังนี้ ๓.๑ ตรวจอาณาบริ เวณโดยรอบ ก่อนทาการตรวจรถ การตรวจกายนอกตามลาดับดังนี้ ๓.๑.๑ ดูบริ เวณโดยรอบรถเพื่อหาเทป เชือก ฟิ วส์ต้ งั เวลา และอื่น ๆ ๓.๑.๒ ตรวจร่ องรอยตามพื้นดิน เช่น รอยเท้าหรื อรอยการใช้แม่แรง และอื่น ๆ ๓.๒ พื้นผิวกายนอก ๓.๒.๑ มองหา ตรวจ รอยงัดแงะตามบริ เวณประดู หน้าต่าง ตัวถัง ฝากระโปรง รอยขีดข่วนที่กุญแจ ประตู ฝาครอบน้ ามันเชื้อเพลิง ๓.๒.๒ รอยนิ้วมือที่ตวั ถัง ฝากระโปรง หรื อฝาครอบต้อ ซึ่ งอาจมีร่องรอยของการเปิ ดใหม่ ๆ ๓.๓ พื้นดิ น จุดที่พบบ่อย ๆ ว่ามีระเบิดวางอยู่ในขณะที่รถปิ ดล๊อคไว้อย่างดี แต้ว คือ บริ เวณใต้ฟันรถ จะต้องทาการตรวจดังนี้ ๓.๓.๑ พื้นดินไม่ราบเรี ยบ ๓.๓.๒ กองดินบนพื้น อาจถูกขุดคุย้ ออกมาจากบริ เวณพื้นดินใต้ทอ้ งรถ ๓.๓.๓ ขดลวดหรื อเศษลวดใหม่ ๆ ๓.๓.๔ ดูยางทั้ง ๔ ล้อทุกด้าน ๓.๓.๕ เปิ ดฝาครอบล้อตรวจดูกายในและตรวจการขันน๊อตล้อ

๑๑๑

๓.๓.๖ ตรวจท่อไอเสี ยว่ามีอะไรอุดอยูห่ รื อไม่ ๓.๓.๗ ตรวจฝาน้ ามันว่ามีส่ิ งผิดปกติหรื อไม่ ๓.๓.๘ ตรวจตามข้อต่อของท่อน้ ามันว่า มีวตั ลุแปลกปลอมหรื อไม่ ๓.๓.๙ ใช้ไฟฉาย และกระจก ตรวจบริ เวณกันชนด้านใน ของข้อต่อพวงมาลัยเหนื อที่นง่ั คนขับ ใต้ เครื่ องยนต์ และใต้ถงั น้ ามัน ๓.๔ ตรวจภายในโดยมองผ่านช่องหน้าต่าง ๓.๔.๑ มองเข้าไปในรถผ่านทางช่องหน้าต่าง เพื่อหาวัตลุที่น่าสงสัย หรื อหี บห่อที่ไม่เคยปรากฏ อยูท่ ี่ นัน่ มาก่อน ตามเบาะ หรื อใต้เบาะโดยเฉพาะเบาะนัง่ หน้ารถ ๓.๔.๒ ดูบริ เวณใต้หน้าปั ทม์ เพื่อหาเส้นลวดหรื อสายไฟที่หอ้ ยลงมา ๓.๔.๓ ดูวา่ ประดูล๊อคอยู่ หรื อไม่ ๓.๕ เข้าไปตรวจในรถทางประดูหน้าเบาะรถของผูโ้ ดยสาร ๓.๕.๑ ตรวจอย่างละเอียดตามระบบ โดยปกติจะเริ่ มจากพื้นรถขึ้นไป ๓.๕.๒ ตรวจใต้พรมพื้นรถ เพื่อหาวัตถุระเบิดที่ทางานด้วยการใช้นาหนักกดทับ ๓.๕.๓ ตรวจดูใต้เบาะที่หน้ารถ และหลังรถ ๓.๕.๔ ตรวจประตูวา่ มีอะไรขัดขวางอยู่ หรื อไม่ ๓.๕.๕ ตรวจใต้แผงหน้าปัทม์ เพื่อหาสายไฟที่หลวม หรื อผิดปกติ ๓.๕.๖ ตรวจที่เขี่ยบุหรี่ ที่จุดบุหรี่ ลาโพงวิทยุ ๓.๕.๗ ตรวจคันเร่ ง หรื อสิ่ งที่จะต้องใช้เท้าเหยียบไนการขับรถเพื่อหาสายไฟ หรื อเส้นลวด ๓.๕.๘ ตรวจประตูตา้ นคนขับจากภายในก่อนเปิ ด ๓.๕.๙ ที่นงั่ ด้านขวา และด้านหลังซ้าย มักจะใช้เป็ นที่วางกับระเบิดเสมอ ๓.๖ เปิ ดฝากระโปรงรถ และทาการตรวจดังต่อไปนี้ ๓.๖.๑ มองหาเครื่ องอุดระเบิดที่นามาติดกับคลัช เบรค คันเร่ งน้ ามัน หรื อส่ วนเชื่อมโยงพวงมาลัย ๓.๖.๒ ว่ามีอะไรอยูใ่ นช่องระบายอากาศ หรื อไม่ ๓.๖.๓ ของที่วางผิดที่ สะอาดผิดปกติ สายไฟหรื อเส้นลวดใหม่หรื อที่แปลกออกไปกว่าเดิม ๓.๖.๔ หี บห่ อทุกชนิ ดพี่อาจบรรจุระเบิด หรื อสิ่ งไวไฟห้ามตัด ดึง หรื อถอดสายไฟทุกชนิ ด ให้เรี ยก หน่วยเก็บวัตถุระเบิดมาดาเนินการให้ ๓.๗ เปิ ดตัวถัง และตรวจดังนี้ ๓.๗.๑ ถอดทุกสิ่ งทุกอย่างเพื่อทาการตรวจสอบ ๓.๗.๒ สายไฟทั้งหมดที่เชื่อมโยงไปที่ไฟเบรค หรื อไฟเลี้ยวท้าย ๓.๗.๓ ตรวจด้านหลัง และด้านใต้ของยางอะไหล่ ๓.๗.๔ ตรวจกล่องเก็บเครื่ องมือประจารถ ๓.๗.๕ ตรวจบริ เวณที่นง่ั ด้านหลัง ๓.๗.๖ ตรวจถังน้ ามันถ้ามองเห็นได้

๑๑๒

๓.๘ เมื่อแน่ ใจว่า ไม่มีกบั ระเบิดอยู่ขา้ งใต้ หรื อข้างในตัวรถแล้ว ให้ไขกุญแจ สตารท์ เปิ ดไฟ เพื่อทา การตรวจสอบครั้ งสุ ดท้า ย ดู ก ารปฏิ บ ัติ ง านของสั ญ ญาณต่ า ง ๆ ที่ ห น้ า ปั ท ม์ รวมทั้ง แสงไฟ วิ ท ยุ แตร เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องปั ดน้ าฝน สัญญาณไฟเลี้ยว เครื่ องกาจัดฝ้ากระจกหลังรถ ควรมีการรักษาความปลอดภัย รถยนต์ตลอด ๒๔ ชม. โดยเฉพาะในขณะเดินทาง ถ้ารถทุกคันเป็ นแบบเดียวกันให้เปลี่ยนรถบ่อยๆ นอกจากการตรวจตามที่ ก ล่ า วมาแล้ว ควรจะมี ข้อ มู ล เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณาในการตรวจค้น ดังต่อไปนี้ ๑. รถยนต์ถูกนาไปใช้ครั้งสุ ดท้ายเมื่อใด ใครสั่งใช้ และใครเป็ นพลขับ ๒. รถยนต์ได้ล๊อคไว้เรี ยบร้อยหรื อไม่ในระหว่างจอดเก็บ ๓. รถยนต์ได้ไปจอดที่ใดบ้าง และแต่ละครั้งที่จอดใช้เวลานานเท่าใด ๔. น้ ามันที่มีอยูใ่ นถังจานวนกี่ลิตร ๕. รถยนต์จะนาไปใช้ครั้งต่อไปอีกเมื่อใดและใช้ระยะเวลานานเท่าใด การตรวจค้นจดหมายระเบิดและหี บห่อต่างๆ จากการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับจดหมายและหี บห่ อต่างๆ ที่บรรจุระเบิด ซึ่ งในขณะนี้ พวกก่อการ ร้าย นิ ยมนามาใช้กนั มาก และมีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ลักษณะของจดหมาย และหี บห่ อระเบิด จะแตกต่างไป จาก ลักษณะทัว่ ๆ ไปดังต่อไปนี้คือ ๑. วิธีการส่ ง มีวธิ ี การส่ งแบบง่ายๆ ๓ แบบคือ ๑.๑ ส่ งโดยทางจดหมายผ่านทางไปรษณี ย ์ ๑.๒ ส่ งด้วยตนเองหรื อให้ผอู ้ ื่นนาส่ งให้ ๑.๓ โดยการแอบนาไปชุ กซ่ อนในสถานที่ต่างๆ โดยผูก้ ่อการร้ายเป็ นผูว้ างด้วยตนเองหรื อ ให้มือที่ สามกระทาให้ก็ได้ ๒. แบบของระเบิดแสวงเครื่ อง ลักษณะรู ปแบบ และขนาดมิได้เป็ นประเด็นสาคัญที่จะนามาวิเคราะห์ เพราะลักษณะรู ปแบบ หรื อขนาดอาจจะใหญ่เท่ากับโต๊ะ หรื อเล็ก เท่ากับห่ อบุหรี่ ก็อาจจะเป็ นได้ การใช้ระเบิด แสวงเครื่ องเท่าที่ผา่ นมามีการส่ งในหลาย รู ปแบบ เช่น ๒.๑ ส่ งโดยทางไปรษณี ยภัณฑ์ ๒.๒ ส่ งในรู ปของหนังสื อ ๒.๓ ส่ งในรู ปของลูกกวาดหรื อกล่องขนมหวานต่าง ๆ ๒.๔ ส่ งในรู ปแบบหล่อหรื อรู ปเป็ นลักษณะต่าง ๆ ๓. วิธีการใช้ และวิธีการทาให้เกิดระเบิด เนื่ องจากการส่ งจดหมายหรื อห่ อพัสดุทางไปรษณี ยแ์ ต่ละครั้ง จะมีจานวนมาก ดังนั้นการทาให้เกิดระเบิดขึ้นด้วยวิธีการกด หรื อการสั่นสะเทือนอาจจะมีการระเบิดขึ้น ก่อนที่ จะมีการรับของก็ได้ อย่างไรก็ตาม วิธีของการทาให้เกิดระเบิดมีดว้ ยกันหลายวิธีคือ ๓.๑ ในลักษณะที่ตอ้ งกดหรื อบีบ ๓.๒ ในลักษณะที่ตอ้ งดึงออกหรื อฉีกออก ๓.๓ ในลักษณะที่ตอ้ งออกแรงดัน

๑๑๓

๓.๔ ในลักษณะที่ตอ้ งถูกกระทบหรื อเสี ยดสี กบั วัตอุบางอย่าง ๓.๕ กล่าวโดยทัว่ ไปแต้ว ลักษณะของการทาให้ระเบิดในรู ปของจดหมาย และพัสดุต่าง ๆ ที่กล่าว ข้างต้นด้วยวิธีก ารกด บี บ หรื อเสี ย ดสี น้ ัน เป็ นแบบปกติ ธ รรมดา มี อีก ลัก ษณะหนึ่ งที่ เกิ ดจากห่ อของโดยใช้ กระดาษตะกัว่ ๒ ชิ้ นแยกออกจากกัน และมีกระดาษสอดใส่ ระหว่างกลาง เมื่ อกรรไกรตัดผ่าน แผ่นกระดาษ เหล่านี้ จะไปสัมผัสกับแผ่นตะกัว่ ทาให้เกิดครบวงจรระเบิด ๓.๖ หี บของที่ส่งด้วยตนเอง หรื อให้ผอู ้ ื่นส่ ง อาจใช้วธิ ี สลับซับซ้อน เช่น ๓.๖.๑ ติดระเบิดเวลา ๓.๖.๑ ใช้ระบบความดัน

Data Loading...