รายงานสรุปผลการดำเนินผลการจัดกิจกรรม โครงการปฐมนิเทศและตรวจสุขภาพนักศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ - PDF Flipbook

รายงานสรุปผลการดำเนินผลการจัดกิจกรรม โครงการปฐมนิเทศและตรวจสุขภาพนักศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ณ โรงเรียนอัลฟุร

114 Views
75 Downloads
PDF 17,069,939 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รายงานสรปุ ผลการดําเนนิ ผลการจัดกิจกรรม
โครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสุขภาพนักศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๒ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

ณ โรงเรียนอลั ฟรุ กอนศึกษา
ตําบลลาดบัวหลวง อําเภอลาดบัวหลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

โดย
ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอลาดบวั หลวง

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

คาํ นาํ

การจดั กจิ กรรม กศน.เปน การใหบรกิ ารกบั ผูเรียน ผูร ับบริการและชมุ ชนในหลายลักษณะ เพอื่ ใหก ารดาํ เนิน
การจัด กศน.ไดส อดคลอ งกบั สภาพปญ หาและความตองการของผูเรยี น ผูร ับบรกิ ารและชุมชนไดอยา งมีคณุ ภาพ
ของศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอลาดบวั หลวง

การสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน โครงการปฐมนิเทศและตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา
2565 โดยมวี ัตถุประสงคเ พื่อเตรียมความพรอ มในการเรียน ของนกั ศกึ ษาและกระตุนใหนักศึกษาเกิดกระบวนการ
เรียนรู และพฒั นาตนเองได อกี ทงั้ เพือ่ ช้ีแจงและแนะแนวการจดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอลาดบัวหลวง หวงั วา เอกสารเลมน้ีทจี่ ะบง บอก
ถึงการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการและจะเปนประโยชนตอการจัดกิจกรรม กศน.ทง้ั ในการบรหิ ารงาน การ
พัฒนาคน และการทํางานทต่ี รงตามความตองการของผูเรียน ผูรับบรกิ ารและชุมชน สามารถเผยแพรตอสาธารณชน
ได และขอขอบคณุ ผมู สี วนเกยี่ วขอ งและใหความรว มมือในการตอบแบบสอบถามทุกทา น ณ โอกาสนด้ี ว ย

คณะผูจดั ทาํ
งานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

สารบญั หนา

เรื่อง 1
3
บทท่ี 1 บทนํา 15
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกยี่ วขอ ง 20
บทท่ี 3 วิธดี าํ เนนิ งาน 27
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนนิ การและวิเคราะหข อ มูล
บทท่ี 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ
เอกสารอา งอิง
ภาคผนวก

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง



บทท่ี 1
บทนาํ

๑. ชอื่ โครงการปฐมนิเทศและตรวจสขุ ภาพนักศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2565
๒. ความสอดคลอ งกับนโยบายและจดุ เนนการดําเนนิ งาน กศน.ป ๒๕๖๕

แนวทางการดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน .ประจําปงบประมาณ พ .ศ. 2566 ขอ ท่ี 2. ดา นการสราง
สมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ท่เี น นการพฒั นาทกั ษะทจี่ ําเปนสาํ หรับแต
ละชวงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรูทเี่ หมาะสมกับแตละกลุม เปาหมายและบรบิ ทพ้นื ที่
๓. หลกั การและเหตุผล

ตามนโยบายสํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยประจําปงบประมาณ 2566
แนวทางการดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน .ประจําปงบประมาณ พ .ศ. 2566 ขอ ที่ 2. ดานการสรา งสมรรถนะและ
ทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต ทเ่ี นน การพัฒนาทักษะทจี่ าํ เปนสําหรับแตล ะชวงวัยและการ
จดั การศกึ ษาและการเรียนรู ที่เหมาะสมกบั แตละก ลมุ เปาหมายและบริบทพ้ืนที่ การสง เสรมิ การจัดการเรยี นรูท ี่
ทันสมยั และมีประสิทธิภาพ เออ้ื ตอ การเรียนรสู ําหรับทุกคน สามารถเรยี นไดทุกทท่ี ุกเวลา มีกิจกรรมทีห่ ลากหลาย
นา สนใจ สนองตอบความตอ งการของชุมชน เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพการเรยี นรขู องประชาชน รวมทง้ั ใชประโยชนจ าก
ประชาชนในชมุ ชนในการรวมกิจกรรมการเรยี นรเู พือ่ เช่ือมโยงความสมั พนั ธข องคนในชุมชนไปสูก ารจัดการความรู
ของชุมชนอยางยัง่ ยืน

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอลาดบวั หลวง โดยกลมุ งานการศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐาน
ไดต ระหนักและใหค วามสาํ คัญกับการจดั การศกึ ษาที่ เนน ผูเรียนเปนสําคญั จึงจัดใหมโี ครงการปฐมนิเทศนักศึกษา
และตรวจสขุ ภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565 เพอ่ื ช้ีแจงการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และแนะแนววิธกี ารเรียนการสอน วิธพี บกลมุ
มกี ารจดั กจิ กรรมสงเสรมิ ศักยภาพผเู รียน ใหไ ดรับขอ มูลขาวสารทที่ นั ตอ เหตุการณ แนะนําครูผูสอนทปี่ ระจําแตล ะ
ตาํ บลและบคุ ลกรท่เี ก่ยี วขอ งในสถานศกึ ษา ทําใหผเู รียนเขาใจวิธีเรยี น กศน .มากยิ่งขนึ้ และเพื่อสรา งเจตคติ ความรู
ความเขา ใจระหวางผเู รยี นและสถานศกึ ษาใหเปน ไปในทิศทางเดียวกนั
4. วัตถุประสงค

4.1 เพอ่ื เตรยี มความพรอ มในการเรียน ของนักศึกษาและกระตนุ ใหนกั ศึกษาเกดิ กระบวนการเรียนรู
และพฒั นาตนเองได

4.2 เพ่ือชแ้ี จงและแนะแนวการจดั การเรยี นการสอนตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
5. เปาหมาย

5.1 เชิงปรมิ าณ นกั ศกึ ษา กศน. อาํ เภอลาดบัวหลวง กลมุ อัลฟุรกอน จํานวน 130 คน
5.2 เชงิ คุณภาพนกั ศกึ ษา กศน . อาํ เภอลาดบัวหลวง มคี วามรคู ว ามเขา ใจ ในการจดั การศกึ ษา กศน .
เกดิ กระบวนการเรยี นรู มคี วามพรอ มในการเรยี นและสามารถพฒั นาตนเองได

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง


6. ผรู ับผิดชอบโครงการ

งานการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอลาดบวั หลวง
7. เครือขา ย

7.1 โรงเรียนอัลฟรุ กอนศึกษา
7.2 อาสาสมคั รสาธารณสุข (อสม.)
8. โครงการที่เก่ยี วของ
โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน
9. ผลลัพธ (Outcome)
นกั ศกึ ษา กศน.อําเภอลาดบัวหลวง ทเี่ ขา รวมโครงการ รอยละ 80 มคี วามรคู วามเขา ใจ ในการจัด
การศกึ ษา กศน. เกดิ กระบวนการเรยี นรู มคี วามพรอ มในการเรียนและสามารถพฒั นาตนเองได
10. ดชั นชี ว้ี ัดผลสาํ เรจ็ ของโครงการ
10.1 ตัวชีว้ ดั ผลผลติ : นกั ศกึ ษา กศน.อําเภอลาดบัวหลวง เขา รวมโครงการ ไมนอยกวารอ ยละ 80
10.2 ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ : นกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง มคี วามรูความเขา ใจ ในการจัดการศกึ ษา กศน .
และเกิดกระบวนการเรียนรู มคี วามพรอ มในการเรยี นและสามารถพฒั นาตนเองได
11.การติดตามประเมินผลโครงการ
11.1 แบบประเมินโครงการ / รายงานผลโครงการ
11.2 แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง



บทท่ี 2
เอกสารท่เี ก่ียวขอ ง

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 มาตรา 49 กําหนดวา บุคคลยอ มมีสิทธิเสมอ

กันในการรบั การศกึ ษาไมน อ ยกวาสิบสองปท รี่ ัฐจะตอ งจัดใหอ ยา งทว่ั ถงึ และมคี ณุ ภาพ และมาตรา 80 ไดกาํ หนด
เปน นโยบายดานการศึกษาวา ตองดําเนินการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน การจัดการศกึ ษาในทกุ ระดับและทกุ
รปู แบบ ใหส อดคลองกบั ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จัดใหม แี ผนการศึกษาแหง ชาติ กฎหมายเพอ่ื
พฒั นาการศึกษาของชาติ ซง่ึ กฎหมายเพ่อื พฒั นาการศึกษาของชาติ กาํ หนดใหมีการสงเสรมิ การศกึ ษาใน
ระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ .ศ. 2542 และแกไ ข
เพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 15 กําหนดนยิ ามการศึกษานอกระบบ เปนการศกึ ษาทม่ี คี วามยดื หยุนใน
การกาํ หนดจุดมุงหมาย รปู แบบ วิธกี ารจดั การศกึ ษา ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซง่ึ เปนเงอ่ื น
สําคญั ของการสาํ เร็จการศึ กษา โดยเนื้อหาและหลกั สตู รจะตองมีความเหมาะสม สอดคลองกบั สภาพปญ หาและ
ความตองการของบคุ คลแตละกลุมเปาหมาย ดงั น้นั การพฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ัน
พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ เปน การพฒั นาหลักสูตรที่มคี วามเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหา และความ
ตอ งการของบุคคลท่ีอยูนอกโรงเรยี น ซงึ่ เปนผูมคี วามรูและประสบการณจ ากการทาํ งานและการประกอบอาชพี โดย
กาํ หนดสาระการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู การจัดการเรยี นรู การวัดและประเมินผล ใหค วามสาํ คัญกับการพัฒนา
กลมุ เปา หมายดานจิตใจ ใหม ีคณุ ธรรม ควบคูไ ปกับการ พฒั นาการเรียนรู สรา งภูมิคุม กัน สามารถจัดการกบั องค
ความรู ทัง้ ภมู ิปญญาทองถน่ิ และเทคโนโลยี เพ่ือใหผ ูเ รียนสามารถปรับตัวอยูในสังคมทม่ี ีการเปลย่ี นแปลงอยู
ตลอดเวลา สรา งภมู ิคมุ กนั ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมท้งั คาํ นึงถึงธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู องผูเ รี ยน ที่
อยูนอกระบบโรงเรียน และสอดคลองกบั สภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจริญกา วหนา ของ
เทคโนโลยแี ละการสื่อสาร

ปรชั ญา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ยดึ ปรัชญา “คิดเปน” มาใช

ในการจดั การศกึ ษา ปรชั ญา”คดิ เปน ” อยูบนพืน้ ฐานความคดิ ทีว่ า ความตองการของแตล ะบุคคลไมเหมือนกนั แต
ทกุ คนมีจดุ รวมของความตอ งการทเ่ี หมอื นกัน คอื ทุกคนตอ งการความสุข คนเราจะมีความสขุ เมอื่ ตวั เรา ความรู
ทางวิชาการ สังคมและสง่ิ แวดลอ ม ผสมกลมกลืนกนั ไดกจ็ ะมีความสุข โดยคดิ แบบพอเพียง พอประมาณ ไม มากไม
นอย เปน ทางสายกลาง สามารถอธิบายไดดว ยเหตุผล

กระบวนการเรยี นรู ตามปรชั ญา “คดิ เปน ” มีผูเรียนสาํ คัญทสี่ ดุ โดยครูจะเปน เพียงผูจดั โอกาส กระตนุ ให
ผูเ รียนคดิ วเิ คราะห ปญ หาหรือความตองการ มกี ารเรียนรูจากขอ มลู จริงและตัดสินใจบนฐานขอมูลทเ่ี พียงพอและ
เชือ่ ถือได คอื ขอ มลู ตนเอง วชิ าการ ชุมชน สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม ถาหากสามารถทาํ ใหป ญ หาหายไป กระบวนการก็

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

4
ยตุ ลิ ง ถา ยงั ไมพ อใจแสดงวายงั มีปญหาอยู กจ็ ะเริม่ กระบวนการพิจารณาทางเลือกใหมอ กี ครง้ั กระบวนการนี้ก็จะยตุ ิ
ลงเม่ือบุคคลพอใจและมีความสุข
หลักการ

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาํ หนดหลกั การไวด ังนี้
1. เปนหลักสตู รทม่ี โี ครงสรา งยืดหยนุ ดานสาระการเรยี นรู เวลาเรยี น และการจัดการเรียนรโู ดยเนนการบูรณา
การเนอื้ หาใหส อดคลอ งกับวถิ ชี ีวติ ความแตกตางระหวา งบุคคล และชมุ ชน สงั คม
2. สง เสริมใหม กี ารเทียบโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั
3. สงเสรมิ ใหผ เู รียน ไดพ ัฒนาและเรียนรอู ยางตอ เน่ืองตลอดชวี ิต โดยตระหนักวา ผเู รียนมีความสาํ คญั สามารถ
พัฒนาตนเองไดต ามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
4.สงเสริมใหภ าคีเครอื ขายมีสว นรว มในการจัดการศกึ ษา
จุดหมาย

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ พฒั นาใหผูเรียนมี
คุณธรรม จริยธรรม มสี ตปิ ญญา มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี มีศกั ยภาพในการประกอบอาชพี และการเรียนรอู ยางตอเนื่อง
ซ่งึ เปนคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคท่ีตองการ จึงกําหนดจุดหมายดังตอไปนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม คานยิ มท่ดี งี ามและสามารถอยรู ว มกันในสังคมอยา งสนั ตสิ ขุ
2. มีความรพู นื้ ฐานสําหรบั การดํารงชวี ิต และการเรยี นรูตอ เน่ือง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ใหสอดคลองกบั ความสนใจ ความถนดั และตามทันความ
เปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง
4. มีทกั ษะการดาํ เนินชวี ิตทีด่ ี และสามารถจดั การกับชีวิต ชุมชน สังคมไดอ ยางมคี วามสุขตามปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
5. มคี วามเขาใจประวตั ศิ าสตรช าติไทย ภมู ใิ จในความเปน ไทย โดยเฉพาะภาษา ศลิ ปะ วัฒนธรรม
ประเพณี กฬี า ภูมปิ ญ ญาไทย ความเปน พลเมืองดี ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ ม่ันในวถิ ชี วี ิตและการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
6. มจี ติ สาํ นึกในการอนุรักษ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม
7. เปนบคุ คลแหงการเรียนรู มที กั ษะในการแสวงหาความรู สามารถเขาถึงแหลงเรียนรูแ ละบรู ณาการความรู
มาใชในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ
กลมุ เปา หมาย

ประชาชนทั่วไปที่ไมอยูในระบบโรงเรียน
โครงสราง

เพอ่ื ใหก ารจัดการศึกษาเปนไปตามหลกั การ จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู ทก่ี ําหนดไวใ หส ถานศกึ ษา
และภาคีเครือขา ยมแี นวปฏบิ ัตใิ นการจัดทาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษา จึงไดกาํ หนดโครงสรา งของหลักสตู รการศกึ ษานอก
ระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไวด ังน้ี

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

5
1. ระดบั การศึกษา

ระดบั การศกึ ษา แบง ออกเปนออกเปน 3 ระดับ ดังน้คี อื
1.1 ระดบั ประถมศกึ ษา
1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
1.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
2.สาระการเรียนรู
สาระการเรียนรูประกอบดวย 5 สาระ ดังนี้
1. สาระทกั ษะการเรยี นรู เปน สาระเก่ยี วกบั การเรียนรูดว ยตนเอง การใชแหลง เรยี นรู การจดั การความรู การ
คดิ เปนและการวจิ ัยอยา งงา ย
2. สาระความรูพ้ืนฐาน เปนสาระเกี่ยวกับภาษาและการสือ่ สาร คณติ ศาสตร วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
3. สาระการประกอบอาชีพ เปนสาระเกี่ยวกับการมองเหน็ ชองทางและการตัดสินใจประกอบอาชพี ทกั ษะใน
อาชีพ การจัดการอาชพี อยางมีคุณธรรมและการพัฒนาอาชพี ใหม นั่ คง
4. สาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ติ เปนสาระเก่ียวกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สุขภาพอนามัยและความปลอดภยั
ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ศิลปะและสุนทรยี ภาพ
5. สาระการพฒั นาสงั คม เปนสาระที่เก่ียวกบั ภูมศิ าสตร ประวตั ศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ
ปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนาทพ่ี ลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม

กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตเปนกจิ กรรมท่ีจดั ขึ้นเพื่อใหผเู รยี นพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม

มาตรฐานการเรียนรู
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดมาตรฐานการ

เรียนรู ตามสาระการเรยี นรูท ้งั 5 สาระ ท่เี ปนขอ กําหนดคุณภาพของผูเ รียน ดงั นี้
1. มาตรฐานการเรยี นรูการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เปน มาตรฐานการเรียนรใู นแตล ะ

สาระการเรยี นรูเมอื่ ผูเรยี นเรยี นจบหลกั สตู ร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2. มาตรฐานการเรยี นรรู ะดบั เปน มาตรฐานการเรยี นรูในแตล ะสาระการเรียนรู เมือ่ ผเู รยี นเรยี นจบในแต

ละระดบั ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

เวลาเรยี น
ในแตล ะระดบั ใชเ วลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเวนกรณที ่มี ีการเทยี บโอนผลการเรยี นทง้ั นี้ ผูเรยี นตอง

ลงทะเบียนเรยี นในสถานศกึ ษาอยา งนอ ย 1 ภาคเรียน
หนว ยกิต

ใชเวลาเรยี น 40 ชั่วโมง มคี า เทากบั 1 หนว ยกติ

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

6

โครงสรางหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

หมายเหตุ วชิ าเลือกแตละระดบั สถานศกึ ษาตอ งจดั ใหผ ูเ รยี น เรยี นรูจ ากการทําโครงงานจํานวนอยา งนอ ย
3 หนวยกิต
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดวย

1) สาระการเรียนรู 5 สาระคือ ทกั ษะการเรยี นรู ความรูพ้ืนฐาน การประกอบอาชพี ทักษะการดาํ เนินชีวติ
และการพัฒนาสงั คม
2) จํานวนหนว ยกติ ในแตล ะระดับ ดังน้ี

2.1) ระดับประถมศึกษา ไมนอ ยกวา 48 หนว ยกติ แบงเปน วิชาบังคบั 36 หนว ยกิต และวชิ าเลือกไม
นอ ยกวา 12 หนวยกิต

2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไมนอ ยกวา 56 หนว ยกิต แบง เปนวชิ าบังคับ 40 หนวยกติ และวชิ า
เลือกไมนอ ยกวา 16 หนวยกิต

2.3) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมน อยกวา 76 หนวยกติ แบงเปนวิชาบังคบั 44 หนวยกติ และ
วิชาเลอื กไมนอ ยกวา 32 หนว ยกิต
3) ผูเรยี นตอ งทาํ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดบั ละไมนอ ยกวา 200 ชั่วโมงการเรียนรูดว ยตนเอง
การลงทะเบียนรายวิชา

การลงทะเบยี นเรยี นตามโครงสรา งหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551
ใหล งทะเบยี นเรียนเปน รายวิชาและตามจํานวนหนว ยกิต ในแตละภาคเรียนดงั น้ี

1. ระดบั ประถมศกึ ษา ลงทะเบียนเรียนทง้ั หมด ไมน อ ยกวา 48 หนวยกติ ใหล งทะเบยี นเรียนไดภ าคเรียนละ
ไมเกิน 14 หนว ยกติ

2. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ลงทะเบียนเรียนทัง้ หมด ไมนอยกวา 56 หนว ยกติ ใหลงทะเบยี นเรียนไดภ าค
เรยี นละไมเ กิน 16 หนว ยกติ

3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ลงทะเบียนเรียนท้ังหมด ไมนอ ยกวา 76 หนว ยกิต ใหล งทะเบียนเรยี นไดภ าค
เรียนละไมเ กนิ 20 หนวยกติ

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

7
วิธีการจดั การเรยี นรู

วธิ ีการเรียนรูต ามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จะมวี ิธีเดยี ว
คอื “วิธเี รยี น กศน.” ท่ีสามารถจดั การเรียนรไู ดห ลายรูปแบบ เชน

- การเรียนรูแบบพบกลุม
- การเรยี นรูด ว ยตนเอง
- การเรียนรูแบบทางไกล
- การเรียนรูแบบชั้นเรียน
- การเรียนรูแบบอื่นๆ
ซ่ึงในแตล ะรายวิชา ผเู รียนสามารถเลือกเรยี นรูปแบบใดรปู แบบหน่งึ หรือหลายรปู แบบก็ได แตทั้งน้ตี อ งขึน้ อยกู บั
ความพรอ มของสถานศกึ ษาดวย
การจัดกระบวนการเรียนรู
1. การจัดกระบวนการเรียนรู โดยมีครู/ผรู ู/ ผูเชย่ี วชาญในเนือ้ หาน้นั ๆ เปนผูถา ยทอดเนอ้ื หา ในการถายทอด
เน้อื หาของครตู อ งเปด โอกาสใหผูเรยี นซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ ได โดยเพ่มิ การเขียนถาม /ตอบ หลังการบรรยาย
รวมทง้ั มีการจดั โอกาสใหฝก ในหองปฏิบัตกิ าร และจดั เวลาการใหค าํ ปรกึ ษา
2. การจดั กระบวนการปฏสิ มั พันธร ะหวา งผูเรียนกับครู และผูเรยี นกบั ผูเ รยี น โดยกระตุน ใหผ ูเรยี นตอบ
พรอ มกบั ใชกิจกรรมลกั ษณะท่เี นน การสอื่ สาร เชน กจิ กรรมคู กิจกรรมกลมุ และการจัดท่ีนัง่ ในชัน้ เรียนตอ ง
เหมาะสม เอือ้ ตอการดําเนนิ กจิ กรรม
3. การจดั ใหม ีการปรบั บทบาทผเู รยี น ใชการแบงผเู รยี นเปนกลุม เลก็ ๆ โดยท่แี ตละกลุมจะไดร ับมอบหมาย
งานใหปฏิบัติ ในการจัดการเรียนการสอนครูจะสอดแทรกกิจกรรม 3 ลักษณะ คอื กิจกรรมที่เนน การใหผูเรยี นไดรบั
ขอมูล/ขอเท็จจรงิ กจิ กรรมทีใ่ หผ เู รยี นเรียนรดู ว ยการไดล งมอื ปฏิบัติ/สงั เกต และกิจกรรมการสะทอ นการเรยี นรู
รว มกันระหวางผเู รียนและครู
4. การติดตามและชว ยเหลือผูเรยี น โดยอาจใชก ระบวนการติดตามชว ยเหลือโดยเพ่อื น/กลมุ เพอ่ื น จดั ใหมี
การปรึกษาหารือกนั ระหวางครกู บั ผเู รียน ใชผูชวยสอน ใชระบบหัวหนากลุม ผูเรียน ใชแ ฟม สะสมผลงาน ใชการเรียน
แบบทมี ใช e-mail, discussion boards และ internet เปน ตน
การเรียนรูแบบตาง ๆ ดังกลา วขางตน สถานศกึ ษาและผเู รยี นจะรว มกันกําหนด โดยในแตล ะรายวชิ าจะ
เลอื กการเรียนรแู บบใดแบบหนงึ่ หรือหลายแบบกไ็ ด ขึ้นอยกู ับความยากงายของเนอื้ หาในรายวิชานนั้ ๆ โดยให
สอดคลอ งกับวิถีชีวติ และการทาํ งานของผเู รยี น รวมท้งั ข้นึ อยูก บั ความพรอมของสถานศึกษาดวย และสถานศกึ ษา
สามารถจดั ใหม ีการสอนเสริมไดในทุกรูปแบบการเรยี นรู เพม่ิ เติมเตม็ ความรูใ หบรรลุมาตรฐานการเรยี นรู
สอ่ื
3.1 ส่ือวชิ าเลือกบังคบั กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จัดทําตนฉบบั
3.2 สอื่ รายวิชาเลือกเสรี สถานศกึ ษาจัดทาํ หลกั สตู รรายวิชาเลือกเสรี แลว เสนอใหค ณะกรรมการของ
สํานักงาน กศน.จังหวัดพจิ ารณา ตรวจสอบสอดคลอ งของรายวิชากับโปรแกรมการเรยี น สอดคลองกบั มาตรฐานของ
กลุม สาระในแตล ะระดับการศึกษา จากน้ัน สาํ นกั งาน กศน.จึงขอรหัสรายวิชาเลือกจากระบบโปรแกรมรายวิชา
เลือก ทั้งนไ้ี มอ นญุ าตใหพ ฒั นารายวิชาเลอื กทีเ่ รียนไดท ุกระดับการศกึ ษา
3.3 รูปแบบของสือ่ มี 2 รูปแบบ คือ แบบชดุ วิชาและแบบเรียนปลายเปด โดยใหพจิ ารณา
ตามธรรมชาติของวชิ า

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

8

3.4 การจัดทําสื่อเสรมิ การเรยี นรู กลมุ พฒั นาการศึกษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และศูนย
เทคโนโลยที างการศึกษา รว มกนั ผลติ ส่ือเสรมิ การเรยี นรใู นเนือ้ หาทยี่ าก เพ่อื เสริมความรคู วามเขาใจในการเรียน
รายวชิ าตา งๆ

การเทยี บโอนผลการเรยี น
การเทยี บโอนผลการเรยี นเปน เครอ่ื งมอื ในการเช่อื มโยงผลการเรียนรูทห่ี นว ยงานตา ง ๆ รว มจดั การศึกษา

และเช่ือมโยงผลการเรียนรูจ ากวิธกี ารเรยี น ทห่ี ลากหลาย รวมท้งั จากการประกอบอาชีพและประสบการณต า งๆ
และเปน กลไกสําคัญในการสงเสริมใหบคุ คลมีการเรียนรูอยา งตอเน่ืองตลอดชีวติ เม่อื บคุ คลตระหนักและรับรวู าสง่ิ ที่
ไดเ รียนรูมาน้ัน สามารถนาํ มาเพ่ิมคุณคา โดยการเทยี บโอนเปน ผลการเรยี น นับเปนผลพลอยไดจ ากการ
เรียนรู นอกเหนอื จากการนาํ ส่งิ ทไี่ ดเ รยี นรูน นั้ ไปแกไ ขปญหาในการประกอบอาชพี พฒั นาการทาํ งานใหด ีขน้ึ หรอื
แมก ระท่ังการนาํ สิ่งทีไ่ ดเ รียนรนู ั้นไปใชใ นการดาํ เนินชีวติ ประจําวัน
หลกั การ

การเทยี บโอนผลการเรยี นมีหลักการ ดงั น้ี
1. หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปนหลกั สตู รท่ีเปด
โอกาสใหผ เู รยี นสามารถเทียบโอนผลการเรียนได
2. การเทียบโอนผลการเรยี นตองสามารถเทยี บโอนผลการเรียนทผ่ี ูเ รยี นสะสมไว ทัง้ จากการศกึ ษาใน
ระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั การศึกษาอาชพี หรือประสบการณก ารทํางาน
3. เปน การเชือ่ มโยงการศกึ ษาทัง้ สามรปู แบบ เพื่อสง เสริมใหเกดิ การศึกษาตลอดชีวติ
4. เปน การกระจายอาํ นาจใหสถานศกึ ษาในการเทยี บโอนผลการเรยี น โดยสถานศกึ ษาจะตองจัดให
บุคลากรหรือเจาหนาท่ี ทาํ หนาที่ใหคําแนะนําและดําเนนิ การใหมกี ารเทยี บโอนผลการเรียน
5. วิธีการและหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนตอ งไดมาตรฐานชดั เจนสมเหตสุ มผลเชอื่ ถอื ไดโปรง ใส
และยตุ ธิ รรม
วตั ถุประสงค
1. เพ่ือเปดโอกาสใหผูทอ่ี อกจากการศึกษาในระบบ หรือนอกระบบรวมทัง้ ผทู เี่ รยี นรตู ามอธั ยาศยั
สามารถเทียบโอนผลการเรียนรเู ขา สหู ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. เพอื่ เปด โอกาสใหม ีการศกึ ษาอยา งตอเน่ือง ทง้ั ในระดับการศกึ ษาเดยี วกันหรือระดบั ท่สี ูงข้นึ
ขอบขายการเทียบโอนผลการเรยี น
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียน ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้
พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จัดทาํ ข้ึนเปน แนวทางใหสถานศึกษาใชในการเทียบโอนผลการเรียน ระหวางรูปแบบ
การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ระหวางหลักสตู รของหนวยงานตา ง ๆ เขา
สู หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มขี อบขาย ดังน้ี
1. การเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั สตู รที่จัดการศึกษาเปน ระดบั ประถม มัธยมศึกษาตอนตนและตอน
ปลายหรอื เทยี บเทา เปน การเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักฐานการศึกษา ที่ออกใหโ ดยสถานศกึ ษาของรฐั และ
เอกชน ทีจ่ ัดการศึกษาตามหลักสตู รที่กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศใช หรือใหการรบั รอง และจดั ระดับการศึกษา
เปนระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย หรอื เทยี บเทา ตามหลกั สูตร ทง้ั ทจี่ ัดใน
รูปแบบการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง

9
2. การเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาตอเน่อื ง

เปน การเทยี บโอนผลการเรียนจากการเรียนในหลักสูตรระยะสน้ั หรอื หลักสตู รฝกอบรมที่จัดขึ้นตาม
ความตอ งการของกลุมเปาหมายตาง ๆ

3. การเทียบโอนความรแู ละประสบการณกลมุ เปาหมายเฉพาะ
เปนการเทยี บโอนความรแู ละประสบการณจ ากการเปนทหารกองประจาํ การ อาสาสมัครสาธารณสขุ

ผูนาํ ทอ งถิน่ และแรงงานไทยทผ่ี า นการทดสอบมาตรฐานฝมอื แรงงานแหงชาติและกลมุ เปาหมายอนื่ ๆ ท่ไี ดท าํ
ขอ ตกลงรวมกัน

4. การเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสตู รตา งประเทศ
เปนการเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศึกษาหลกั สูตรตางประเทศ ท่มี หี นว ยงานท่ีเกี่ยวของของประเทศ
นั้น ๆ ใหก ารรับรองมาตรฐานการจดั การศึกษา หรอื ผลการเรยี นจากหลักสตู รของโรงเรยี นนานาชาติในประเทศไทย
ท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศเทียบความรู
5. การเทียบโอนผลการเรียนจากการประเมินความรูและประสบการณ
เปนการเทียบโอนผลการเรียน โดยใชว ธิ ีการประเมินความรูแ ละประสบการณของผเู รียน ซงึ่ มีการเรียนรู
จากการศึกษาตามอธั ยาศัย การประกอบอาชีพ การทํางาน โดยอาจมหี ลกั ฐานเชิงประจกั ษจ ากการทาํ งาน
หลักฐานอืน่ ๆทเ่ี กย่ี วขอ งหรอื ไมมีหลักฐานกไ็ ด
คณุ สมบตั ิทัว่ ไปของผขู อเทยี บโอนผลการเรียน
1. ตอ งไมเปน นักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ในระดบั ประถมศกึ ษาและระดับมธั ยมศึกษาหรือระดับที่เทยี บเทา
ของสถานศกึ ษาอน่ื
2. ตอ งข้ึนทะเบียนเปนนกั ศึกษาตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
วิธีการเทยี บโอนผลการเรยี น
การเทียบโอนผลการเรียนมี 2 วิธี คอื
วิธที ่ี 1 การพิจารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา

1.1 การพิจารณาหลักฐานการศึกษาจากหลกั สตู รที่จัดการศกึ ษาเปน ระดับ เปนการตรวจสอบ
หลกั สูตรผลการเรยี นในรายละเอียดเกีย่ วกับ ระดับหรือชนั้ ปท ่ีเรยี นจบมา รายวชิ าท่ีเรยี น ผลการเรียน ความถกู ตอ ง
ของหลกั ฐาน โดยหลกั ฐานการศกึ ษาที่นาํ มาเทยี บโอนผลการเรียนตองเปนหลกั ฐานท่ีออกโดยสถานศกึ ษาของรฐั
หรอื เอกชนทีไ่ ดร ับการรบั รองมาตรฐาน หรอื วทิ ยฐานะทางการศกึ ษา

1.2 การพิจารณาหลกั ฐานจากการศกึ ษาตอเน่อื ง เปนการตรวจสอบรายละเอยี ดเกย่ี วกับ
หลักสูตร เน้ือหาวิชาทศ่ี กึ ษา จํานวนชั่วโมง หนว ยงานทจี่ ดั เพอื่ พจิ ารณาเทียบโอนใหส อดคลองกับรายวชิ าตาม
หลกั สูตร ซึง่ ตอ งไดร ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา

วิธีที่ 2 การประเมินความรูและประสบการณ เปน การวัดตรวจสอบและประเมินผลการเรยี นรูและ
ประสบการณของผูเ รยี นที่เกดิ จากการประกอบอาชพี การทาํ งาน จากการเรียนรูตามอัธยาศัย โดยใชเ คร่ืองมอื
ประเมนิ ทีห่ ลากหลาย เชน แบบทดสอบ แบบสมั ภาษณ การปฏิบตั จิ ริง เปนตน

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง

10

การเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักฐานการศกึ ษา มขี อบขา ยดังนี้
1. การเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544

(ในระบบ) เขาสหู ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
2. การเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษา

ขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 (นอกระบบ) เขาสูหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551

3. การเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2545 เขาสู
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

4. การเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั สตู รอน่ื ๆ ทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช

หลักเกณฑก ารเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั ฐานการศึกษาหลักสตู รท่ีจดั การศกึ ษาเปนระดบั
1. คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศกึ ษา ศึกษา วิเคราะหหลกั สตู รของสถานศกึ ษาที่
ผเู รยี นนาํ หลักฐานการศึกษามาเทยี บโอนผลการเรยี น แลว จดั ทาํ ตารางวเิ คราะหหลักสตู รเพ่ือใชในการเทียบโอนผล
การเรียน
2. การพจิ ารณาเทียบโอนใหพิจารณาจาก
2.1 ระยะเวลาและระดับช้ันทผ่ี ขู อเทยี บโอนเรียนผา นมา
2.2 รายวชิ า/ หมวดวิชา ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั ตัวชวี้ ดั ของรายวิชาหรอื คาํ อธิบายรายวิชา ระหวา ง
รายวชิ าท่ีนํามาเทยี บโอนกบั รายวชิ าทรี่ บั เทียบโอน ตอ งมคี วามสอดคลองกันไมนอ ยกวา รอ ยละ 60
2.3 จํานวนหนว ยกติ ของรายวชิ า/หมวดวชิ าทนี่ ํามาเทียบโอน ตอ งไมน อยกวาจํานวนหนวยกิตใน
รายวชิ าที่รบั เทียบโอนผลการเรียน หากรายวิชาทน่ี ํามาเทยี บโอนผลการเรียนมจี าํ นวนหนวยกิตนอ ยกวาจาํ นวน
หนว ยกิตในรายวิชาทรี่ ับเทยี บโอนผลการเรยี น อาจนํารายวิชาอืน่ ที่อยูในสาระและมาตรฐานเดยี วกัน มานบั รวมให
ไดจ าํ นวนหนวยกติ เทากับ หรือมากกวา จาํ นวนหนวยกติ ในรายวิชาทีร่ บั เทียบโอนผลการเรยี น
2.4 ไมรับเทียบโอนรายวิชา/ หมวดวชิ าทม่ี คี า ระดบั ผลการเรียนเปน 0 ร มส
3. ใหเทียบโอนผลการเรยี นไดทง้ั รายวิชาบงั คับและรายวชิ าเลอื ก โดยนับรวมกันแลวตองไมเ กินจํานวน
หนวยกติ ท่กี ําหนดในแตล ะระดบั การศกึ ษา
ระดบั ประถมศกึ ษา เทียบโอนไดไ มเ กนิ 36 หนว ยกิต
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน เทียบโอนไดไมเ กิน 42 หนว ยกติ
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เทยี บโอนไดไ มเ กิน 57 หนวยกิต
4. การใหค าระดับผลการเรยี นจากการเทยี บโอน
4.1 ผลการเรียนเปนรายวิชา ใหใ ชค า ระดบั ผลการเรยี นตามทป่ี รากฏในหลักฐานการศึกษาทน่ี าํ มา
เทยี บโอน ถาผลการเรยี นในหลกั สตู รเดมิ มากกวา 1 รายวชิ านํามาเทยี บโอนกบั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ได 1 รายวชิ า ใหนาํ คา ระดบั ผลการเรียนของรายวชิ าที่ขอเทียบโอนมา
เฉลีย่ หากมจี ดุ ทศนยิ มใหปรับทศนิยมตามหลกั การทางคณิตศาสตร เพ่ือบนั ทกึ ผลการเรยี นตอ ไป
4.2 ผลการเรยี นเปน หมวดวชิ า ใหใชค า ระดบั ผลการเรียนของหมวดวิชาเปนคาระดับผลการเรียน
ในรายวชิ าทเ่ี ทยี บโอนได
5. หัวหนา สถานศกึ ษา พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการเทียบโอน

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

11
การวดั ผลประเมินผลการเรียน

การวดั และประเมินผลการเรียนตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 มี 2 ลกั ษณะไดแ ก

1. การวดั และประเมินผลรายวิชา สถานศกึ ษาดาํ เนินการประเมินผลรายวชิ าดังน้ี
1.1. การวัดและประเมนิ ผลกอ นเรียน เปน การตรวจสอบความรู ทักษะและความพรอมตาง ๆ ของ

ผูเรียนเพื่อเปน ขอมูลพน้ื ฐานในการจัดกระบวนการเรียนรใู หเ หมาะสมกบั สภาพความพรอ มและความรูพน้ื ฐานของ
ผูเ รยี น

1.2. การวดั และประเมนิ ผลระหวางภาคเรยี น สถานศึกษาดาํ เนินการประเมนิ ผลระหวา งภาคเรยี น
เพ่อื ทราบความกาวหนา ท้งั ดา นความรู ทักษะ เจตคติ และพฤตกิ รรมการเรยี นการรวมกิจกรรมและผลงาน อนั เปน
ผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู รายละเอียดของคะแนนระหวางภาค ประกอบดว ย

1) การใหค วามรว มมือกบั สถานศึกษา หมายถงึ การทผ่ี เู รียนมสี วนรวมใน
กิจกรรมตางๆ ของสถานศึกษา เชน การรว มเดนิ รณรงคต อ ตานยาเสพตดิ การเขารว มในวันสาํ คัญ รว มกิจกรรมของ
สถานศึกษา เปน ตน

2) ผลงานที่กําหนดเปน รอ งรอยในแฟม สะสมงาน
3) การแสดงออกและการมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู หมายถงึ การรว มอภิปรายการ
ชวยงานกลมุ การตอบคาํ ถาม
1.3. การวัดผลประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น มวี ัตถปุ ระสงคเ พ่ือทราบผลการเรยี นรโู ดยรวมของผูเรยี นใน
แตล ะรายวิชา โดยใชเคร่ืองมอื เชน แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบอัตนัย แบบประเมินการปฏิบตั ิ เปน ตน
การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรียนน้นั ผูเรียนท่ีจะผานการประเมนิ รายวชิ าใด จะตอ งเขา สอบปลายภาคเรยี น
และมคี ะแนนปลายภาคเรียนรวมกับคะแนนระหวา งภาคเรยี นผา นเกณฑข ัน้ ตํ่าตามเกณฑท ส่ี าํ นักงาน กศน.
กําหนด
1.4 การตัดสนิ ผลการเรยี นรายวิชา
การตัดสนิ ผลการเรยี นรายวชิ า ใหนําคะแนนระหวางภาคเรียนมารวมกับคะแนนปลายภาคเรียนและ
จะตองไดค ะแนนไมนอ ยกวารอ ยละ 50 จงึ จะถือวาผานการเรียนในรายวิชานน้ั
ทัง้ นี้ ผเู รยี นตอ งเขาสอบปลายภาคเรยี นดวย แลว นาํ คะแนนไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑทกี่ ําหนดโดยให
คาระดบั ผลการเรียนเปน 8 ระดับ ดังน้ี

ไดคะแนนรอยละ 80-100 ใหระดบั 4 หมายถึง ดีเยยี่ ม

ไดคะแนนรอยละ 75-79 ใหร ะดบั 3.5 หมายถึง ดมี าก

ไดคะแนนรอยละ 70-74 ใหระดับ 3 หมายถงึ ดี

ไดคะแนนรอยละ 65-69 ใหร ะดบั 2.5 หมายถงึ คอ นขา งดี

ไดคะแนนรอยละ 60-64 ใหร ะดับ 2 หมายถึง ปานกลาง

ไดคะแนนรอยละ 55-59 ใหระดบั 1.5 หมายถงึ พอใช
ไดคะแนนรอยละ 50-54 ใหระดบั 1 หมายถึง ผา นเกณฑข ้นั ตา่ํ ท่กี ําหนด

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

ไดคะแนนรอยละ 0-49 ใหร ะดบั 0 12
หมายถงึ ต่าํ กวาเกณฑข ั้นตํ่าท่ีกําหนด

เกณฑก ารจบหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

1. ผานเกณฑการประเมินการเรียนรูรายวิชาในแตละระดับการศกึ ษา ตามโครงสรา งหลักสูตร
1.1. ระดับประถมศกึ ษา ไมนอ ยกวา 48 หนว ยกิต
1.2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ไมนอ ยกวา 56 หนวยกติ
1.3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายไมนอยกวา 76 หนว ยกติ

2. เขารว มกิจกรรม และผานกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ( กพช) ไมน อยกวา 200 ช่วั โมง
3. ผานการประเมินคณุ ธรรม ในระดับพอใชขน้ึ ไป
4. เขารบั การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ ( สอบ N Net)

การเรียนรดู วยตนเอง
ความหมาย และความสาํ คัญ ของการเรียนรดู ว ยตนเอง

ในปจจบุ นั โลกมีความกาวหนา ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูต า ง ๆ ไดเ พม่ิ ขึน้ เปน อันมาก
การเรียนรูจ ากสถาบันการศึกษาไมอาจทําใหบ คุ คลศกึ ษาความรไู ดครบทั้งหมดการไขวควาหาความรดู วยตนเอง
จงึ เปน อกี วิธหี นึง่ ท่จี ะสนองความตอ งการของบคุ คลได เพราะเมือ่ ใดก็ตามท่ีบคุ คลมีใจรักทีจ่ ะศึกษาคน ควา สง่ิ ที่ ตน
ตองการจะรู บคุ คลน้ันกจ็ ะดาํ เนนิ การศกึ ษาเรยี นรอู ยางตอเนื่องโดยไมม ีใครตอ งบอก ประกอบกับระบบการศึกษา
และปรัชญาการศกึ ษาเพ่ือเตรยี มคนใหส ามารถเรยี นรไู ดตลอดชวี ติ แสวงหาความรูด ว ยตนเอง ใฝุหาความรู รูแหลง
ทรพั ยากรการเรียนรูวิธกี ารหาความรู มีความสามารถในการคดิ เปน ทาํ เปน แกปญหาเปน มีนิสยั ในการทํางาน
และการดาํ รงชวี ิต และมสี ว นรวมในการปกครองประเทศ

การศกึ ษาตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เปน การจดั
การศกึ ษาที่มีความเหมาะสมกับสภาพปญหา และความตองการของผูเ รยี นที่อยนู อกระบบ ซงึ่ เปน ผูท ่ีมปี ระสบการณ
จากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยการกําหนดสาระการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู การจดั การเรียนรู การ
วัดและประเมินผล ใหการพัฒนากบั กลมุ เปา หมายดานจติ ใจ ใหมคี ณุ ธรรม ควบคไู ปกบั การพฒั นาการเรยี นรู สรา ง
ภูมคิ มุ กนั สามารถจดั การกบั องคค วามรู ทง้ั ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ินและเทคโนโลยี เพื่อใหผเู รยี นสามารถปรับตัวอยใู น
สงั คมท่มี ีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สรางภูมิคมุ กันตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทงั้ คาํ นึงถงึ ธรรมชาติ การ
เรยี นรูของผทู ่ีอยูนอกระบบ และสอดคลอ งกบั สภาพเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง การปกครอง ความเจริญกา วหนา
ของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดงั นัน้ ในการศึกษาแตละรายวิชา ผูเรียนจะตอ งตระหนกั วา การศกึ ษาตามหลกั สตู ร
การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 น้ี จะสัมฤทธผิ ลไดด วยดีหากผเู รียนไดศกึ ษา
พรอ มทงั้ การปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนําของครูแตละวชิ าท่ีไดกาํ หนดเนื้อหาเปนบทตาง ๆ โดยแตละบทจะมคี ําถาม
รายละเอียดกิจกรรมและแบบฝก ปฏิบัตติ าง ๆ ซึ่งผูเรยี นจะตอ งทาํ ความเขาใจในบทเรยี น และทํากจิ กรรม ตลอดจน
ทาํ ตามแบบฝก ปฏบิ ตั ิทไี่ ดกําหนดไวอยา งครบถว น ซง่ึ ในหนงั สือแบบฝก ปฏิบตั ขิ องแตละวิชาไดจัดใหม ีรายละเอียด
ตา งๆ ดงั กลาว ตลอดจนแบบประเมนิ ผลการเรียนรูเพื่อใหผูเรยี นไดว ัดความรเู ดมิ และวดั ความกาวหนาหลงั จากที่ได
เรียนรรู วมทั้งการทีผ่ ูเรยี นจะไดมีการทบทวนบทเรยี น หรอื สงิ่ ทีไ่ ดเรียนรู อนั จะเปนประโยชนใ นการเตรยี มสอบตอ ไป
ไดอกี ดวย

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

13

การเรยี นรูในสาระทักษะการเรยี นรู เปน สาระเกีย่ วกับรายวชิ าการเรียนรดู ว ยตนเอง รายวชิ าการใชแ ห ลง
เรียนรู รายวชิ าการจดั การความรู รายวชิ าการคดิ เปน และรายวิชาการวิจัยอยา งงาย ในสว นของรายวชิ าการเรียนรู
ดวยตนเองเปนสาระการเรยี นรเู ก่ียวกบั การพัฒนาทักษะการเรยี นรู ในดานการเรยี นรดู ว ยตนเอง เปดโอกาสให
ผูเรยี นไดศ ึกษา คนควา ฝก ทกั ษะในการเรยี นรู ดว ยตนเอง เพอ่ื มุงเสริมสรา งใหผูเรยี นมีนิสัยรกั การเรียนรูซ ่ึงเปน
ทกั ษะพน้ื ฐานของบคุ คลแหง การเรยี นรทู ีย่ ั่งยนื เพอ่ื ใชเ ปนเครื่องมือในการช้ีนกับตนเองในการเรียนรูไดอยางตอเนอ่ื ง
ตลอดชีวิต

การเรยี นรูด ว ยตนเอง (Self-Directed Learning) เปน แนวทางการเรยี นรหู นง่ึ ทีส่ อดคลองกบั การ
เปล่ยี นแปลงของสภาพปจ จุบัน และเปนแนวคดิ ทีส่ นับสนนุ การเรยี นรูตลอดชวี ิตของสมาชิกในสังคมสูการเปน สังคม
แหงการเรยี นรู โดยการเรยี นรดู ว ยตนเองเปนการเรยี นรูที่ทาํ ใหบุคคลมกี ารริเรม่ิ การเรียนรูดวยตนเอง มเี ปา หมาย
ในการเรียนรทู ี่แนน อน มีความรับผิดชอบในชีวติ ของตนเอง ไมพ ่งึ คนอ่นื มีแรงจูงใจ ทาํ ใหผ เู รยี นเปนบุคคลทใ่ี ฝรู
ใฝเ รียน ทม่ี ีการเรยี นรูตลอดชวี ติ เรยี นรู วิธเี รยี น สามารถเรียนรเู รื่องราวตาง ๆ ไดม ากกวาการเรียนทม่ี คี รปู อน
ความรใู หเพยี งอยางเดียว การเรยี นรดู ว ยตนเองเปนหลกั การทางการศกึ ษาซ่ึงไดรบั ความสนใจมากขน้ึ โดยลาํ ดับ
ในทกุ องคกรการศกึ ษา เพราะเปน แนวทางหนึ่งที่สนับสนุนการเรยี นรูตลอดชีวติ ในอันทจ่ี ะ หลอหลอมผเู รยี นให
มีทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต ตามท่มี ุงหวงั ไวใ นพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ
(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 การเรยี นรูดว ยตนเอง เปน หลกั การทางการศึกษาทมี่ แี นวคดิ พนื้ ฐานมาจากทฤษฎีของกลุม
มนุษยนิยม (Humanism) ซงึ่ เชอื่ วา มนุษย ทกุ คนมธี รรมชาตเิ ปนคนดี มเี สรีภาพและความเปนตนเอง มีความเปน
ปจเจกชนและศกั ยภาพ มีตนและการรบั รตู นเอง มีการเปน จริงในสิง่ ท่ีตนสามารถเปนได มกี ารรบั รู มีความ
รับผิดชอบ และความเปนมนุษย

ดงั นัน้ การท่ผี ูเรยี นสามารถเรยี นรูด ว ยตนเองไดนบั วาเปนคณุ ลกั ษณะที่ดที ่สี ุดซงึ่ มอี ยูในตวั บุคคลทกุ คน
ผเู รยี นควรจะมคี ณุ ลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรยี นรูต ลอดชีวิต
ยอมรบั ในศกั ยภาพของผูเรียนวา ผเู รยี นทุกคนมคี วามสามารถทีจ่ ะเรยี นรูส่งิ ตาง ๆ ไดดว ยตนเอง เพอ่ื ทต่ี นเอง
สามารถทีด่ ํารงชวี ิตอยูในสงั คมทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลาไดอ ยางมีความสขุ

การเรยี นรดู ว ยตนเอง
ความหมาย และความสาํ คัญของการเรยี นรดู วยตนเอง
การเรยี นรเู ปน เรือ่ งของทกุ คน ศกั ดศิ์ รขี องผเู รียนจะมีไดเม่อื มโี อกาสในการเลอื กเรียนในเรอื่ งทหี่ ลากหลาย

และมคี วามหมายแกต นเอง การเรยี นรมู ีองคป ระกอบ 2 ดาน คือ องคป ระกอบภายนอก ไดแ ก สภาพแวดลอ ม
โรงเรียน สถานศึกษา สง่ิ อํานวยความสะดวก และครอู งคประกอบภายใน ไดแก การคดิ เปน พง่ึ ตนเองได มอี ิสรภาพ
ใฝรู ใฝสรางสรรค มีความคิดเชงิ เหตผุ ล มจี ิตส านกึ ในการเรียนรู มีเจตคติเชงิ บวกตอ การเรียนรู การเรียนรทู เี่ กดิ ขน้ึ
มิไดเ กดิ ขนึ้ จากการฟง คําบรรยายหรือท าตามทีค่ รผู สู อนบอกแตอ าจเกดิ ขน้ึ ไดในสถานการณตาง ๆ ตอไปนี้

การเรียนรูโดยบงั เอญิ การเรียนรแู บบนเ้ี กิดขนึ้ โดยบงั เอิญ มิไดเ กดิ จากความต้งั ใจ
การเรียนรูดวยตนเอง เปน การเรยี นรูดวยความตัง้ ใจของผเู รียน ซ่ึงมคี วามปรารถนาจะรใู น
เรื่องนัน้ ผเู รยี นจึงคิดหาวิธกี ารเรยี นดวยวธิ ีการตางๆ หลงั จากน้ันจะมีการประเมินผลการเรียนรูดว ยตนเอง
จะเปนรปู แบบการเรียนรูทีท่ วคี วามสาํ คญั ในโลกยคุ โลกาภิวัตน บุคคลซึ่งสามารถปรบั ตนเอง

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

14
การเรียนรโู ดยกลุม การเรยี นรแู บบน้ีเกดิ จากการท่ผี ูเรยี นรวมกลุมกันแลว เชิญผทู รงคณุ วฒุ ิมาบรรยาย
ใหก บั สมาชิกทําใหสมาชกิ มคี วามรูเรอ่ื งทีว่ ิทยากรพดู การเรียนรูจากสถาบนั การศกึ ษา เปน การเรียนแบบเปน
ทางการ มีหลกั สตู ร การประเมินผล มีระเบียบการเขาศึกษาทชี่ ัดเจน ผูเรยี นตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบทก่ี าํ หนด
เมือ่ ปฏบิ ัตคิ รบถวนตามเกณฑท ่กี าํ หนดก็จะไดร บั ปรญิ ญา หรือประกาศนียบตั ร จากสถานการณ การเรยี นรูด ังกลา ว
จะเหน็ ไดวา การเรียนรอู าจเกดิ ไดห ลายวธิ ี และการเรียนรูน ั้น ไมจ าํ เปน ตองเกิดขน้ึ ในสถาบนั การศกึ ษาเสมอไป การ
เรียนรอู าจเกิดขึ้นไดจ ากการเรยี นรูดวยตนเอง หรอื จากการเรยี นโดยกลมุ ก็ได และการท่บี ุคคลมีความตระหนกั เรียน
รูอยภู ายในจติ สาํ นกึ ของ บุคคลน้ัน การเรียนรดู วยตนเองจึงเปนตัวอยา งของ การเรียนรูใ นลกั ษณะที่เปน การเรียนรู
ทีท่ าํ ใหเ กิดการเรียนรตู ลอดชีวติ ซ่ึงมีความสาํ คัญสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน และ สนับสนุน
สภาพ “สังคมแหง การเรยี นรู” ไดเปนอยางดี

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

15

บทท่ี 3
การประเมนิ ผลโครงการ

การประเมนิ โครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสขุ ภาพนักศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565 โดยการ
ประเมินโครงการตามวัตถุประสงคของโครงการ และการประเมินโครงการรูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP
Model) ดา นบรบิ ท ดา นปจจยั นําเขา ดา นกระบวนการ และดา นผลผลิต โดยวางแผนและออกแบบวธิ ีการประเมนิ
ตามขน้ั ตอน ดงั น้ี

1. แหลง ขอ มลู
2. กรอบการประเมิน
3. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
4. เครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอมูล
5. การวิเคราะหข อ มูล
1. แหลงขอ มลู
แหลง ขอ มูลทใี่ ชในการประเมินผล โครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา
2565 ครัง้ น้ีไดแก
1) ผูเขารวมโครงการ ไดแ ก
๒) นกั ศกึ ษา กศน. อําเภอลาดบัวหลวง กลุมอลั ฟุรกอน จํานวน 130 คน
3) วทิ ยากร ไดแก วทิ ยากรที่มคี วามรูความสามารถ จํานวน 1 คน
4) คณะกรรมการดาํ เนินงานโครงการปฐมนิเทศและตรวจสขุ ภาพนักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา
2565 จํานวน 5 คน
2. กรอบการประเมิน
การประเมินผลโครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสขุ ภาพนักศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565 มี
รายละเอียดของประเด็นการประเมิน ตัวบงชใ้ี นการประเมนิ แนวทางการประเมินผูใ หข อ มูลหรอื แหลง ขอ มูล
เคร่ืองมือ/แนวทางการเก็บขอ มลู เกณฑท ีใ่ ชใ นการประเมนิ ตามกรอบการประเมนิ แบง ออกเปน 2 สวน ดงั น้ี
2.1 การประเมนิ ตามวัตถปุ ระสงคของโครงการฯ
โครงการปฐมนิเทศและตรวจสุขภาพนักศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565 มวี ัตถุประสงค ดังนี้
2.1.1 เพอ่ื เตรยี มความพรอมในการเรยี น ของนกั ศกึ ษาและกระตนุ ใหน ักศึกษาเกดิ กระบวนการเรยี นรู
และพฒั นาตนเองได
2.1.2 เพือ่ ช้ีแจงและแนะแนวการจดั การเรยี นการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

16

2.2 การประเมินผลการดําเนินโครงการรปู แบบการประเมนิ CIPP MODEL
รูปแบบการประเมินโครงการปฐมนิเทศและตรวจสขุ ภาพนักศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565

ใชรูปแบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตฟั เฟลบีม ดงั น้ี

ประเมินสภาวะแวดลอ ม • หลกั การ
( Context Evaluation ) • วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ
ประเมนิ การปจจัยเบื้องตน • เปา หมายของโครงการ
( Input Evaluation ) • การเตรยี มการภายในโครงการ

• บคุ ลากร
• วัสดุอุปกรณ
• เคร่ืองมือเครือ่ งใช
• งบประมาณ

ประเมินกระบวนการ • การดาํ เนินโครงการ
( Process Evaluation ) • กิจกรรมการดาํ เนนิ งานตามโครงการ
• การนเิ ทศติตามกํากบั
• การประเมินผล

การประเมนิ ผลผลติ • ผลการดาํ เนินโครงการ
( Product Evaluation ) • คุณภาพผูเรยี น

เพอื่ ประเมินผลโครงการปฐมนิเทศและตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565
โดยใชการประเมิน รูปแบบซิป (CIPP model) ของ สตัฟเฟล บมี ประเมนิ ใน 4 ดา น

1. การประเมินดานบริบท (Context Evaluation : C ) เพอ่ื ประเมินเนื้อความ เปน การศกึ ษา
ปจ จัยพืน้ ฐาน ท่ีนาํ ไปสูก ารพฒั นาเปาหมายของโครงการ ไดแ ก บริบทของสภาพแวดลอม นโยบาย วิสยั ทศั น
ปญ หา งบประมาณตลอดจนแนวโนมการกอตัวของปญหาทอ่ี าจจะเปน อปุ สรรคตอการดาํ เนินโครงการ

2. การประเมนิ ปจจัยปอ น (Input Evaluation : I ) เพ่อื คน หาประสิทธิภาพขององคประกอบทน่ี ํามา
เปนปจจัยปอน ซ่ึงในดา นจําแนกเปน บคุ คล ส่ิงอาํ นวยสะดวก เครอ่ื งมอื อปุ กรณ ครภุ ณั ฑ ศกั ยภาพการ

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

17

บรหิ ารงานซ่งึ แตล ะปจ จยั ก็ยงั จาํ แนกยอยออกไปอีก เชน บคุ คล อาจพิจารณาเปนเพศ อายุ อาชีพกลมุ เปา หมาย

ความพงึ พอใจ ความคาดหวงั ทศั นคติ ศกั ยภาพ ความสามารถ ประสบการณ ความรู คณุ วฒุ ทิ างการศกึ ษา
3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P ) เพือ่ ศกึ ษาตอจากการประเมินบรบิ ทและ

ปจจัยปอนวากระบวนการเปนไปตามแผนที่วางไว เปนการศึกษาคนหาขอ บกพรอง จุดออ น หรอื จุดแขง็ ของ

กระบวนการบริหารจัดการโครงการทีจ่ ะนาํ โครงการบรรลุวัตถุประสงคท ี่วางไวว า มปี ระสทิ ธภิ าพมากนอยเพียงใด
4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P ) เพอื่ ตรวจสอบประสทิ ธิผลของโครงการ

โดยเฉพาะความสอดคลอ งระหวางวตั ถุประสงคก ับผลลัพธท ไ่ี ดแลวนาํ เกณฑท ่ีกําหนดไวไปตดั สินเกณฑม าตรฐานจะ

กําหนดข้ึนเอง

3. วธิ ีการเก็บรวบรวมขอมูล
การกาํ หนดวิธกี ารเก็บรวบรวมขอมลู ไดศึกษาจากเอกสารท่เี กย่ี วขอ งกบั การประเมินโครงการทัง้ ทเี่ ปน

เอกสาร ตํารา บทความ และงานวิจัย เพื่อกําหนดวิธใี นการรวบรวมขอมูลในแตล ะดา นท่เี หมาะสมกบั ลักษณะ
ทีจ่ ะประเมนิ ตามแหลงขอ มูล รวมถงึ เคร่ืองมือเกบ็ รวบรวมขอ มูลท่เี หมาะสม การกําหนดวธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มลู

ตาราง 3.1 วิธีการและแหลง ขอมลู ในการเกบ็ รวบรวมขอมลู การประเมินตามวัตถปุ ระสงคของโครงการฯ

วัตถปุ ระสงค วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู แหลง ขอ มลู
1. เพ่อื เตรียมความพรอ มในการเรียน ของ แบบทดสอบ ผูเขา รว มโครงการ
นกั ศึกษาและกระตนุ ใหน กั ศึกษาเกิด
กระบวนการเรียนรู และพฒั นาตนเองได

2. เพื่อชแ้ี จงและแนะแนวการจดั การเรยี นการ แบบทดสอบ ผูเขารวมโครงการ
สอนตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

ตาราง 3.2 วธิ ีการและแหลง ขอ มูลในการเก็บรวบรวมขอ มลู การประเมนิ ผลการดาํ เนนิ โครงการ
จากแบบสอบถามความคดิ เหน็ ตอ โครงการ ตามรปู แบบการประเมนิ CIPP MODEL มี 4 ดา น

ประเดน็ วธิ ีการเก็บรวบรวมขอมูล แหลง ขอมลู
1. บรบิ ท แบบสอบถาม ผูเขารว มโครงการ
2. ปจ จยั นาํ เขา แบบสอบถาม ผูเ ขารวมโครงการ
3. กระบวนการ แบบสอบถาม ผูเขา รว มโครงการ
4. ผลผลิต แบบทดสอบ ผูเขารว มโครงการ

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

18
4. เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู

เคร่ืองมอื ทใี่ ชในการเก็บรวบรวมขอ มูลคร้ังน้ี แบงออกเปน 2 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 การประเมินตามวตั ถุประสงคของโครงการ

1. แบบทดสอบ วดั ความรูความเขา ใจเกี่ยวกับการเรียน แบบกศน. แบบทดสอบความรูทีไ่ ดร ับจากการเขา
รวมโครงการ เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (Multiple - Choice) 4 ตัวเลอื ก ซงึ่ มีทัง้ ตัวเลือกทเี่ ปนคาํ ตอบ
ท่ถี ูกและตัวเลือกที่เปนคาํ ตอบที่ผดิ เรียกวาตวั ลวง ผตู อบตัดสนิ ใจเลอื กตามทตี่ องการหรอื พิจารณาขอ ความทีใ่ หไ วว า
ถูกตอ งหรอื ไม

2. แบบประเมนิ การวดั ทักษะการปฏบิ ตั ิและการวดั คณุ ภาพของผลงาน
3. แบบประเมินผลการนําองคความรูไปใชประโยชน
ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลการดาํ เนินโครงการ
1. แบบสอบถามความเหน็ ตอ โครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสขุ ภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา
2565 ใชโ ดยขอคําถามมีลกั ษณะเปน แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ ไดแ ก มากทสี่ ดุ มาก
ปานกลาง นอย และนอยท่สี ุด เพื่อสอบถามเกยี่ วกบั ความเหมาะสม/ความพรอ มดา นบรบิ ท ปจจยั นาํ เขา
กระบวนการ และผลผลติ ผใู หข อ มูล คือ ผเู ขารว มโครงการ
แบง ออกเปน 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 สอบถามขอมลู พน้ื ฐานของผตู อบแบบสอบถาม ไดแ ก เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา
ตอนท่ี 2 ขอ คําถามเก่ียวกับความเหมาะสม/ความพรอ มดา นบรบิ ท ปจจัยนาํ เขา กระบวนการ
และผลผลิตของโครงการ
ตอนที่ 3 เปน แบบสอบถามปลายเปด โดยใหแ สดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับขอ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ อ่ืนๆ
เกี่ยวกบั โครงการ
5. การวเิ คราะหขอมูล
5.1 การจดั กระทําขอ มลู และแนวทางในการวิเคราะหข อมูล มีดังนี้
1) ใชเทคนคิ การวิเคราะหเน้อื หา (Content analysis) สาํ หรบั ขอมูลเชงิ คุณภาพทีไ่ ดจ ากการ
สํารวจเอกสาร การสมั ภาษณ
2) ใชว ิธกี ารหาคาความถ่ี (Frequency) หาคารอ ยละ (Percentage) หาคา เฉลี่ย (Mean) และหา
คาสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3) รวบรวมขอ มูลจากแบบสอบถามปลายเปด มาจัดกลมุ ความถข่ี องคําตอบ แลวนาํ เสนอผลการ
วิเคราะหขอมูลเชิงบรรยาย
5.2 เกณฑก ารใหค ะแนน
1) เกณฑก ารใหค ะแนนและการแปลผลขอ มลู
ความพรอ ม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ระดับมากทส่ี ดุ เทา กบั 5 คะแนน
ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ระดับมาก เทากับ 4 คะแนน
ความพรอ ม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ระดับปานกลาง เทา กบั 3 คะแนน
ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ระดับนอย เทากับ 2 คะแนน
ความพรอ ม ความเหมาะสม ความพงึ พอใจ ระดบั นอ ยทส่ี ดุ เทากับ 1 คะแนน

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

19
2) การแปลผลการวเิ คราะหขอ มูล โดยพจิ ารณาคา เฉลยี่ เทยี บกบั เกณฑก ารแปลผล ดังน้ี
4.51 – 5.00 แปลวา ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ในระดับ มากที่สุด
3.51 – 4.50 แปลวา ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ในระดับ มาก
2.51 – 3.50 แปลวา ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ในระดับ ปานกลาง
1.51 – 2.50 แปลวา ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ในระดับ นอย
1.00 – 1.50 แปลวา ความพรอม ความเหมาะสม ความพึงพอใจ ในระดับ นอ ยทีส่ ดุ
5.3 เกณฑการประเมินความรูและผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนรู
1) การวดั ความรโู ดยเปรียบเทยี บคะแนนการทดสอบความรูกอนและหลงั การฝก อบรม และใชการ
วเิ คราะหท างสถิติ
2) การประเมินระดับความรูของผูเ ขา รับการฝกอบรม โดยใชการแปลความหมายขอ มูลท่อี ยใู นรูป
ของคะแนนเฉลย่ี การกาํ หนดระดบั คะแนนท่ผี า นการประเมิน คือ ผูป ระเมนิ จะตอ งมีคะแนนอยางนอย 60%
ของคะแนนเตม็ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน คา คะแนนผา นการประเมนิ เทา กบั 12 คะแนน)
ผลการวิเคราะห มชี ว งการประมาณคาคะแนนเฉล่ยี จัดทําเปนเกณฑการประเมนิ ผลเปน 3 ระดบั ดังน้ี

คะแนน 00.00 – 10.00 ระดับความรู ควรปรับปรุง
คะแนน 10.01 – 15.00 ระดับความรู ปานกลาง
คะแนน 15.01 – 20.00 ระดับความรู ดี
5.4 การวดั ผลสมั ฤทธข์ิ องการเรียนรู (คือ การประเมนิ เปา หมายของการเรยี นรขู องผเู ขา รับการฝกอบรมวา
สามารถไดร ับหรือมีความรเู พิ่มขนึ้ มากนอยเพยี งใด) คาํ นวณจากสูตร ดังนี้

ผลสัมฤทธิข์ องการเรียนรู = คะแนนการเรียนรู x 100
คะแนนความนาจะเปน

คะแนนการเรียนรู = คะแนนหลังการอบรม (Post Test) – คะแนนกอนการอบรม (Pre Test)
คะแนนความนาจะเปน = คะแนนเต็ม – คะแนนกอนการอบรม (Pre Test)
มีสมมตฐิ านในการประเมินวา ผูเขา รับการอบรมอยางนอ ย รอ ยละ 85 มีความรูเพม่ิ ขน้ึ
5.5 สถิติทใี่ ชในการวิเคราะหขอมูล
สถิตพิ น้ื ฐานทีใ่ ชใ นการวเิ คราะหขอ มลู

- คาความถ่ี (Frequency)
- คา รอ ยละ (Percentage)
- คาเฉลี่ย (Mean)

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

บทท่ี 4 20
ผลการวเิ คราะหข อ มูล

การประเมินผลโครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565
ไดผ ลวเิ คราะหขอมลู แบงเปน 2 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 การประเมนิ ตามวัตถุประสงคของโครงการ

วัตถุประสงค 1) เพือ่ เตรยี มความพรอมในการเรยี นของนกั ศึกษาและกระตุนใหน ักศกึ ษาเกดิ กระบวนการ
เรียนรแู ละพัฒนาตนเองได

2) เพอื่ ช้แี จงและแนะแนวการจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ตัวชีว้ ดั ผลผลิต (Output)
ตัวชวี้ ดั ผลผลิต : นกั ศกึ ษา กศน.อําเภอลาดบัวหลวง เขา รวมโครงการ ไมนอยกวา รอ ยละ 80
ตัวช้วี ดั ผลลพั ธ : นกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง มคี วามรูความเขาใจ ในการจัดการศึกษา กศน . และ
เกิดกระบวนการเรียนรู มคี วามพรอมในการเรียนและสามารถพัฒนาตนเองได

ผลการประเมนิ ดา นความรูท่ไี ดร ับหลงั การศึกษาอบรมเสรจ็ ส้นิ พิจารณาจากการตรวจสอบ
ผลสัมฤทธิ์ดา นความรขู องผูเ ขารว มโครงการ โดยมคี า เฉลย่ี สรุปไดด งั ตาราง

ตาราง 4.1 แสดงผลสมั ฤทธิ์ดา นความรขู องผเู ขารว มโครงการ

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม ต่าํ สดุ สูงสดุ � S.D. ระดบั
1. กอ นการอบรม 10 1 7 4.96 1.19 ปานกลาง
2. หลังการอบรม 10 5 10 8.04 1.04
ดี

จากตาราง 4.1 ผลการประเมินการเรียนรูโ ดยใชแ บบทดสอบ ซง่ึ มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน พบวา
ผูเขา รวมโครงการ ไดคะแนนทดสอบกอนฝก อบรม โดยเฉลยี่ มีคาเทากับ 4.96 คะแนน สวนคะแนนทดสอบหลัง
ฝกอบรม โดยเฉลย่ี มคี า เทากบั 8.04 คะแนน

ตาราง 4.2 แสดงผลความรูของผเู ขา รว มโครงการ อยา งนอ ย 80% ของผูเ ขา รวมโครงการมีความรูเ พม่ิ ขน้ึ

ระดับความรู กอ นเขารวมโครงการ ความรูข องผเู ขารวมโครงการ รอ ยละ
1. ควรปรบั ปรงุ จํานวน (คน) รอ ยละ หลังเขารวมโครงการ 0.00
2. ปานกลาง 10 จํานวน (คน) 14.62
3. ดี 120 7.69 - 85.38
- 92.31 19 100
ภาพรวม 130 0.00 121
130 130

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

21

จากตาราง 4.2 ผลการประเมนิ ความรูข องผูเขารวมโครงการ พบวา หลังเขา รวมโครงการ ผเู ขา รวม
โครงการมีความรูเพิ่มขึน้ อยใู นระดับปานกลาง รอ ยละ 14.62 และอยใู นระดบั ดี รอ ยละ 85.38 รวมรอยละ

100 ของผูเขารว มโครงการมคี วามรเู พิ่มมากข้นึ ตรงตามวัตถุประสงคความรูของผเู ขารวมโครงการ อยา งนอ ย

80% ของผูเขา รวมโครงการมีความรเู พ่ิมขน้ึ

ตอนที่ 2 การประเมินผลการดาํ เนนิ โครงการ รปู แบบการประเมนิ CIPP MODEL
ตอนตามความมุงหมายของการดาํ เนนิ โครงการจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ตอโครงการฯ ได 6 ขอ ดงั นี้

ขอท่ี 1 การประเมินขอ มูลทว่ั ไป ไดแ ก ขอมลู ทวั่ ไปของผูเขา รวมโครงการ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา
ขอ ท่ี 2 การประเมนิ บรบิ ทของโครงการ ไดแ ก วตั ถุประสงคของโครงการ ความสอดคลองกับนโยบายดาน
การศึกษา ความตองการของกลมุ เปาหมาย และปญหาสภาพสงั คมปจ จบุ นั อนั นําไปสูความจาํ เปนของการดาํ เนิน
โครงการ
ขอ ที่ 3 การประเมนิ ดา นปจ จยั นําเขา ของโครงการ ไดแก คณุ ลกั ษณะของวทิ ยากร คณุ สมบัตขิ องผูเขา รวม
โครงการ ระยะเวลา วดั สอุ ุปกรณ และสถานทจ่ี ดั โครงการ
ขอ ท่ี 4 การประเมินดานกระบวนการของโครงการ ไดแก การจัดกิจกรรมศึกษาอบรม และการประสานงาน
ขอ ท่ี 5 การประเมินดา นผลผลติ โครงการ ไดแ ก ความรูความสามารถท่ีไดรับ ไดแก ความรูทไี่ ดรับหลงั จาก
การศกึ ษาอบรมเสรจ็ สิ้น และการนาํ ความรูความสามารถไปใชใ นชีวิตประจําวัน
ขอ ท่ี 6 ขอเสนอแนะของผูเ ขารว มโครงการ หรอื ผูบ ังคบั บัญชาของผูเขารบั การอบรม ผรู ว มงาน และ
ผูรบั บริการ

ประเดน็ ท่ี 1 การประเมินดานขอมลู ทวั่ ไป
การศึกษาดานขอ มูลท่วั ไปของโครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสขุ ภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา

2565 โดยใชแบบสอบถามผลการสอบถามความคดิ เหน็ ของผูเขารวมโครงการ สรุปไดดังตาราง
ตาราง 4.3 ขอมูลทัว่ ไปของผูเ ขา รวมโครงการ จาํ แนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอ ยละ
ชาย 55 42.31
หญงิ 75 57.69
รวม 130 100.00

จากตาราง 4.3 ขอ มูลทว่ั ไปของผเู ขารว มโครงการ จําแนกตามเพศ พบวาผเู ขารวมโครงการ ท้ังหมด
จํานวน 130 คน จําแนกเปนเพศชาย รอยละ 42.31 เพศหญงิ รอยละ 57.69

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

22

ตาราง 4.4 ขอมลู ทว่ั ไปของผูเขา รว มโครงการ จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละ
ตา่ํ กวา 15 ป 31 23.85
15 – 39 ป 99 76.15
40 – 59 ป 0 0.00
60 ป ข้นึ ไป 0 0.00
130 100.00
รวม

จากตาราง 4.4 ขอ มลู ทว่ั ไปของผูเขา รว มโครงการ จําแนกตามอายุ พบวาผูเขา รวมโครงการ ท้งั หมด
มอี ายตุ ่ํากวา 15 ป รอยละ 23.85 จํานวน 31 คน อายรุ ะหวา ง 15 – 39 ป จํานวน 99 คน รอยละ 76.15

ตาราง 4.5 ขอ มูลทว่ั ไปของผูเ ขารวมโครงการ จาํ แนกตามระดบั การศกึ ษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ
ตํา่ กวาประถมศกึ ษา - -
ประถมศึกษา - -
ม.ตน 61
ม.ปลาย 69 46.92
ปรญิ ญาตรี - 53.08

รวม 130 -
100.00

จากตาราง 4.5 ขอ มูลทว่ั ไปของผเู ขา รวมโครงการ จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา พบวาผูเขารวม
โครงการ มีระดับการศึกษา คือ มธั ยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 61 คน รอยละ 46.92 และ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
จํานวน 69 คน รอยละ 53.08

ประเดน็ ที่ 2 การประเมินดานบริบท
การศึกษาดา นบรบิ ทของโครงการปฐมนิเทศและตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565

โดยใชแบบสอบถาม ผลการสอบถามความคดิ เหน็ ของผเู ขา รว มโครงการ สรปุ ได ดงั ตาราง

ตาราง 4.6 คาเฉล่ียระดับความคิดเหน็ ของผูเ ขา รวมโครงการทมี่ ีตอโครงการ ดา นบรบิ ท

รายการ � S.D. ระดับความคดิ เห็น
1. เนือ้ หาตรงตามความตอ งการ 4.69 0.48 มากทีส่ ดุ

2. เน้อื หาเพยี งพอตอความตอ งการ 4.52 0.57 มากทสี่ ุด
3. เนื้อหาปจจบุ ันทนั สมยั 3.81 0.77 มาก
4. เนอื้ หามีประโยชนต อการนําไปใช 4.23 0.69 มาก
ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ 4.34 0.52 มาก

คาเฉลยี่ รวม

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

23
ตาราง 4.6 ผลการประเมินโครงการดานบริบท พบวาเนอ้ื หาตรงตามความตอ งการ ในระดบั มากท่ีสุด
โดยมีคาเฉล่ีย 4.69 คา S.D.=0.48 รองลงมาเน้ือหาเพียงพอตอความตอ งการ โดยมคี าเฉลีย่ 4.52 คา S.D.=0.57
และเนอื้ หามีประโยชนตอ การนาํ ไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ในระดับมาก โดยมคี า เฉล่ยี 4.23 คา S.D.= 0.69
และเนอ้ื หาปจจบุ นั ทนั สมยั ในระดบั มาก โดยมีคา เฉลย่ี 3.81 คา S.D.= 0.77 ระดบั ความคิดเหน็ ของผูเขา รวม
โครงการทมี่ ตี อ โครงการในภาพรวม ดา นบริบท ในระดบั มาก มคี า เฉลย่ี รวม 4.34 คา S.D.=0.52

ประเดน็ ท่ี 3 การประเมินดานปจจัยนําเขา
ผลการตอบแบบสอบถามความคดิ เหน็ ของผูเ ขารว มโครงการ ในการประเมินดานความพรอ มและ

ความเหมาะสมของปจ จยั นําเขาใน 4 ดาน คือ คณุ ลักษณะของวทิ ยากร ระยะเวลา วสั ดอุ ปุ กรณ และสถานที่
จดั โครงการ โดยมคี า เฉล่ียระดับความคิดเห็นสรปุ ไดด งั ตาราง
ตาราง 4.7 คาเฉล่ยี ระดับความคดิ เห็นของผเู ขารวมโครงการทม่ี ผี ลตอ ปจจยั นําเขา

รายการ � S.D. ระดับความคิดเห็น
คณุ ลักษณะของวทิ ยากร 4.14 0.43 มาก
1. วิทยากรมีความรคู วามสามารถ 4.66 0.74
ในเร่อื งท่ถี ายทอด 4.56 0.56 มากทสี่ ุด
2. วิทยากรมีเทคนิคการถายทอด 4.45 0.23 มากท่สี ดุ
ใชส่อื เหมาะสม
3. วทิ ยากรเปด โอกาสใหม ีสว นรว ม มาก
และซักถาม

รวม

สถานที่ในการจดั โครงการ 4.17 0.75 มาก
1. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณและส่ิง 4.17 0.75 มาก
อํานวยความสะดวก 4.40 0.77 มาก
4.40 0.77 มาก
รวม 4.95 0.31 มากทส่ี ุด
การใชส อ่ื 4.95 0.31 มากที่สุด
1. มีการใชส่ือทส่ี อดคลองและ 4.50 0.51 มากทีส่ ุด
เหมาะสมกับกิจกรรม

รวม
การบริการ
1. การบรกิ าร การชว ยเหลือและ
การแกป ญหา

รวม
เฉล่ยี รวมทง้ั 4 ดาน

ตาราง 4.7 ผลการประเมนิ โครงการดา นปจจยั นาํ เขา เฉลยี่ ในภาพรวมอยูในระดบั มากที่สุด โดยมีคา เฉล่ีย
4.50 คา S.D. =0.51 และเมอ่ื วิเคราะหรายดานพบวา

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

24
ในดา นคณุ ลกั ษณะของวทิ ยากร มคี าสงู สดุ คือ วิทยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชสอ่ื เหมาะสม มีคา เฉลย่ี
ความคิดเหน็ เทา กับ 4.66 คา S.D.= 0.74 และมีคาตํ่าสุด คือ วิทยากรมคี วามรคู วามสามารถในเร่ืองท่ีถายทอด
มคี า เฉลย่ี ความคดิ เหน็ เทา กับ 4.14 คา S.D.= 0.43 ในภาพรวมมีผลการประเมนิ ในระดับมาก โดยมีคา เฉลี่ย
รวมความคิดเหน็ เทากับ 4.45 คา S.D.= 0.23
ในดา นสถานทจ่ี ดั โครงการ คอื สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณแ ละส่งิ อาํ นวยความสะดวก มคี า เฉลี่ยความคดิ เหน็ ใน
ภาพรวมมีผลการประเมินในระดับ มาก โดยมีคา เฉลี่ย 4.17 คา S.D.= 0.75
ในดา นการใชส ่อื คอื มีการใชส อื่ ท่สี อดคลองและเหมาะสมกับกิจกรรม มีคาเฉล่ียความคดิ เห็น ในภาพรวมมี
ผลการประเมินในระดับ มาก โดยมคี า เฉล่ีย 4.40 คา S.D.= 0.77
ในดา นการบริการ คอื การบรกิ าร การชว ยเหลือและการแกปญหา มีคา เฉลี่ยความคดิ เหน็ ในภาพรวมมผี ล
การประเมินในระดับ มากท่สี ุด โดยมคี า เฉลี่ย 4.95 คา S.D.= 0.31

ประเด็นท่ี 4 การประเมินดานกระบวนการ
ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของผเู ขา รวมโครงการในการประเมนิ ดานความพรอ มและ

ความเหมาะสมของดานกระบวนการดาํ เนนิ งาน ใน 2 ดา น คือ ดานการจัดกิจกรรม/โครงการ และ
ดา นประสานงาน โดยมีคา เฉลีย่ คาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความคิดเหน็ สรปุ ไดดังตาราง

ตาราง 4.8 คาเฉลีย่ และระดับความคดิ เหน็ ของผเู ขารว มโครงการทมี่ ีตอ โครงการดา นกระบวนการ

รายการ � S.D. ระดับความคิดเห็น
กระบวนการจัดกจิ กรรม 4.55 0.54 มากทส่ี ดุ
1. การเตรียมความพรอ มกอ นอบรม 4.95 0.24 มากทสี่ ดุ
2. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ 4.54 0.83 มากท่ีสดุ
วัตถปุ ระสงค 4.68 0.54 มากที่สุด
3.การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.20 0.44 มาก
4.69 0.70 มากท่สี ดุ
รวม 4.45 0.57 มาก
การประสานงาน 4.57 0.56 มากทส่ี ุด
1. คณะทํางานดาํ เนนิ งานตามขนั้ ตอน
การดาํ เนินงานของโครงการ
2. คณะทํางานชว ยแกไขปญหาอปุ สรรค
ระหวางการจดั อบรมเปน อยางดี

รวม
เฉลีย่ รวมทัง้ 2 ดาน

จากตาราง 4.8 ผลการประเมินดานกระบวนการจัดกิจกรรม เฉล่ียในภาพรวมอยูในระดับมากทส่ี ดุ โดยมี
คา เฉลย่ี 4.68 คา S.D. =0.54 และเมื่อวเิ คราะหเปน รายดานพบวา

ในดา นการจดั กิจกรรมการศกึ ษา มีคาสูงสุด คอื การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค มีคา เฉลย่ี
เทา กับ 4.95 คา S.D. =0.24 และมคี าตา่ํ สุด คอื การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา มคี าเฉล่ียเทา กับ 4.54
คา S.D. =0.83 อยูในระดับ มากท่ีสุด

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง

25

ในดา นการประสานงาน เฉล่ยี ในภาพรวมอยใู นระดับมาก โดยมคี าเฉลีย่ 4.45 คา S.D. =0.57 และเมอื่
วิเคราะหเปน รายดานพบวา มคี าสงู สุด คือ คณะทาํ งานชว ยแกไ ขปญ หาอปุ สรรคระหวา งการจดั อบรมเปนอยา งดี มี
คา เฉลย่ี เทากับ 4.69 คา S.D. =0.70 อยูใ นระดับมาก และมีคาตา่ํ สดุ คือคณะทํางานดําเนินงานตามข้นั ตอนการ
ดําเนนิ งานของโครงการ มีคา เฉลย่ี เทา กับ 4.20 คา S.D. =0.44 อยใู นระดบั มากทส่ี ุด

ประเด็นท่ี 5 การประเมนิ ดานผลผลติ โครงการ
พิจารณา 2 ดาน เพอ่ื สะทอ นผลผลติ ของโครงการ
1. การประเมินดานความรทู ีไ่ ดรบั หลงั จากการศกึ ษาอบรมเสรจ็ สิ้น
ผลการประเมินดา นความรูท ่ไี ดร ับหลงั การศกึ ษาอบรมเสร็จสิน้ พิจารณาจากการตรวจสอบ

ผลสัมฤทธ์ดิ านความรูของผเู ขารวมโครงการ โดยมคี าเฉลยี่ คา ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรปุ ไดดงั ตาราง

ตาราง 4.9 แสดงผลสัมฤทธิด์ านความรูของผเู ขา รวมโครงการ

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม ตํา่ สดุ สงู สดุ � S.D. ระดบั
1. กอ นการอบรม 10 1 7 4.96 1.19 ปานกลาง
2. หลงั การอบรม 10 5 10 8.04 1.04
ดี

จากตาราง 4.9 ผลการประเมนิ การเรยี นรโู ดยใชแบบทดสอบ ซ่งึ มีคะแนนเตม็ 10 คะแนน พบวา
ผูเขา รวมโครงการ ไดคะแนนทดสอบกอนฝกอบรม โดยเฉล่ยี มคี าเทากับ 4.96 คะแนน สวนคะแนนทดสอบหลัง
ฝกอบรม โดยเฉลีย่ มีคา เทากับ 8.04 คะแนน

ตาราง 4.10 แสดงผลความรขู องผเู ขารวมโครงการ อยา งนอย 85% ของผูเ ขารว มโครงการมคี วามรเู พิ่มข้นึ

ระดบั ความรู กอ นเขา รวมโครงการ ความรูข องผเู ขา รวมโครงการ รอ ยละ
1. ควรปรบั ปรงุ จํานวน (คน) รอ ยละ หลงั เขารวมโครงการ 0.00
2. ปานกลาง 10 จํานวน (คน) 14.62
3. ดี 120 7.69 - 85.38
- 92.31 19 100
ภาพรวม 130 0.00 121
130 130

จากตาราง 4.10 ผลการประเมินความรูของผเู ขารวมโครงการ พบวาหลงั เขา รวมโครงการ ผเู ขา รว ม
โครงการมคี วามรูเ พ่ิมขนึ้ อยใู นระดบั ปานกลาง รอยละ 14.62 และอยูในระดับดี รอ ยละ 85.38 รวมรอยละ

100 ของผูเขารวมโครงการมคี วามรูเ พ่ิมมากขึน้ ตรงตามวัตถปุ ระสงคความรูของผูเ ขารวมโครงการ อยา งนอ ย

80% ของผูเขา รว มโครงการมคี วามรเู พ่ิมข้นึ

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

ตาราง 4.11 ระดบั ความคดิ เห็นของผเู ขารว มโครงการ เก่ียวกบั ดานผลผลิตโครงการ 26

รายการ ̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
1. มคี วามรคู วามเขาใจในเน้ือหาที่ 4.86 0.49 มากท่สี ดุ
อบรมมากขึ้น 4.89 0.40 มากที่สุด
2. สามารถนําความรูไปปรบั ใชใ น 4.87 0.37 มากที่สุด
ชีวติ ประจําวนั ได 4.90 0.16 มากทส่ี ุด
3. ประโยชนท่ไี ดเขา รวมกจิ กรรม

รวม

จากตาราง 4.11 ผลการประเมินโครงการ ในดานผลผลิตโครงการ มีคาสงู สดุ คือ ผูเขา รับการอบรม
สามารถนาํ ความรไู ปปรบั ใชในชีวิตประจําวันไดมีคา เฉลีย่ เทากบั 4.89 คา S.D. =0.40 และมคี า ต่าํ สดุ คอื ผเู ขา รับ
การอบรมมคี วามรูความเขาใจในเนอื้ หาท่อี บรมมากข้นึ มคี าเฉล่ียเทากบั 4.86 คา S.D. =0.49 เมือ่ พจิ ารณาใน
ภาพรวมดานผลผลิตโครงการ มคี า เฉล่ียอยใู นระดบั มากท่ีสดุ โดยมีคาเฉลยี่ 4.90 คา S.D. 0.16 อยใู นระดับ
มากทส่ี ดุ

2. การประเมินดานการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน
ผลการประเมินดา นการนาํ ความรูไปใชใ นชีวติ ประจําวัน พิจารณาจากการตอบแบบสอบถาม

ของผเู ขารวมโครงการ โดยมีคาเฉล่ยี และคา ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน สรปุ ไดดงั ตาราง

ตาราง 4.12 ระดบั ความคดิ เหน็ ของผูเขา รว มโครงการ เกย่ี วกับการนําความรูไปใชใ นชีวิตประจาํ วัน

รายการ ̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
1. มีความรเู กย่ี วกับการเรียนกศน. 4.71 0.57 มากทีส่ ดุ
2. มีความเขาใจเก่ยี วกับการ 4.82 0.46 มากทส่ี ดุ
เรียนกศน. 4.83 0.51 มากท่สี ดุ
3. นําความรทู ี่ไดไ ปพัฒนาตนเอง 4.82 0.20 มากท่ีสุด

รวม

จากตาราง 4.12 ผลการประเมนิ โครงการดา นการนําความรไู ปใชใ นชวี ิตประจาํ วัน พบวา ผเู ขารับการ
อบรมสามารถนาํ ความรูท ไี่ ดไ ปพฒั นาตนเอง มคี า มากทส่ี ดุ มคี า เฉลีย่ เทา กับ 4.83 คา S.D. 0.51 และรองลงมา
มีความเขาใจเก่ยี วกบั การเรยี นกศน. มีคาเฉลยี่ เทา กบั 4.82 คา S.D. 0.46 มคี วามรูเ กี่ยวกบั การเรียนกศน.
มคี าเฉล่ยี เทา กับ 4.71 คา S.D. 0.57 ในภาพรวมมีผลการประเมินอยูในระดับ มากทส่ี ุด โดยมีคา เฉลย่ี 4.82 คา
S.D. 0.20
ประเดน็ ท่ี 6 ขอเสนอแนะ

ผูเขา รว มโครงการ มขี อ เสนอแนะอ่ืนๆ ดังนี้
1. ใหม ีการจัดคา ยทศั นศึกษานอกสถานที่
2. ใหม กี ารจดั ขนมเบรคแกผเู ขา รวมโครงการ
3. ใหมีเกมสเลน และแจกของรางวลั ระหวางจดั กิจกรรมโครงการ
4. ใหม ีการแนะนาํ แนวทางการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

27

บทท่ี 5
สรปุ ผลการประเมนิ และขอ เสนอแนะ

โครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565 จัดกิจกรรมเมอ่ื วันท่ี
27 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2565 สถานที่ ณ โรงเรียนสอนศาสนาอัลฟุรกอนศึกษา อําเภอลาดบัวหลวง จงั หวดั
พระนครศรีอยุธยา สามารถสรุปผลการวิเคราะหขอ มลู แบงเปน 2 ตอน ดังนี้
ตอนท่ี 1 การประเมินตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ
วัตถุประสงค 1) เพือ่ เตรียมความพรอ มในการเรียน ของนกั ศึกษาและกระตนุ ใหน ักศึกษาเกิดกระบวนการ

เรียนรูและพฒั นาตนเองได
2) เพ่อื ชแ้ี จงและแนะแนวการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา

ข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
เคร่อื งมอื : แบบทดสอบปรนัย จํานวน 10 ขอ
ตัวช้วี ดั ผลผลิต (Output)

ตัวชีว้ ดั ผลผลิต : นกั ศกึ ษา กศน.อําเภอลาดบัวหลวง เขารวมโครงการ ไมน อยกวา รอยละ 80
ตัวช้วี ดั ผลลัพธ: นกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง มคี วามรูความเขา ใจ ในการจัดการศกึ ษา กศน.
และเกิดกระบวนการเรยี นรู มีความพรอมในการเรยี นและสามารถพฒั นาตนเองได
ผลการวเิ คราะหขอมูล ผลการประเมนิ ความรขู องผเู ขา รวมโครงการ พบวาหลังเขารว มโครงการ ผลการ
ประเมินความรูของผูเขา รว มโครงการ ผูเขา รว มโครงการมคี วามรเู พ่มิ ข้ึน อยูในระดับปานกลาง รอยละ 14.62 และ
อยใู นระดับดี รอ ยละ 85.38 รวมรอยละ 100 ของผเู ขารว มโครงการมคี วามรูเพ่ิมมากขึ้น ตรงตามวตั ถุประสงค
ความรขู องผูเขา รวมโครงการ อยางนอ ย 80% ของผเู ขารว มโครงการมีความรูเ พม่ิ ข้นึ
วัตถปุ ระสงค 3) เพือ่ ใหนกั ศกึ ษาทเี่ ขา รว มโครงการสามารถนําความรูท่ีไดไ ปพฒั นาตนเองและเปน แบบอยา งท่ดี ไี ด
เคร่อื งมอื : แบบประเมินผลการนําองคความรูไปใชประโยชน
ตวั ช้วี ดั ผลผลติ (Output) : รอยละ ๕ ของนกั ศกึ ษาทเี่ ขา รวมโครงการสามารถนาํ ความรูที่ไดไปพฒั นา
ตนเองและเปนแบบอยา งที่ดี
ผลการวิเคราะหข อ มลู ผลการประเมินดา นการนําความรไู ปใชในชวี ติ ประจําวนั พจิ ารณาจากการตอบ
แบบสอบถามแบบปลายเปด เพื่อทราบถึงผลการนําไปใช ปญหาและอุปสรรค และขอเสนอแนะอืน่ ๆ พบวา
ผูเขา รว มโครงการ ตอบแบบสอบถามในประเด็น นําไปใชประโยชน จาํ นวน 130 คน คิดเปน รอยละ 100 สาํ เร็จ
ตามวตั ถปุ ระสงคของโครงการ
ตอนท่ี 2 การประเมินผลการดําเนนิ โครงการ รปู แบบการประเมนิ CIPP MODEL
1. การประเมินดานบริบท
การศึกษาดานบริบทของโครงการปฐมนิเทศและตรวจสุขภาพนกั ศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565
พบวา เนอ้ื หาตรงตามความตอ งการ ในระดับมากทส่ี ุด รองลงมาเน้ือหาเพยี งพอตอ ความตอ งการ และเนื้อหามี
ประโยชนตอการนําไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ และเน้ือหาปจจุบันทันสมัย อยใู นระดับมาก ระดับความคิดเห็น
ของผเู ขา รว มโครงการที่มีตอโครงการในภาพรวม ดา นบริบท ในระดบั มาก

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

28

2. การประเมนิ ปจจยั ปอ น
การประเมนิ ความพรอมและความเหมาะสมดา นปจ จัยนาํ เขา ไดแ ก คุณลักษณะของวิทยากร

ระยะเวลา วสั ดอุ ุปกรณ และสถานที่จดั โครงการ พบวามคี วามเหมาะสม อยใู นระดบั มากท่ีสดุ สรุปไดด ังน้ี
2.1 คณุ ลกั ษณะของวทิ ยากร มีคา สงู สุด คอื วทิ ยากรมีเทคนคิ การถา ยทอดใชสือ่ เหมาะสม และมีคาตํา่ สุด

คอื วิทยากรมคี วามรคู วามสามารถในเรอ่ื งทีถ่ า ยทอด ในภาพรวมมีผลการประเมนิ ในระดับมาก
2.2 สถานท่ีจดั โครงการ คอื สถานที่ วสั ดุ อุปกรณและส่ิงอาํ นวยความสะดวก มคี า เฉลย่ี ความคดิ เห็น ใน

ภาพรวมมผี ลการประเมินในระดับมาก
2.3 การใชส ่ือ คอื มีการใชส อื่ ที่สอดคลอ งและเหมาะสมกบั กจิ กรรม มคี าเฉล่ยี ความคิดเห็น ในภาพรวมมี

ผลการประเมินในระดับมาก
2.4 การบริการ คอื การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกป ญ หา มคี า เฉล่ียความคิดเหน็ ในภาพรวมมีผล

การประเมินในระดับมากที่สุด
3. การประเมินกระบวนการ

การประเมินดานกระบวนการ ในดานการจัดกิจกรรม/โครงการ ตามความคดิ เห็นของผเู ขารวมโครงการ
ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยใู นระดับ มากทีส่ ุด สรปุ ไดดังนี้

3.1 ดา นการจดั กิจกรรมการศึกษา มีคาสงู สุด คือ การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค และ
มคี าตํ่าสุด คอื การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยูใ นระดับ มากที่สดุ

3.2 ดานการประสานงาน เฉลยี่ ในภาพรวมอยูในระดบั มาก เมื่อวเิ คราะหเ ปน รายดานพบวา มีคา สงู สุด
คอื คณะทาํ งานชวยแกไขปญหาอปุ สรรคระหวา งการจัดอบรมเปนอยางดี อยใู นระดับมากและมคี าตาํ่ สุด คือ
คณะทํางานดาํ เนนิ งานตามขั้นตอนการดาํ เนินงานของโครงการ อยใู นระดับมากทสี่ ดุ

4. การประเมินผลผลติ
การประเมนิ ดานผลผลิต ดานความรูท ไ่ี ดร บั หลังการศึกษาอบรมเสรจ็ สิ้น และดานการนําความรูไปใชใ น

การปฏบิ ตั ิงาน จากการทดสอบผลสัมฤทธิด์ า นความรขู องผเู ขา รวมโครงการ และตามความคดิ เห็นของผเู ขารวม
โครงการ สรุปไดด งั นี้

4.1 การประเมินความรูข องผเู ขา รว มโครงการ พบวา หลงั เขา รว มโครงการ ผเู ขารวมโครงการมี
ความรูเพม่ิ ขน้ึ อยูในระดับปานกลาง รอยละ 14.62 และอยูใ นระดับดี รอ ยละ 85.38 รวมรอยละ 100 ของ
ผเู ขารวมโครงการมคี วามรเู พม่ิ มากข้ึน ตรงตามวัตถปุ ระสงคค วามรขู องผเู ขา รว มโครงการ อยา งนอ ย 80% ของ
ผเู ขา รวมโครงการมคี วามรูเพม่ิ ขน้ึ

4.2 การประเมินโครงการ ในผลการประเมินโครงการ ในดานผลผลิตโครงการ มคี าสงู สุด คือ ผูเ ขา
รับการอบรมสามารถนาํ ความรไู ปปรบั ใชในชีวติ ประจําวนั ได และมคี า ตาํ่ สุดคือผูเขารบั การอบรมมคี วามรูค วาม
เขาใจในเนอื้ หาท่ีอบรมมากข้ึน เมอื่ พจิ ารณาในภาพรวมดานผลผลิตโครงการ มคี า เฉล่ียอยูใ นระดบั มากทส่ี ดุ อยใู น
ระดบั มากท่ีสดุ

4.3 การประเมนิ โครงการดา นการนําความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจําวนั พบวา ผเู ขา รับการอบรม
สามารถนําความรทู ่ีไดไ ปพัฒนาตนเอง มคี า มากทีส่ ดุ และรองลงมา มีความเขาใจเก่ยี วกับการเรียนกศน. มคี วามรู
เก่ยี วกับการเรียนกศน. ในภาพรวมมีผลการประเมินอยูในระดับ มากท่ีสดุ

กศน.อาํ เภอลาดบัวหลวง

ขอเสนอแนะ 29
ผเู ขา รว มโครงการ มขี อเสนอแนะอ่ืนๆ ดงั น้ี คอื
1.ใหมกี ารจัดคา ยทศั นศกึ ษานอกสถานท่ี
2. ใหม กี ารจดั ขนมเบรคแกผูเขารว มโครงการ
3. ใหม ีเกมสเ ลน และแจกของรางวลั ระหวา งจัดกจิ กรรมโครงการ
4. ใหมกี ารแนะนาํ แนวทางการศกึ ษาตอและการประกอบอาชีพ

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

เอกสารอางอิง
สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . สํานักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร. (2555). คมู ือการดําเนนิ งานหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555). พิมพครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : รา นรงั ษกี ารพมิ พ.

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

ภาคผนวก

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ "โครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษาและ
และตรวจสขุ ภาพนกั ศกึ ษาภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565"
วนั อาทิตยที่ 27 พฤศจกิ ายน 2565 ณ โรงเรยี นสอนศาสนาอลั ฟรุ กอนศกึ ษา
.......................................................
คําช้ีแจง 1. ใหน กั ศึกษาตอบแบบประเมนิ ใหครบ เพื่อใหทราบวา นักศกึ ษามีความพึงพอใจเกี่ยวกบั การจัด
กจิ กรรมคร้ังน้ีมากนอยเพยี งใด
2.โปรดเติมเครื่องหมาย  และกรอกขอความใหส มบูรณ
สว นท่ี 1 ขอ มลู ทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถาม
1. เพศ  ชาย  หญงิ
2. อายุ  ตํา่ กวา 15 ป  15 -39 ป  40 - 59 ป  60 ปข ึน้ ไป
3. ระดับช้นั ที่กาํ ลังศึกษา  ประถม ม.ตน ม.ปลาย �

4. กศน.ตําบลที่กาํ ลงั ศกึ ษา  กศน.ตําบลลาดบวั หลวง  กศน.ตาํ บลสามเมอื ง  กศน.ตาํ บลพระยาบันลอื
 กศน.ตาํ บลคลองพระยาบันลือ  กศน.ตาํ บลหลักชัย  กศน.ตําบลสงิ หนาท
 กศน.ตาํ บลคสู ลอด  กลุมอลั ฟรุ กอน
สว นท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ โครงการ ระดับ 5 = มากท่ีสุดหรือดมี าก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรอื พอใช
2 = นอ ยหรอื ต่ํากวา มาตรฐาน 1 = นอยท่สี ดุ หรอื ตองปรบั ปรุงแกไ ข

รายละเอยี ด ระดบั ความพงึ พอใจ 1
5 432
1. ดา นเนือ้ หา

1.1 เนอื้ หาตรงตามความตองการ
1.2 เนื้อหาเพยี งพอตอ ความตอ งการ
1.3 เนอ้ื หาปจจุบนั ทันสมยั

1.4 เนอ้ื หามปี ระโยชนตอ การนาํ ไปใชในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
2. ดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
2.1 การเตรียมความพรอ มกอนอบรม
2.2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค
2.3 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
2.4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ เปาหมาย
2.5 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค
๓. ดา นวทิ ยากร
๓.1 วิทยากรมีความรูความสามารถในเรือ่ งที่ถา ยทอด
๓.2 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถา ยทอดใชสือ่ เหมาะสม
๓.3 วิทยากรเปด โอกาสใหมสี วนรวมและซกั ถาม
4. ดา นการอาํ นวยความสะดวก
4.1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณและสง่ิ อาํ นวยความสะดวก
4.2 การสือ่ สาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเกดิ การเรียนรู
4.3 การบริการ การชวยเหลอื และการแกปญหา

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

ตอนที่ 2 ความเหมาะสม/ความพรอ มของโครงการ
ระดับ 5 = มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ ย 1 = นอยทส่ี ุด

รายการ 5 ระดบั ความคดิ เหน็ 1
432
1.มคี วามรเู กย่ี วกบั การเรยี นกศน.
2.มคี วามเขา ใจเกย่ี วกบั การเรยี นกศน.
3.นาํ ความรูที่ไดไปพฒั นาตนเอง

ขอ เสนอแนะ...............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................

กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

รูปกจิ กรรมโครงการปฐมนเิ ทศและตรวจสุขภาพนักศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2565
วนั อาทิตยท ่ี 27 พฤศจิกายน 2565 ณ โรงเรียนสอนศาสนาอลั ฟุรกอนศกึ ษา
กศน.อาํ เภอลาดบวั หลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

กศน.อําเภอลาดบัวหลวง

โดย
ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอลาดบวั หลวง

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

กศน.อําเภอลาดบวั หลวง


Data Loading...