อ.จวง - PDF Flipbook

อ.จวง

107 Views
52 Downloads
PDF 10,903,049 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ หน้า 1

สงั คม อ.จวง

สังคม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร+์ ภมู ศิ าสตร์

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ หน้า 2

สงั คมศึกษา ม.6

สอนโดย อ.ปารมี ไวจงเจรญิ (อ.จวง) คบ.จฬุ าฯ (สังคมศกึ ษา)

สาระท่ี 4 : ประวัตศิ าสตร์

หนว่ ยการเรยี นท่ี 1 : วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละการแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์

1. วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ คือ วิธกี ารคน้ หาขอ้ เท็จจรงิ ทางประวัตศิ าสตร์ เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์

ทใี่ กล้เคยี งความจริงท่ีสุด โดยมีขัน้ ตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ อยู่ 5 ขน้ั ตอน คือ

1) กำหนดประเด็น

2) รวบรวมหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

3) ประเมนิ คณุ คา่ หลกั ฐาน (วิพากษ์วิธี) : แบง่ เปน็

- ประเมินคุณค่าภายนอก : ตรวจดวู สั ดภุ ายนอกว่าหลักฐานนั้นจริงหรอื ปลอม

- ประเมนิ คณุ คา่ ภายใน : อ่านหลกั ฐานนัน้ แล้วประเมินวา่ ข้อมูลในหลกั ฐานน้นั เชอื่ ถอื ไดแ้ ค่ไหน

4) วเิ คราะห์-ตคี วาม : นำขอ้ มลู มาวเิ คราะห์หาวัตถุประสงค์ของผู้บันทกึ , แยกแยะ, เรยี งลำดับ,

หาความสมั พันธ์ของข้อมลู

5) สงั เคราะห์ : รวบรวมจัดหมวดหมู่ขอ้ มูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบ , สรุป และให้คำอธิบายตามสมมติฐาน

ทไ่ี ดต้ ้ังไว้ โดยตอ้ งทำดว้ ยใจเป็นกลาง

2. การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

2.1 ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ คือ ยคุ สมัยท่ียังไมม่ ีตวั อักษร โดยแบ่งไดอ้ กี เป็น 2 ยุค คอื

1. ยุคหิน คือ ยุคทเ่ี ครื่องมือเครอื่ งใช้ มีด ขวาน ของมนษุ ยท์ ำดว้ ยหิน และยคุ หินยงั สามารถแบง่ ย่อยไดอ้ ีก

3 ยคุ ย่อยคือ

1) ยคุ หินเก่า = เร่รอ่ นลา่ สตั ว์ , อยู่ถ้ำ

2) ยุคหินกลาง

3) ยุคหนิ ใหม่ = ตัง้ ถ่ินฐาน , ปลกู บา้ น , เริม่ ทำการเกษตร

2 ยุคโลหะ คอื ยุคทเี่ ครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ มีด ขวาน ของมนษุ ย์ทำดว้ ยโลหะ และยคุ โลหะยงั สามารถแบง่ ยอ่ ยไดอ้ ีก

3 ยคุ ยอ่ ย คอื

1) ยคุ ทองแดง: แรกสุด , หลอมงา่ ยแตไ่ มค่ งทน , ชาวสุเมเรยี นรจู้ กั หลอมทองแดงได้เป็นท่ีแรกของโลก

2) ยุคสำริด (โลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบกุ )

3) ยุคเหล็ก : หลอมยากแตแ่ ข็งแกร่งคงทน , ชาวฮิตไทต์แห่งเมโสโปเตเมยี รู้จกั หลอมเหลก็ ได้เปน็ ท่ีแรก

2.2 ยุคประวัติศาสตร์ คอื ยุคทีม่ นุษยร์ ู้จกั ประดิษฐ์ตัวอกั ษรข้ึนมาใช้

* อกั ษรเกา่ สุด คอื อักษรลมิ่ Cuneiform โดยชาวสุเมเรียน แหง่ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย *

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ หน้า 3

3. ประเภทของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

3.1 หลักฐานช้ันตน้ หรอื หลกั ฐานปฐมภมู ิ คือ หลักฐานท่ี

- ผู้บันทกึ หรือผูเ้ ขียนหลักฐานน้ัน เกดิ ทันเหตุการณ์ เกดิ รว่ มยุคสมัยกับเหตุการณ์ท่ีไดบ้ นั ทกึ ไว้นน้ั

- เช่น พงศาวดาร , จารึกตา่ ง ๆ , จดหมายเหตุ , บันทกึ ประจำวันหรอื Diary ของชาวตา่ งชาติ , หนังสอื พมิ พ์

3.2 หลักฐานชั้นรอง หรอื หลกั ฐานทุติยภูมิ คือ หลกั ฐานที่

- ผ้บู นั ทกึ หรือผเู้ ขียนหลักฐานน้ัน เกดิ ไมท่ นั เหตุการณ์ เกดิ ภายหลงั เหตกุ ารณ์นน้ั และไดเ้ ขียนหลักฐานน้ัน

ขนึ้ มาจากหลักฐานปฐมภูมอิ กี ที เชน่ ตำราหรอื หนังสอื ทางประวตั ศิ าสตร์ท้งั หลาย

3.3 หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในไทย

- จารึก : เก่าสุดในไทย : คือการขีดเขียนลงบนวสั ดุ

- ตำนาน : เกดิ จากการเลา่ ลือ “มุขปาฐะ”

- พงศาวดาร : มีเรือ่ งราวของ King

- จดหมายเหตุ : เรยี งไปตามวันเวลา

- เอกสารการปกครอง : ใบบอก , สารตรา , ศภุ อกั ษร

4. การนบั ศักราช

4.1 พทุ ธศักราช (พ.ศ.)

- นบั จากเหตกุ ารณพ์ ระพทุ ธเจ้าปรินพิ พาน

- นับแบบเรว็ : นับปที ีพ่ ระพทุ ธเจา้ ปรินิพพานเปน็ พ.ศ. 1 ใชใ้ น ศรลี ังกา พม่า กัมพชู า ลาว

- นับแบบชา้ : นับปถี ัดจากปีท่ีพระพุทธเจ้าปรินิพพานเปน็ พ.ศ. 1 ใช้ใน ไทย

- ประเทศไทยเร่มิ ใช้ พ.ศ. สมัย ร.6

4.2 คริสตศักราช (ค.ศ.)

- นบั จากเหตกุ ารณพ์ ระเยซูประสูติ

- วธิ คี ำนวณ ใช้ พ.ศ. ตง้ั ลบดว้ ย 543

4.3 ฮจิ เราะหศ์ ักราช (ฮ.ศ.)

- นบั จากเหตุการณน์ บมี ุฮมั มดั อพยพ จากเมอื งเมกกะหไ์ ปเมอื งมะดีนะห์

- วธิ ีคำนวณ ใช้ พ.ศ. ตั้ง ลบดว้ ย 1122

4.4 มหาศักราช (ม.ศ.)

- นับจากรชั ศกของพระเจา้ กนิษกะมหาราชแห่งอนิ เดีย

- นิยมใช้ในหลกั ฐานประวัติศาสตร์ไทย สมยั สโุ ขทยั และกอ่ นสโุ ขทัย

- วธิ ีคำนวณ ใช้ พ.ศ. ตง้ั ลบด้วย 621

4.5 จลุ ศักราช (จ.ศ.)

- พระเจ้าสรุ ยิ วิกรม แห่งอาณาจักรศรีเกษตร ของชาวพยู ทรงคดิ คน้ ข้ึน และใช้กนั มาจนถึง

ยคุ อาณาจกั รพกุ ามพมา่

- นิยมใชใ้ นหลักฐานประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สมัยอยุธยาจนถึง ร.5

- วิธีคำนวณ ใช้ พ.ศ. ต้งั ลบดว้ ย 1181

4.6 รตั นโกสินทรศ์ ก (ร.ศ.)

- ร.5 ทรงคดิ ค้นขน้ึ โดยใหน้ บั ปที ่ี ร.1 สถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร์

- นิยมใช้ในหนงั สือราชการ สมยั ร.5 จนถึง ร.6

- วธิ ีคำนวณ ใช้ พ.ศ. ตั้ง ลบด้วย 2324

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ หน้า 4

1. ข้อใดไมใ่ ชล่ ักษณะของสงั คมในยคุ หนิ ใหม่ (ONET 2563)
1. การดำรงชวี ิตอย่ใู นสภาพวถิ ีชีวติ แบบชมุ ชนเมือง
2. มนุษย์ตัง้ ถิ่นฐานเปน็ หลักแหลง่ ไม่อพยพเคลอื่ นย้าย
3. มนุษย์รู้จกั การเกษตรกรรมคอื การเพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์
4. ประดิษฐล์ วดลายลงบนเคร่ืองป้นั ดนิ เผา ไมน่ ยิ มวาดภาพตามผนงั ถ้ำ
5. เคร่อื งมือเคร่ืองใชท้ ่ีเปน็ หินมคี วามแหลมคม เพม่ิ ประโยชน์ใช้สอยมากขน้ึ

2. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกบั ยุคสมยั และวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ (9 สามญั 2560)
1. มนษุ ย์เรมิ่ ร้จู ักการเกษตรกรรมและเล้ยี งสัตวใ์ นยุคหนิ เกา่
2. อารยธรรมลุ่มแมน่ ้ำฮวงโหนับเปน็ หนึ่งในแหล่งอารยธรรมสำคญั ของยุคหนิ ใหม่
3. ความหมายของประวตั ิศาสตร์มหี ลากหลายและแตกต่างไปตามความรู้และความเข้าใจ
ของแต่ละคน
4. ประวัติศาสตรส์ ามารถเปล่ยี นแปลงได้ เมือ่ มีการตคี วามขอ้ มลู แนวคิดด้วยวธิ ีการ
ทางประวตั ศิ าสตรท์ ส่ี มบรู ณก์ วา่ ในภายหลัง
5. การศึกษาเร่ืองราวของมนษุ ยใ์ นยุคก่อนประวัติศาสตร์ จำเปน็ ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละการศกึ ษา
ค้นควา้ จากวชิ าการหลายแขนงประกอบกนั ไมใ่ ชจ่ ากวชิ าประวัติศาสตร์เพียงอย่างเดียว

3. ข้อใดถกู ตอ้ ง (ONET 2562)
1. วนั แรกของรัตนโกสนิ ทรศกคอื วนั ที่ 6 เมษายน อนั เป็นวนั ขึ้นครองราชยข์ องปฐมกษตั ริย์
แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์
2. การประกาศให้ใช้รตั นโกสนิ ทรศกในเอกสารราชการมขี ึ้นในคราวสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร์ 100 ปี
3. การยกเลกิ การใชร้ ตั นโกสินทรศกในเอกสารราชการเกิดขน้ึ ในรชั กาลที่ 6
4. การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ตรงกบั รตั นโกสินทรศก 150
5. เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2562 ตรงกับรตั นโกสินทรศก 239

4. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องท่ีสุด (9 สามญั 2560)
1. เมอ่ื จะปรับมหาศกั ราชใหเ้ ป็นพุทธศกั ราชต้องบวกดว้ ย 111
2. จลุ ศักราช เปน็ รัชศกั ราชที่เกดิ ข้ึนในรชั สมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั
3. รชั ศักราชของพระเจา้ กนิษกะ กษตั รยิ ข์ องอินเดยี เรียกอีกอย่างว่า มหาศักราช
4. รตั นโกสินศก เปน็ รชั ศกั ราชทีเ่ ริม่ มใี ชม้ าตัง้ แต่รัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก
(รัชกาลท่ี 1)
5. กรุงศรอี ยธุ ยาเสยี กรุงครั้งท่ี 2 ในปีมหาศักราช 1129
**********************************************************************

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ หน้า 5

สรปุ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 : ประวตั ศิ าสตรย์ ุโรป (อารยธรรมตะวันตก)
เรอ่ื งที่ 1 : ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมยั โบราณ

1. อารยธรรมเมโสโปเตเมยี
1.1 ผลงานโดดเด่นของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี เช่น สตู รจวง
นอ้ งหลิม อักษรล่ิม
สบู ซิการ์ ซกิ กูแรต
กรีด๊ กรา๊ ด มหากาพย์กลิ กาเมซ
ฮมั เพลง ประมวลกฎหมายฮัมมรู าบี
หอ้ งสมดุ ห้องสมุดสรา้ งโดยพระเจ้าอสั ชูร์บานปิ าลแห่งอสั สิเรยี
อโลน สวนลอยฟา้ บาบิโลนสรา้ งโดยพระเจ้าเนบคู ัดเนซซารท์ ่ี 2

2. อารยธรรมอยี ปิ ต์
2.1 ผลงานโดดเดน่ :
- ปริ ามิดฝังศพฟาโรห์ ขนาดใหญ่
- การเกบ็ รกั ษาศพเป็นมัมม่ี
- ตวั อกั ษรเฮยี โรกลฟิ ฟิค เปน็ อักษรระบบภาพ
- คัมภรี ์มรณะ Book oF Dead จารกึ ลงบนกระดาษปาปริ ุส วา่ ดว้ ยเรื่องชีวติ หลังความตาย
และการเดินทางสู่ยมโลก

3. อารยธรรมกรีก
3.1 ชาวกรกี ได้รับยกยอ่ งว่าเป็น นักคดิ นกั ทฤษฏี
3.2 ผลงานโดดเด่น เช่น
อี มหากาพย์อีเลยี ด
ดิส มหากาพย์โอดิสซยี ์
พาร์ วหิ ารพารเ์ ธนอน (หวั เสาดอริก)
ประชาไป ประชาธิปไตย+ปรชั ญา
คดิ เลข คณิตศาสตร+์ เรขาคณติ

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ หน้า 6

4. อารยธรรมโรมัน
1. รบั ถา่ ยทอดอารยธรรมมาจากกรีก
2. ชาวกรกี เปน็ นักคดิ ชาวโรมันเป็นนกั ปฎิบัติ
3. ชาวกรีกเน้นปัจเจกบคุ คล บูชาเหตุผล รักเสรภี าพ แตช่ าวโรมนั เนน้ ให้มนุษยร์ ับผิดชอบตอ่ รฐั
และเน้นระเบียบวินยั กฎหมายเข้มงวด
4. ศลิ ปะกรีกเนน้ ความสวยงามอ่อนช้อย มจี นิ ตนาการสูง แตศ่ ลิ ปะโรมันเน้นประโยชน์ใชส้ อย
(เช่น โคลอสเซียม ถนน ทอ่ นำ้ ประปา)
5. กรกี สร้างวหิ ารถวายเทพเจ้า แต่โรมนั สร้างวิหารให้มนษุ ยใ์ ชส้ อย
6. อาณาจักรโรมนั : การปกครอง
- ยคุ แรก ปกครองโดยชาวอีทรสั กนั สถาปนาระบอบกษัตริ ยิ ์ (Imperium) ใช้สัญลกั ษณ์
เปน็ ขวานเหนบ็ อยู่กับมดั หวาย
- ยุคท่ีสอง ยุคสาธารณรฐั มีสภาเซเนทของชนชน้ั สงู ของกลมุ่ พาทรเิ ชยี น Patrician
เลือก กงสลุ 2 คน ทำหนา้ ท่ีเปน็ ประมุขรัฐ และปกครองสามัญชน หรือชนชนั้ ลา่ ง
เพลเบยี น Plebeian และตอ่ มากำเนดิ กฎหมายสบิ สองโตะ๊ (ซง่ึ จะมีอิทธิพลตอ่
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร Civil Law ในยโุ รปยคุ ต่อมา)
- ยุคท่สี าม ยุคจักรวรรดิโรมัน ออตตาเวียส ออกสั ตสั สถาปนาตนเองข้ึนเป็นจักรพรรดิ
7. ยุคน้โี รมันเจรญิ ทีส่ ุด แพร่ขยายดินแดนได้ทั่วยุโรป สรา้ งถนนท่ัวทง้ั จกั รวรรดิ จนได้สมญานาม
“ถนนทุกสายมุง่ สู่กรุงโรม”
8. ค.ศ. 313 จกั รพรรดิคอนสแตนตนิ สถาปนาเมอื งไบแซนทอิ มุ ใหเ้ ปน็ เมืองหลวงใหม่
และให้ชอ่ื ว่า “คอนสแตนตโิ นเปลิ ”
9. หลงั ยคุ จกั รพรรดคิ อนสแตนติน จักรวรรดิโรมนั แตกออกเป็น 2 ฝ่งั
10.1 จกั รวรรดิโรมนั ตะวันตก มเี มอื งหลวงคอื กรุงโรม
10.2 จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจกั รวรรดิไบแซนไทน์ มเี มืองหลวง คือ คอนสแตนตโิ นเปิล
10. สุดท้ายจักรวรรดโิ รมันตะวนั ตกล่มสลาย เพราะถูกชาวอนารยชนเยอรมันบุกทำลาย
เมอ่ื ค.ศ. 476 ทำใหย้ ุโรปเขา้ สู่ประวัตศิ าสตร์สมยั กลาง
11. ผลงานโดดเด่น เชน่

จเู ลยี ส ปฎทิ ินจูเลียน+ผ่าคลอด+สงครามกอล
ขโี่ ค โคลอสเซียม
บนโตะ๊ กฎหมายสบิ สองโต๊ะ
สระผมแพนธีน วิหารแพนธีออน (รปู โดม)
นำ้ ประปา ทอ่ น้ำประปา+บอ่ นำ้ สาธารณะ
เนยี นสวย มหากาพยอ์ ีเนยี ด+ภาษาฝรั่งเศส+ภาษาสเปน

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ หน้า 7

เรอื่ งที่ 2 : ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมยั กลาง (ยคุ มดื : Dark Age)

1. จักรวรรดโิ รมนั แตกแยกออกเปน็ อาณาจักรใหญน่ อ้ ย ถูกปกครองโดยชาวอนารยชนเยอรมนั

2. เกดิ สงครามรบพงุ่ กันว่นุ วาย ทำใหช้ าวยโุ รปต้องหาที่พึ่งทางใจ ซ่ึงก็คอื ศาสนาคริสต์

3. เป็นยคุ ที่ชาวยุโรปตกอยใู่ ตอ้ ิทธิพลของ 3 ส่งิ คอื

3.1 ศาสนาคริสต์

- พระสันตปาปา Pope และครสิ ตจกั ร มีอิทธิพลครอบงำชาวยโุ รปทุกด้านตง้ั แตเ่ กิดจนตาย

ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกิจ (ชาวยโุ รปต้องเสียภาษใี ห้วัด) ด้านการเมือง(พระสันตปาปาแตง่ ตัง้ กษตั รยิ ์)

และด้านสงั คมวัฒนธรรม (วัดเปน็ ศนู ยก์ ลางชุมชน การประกอบพธิ กี รรม และศิลปะ)

- ศาสนจักรในยคุ นม้ี ีรูปแบบเหมอื นอาณาจกั รทางโลก

3.2 ลทั ธิศกั ดนิ าสวามิภักด์ิ Feudalism

คือ การแบ่งชนช้นั โดยต้องมีพนั ธะสัญญาที่จะชว่ ยเหลอื กนั ตอบแทนกนั ระหว่าง

1) Lord ชนช้นั เจา้ : แบง่ อำนาจ+ทด่ี ิน และให้ ค.ชว่ ยเหลอื กบั Vassal

2) Vassal ชนชน้ั ขา้ รบั ใช้ : รบั แบง่ ท่ีดิน , ได้รับ ค.คุม้ ครอง , ตอ้ งจงรักภักดี

+ ผลติ สนิ คา้ + จ่ายภาษีให้กับ Lord

3.3 ระบบแมเนอร์ Manor = ระบบเศรษฐกิจแบบครบวงจร โดยขุนนางเจา้ ทีด่ นิ จะปลกู คฤหาสน์ไว้กลางทด่ี ิน

และแบ่งท่ดี นิ ให้กับ Vassel ข้ารบั ใช้ในเขตแมเนอรข์ องตน เพือ่ ไปทำการเกษตรแล้วส่งผลผลิตมาให้

ขนุ นางเจา้ ที่ดิน

4. ศลิ ปะในยคุ นี้ จะได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาคริสต์ทั้งส้ิน เช่น

4.1 ศิลปะไบแซนไทน์ : วิหารมยี อดโดม ซงึ่ สามารถรักษาศลิ ปะแบบกรีกไวไ้ ด้

4.2 ศิลปะโรมาเนสก์ : เนน้ ความเรยี บงา่ ยกว่าไบแซนไทน์ เปน็ ศลิ ปะที่รบั ใช้ศาสนาคริสต์

มีการออกแบบใหซ้ มุ้ ประตูหน้าตา่ งเป็นรปู โคง้ Arch โบสถ์วิหารจะมีผนังหนาทบึ เหมอื น

ป้อมค่ายสงคราม เชน่ หอเอนเมืองปซิ า

4.3 ศลิ ปะโกธิค : รบั ใชศ้ าสนาคริสต์ มักจะสรา้ งวหิ ารมยี อดแหลม และเน้นงานประดับกระจกสี

เช่น วหิ ารโนตรดาม กรงุ ปารีส

เรอื่ งที่ 3 : ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมยั ฟ้ืนฟศู ลิ ปวทิ ยาการ (Renaissance)

1. เริม่ ตน้ ท่ีแหลมอติ าลี เป็นแห่งแรก

2. เป็นยุคทีช่ าวยโุ รปหันกลบั ไปฟนื้ ฟคู วามเจริญของอารยธรรมกรีกโรมนั

3. สาเหตขุ องการฟ้ืนฟศู ลิ ปวิทยาการ

3.1 เจ้าเมืองต่าง ๆ ในอิตาลีรำ่ รวยจากการค้า ทำให้สนับสนุนงานด้านศลิ ปวทิ ยาการมาก

3.2 ความเส่อื มโทรมของศาสนจกั ร ทำใหช้ าวยโุ รปเร่ิมเบอื่ หนา่ ย

3.3 สงครามครเู สด เปน็ การเปดิ หูเปิดตาชาวยุโรปใหเ้ ห็นศลิ ปวิทยาการใหม่ ๆ

3.4 การล่มสลายของจกั รวรรดไิ บแซนไทนใ์ นยุโรปตะวนั ออก ทำให้ศลิ ปวทิ ยาการตา่ งๆ ไหลเข้าสยู่ ุโรปตะวันตก

4. ทฤษฎสี ำคญั ทช่ี าวยโุ รปหนั ไปกลับไปฟ้นื ฟู เช่น

4.1 ทฤษฎมี นษุ ยนยิ ม 4.2 ทฤษฎีประชาธปิ ไตย

4.3 ทฤษฎธี รรมชาตินยิ ม

5. ศลิ ปวิทยาการในยุคน้ยี ิ่งแพร่ขยายมากยิง่ ขึ้น เมือ่ โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก ชาวเยอรมนั ประดิษฐ์

แทน่ พมิ พ์ เพราะทำให้พิมพต์ ำราต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ หน้า 8

6. ศิลปนิ เด่น ๆ ในยคุ นเ้ี ช่น 1. ลโี อนาร์โด ดารว์ ินชี 2. ไมเคิลแอนเจโล 3. ราฟาเอล

7. นักวทิ ยาศาสตร์คนสำคญั เชน่

1. โยฮนั กเู ตนเบิร์ก : ประดิษฐ์แท่นพมิ พ์

2. ลโี อนาร์โด ดารว์ ินชี : เป็นทั้งศลิ ปินและนักวิทยาศาสตร์

3. นโิ คลัส โคเปอร์นคิ สั : เสนอทฤษฎีสุรยิ จกั รวาล

เรอ่ื งที่ 4 : ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมยั ใหม่ (สมัยแห่งการคน้ พบ : Age of Discovery)

1. นบั จากเหตุการณ์ ครสิ โตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบโลกใหม่

2. เหตกุ ารณ์สำคญั ในยคุ น้ี เชน่

2.1 การเดนิ เรือทางทะเลแพร่หลายมาก ทำให้การคา้ ทางทะเลเฟ่อื งฟตู ามมา

2.2 เกดิ ลัทธิพาณชิ ยนิยม คอื รัฐบาลของประเทศในยโุ รป จะลงทนุ ตงั้ บริษัทขึ้นมาเพอ่ื แสวงหา

ผลประโยชน์ทางการคา้

2.3 เกดิ ชนชนั้ กลางขนึ้ มา คือบรรดาพอ่ คา้ นายทุน นกั เดินเรอื ขึน้ มาถว่ งดลุ กบั ชนชั้นเจา้ ท่ดี นิ

2.4 การปฏิรูปศาสนาคริสต์โดยมารต์ นิ ลูเธอร์ ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนท์

2.5 ยคุ ปฎวิ ตั วิ ทิ ยาศาสตร์

1. เป็นยคุ ทีเ่ ปลี่ยนวิธีพสิ ูจนค์ วามจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์

- จากเดิมเน้นใชก้ ารคิดวเิ คราะห์ตามหลักปรชั ญาและหลกั ตรรกศาสตร์

- มาเปน็ ของใหม่ เน้นใชร้ ะเบยี บวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (คอื เนน้ ทดลอง)

2. นกั วทิ ยาศาสตรส์ ำคัญ เช่น

1. ฟรานซสิ เบคอน

1. เสนอแนวคดิ ว่าการคน้ หาความจริงทางวทิ ยาศาสตรต์ ้องเน้นที่การทดลองหรอื ทดสอบ

2. แนวคิดนต้ี อ่ มาเป็นรากฐานของการกอ่ ตง้ั “ราชสมาคมแห่งลอนดอน Royal Society of London”

ซึ่งเป็นองค์กรทางวิทยาศาสตรแ์ บบใหม่

3. และแนวคดิ ของฟรานซิส เบคอน น้ี ไดพ้ ัฒนาเปน็ “ระเบยี บวิธีการทางวิทยาศาสตร์ Scientific Method”

2. กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ

1. บดิ าแหง่ วทิ ยาศาสตร์สมัยใหม่ 2. รเิ ร่มิ การทดลองเพอ่ื ตรวจสอบความถูกต้องของทฤษฎี

3. เสนอวา่ คณิตศาสตร์ใชพ้ สิ จู นค์ วามจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์ได้

4. สนับสนนุ ทฤษฎสี ุรยิ จกั รวาลของโคเปอร์นิคัส 5. ประดิษฐก์ ล้องโทรทรรศน์

3. ไอแซค นิวตนั

1. คน้ พบแรงโน้มถ่วงของโลก 2. ค้นพบหลกั การแคลคูลสั

2.6 การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม

1. เปน็ ยคุ ที่เปล่ียนวิธีการผลติ สินค้าจากใชแ้ รงงานคนและสตั ว์มาใชเ้ ครือ่ งจกั รในการผลิต

2. นกั ประดษิ ฐ์สำคญั เชน่

1.โธมัส นวิ โคแมน : พัฒนาเครือ่ งจักรไอน้ำโดยใชล้ ูกสูบ

2.จอหน์ เคย์ : ประดิษฐก์ ่ีกระตกุ

3.เจมส์ ฮารก์ รีฟ : ประดิษฐเ์ คร่อื งปน่ั ดา้ ยชนิดสปินนงิ เจนนี

4.รชิ ารด์ อาร์คไรท์ : ประดิษฐ์เครอื่ งป่นั ดา้ ยพลงั นำ้ วอเตอร์เฟรม

5.เจมส์ วตั ต์ : พัฒนาเครือ่ งจักรไอนำ้ ให้ดยี ่ิงข้ึน

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ หน้า 9

3. WW I
มี 2 ฝ่าย
- ชนะ = สัมพนั ธมติ ร = Eng , Fr , USA , Rus
- แพ้ = มหาอำนาจกลาง = Ger , ออสเตรยี -ฮังการี , ตรุ กี
ชนวนสงคราม =
- อาร์คดยคุ เฟอร์ดินนั ด์ แหง่ ออสเตรีย-ฮังการี ถกู ยงิ ตายโดยมือปนื ชาวเซิรบ์
ผล WW I
- ปธน.วลิ สัน แห่ง USA เสนอหลัก 14 ประการ
- เกิดองคก์ ารสันนบิ าตชาติ
- เกิดสญั ญาแวร์ซายส์ (เยอรมนีเสยี เปรียบมาก)

4. WW II
มี 2 ฝา่ ย
- ชนะ = สมั พนั ธมิตร = Eng , Fr , USA , Soviet , China
- แพ้ = อกั ษะ = Ger , Italy , Jap
ผล WW II
- เกดิ องคก์ ารสหประชาชาติ
- มหาอำนาจเก่าหมดบทบาท เกดิ มหาอำนาจใหมข่ องโลก คือ USA และ Soviet
- เกดิ สงครามเยน็

5. สงครามเยน็
- ความขัดแย้งทางอดุ มการณก์ ารเมอื งระหว่างประชาธิปไตยกับคอมมิวนิสต์
- ฝา่ ยประชาธปิ ไตย = USA , ยุโรปตะวนั ตก (อังกฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมนีตะวันตก) ,
เกาหลใี ต้ , เวียดนามใต้ , NATO , SEATO , CENTO , ANZUS , OAS
- ฝา่ ยคอมมิวนิสต์ = โซเวียต , จนี , ยโุ รปตะวันออก (เยอรมนตี ะวันออก โปแลนด์ โรมาเนยี ) ,
เกาหลเี หนือ , เวียดนามเหนือ , Warsaw Pact , Comintern , Comecon

*******************************************************************************
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 : ประวัตศิ าสตรย์ โุ รป (อารยธรรมตะวนั ตก)
เร่อื งที่ 1 : ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมยั โบราณ

5. ข้อใดต่อไปนกี้ ล่าวไดถ้ ูกต้อง (ONET 2563)
1. ชนเผ่าต่าง ๆ ในอารยธรรมเมโสโปเตเมยี มักมีการปกครองในรปู แบบของนครรัฐ
2. ชาวอยี ปิ ต์โบราณมคี วามเชอ่ื เร่อื งอมตะภาวะของผวู้ ายชนม์ท้ังทีเ่ ป็นฟาโรห์ลงมาถึงสามัญชน
3. พระจกั รพรรดคิ อนสแตนตนิ ทรงประกาศให้คริสต์ศาสนาเปน็ ศาสนาทางการแหง่ จกั รวรรดิโรมนั
4. จุดประสงค์ของการแข่งขันกีฬาโอลมิ ปกิ ของกรีกยุคโบราณคล้ายคลึงกบั การแขง่ ขันกีพาโอลิมปิก
ในปัจจบุ นั
5. พระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์มหาราชมบี ทบาทสำคัญในการทำใหอ้ ารยธรรมกรกี แพรก่ ระจายทวั่ ไป
ในแถบทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นเปน็ คร้ังแรก

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 10

6. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง (ONET 2562)

1. ชาวสเุ มเรียนคิดประดษิ ฐ์ตัวอักษรคูนฟิ อร์ม หรืออักษรลิ่ม

2. กฎหมายฮมั มรู าบขี องจกั รวรรดิบาบิโลเนีย มีรากฐานส่วนหนงึ่ มาจากกฎหมายของพวก

สุเมเรยี น

3. "คัมภรี ์มรณะ" นบั เป็นวรรณกรรมชิ้นสำคญั ของอารยธรรมไมซนิ ี

4. ชาวฟินเี ชยี อาศยั อย่ตู ามชายฝงั ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมคี วามสามารถทางการค้า

และการเดินเรือ

5. ชาวอมอไรต์เปน็ ผสู้ ถาปนาจกั รวรรดิบาบโิ ลเนยี ขึน้ เมอ่ื ประมาณ 2,000 ปกี ่อนคริสต์ศักราช

7. ขอ้ ใดไมม่ ีสว่ นเกย่ี วข้องกับอารยธรรมกรีก (ONET 2562)

1. เซอร์อาเธอร์ เอเวนส์ (Sir Arthur Evans) 1. เซอร์อาเธอร์ เอเวนส์
2. จอหน์ คาลวนิ ส์ (John Calvin) ผูค้ ้นพบวังคะนอสซอส รากฐานอารยธรรมกรีก บนเกาะครีต

3. วหิ ารพารเ์ ธนอน 2. จอหน์ คาลวินส์
4. เฮโรโดตัส (Herodotus) นักปฏิรปู ศาสนาครสิ ต์ ชาวโปรเตสแตนท์ ยุค ศ.ที่ 16
5. หัวเสาแบบดอริก ตอ่ จากมารต์ นิ ลเู ธอร์

8. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกย่ี วกบั เหตกุ ารณใ์ นสมัยกลางของประวัตศิ าสตร์สากล (ONET 2562)

1. "ยคุ แห่งศรัทธา" เป็นอกี ชอ่ื หนึง่ ที่ใชเ้ รียกสมัยกลางในประวัตศิ าสตรส์ ากล

2. ระบอบการปกครองแบบฟิวดัลเปน็ ระบอบการปกครองท่กี ษตั ริย์ไรพ้ ระราชอำนาจในทางปฏิบัติ

3. "เจตนารมณข์ องพระเปน็ เจา้ " เปน็ หนึ่งในสาเหตทุ ่ีกระตุ้นใหช้ าวครสิ ตเ์ ขา้ รว่ มรบในสงคราม

ครูเสด

4. สงครามครูเสดมสี ่วนช่วยทำลายระบอบการปกครองแบบฟวิ ดลั และระบบเศรษฐกจิ แบบแมเนอร์

5. ลอร์ดไม่มสี ทิ ธจิ ัดตงั้ ศาลเพือ่ พิจารณาคดีความในแมเนอรข์ องตน

9. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกับแนวคิดมนุษยนยิ ม (Humanism) ในสมัยการฟืน้ ฟศู ลิ ปะวิทยาการ

ของยโุ รป (ONET 2563)

1. ความสนใจศึกษาและลอกเลียนแบบองค์ความร้แู ละสนุ ทรียะทางภาษาจากอารยธรรมคลาสสกิ

2. ศลิ ปินแนวมนุษยนยิ มมักผลติ ผลงานทส่ี ะท้อนความจริงของสังคมเปน็ สำคญั มากกว่ามิตทิ างศาสนา

3. นกั มนษุ ยนยิ มครสิ เตยี นให้ความสำคัญต่องานเขยี นที่เกี่ยวข้องกับครสิ ต์ศาสนาและงานเขียนของกวโี รมัน

4. การศึกษาปรัชญายคุ คลาสิคเพือ่ เป็นแนวทางในการดำเนนิ ชีวิตและแกป้ ัญหาสงั คมและการเมอื ง

ในสมัยดงั กลา่ ว

5. การใชเ้ หตผุ ลเพือ่ แสดงทัศนะทางสังคมและการเมืองและเชื่อว่าเหตผุ ลสามารถเปล่ยี นชวี ติ และ

สงั คมให้ดขี นึ้ ได้

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 11

10. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการสำรวจทางทะเลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 (ONET 2562)
1. สนธสิ ัญญาทอรเ์ ดซียสั (Treaty of Tordesillas)
2. คริสต์ศาสนาเจรญิ รงุ่ เรืองในทวปี อเมริกาใต้
3. พ่อค้ากลายเป็นอาชีพท่มี ีความสำคัญมากข้นึ ในสงั คม
4. ชาร์ล มารเ์ ตล (Charles Martel) ได้รับชัยชนะเหนือชาวมสุ ลมิ ทีเ่ มืองตูรท์ างตอนใต้
ของฝรั่งเศส
5. บางส่วนของคาบสมทุ รมลายแู ละหมู่เกาะอนิ โดนเี ซียตกอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของโปรตเุ กส

“สนธิสัญญาทอร์เดสซิลาส" (Treaty of Tordesillas) : ค.ศ. 1494 คอื
- สนธิสัญญาแบง่ โลกระหวา่ งมหาอำนาจ "โปรตเุ กส" - "สเปน“
- โดยพระสันตะปาปาอะเล็กซานเดอร์ท่ี 6 ให้ใชเ้ ส้นเมริเดียนที่ 51
- โปรตุเกส ไปทางทศิ ตะวนั ออก
- สเปน ไปทางทิศตะวันตก
- เพ่ือยุตขิ ้อพพิ าทเขตแดนในการแสวงหาประโยชน์ด้านการคา้ ทางทะเลของท้ังสองมหาอำนาจ

นกั เดินเรอื คนสำคญั ในยคุ สำรวจทางทะเล
1. ทศวรรษ 1450 – เจ้าชายเฮนรี่ นาวิกราช ต้งั รร.เดนิ เรอื
2. ค.ศ. 1487 บารโ์ ธโลมิว ไดแอซ เดนิ เรอื ไปถงึ แหลมกู๊ดโฮป
3. ค.ศ. 1492 คริสโตเฟอร์ โคลมั บสั คน้ พบโลกใหม่
4. ค.ศ. 1498 วาสโก ดา กามา เดนิ เรอื ออ้ มแหลมกู๊ดโฮปไปอินเดียได้สำเร็จ
5. ค.ศ. 1502 อเมริโก เวสปชุ ชี สำรวจทวปี อเมริกา
6. ค.ศ. 1522 เฟอร์ดินันด์ แมกเจลแลน เดินเรอื รอบโลก

11. ข้อใดต่อไปน้ไี มใ่ ชผ่ ลของการปฏิรูปครสิ ต์ศาสนาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16- 17
(ONET 2563)
1. เกิดความขัดแยง้ ทัง้ ทางการเมอื งและศาสนาทั่วทง้ั ทวีปยโุ รปในรูปแบบของสงคราม
2. เกดิ กระแสแนวคดิ ชาตนิ ิยมแบบคล่ังชาตทิ ่ัวไปในดินแดนท่ีนับถือนิกายโปรเตสแตนท์
3. เกดิ การประชุมสภาสงฆ์ ณ เมืองเทรนต์ และมกี ารกำหนดรายชื่อหนงั สือตอ้ งหา้ มสำหรับฝา่ ยคาทอลิก
4. การสถาปนาคณะสงฆเ์ ยซอู ิตของฝา่ ยคาทอลกิ เพื่อการศกึ ษาและการเผยแผ่ศาสนาในดินแดนโพน้ ทะเล
5. การเพ่มิ ข้ึนอยา่ งมีนยั สำคัญของจำนวนประชากรผสู้ ามารถอ่านออกเขยี นได้ในดนิ แดนโปรเตสแตนท์

มาร์ติน ลูเทอร์ ปฏริ ูปศาสนาคริสต์ ผลการปฏริ ปู ศาสนาคริสต์
- แยกนกิ ายโปรเตสแตนท์ ค.ศ. 1517 1. เกดิ สงครามสามสบิ ปี : สงครามระหวา่ งโปรเตสแตนท์กับคาทอลิก
- ประท้วงการขายบัตรไถบ่ าป 2. การค้าขยายตัว เพราะมาร์ติน ลเู ธอร์ สนับสนุนการคา้
ของพระสันตะปาปาเลโอท่ี 10 3. คาทอลิกปฏิรปู ภายใน เช่น
* โปรเตสแตนท์ ไมม่ นี กั บวช * - คณะเยซูอิต
- การสงั คายนา ณ เมืองเทรนต์

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 12

12. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเกยี่ วกบั แนวคดิ เสรนี ิยม (ONET 2562)
1. อดมั สมิท เสนอแนวคดิ วา่ รัฐควรเข้าควบคุมการค้าของเอกชน
2 พระเจ้าเฟรเดอริกมหาราชแห่งปรสั เซยี ทรงเป็นกษัตริยท์ ต่ี อ่ ต้านแนวคดิ เสรนี ิยม
3. ชอง-ชาคส์ รสุ โซ นักคิดชาวฝรง่ั เศส เขียนหนงั สือเรื่องสัญญาประชาคม
4. เสรีนยิ มแบบคลาสสิกมงุ่ เนน้ การปฏิรูปสงั คมโดยขยายความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม
5. แนวคิดเสรีนิยมไม่สนใจเรื่องการสร้าง "รฐั สวสั ดกิ าร"

13. ข้อใดต่อไปนไี้ มใ่ ช่สาเหตุทท่ี ำให้องั กฤษประสบความสำเร็จในการปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมเปน็ ชาตแิ รก
(ONET 2563)
1. เจ้าของโรงงานอตุ สาหกรรมในระยะแรกมศี รทั ธาในเร่อื งชะตากรรมของมนุษยว์ า่ ถกู กำหนด
ไว้แลว้ โดยพระเป็นเจา้
2. องั กฤษมีแหล่งทรพั ยากรอันจำเปน็ แก่การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเฉพาะถ่านหนิ ท่ีอยู่
ภายในประเทศเป็นจำนวนมาก
3. การเพม่ิ ข้นึ ของประชากรท้ังในสว่ นของตลาดแรงงานราคาถูกและในสว่ นของตลาดผู้บรโิ ภคสินคา้
ท่ีมอี ัตรากำลงั ซื้อสงู
4. ความสามารถของนักประดษิ ฐช์ าวองั กฤษในการคิดคน้ นวัตกรรมเครือ่ งจกั รไอน้ำ และนำมา
ประยุกต์ใชใ้ นอตุ สาหกรรมทอผา้
5. รัฐสภาและรัฐบาลองั กฤษไมย่ ุ่งเกย่ี วกับกิจการการคา้ ทั้งภายในและระหว่างประเทศ ปลอ่ ยให้
เอกชนดำเนนิ กิจการกนั ไปเองตามหลักการเสรนี ิยม

1. การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม
คือ การเปลยี่ นวธิ ผี ลติ สินค้าจากแรงงานคน+สัตว์ มาเป็นใช้เครอ่ื งจักร และระบบโรงงาน
- เรมิ่ ท่ีอตุ สาหกรรมทอผา้ ในองั กฤษเป็นท่แี รก

2. สาเหตทุ ี่องั กฤษมี ค.พร้อมในการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม เพราะ
2.1 การปฎวิ ัติเกษตรกรรม เช่น ลอ้ มรัว้ ทด่ี นิ
* ทำให้มีวตั ถดุ บิ เยอะ
2.2 การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ : กลศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ คณติ ศาสตร์
2.3 การเมืองม่ันคง : ระบอบประชาธปิ ไตย
2.4 รัฐบาลและรัฐสภาอังกฤษส่งเสริมการค้ามาก เชน่ ออกกฎหมายเดินเรอื , คุ้มครองนายทนุ
2.5 ระบบการเงนิ ม่ันคง : มรี ะบบธนาคารท่ีดี

3. การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมแบ่งเป็น 2 ระยะ
3.1 ระยะแรก : ยคุ ไอน้ำ - ถา่ นหนิ
3.2 ระยะทส่ี อง : ยคุ เหล็กกลา้ , พลังงานไฟฟา้ , นำ้ มนั +ก๊าซ

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 13

14. ข้อใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง (ONET 2562)

1. การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในยุคแรกเรยี กอกี ชอื่ ว่าสมยั แหง่ พลังไอนำ้

2. โยฮนั เคปลอร์ ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ บดิ าของวิชาพันธศุ าสตร์

3. ซามเู อล เดอ ชองแปลง เปน็ ผูจ้ ดั ตัง้ อาณานคิ มนิวฟรานซ์

4. รูปป้นั นนู สูงมาร์ซายแยส เป็นประติมากรรมแนวจนิ ตนยิ ม

5. ศลิ ปะแบบบารอก เนน้ ความพลงุ่ พล่าน และบรรยากาศโออ่าหรูหราเป็นพเิ ศษ

15. ข้อใดต่อไปน้ีไม่สัมพันธก์ นั (ONET 2563)

1. การฟ้นื ฟูศลิ ปวิทยการในอติ าลี กับ การปฏริ ูปครสิ ต์ศาสนาของมารต์ นิ ลูเธอร์

2. การคน้ พบทวปี อเมริกาของโคลมั บสั กับ การลงนามสนธสิ ัญญาทอร์เดซิลาส

3. แนวคิด "ลทั ธสิ ากลนิยม" กับ การสถาปนาองคก์ ารสนั นบิ าตชาติ

4. แนวคิด "ภาระหน้าทีข่ องคนผิวขาว" กับ การฆา่ ล้างเผา่ พนั ธุช์ าวยิวของนาซี เยอรมนี

5. การผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดชว่ งสงครามเย็น กบั การประชมุ ณ กรุงเฮลซิงกิ ค.ศ. 1975

16. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเกยี่ วกับผลของระบอบอาณานิคมท่ีมีต่อเศรษฐกจิ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

(ONET 2563)

1. เกดิ การปลูกพืชชนดิ ใหมๆ่ มากขึ้น

2. เกิดการพฒั นาทีด่ นิ ขยายการเพาะปลกู

3. เกดิ การพฒั นาระบบการเงนิ การธนาคาร

4. ชาวจนี เขา้ มาประกอบอาชพี ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตน้ ้อยลง

5. ระบบเศรษฐกจิ เปล่ยี นเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ทตี่ ้องพงึ่ เศรษฐกิจโลก

17. ขอ้ ใดไม่ใชผ่ ลทเี่ กิดจากสงครามเยน็ (ONET 2562)

1. การสรา้ งเขื่อนอัสวานระหว่าง ค.ศ. 1960 - 1976 ในอยี ปิ ต์

2. การกอ่ ตัง้ องค์การสนธิสัญญากลาง

3. การกอ่ ตั้งองคก์ ารสนธสิ ญั ญาเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

4. การจัดตั้งสภาความชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกันทางเศรษฐกิจ

5. ประธานาธบิ ดีวิลสันเสนอหลักการ 14 ข้อเพ่ือสรา้ งสนั ตภิ าพถาวร

**********************************************************************

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 : ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

1. แควน้ โบราณในดินแดนไทย

- ทวารวดี : นครปฐม : ธรรมจักรศิลา+กวางหมอบ , ธาตุเจดยี ์ , ใบเสมา

- ศรวี ชิ ยั : สุราษฎร์ธานี : โพธสิ ตั ว์อวโลกิเตศวร

- ตามพรลงิ ค์ : เมอื งละกอน (ลกิ อร)์ : นครศรธี รรมราช

- หรภิ ญุ ไชย : ลำพนู

- ละโว้ : ทวารวด+ี เขมร

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 14

2. ยุครตั นโกสนิ ทร์ : การปฏิรปู สยามให้ทนั สมยั สมัย ร.4 - ร.5
2.1 ร.4 ทำสญั ญาบาวริง มกี ารเปลยี่ นแปลงตามมาหลายประการ เชน่
- เปดิ การค้าเสรี
- ส่งขา้ วออกขายได้
- รปู แบบการผลติ เปลีย่ นจากผลติ ยงั ชพี เป็นผลิตเพ่ือขาย
- ใหร้ าษฎรเข้าเฝา้ ในเวลาเสด็จพระราชดำเนินและถวายฎีกาได้
- ให้ชาวตา่ งประเทศยนื เขา้ เฝา้ ไดแ้ ละใหข้ ุนนางไทยสวมเสื้อเขา้ เฝ้า
- ใหเ้ สรีภาพในการนับถือศาสนา
- ใหร้ าษฎรทำงานกบั ฝร่งั ได้
- ออกประกาศห้ามจับเด็กผหู้ ญงิ มาเป็นหัดละครหลวง
- ให้สิทธิสตรีในการเลอื กคู่ครอง
- ให้สิทธิสตรีและเด็กในการขายตนเองเป็นทาส
2.2 การปฏิรูปสยามสมยั ร.5
2.2.1 การปฏิรูปการปกครองครั้งใหญส่ มยั ร.๕
1) ระยะที่ 1 : ร.5 ทรงตั้งสภา
- สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดนิ หรอื รัฐมนตรีสภา Council of State
มีสมาชิกจำนวน 12 คน ทำหนา้ ทถี่ วายคำปรกึ ษาและความคิดเหน็ ตา่ ง ๆ
ด้านนติ บิ ัญญตั ิ
- สภาทีป่ รึกษาในพระองค์ หรือ องคมนตรสี ภา Privy Council
สมาชิกประกอบดว้ ยพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการช้ันผใู้ หญ่
จำนวน 49 คน มหี น้าทีถ่ วายคำปรกึ ษาสว่ นพระองค์ สืบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ
ในราชการตา่ ง ๆ เพ่ือกราบบงั คมทูลและถวายความเห็นให้ทรงทราบ
และสอดส่องเหตุการณ์สำคญั ในบ้านเมอื ง รวมไปถงึ การตรวจชำระฎกี า
ท่มี ผี ้นู ำมาถวาย
2) ระยะที่ 2 : การปฏิรปู ครง้ั ใหญ่ พ.ศ. 2435
1. สว่ นกลาง
- ยกเลิกการบริหารราชการแบบกรม (ยกเลิกตำแหนง่ สมุหกลาโหม
สมหุ นายก และเสนาบดจี ตุสดมภ)์
- ตั้ง “ระบบกระทรวง หรอื เสนาบดีสภา” ยคุ แรกเริ่มมี 12 กระทรวง
2. สว่ นภูมิภาค
- ยกเลกิ หวั เมืองชนั้ ใน หวั เมอื งพระยามหานคร หวั เมืองประเทศราช
- ตัง้ “ระบบเทศาภิบาล” หรอื มณฑลเทศาภิบาล ต้นแบบของจงั หวดั ในปัจจุบัน
3. สว่ นทอ้ งถ่ิน
- ริเรม่ิ การปกครองสว่ นท้องถิ่นเพ่ือใหป้ ระชาชนร้จู กั การปกครองตนเอง
- ตง้ั “สขุ าภบิ าล” ที่ ต.ทา่ ฉลอม จ.สมุทรสาคร
* ขอ้ สอบออกบอ่ ย : ผลการปฏริ ปู เกดิ การรวมอำนาจเขา้ สู่ส่วนกลาง
และเกดิ เอกภาพในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ อยา่ งแท้จรงิ *

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 15

2.2.2 ร.5 ทรงยกเลกิ ระบบมูลนาย-ไพร่ คือยกเลกิ การเกณฑแ์ รงงานจากไพรเ่ ปลีย่ นเป็น
เกณฑท์ หารแทน และทำใหไ้ พรใ่ ห้กลายเปน็ เสรีชน (ชาวนา ชาวไร่ กรรมกร)
ทำให้เกิด เสรีภาพในการประกอบอาชีพ และในการเคลื่อนย้ายทอี่ ยู่ของไพร่
ข้ึนเป็นครัง้ แรก
* นบั เปน็ พระราชกรณกี ิจท่สี ำคญั ท่สี ุดของ ร.5 *

2.2.3 เลกิ ทาส เปลย่ี นทาสใหก้ ลายเปน็ ไพร่
2.2.4 ปฏิรูปการศกึ ษา โดยตง้ั โรงเรียนในแบบตะวนั ตกข้ึนมา เชน่

โรงเรยี นหลวงสอนภาษาไทย , โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ , โรงเรยี นแผนท่ี ,
โรงเรยี นนายร้อยทหารบก , โรงเรียนกฎหมาย , โรงเรียนมหาดเลก็ ,
โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม (โรงเรยี นหลวงสำหรับราษฎรแหง่ แรก) ฯลฯ
2.2.5 เปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนยี มประเพณี เชน่ ยกเลิกประเพณีหมอบคลานให้ยนื เขา้ เฝ้าแทน ,
ปรับปรุงการแต่งกายตามแบบตะวันตก
2.2.6 เสดจ็ เยือนตา่ งประเทศ เชน่ ชวา (3 ครงั้ ) , สิงคโปร์ , อนิ เดยี และยโุ รป (2 คร้งั )
2.2.7 ปฎริ ูปกองทพั
2.2.8 ปฎริ ูปด้านการจัดเก็บภาษี = ต้ังหอรัษฎากรพพิ ฒั น์
002.2.9 ปฏิรูปการศกึ ษา = ต้ังโรงเรียนวดั มหรรณพาราม
2.3 ร.6
- ตง้ั เสอื ปา่ และลกู เสอื
- ออก พรบ.ประถมศกึ ษา ให้เดก็ อายุ 8 ขวบต้องเขา้ เกณฑเ์ รียนหนงั สือ
- ใหร้ าษฎรต้องจา่ ยเงนิ ศกึ ษาพลี
3. ยคุ ประชาธปิ ไตย : ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎรทำการอภิวฒั น์แผ่นดินเปลยี่ นแปลงการปกครอง
จากสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยเ์ ป็นประชาธิปไตย
1. ส้นิ สดุ ยุคศักดินาในสังคมไทย เรมิ่ ต้นยุคประชาธิปไตย
2. เกดิ ความเสมอภาคเทา่ เทียมกนั
3. หัวหนา้ คณะราษฎร : พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
แกนนำคนสำคัญ : พ.อ.พระยาทรงสรุ เดช , พ.อ.พระยาฤทธิอคั เนย์ ,
พ.ท.พระประศาสน์ พิทยายทุ ธ์ , หลวงประดษิ ฐมนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) ,
หลวงพบิ ลู สงคราม (แปลก พบิ ลู สงคราม) , หลวงโกวิทอภยั วงศ์ (ควง อภัยวงศ)์ ,
หลวงธำรงนาวาสวสั ดิ์ (ถวัลย์ ธารสี วัสด์ิ) , นายทวี บุณยเกตุ ,
ร.ท.ประยรู ภมรมนตรี และ ฯลฯ
4. หลังเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕
- ราษฎรเกิดความเสมอภาคเท่าเทยี มกนั
- เกิดเสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น
- การศกึ ษาขยายตวั อย่างกวา้ งขวาง กำเนิดมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ มหดิ ล
ศลิ ปากร เชยี งใหม่ ขอนแก่น สงขลานครินทร์
- เกดิ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ สมยั จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

***********************************************************************

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 16

ขอ้ สอบจริงประวตั ศิ าสตร์ไทย

20. ศาสนสถานแบบเขมรโบราณทีเ่ รียกวา่ ปราสาทหนิ ในบางทพี่ บศลิ าจารกึ ระบวุ ่าเป็น

อโรคยาศาลา หรือ โรงพยาบาล สนั นษิ ฐานว่าเปน็ สิง่ ก่อสรา้ งท่ีสรา้ งข้นึ ในรชั สมยั ของ

กษตั รยิ เ์ ขมรโบราณพระองคใ์ ด (ONET 2562)

1. พระเจ้าชัยวรมนั ที่ 2 2. พระเจา้ สุริยวรมันท่ี 1

3. พระเจา้ มเหนทรวรมัน 4. พระเจ้าสรุ ยิ วรมันที่ 2

5. พระเจา้ ชัยวรมันท่ี 7

21. ขอ้ ใดไม่สามารถใชเ้ ปน็ หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตรส์ มยั อยุธยา (ONET 2562)

1. องค์พระปฐมเจดยี ์ จงั หวัดนครปฐม 2. ป้อมวไิ ชยประสิทธ์ิ กรุงเทพมหานคร

3. ศิลาจารึกวดั จุฬามณี จงั หวดั พิษณโุ ลก 4. จารึกลานทองวดั ส่องคบ จังหวัดชัยนาท

5. ซากเตาเผาโบราณบรเิ วณแมน่ ำ้ น้อย จังหวดั สิงหบ์ ุรี

22. ข้อใดไมใ่ ช่ปัจจยั สำคญั อันเป็นรากฐานของการสถาปนกรุงศรอี ยธุ ยาในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 19

(ONET 2563)

1. วัฒนธรรมตะวนั ตก 2. การติดตอ่ ค้าขายกบั จนี

3. วฒั นธรรมทวารวดแี ละวัฒนธรรมเขมร 4. สภาพภมู ิประเทศของลมุ่ แม่น้ำเจา้ พระยา

5. สายสมั พันธ์ทางเครือญาติของชนชั้นปกครอง

23. ขอ้ ใดคือเหตกุ ารณ์ทั้งหมดท่ีเกิดขึ้นในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอยหู่ วั (ONET 2563)

1. การสร้างจารกึ วัดพระเชตพุ น / การสงครามอนัมสยามยุทธ /

การเปิดโรงพมิ พ์หนงั สอื ไทยของหมอบรัดเลย์

2. การเกิดวรี กรรมของท้าวสุรนารี / การสร้างสวนขวาในพระบรมมหาราชวงั /

การสร้างสมุดภาพไตรภูมฉิ บับหลวง

3. การจัดทำกฎหมายตราสามดวง / การสรา้ งพระเจดียเ์ รือสำเภาที่วดั ยานนาวา /

การทำสญั ญาเบอร์นีย์กับอังกฤษ

4. การค้าสำเภากับจีนทำรายได้สงู สุด / การสรา้ งพระปรางค์วดั อรณุ ราชวราราม /

การสงครามระหว่างองั กฤษกบั พม่าครัง้ ที่ 2

5. การสร้างโลหะปราสาทวัดราชนัดดาราม / การทรงพระราชนพิ นธบ์ ทละครในเรือ่ งอเิ หนา /

การเปดิ โรงเรยี นทวี่ ัดมหรรณพาราม

24. ขอ้ ใดคอื วัตถุประสงคห์ ลกั ในการเสดจ็ ประพาสประเทศในทวปี ยุโรปคร้งั ท่ี 2 ของ

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (ONET 2562)

1. รกั ษาพระองค์ 2. แสวงหาพนั ธมิตร

3. เจรจาขอแกไ้ ขสนธสิ ญั ญ 4. ส่งพระราชโอรสไปศกึ ษาต่อ

5. ทอดพระเนตรความเจรญิ ของต่างประเทศ

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 17

25. กระทรวงใดในสมัยรชั กาลท่ี 5 ทม่ี หี นา้ ท่ีรับผิดชอบงานส่วนหนงึ่ ทอ่ี ยู่ในความรับผิดชอบของ

กระทรวงคมนาคมในปัจจบุ ัน (ONET 2563)

1. กระทรวงยตุ ธิ รรม 2. กระทรวงธรรมการ

3. กระทรวงโยธาธกิ าร 4. กระทรวงยุทธนาธิการ

5. กระทรวงการต่างประเทศ

26. ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว หน่วยงานใดมีหนา้ ทดี่ แู ลเก่ยี วกบั

การตา่ งประเทศ (ONET 2562)

1. กรมทา่ 2. กรมมหาดไทย

3. กรมธรรมการ 4. กรมมุรธาธกิ าร

5. กรมเมือง

27. สมเดจ็ พระราชนิ นี าถวกิ ตอเรียแห่งอังกฤษทรงครองราชสมบตั ิอยู่ในระยะเวลาที่ตรงกับรชั สมยั ของ

พระมหากษตั ริยไ์ ทยในพระบรมราชจกั รวี งศ์พระองคใ์ ดบ้าง (ONET 2563)

1. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย และพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจา้ อยู่

2. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อย่หู วั และพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั

3. พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั , พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั

และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว

4. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั , พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั

และพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว

5. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อย่หู วั , พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว,

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั และพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู วั

28. "โครงการแผนการศึกษาในกรุงสยาม" ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการศกึ ษาของไทยทไ่ี ด้แบบแผน

การจดั การศึกษาของประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส เรมิ่ เกิดขน้ึ ในรชั สมยั ใด (ONET 2562)

1. รัชกาลที่ 4 2. รัชกาลท่ี 5

3. รชั กาลท่ี 6 4. รัชกาลที่ 7

5. รัชกาลที่ 8

29. ขนั้ ตอนใดของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศ์จกั รี ทจ่ี ดั ขน้ึ เพ่ือประสงค์ให้

ประชาชนได้เข้ามารว่ มในพระราชพิธีไดโ้ ดยใกลช้ ิด (ONET 2563)

1. การสรงพระมูรธาภเิ ษก

2. การจารึกพระสุพรรณบัฏ

3. การเสด็จพระราชดำเนินเลยี บพระนคร

4. การเสด็จออกมหาสมาคมในท้องพระโรงพระทน่ี ่ังอมรนิ ทรวินิจฉัย

5. การรับเคร่ืองเบญจราชกกุธภณั ฑ์ พระแสงอัษฎาวธุ และเครื่องบรมราชูปโภค

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 18

30. นายทหารท่านใดที่ขนึ้ สู่ตำแหนง่ นายกรฐั มนตรดี ว้ ยกระบวนการลงสมัครรับเลอื กต้ังตามกตกิ า

ทางการเมือง (ONET 2563)

1. พลเอก เกรยี งศักด์ิ ชมะนันทน์ 2. พลเอก เปรม ตณิ สูลานนท์

3. พลเอก สจุ นิ ดา คราประยูร 4. พลเอก ชาตชิ าย ชุณหะวณั

5. พลเอก สุรยุทธ์ จลุ านนท์

*******************************************************************************

สาระการเรยี นรู้ท่ี 5 : ภมู ศิ าสตร์

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 : แผนทแี่ ละเครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตรป์ ระเภทตา่ ง ๆ

1. กลมุ่ เครอ่ื งมือวดั

- เทอร์โมมเิ ตอร์ ; วดั อุณหภมู ิ

- บารอมเิ ตอร์ : วดั ความกดอากาศ

- ไซครอมเิ ตอร์ : วัดความชน้ื สัมพัทธแ์ ละจุดน้ำค้างในอากาศ

- ไฮโกรมเิ ตอร์ : วดั ความชื้นอากาศแบบตอ่ เนอ่ื ง โดยใช้เสน้ ผม

- แอนโิ มมเิ ตอร์ : วดั ความเร็วลม

- แพลนิโมมเิ ตอร์ : วดั พ้นื ท่ี

- เรนเกจ์ : วดั นำ้ ฝน

2. กลมุ่ ขอ้ มูลทางภูมศิ าสตร์

- GIS (Geograhic Information System) ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ : เก็บ ประมวลผล

และวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตรต์ ่างๆ เพ่อื ใชใ้ นการวางแผนจัดการทรพั ยากร

- GPS (Gobal Positioning System) ระบบกำหนดตำแหนง่ บนพน้ื โลก : เพอ่ื ช่วยค้นหา

และกำหนดตำแหนง่ ของสถานที่และสิ่งตา่ งๆ บนพนื้ โลก

- RS (Remote Sensing) ระบบสัมผสั จากระยะไกล ผ่านอปุ กรณด์ าวเทียม : เพ่ือช่วยในการสำรวจ

3. กลมุ่ ดาวเทยี ม

- LANDSAT : สำรวจทรัพยากร

- THEOS (ไทยโชต) : สำรวจทรัพยากร

- NOAA : สำรวจอากาศ

- COSMOS : นำร่องเคร่ืองบนิ และเรอื

- NAVSTAR : กำหนดตำแหน่ง

มาตราสว่ น

1 : 500,00

อา่ นว่า 1 ซม. ตอ่ 500,000 ซม.

การเทียบระยะ

- 1 เมตร = 100 ซม. , - 1 กม. = 1,000 เมตร

- 1 กม. = 100,000 ซม. , - 1 ไมล์ = 1.609344 กม.

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 19

มมุ ในแผนที่
1. มุมแอซมิ ทุ

- เหมือนวงกลม
- มคี า่ 0 – 360 องศา ตามเข็มนาฬิกา
2. มมุ แบริ่ง
- มคี ่า 0 – 90 องศา
- วธิ ีอ่าน เริม่ นบั องศาจากทศิ เหนอื หรอื ทิศใต้

ไปหาทิศรอง คือ ตะวนั ออก ตะวันตก

******************************************************************************
ขอ้ สอบจริงแผนทแี่ ละเคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตรป์ ระเภทตา่ ง ๆ

1. แผนท่ีชดุ L7018 จดั เป็นแผนทป่ี ระเภทใด
1. แผนที่เล่ม
2. แผนทอ่ี ้างอิง
3. แผนทล่ี ายเสน้
4. แผนทีร่ ปู ถา่ ย
5. แผนท่ีเฉพาะเรอ่ื ง

ประเภทของแผนท่ี
1. แผนทีพ่ ้นื ฐาน หรือแผนทอ่ี ้างอิง

- ใชส้ ำหรบั อา้ งอิงเพอ่ื ทำแผนทีป่ ระเภทอน่ื ๆ เช่น แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ, แผนท่ี L7018 ของกรมแผนท่ที หาร
2. แผนที่เฉพาะเรอ่ื ง

- ใช้เพอ่ื แสดงรายละเอยี ดเฉพาะเร่อื ง เช่น แผนท่ีถนน, แผนท่ีรฐั กิจ, แผนที่เล่ม (Atlas)

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 20

2. แอปพลเิ คชัน่ กูเกิลแมพ (Google Map) เป็นการผสมผสานของเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตรใ์ ดบา้ ง
(ONET 2562)
1. แผนที่ + ภาพถา่ ยทางอากาศ + ระบบกำหนดตำแหน่งบนพนื้ โลก (GPS)
2. ภาพถา่ ยทางอากาศ + ภาพจากดาวเทียม + ระบบกำหนดตำแหนง่ บนพน้ื โลก (GPS)
3. แผนที่ + ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) + ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก (GPS)
4. ภาพจากดาวเทยี ม + ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) + ระบบกำหนดตำแหน่งบนพ้ืนโลก
(GPS)
5. แผนที่ + ภาพจากดาวเทยี ม + ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) + ระบบกำหนดตำแหน่ง
บนพนื้ โลก (GPS)

3. ข้อใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกบั ประโยชน์ของระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลกดา้ นการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ
1. ติดตามตรวจสอบข้อมลู การเดินทางของยานพาหนะในเวลาจรงิ (real time)
2. คำนวณเส้นทาง นำทาง หาเส้นทางในระหว่างการขับขีย่ านพาหนะ
3. หาค่าพิกัดในการรังวัดพืน้ ทีไ่ ด้ละเอียดถึงระดบั เซนตเิ มตร
4. ติดตามการเปลยี่ นแปลงของอากาศจากทิศทางของเมฆ
5. ประหยัดเวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 21

4. เส้นชน้ั ความสูงทเี่ รียงชิดกันบรเิ วณยอด แล้วคอ่ ย ๆ ขยายออกห่างบริเวณฐานแสดงถงึ

ภูมิประเทศแบบใด (ONET 2562)

1. แบบลาดเวา้ 2. แบบลาดนนู

3. แบบลาดชนั 4. แบบหน้าผาชนั

5. แบบลาดสม่ำเสมอ

1. เสน้ ช้นั ความสงู

เสน้ ชดิ ติดกนั คือ ลาดชนั

เสน้ ห่างกนั คือ ไมล่ าดชนั เปน็ ฐานของภูเขา

2. เส้นชัน้ ความสูงแบบลาดเว้า
จะมีระยะชิดกนั ในตอนบน
และหา่ งออกจากกันในตอนลา่ ง

3. เสน้ ชน้ั ความสงู แบบลาดนนู
จะมรี ะยะหา่ งในตอนบน
และชดิ กนั มากขึ้นในตอนล่าง

5. การสำรวจการเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินและสิ่งปกคลมุ ดนิ ตอ้ งใชภ้ าพถ่ายจากดาวเทยี ม

ข้อใด จงึ จะได้ข้อมูลคลา้ ยกบั ภาพถา่ ยทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 20,000 (ONET 2560)

1. ดาวเทยี ม Terra 2. ดาวเทยี ม Rapideye

3. ดาวเทยี ม Thaichote 4. ดาวเทยี ม Landsat

5. ดาวเทยี ม Deimos-1

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 22

6. ถา้ วัดมมุ แอซิมทุ ไดเ้ ท่ากบั 100 องศา จะคิดเปน็ คา่ แบรงิ่ ได้เทา่ ไหร่ (9 สามญั 2560)

1. N 80 องศา E 2. N 100 องศา W

3. S 80 องศา E 4. S 100 องศา W

5. S 180 องศา E

7. การฝกึ สู้รบในเวลากลางคืนของนักศึกษาวชิ าทหาร ชนั้ ปีที่ 3 ครูฝึกต้องการใหันักศึกษาเดินทาง จากท่พี กั

บริเวณเขาชนไกไ่ ปยังลำตะเพนิ นักศึกษาไดว้ ดั ระยะทางในแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000

ได้ระยะทาง 3.5 เซนตเิ มตร แสดงว่าระยะทางจริงทน่ี ักศกึ ษาจะต้องเดินทางในเวลา กลางคนื เป็นเท่าใด

1. 1,550 เมตร 2. 1,650 เมตร

3. 1,750 เมตร 4. 1,850 เมตร

5. 1,950 เมตร

8. หากเวลาทป่ี ระเทศ ก คือ 9.00 น. ประเทศ ข ซ่ึงอยหู่ ่างออกไปทางทิศตะวนั ออก 15 องศา

จะเป็นเวลาใด

1. 7.00 น. 2. 8.00 น.

3. 10.00 น. 4. 11.00 น.

5. 12.00 น.

9. เวลามาตรฐานของไทยกำหนดตามเสน้ เมอริเดียนหรอื ลองจิจูดท่ี 105 องศาตะวันออก

ซึ่งผ่านจงั หวัดอบุ ลราชธานี แต่ดา้ นตะวนั ตกของประเทศอยูท่ ี่ลองจิจดู 97 องศาตะวนั ออก

ถ้านกั เรียนในจงั หวดั อุบลราชธานเี ข้าชั้นเรียนเวลา 08.30 น. นักเรยี นในบริเวณตะวันตก

ของประเทศไทยจะเข้าช้ันเรยี นตามเวลาท้องถน่ิ จรงิ ในเวลาใด (9 สามัญ 2559)

1. 09.02 นาฬิกา 2. 08.30 นาฬกิ า

3. 07.58 นาฬิกา 4. 07.48 นาฬกิ า

5. 07.38 นาฬิกา

10. ข้อใดไมใ่ ช่การป้องกันการสญู เสียหรือเฝา้ ระวงั ภยั จากแผน่ ดนิ ถลม่ ท่ีถูกต้อง (ONET 2563)

1. นักทอ้ งเที่ยวหลีกเลย่ี งการไปเทีย่ วบริเวณภูเขาในชว่ งฤดฝู น

2. กรมปา่ ไมร้ ว่ มมือกับชุมชนจัดโครงการรณรงค์ปลูกป่าเพอ่ื ฟน้ื ฟปู า่ ให้อดุ มสมบูรณ์

3. สถานทพี่ กั ตากอากาศเตรยี มการกอ่ สร้างอาคารบนภเู ขาดว้ ยการบดอดั ดินบริเวณเนนิ เขาชันใหแ้ นน่

4. ชาวบ้านทอ่ี าศยั อยู่ในบริเวณภเู ขาต้งั กลุม่ อาสาสมคั รช่วยกันสังเกตระดับน้ำในแหลง่ น้ำในช่วงทีฝ่ นตกหนกั

5. เจา้ หน้าทอ่ี ุทยานสงั เกตเห็นน้ำตกมีน้ำแดงขนุ่ จงึ ประกาศให้นกั ท่องเท่ียวรบี ออกห่างจากพนื้ ท่ีใหม้ ากทสี่ ุด

***********************************************************************

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 23

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 : การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

อนุสัญญาและพธิ ีสารระหวา่ งประเทศเกยี่ วกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

- อนสุ ญั ญา UNFCCC : ว่าด้วยการเปล่ยี นแปลงสภาพอากาศ ลดโลกร้อน

- อนุสญั ญา CITES (อนุสัญญาวอชิงตนั ) : หา้ มค้าสัตวป์ ่าและพืชปา่

- อนุสญั ญา BDC : อนุรกั ษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ

- อนสุ ญั ญา WHC : คุ้มครองมรดกโลก

- อนสุ ัญญา UNCCD : ต่อตา้ นการแปรสภาพเปน็ ทะเลทราย

- อนสุ ญั ญาเวียนนาและพธิ ีสารมอนทรีออล : ปอ้ งกันรักษาโอโซน ด้วยการลดสาร CFC

- อนุสัญญาบาเซิล : ควบคมุ การเคล่อื นย้ายสารเคมีของเสียอนั ตราย

และการกำจัดของเสยี อันตราย

- อนสุ ัญญารอตเตอรด์ มั : ว่าดว้ ยการแจง้ ขอ้ มูลสารเคมลี ่วงหน้าสำหรบั

สารเคมอี ันตรายและสารเคมปี ้องกันกำจัดศตั รูพชื

- อนสุ ัญญาแรมซาร์ : อนุรักษ์พืน้ ท่ีชุ่มน้ำ

- พธิ ีสารเกยี วโต : ลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก (เชน่

คารบ์ อนไดออกไซด์)

- โครงการ UNEP : โครงการส่งิ แวดลอ้ มแหง่ สหประชาชาติ

- โครงการ MAB : อนุรกั ษพ์ ื้นที่สงวนชีวมณฑล

*********************************************************************

ขอ้ สอบจรงิ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

11. อนสุ ญั ญาขอ้ ใดชว่ ยไม่ใหเ้ กิดเหตุการณน์ ำเขา้ ขยะปนเปอื้ นสารเคมจี ำนวนมากจากตา่ งประเทศ

(ONET 2562)

1. อนสุ ัญญาบาเซิล 2. อนสุ ัญญาไซเตส

3. อนุสญั ญาแรมซาร์ 4. อนสุ ญั ญาเวยี นนา

5. อนสุ ญั ญากรงุ โตเกยี ว

12. การรณรงคใ์ นข้อใดสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ติ ามอนุสัญญาเวยี นนาโดยตรงของประเทศไทย

(ONET 2562)

1. ไมจ่ ำหน่ายสตั วป์ ่าและพืชปา่ 2. อนุรักษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ

3. ปรับลดการใช้สารฮาลอนในกิจกรรมต่างๆ 4. ไมน่ ำเข้ากากของเสียอันตรายจากตา่ งประเทศ

5. แบง่ ปนั ผลประโยชนก์ ารใชท้ รพั ยากรพันธกุ รรม

13. อนสุ ัญญาใดชว่ ยแกป้ ญั หามลพิษจากพลังงานถ่านหนิ ในช้นั บรรยากาศ (ONET 2562)

1. อนสุ ญั ญาโตรอนโต 2. อนุสญั ญาบาเซลิ

3. อนุสญั ญารอตเตอร์ดมั 4. อนสุ ญั ญาเวยี นนา

5. อนุสญั ญาไซเตส

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 24

14. ข้อใดไมใ่ ชพ่ นั ธกรณที ่กี ำหนดไว้ในแผนการดำเนินงานโจฮนั เนสเบิรก์ (ONET 2562)

1. การขจัดความยากจน 2. การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนในแอฟรกิ า

3. สขุ ภาพอนามยั และการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื 4. การพัฒนาทีย่ ่งั ยนื สำหรับประเทศท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็ก

5. การแกไ้ ขการแปรสภาพเป็นทะเลทรายและความแห้งแล้ง

15. ขอ้ ใดไมถ่ ูกตอ้ งเก่ียวกบั ปรากฏการณก์ ารเกดิ ช่องโหว่ของช้นั โอโซน (ONET 2563)

1. การสลายตัวของกา๊ ซโอโซน (O3) กลายเป็นก๊าซออกซเิ จน (O2)

2. ระบบนเิ วศทางทะเลเสยี หายเนอ่ื งจากสาหร่ายทเ่ี ป็นผูผ้ ลิตขน้ั ตน้ ตายมากขึ้น

3. การเผาไหม้เชื้อเพลงิ จากฟอสซิลปน็ สาเหตหุ ลักท่ีทำให้เกดิ ชอ่ งโหวข่ องช้นั โอโซน

4. การขยายตัวของชอ่ งโหวท่ ำใหป้ ระชากรโลกมคี วามเส่ยี งตอ่ โรคมะเรง็ ผิวหนงั มากข้นึ

5. ต้นไม้ได้รบั รังสีอลั ตราไวโอเลตมากจนเกนิ ไปสง่ ผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ท่ชี า้ ลง

หรือทำให้พืชแคระแกรน็ มากขน้ึ

16. จากการพฒั นาประเทศใหม้ ีความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรมได้มกี ารนำ

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมาใชป้ ระโยชนท์ างเศรษฐกจิ อยา่ งมากจนทรพั ยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดล้อมเรมิ่ เสอ่ื มโทรม ข้อใดไม่ใชส่ าเหตทุ ่ที ำใหเ้ กิดสถานการณก์ ารเสอื่ มโทรมดังกลา่ ว

1. การเพิ่มขึ้นของทรัพยากรหมนุ เวียน

2. การเพม่ิ ขนึ้ ของประชากรอยา่ งรวดเร็ว

3. การเพม่ิ ขนึ้ ของความขัดแย้งระหวา่ งประเทศ

4. การบรโิ ภคสินค้าและบริการอย่างฟุ่มเฟอื ย

5. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

17. วกิ ฤตการณ์ด้านทรพั ยากรเกิดจากการกระทำของมนุษย์ และส่งผลกระทบตอ่ คุณภาพชวี ติ

ของมนุษยร์ วมถึงการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศเนอื่ งจากวกิ ฤตการณน์ ้สี ง่ ผลเสยี

ตอ่ มนุษย์ เหตุใดมนุษย์จึงยงั คงกระทำใหเ้ กิดวิกฤตการณด์ งั กล่าว (ONET 2563)

1. มนุษยไ์ ม่รวู้ ่าสิง่ ที่กำลังกระทำ กอ่ ใหเ้ กดิ วกิ ฤตการณด์ งั กล่าว

2. มนษุ ยเ์ ชื่อว่าธรรมชาตจิ ะปรับสภาพแวดลอ้ มเข้าสูส่ มดลุ ในที่สุด

3. มนษุ ยค์ ิดวา่ ทรพั ยากรบนโลกน้ีมอี ย่มู ากมาย เพียงพอท่จี ะสนบั สนนุ ชีวติ ความเปน็ อยู่

ของมนษุ ยไ์ ด้

4. มนุษย์มีความหลงใหลในวตั ถมุ ากกวา่ คุณธรรมและจรยิ ธรรม มคี วามตอ้ งการที่ฟ้งุ เฟอ้

ในส่งิ ทไ่ี ม่จำเปน็

5. มนุษยเ์ ช่ือวา่ การกระทำของมนษุ ยไ์ มใ่ ชส่ าเหตหุ ลกั ท่ีทำใหเ้ กดิ วกิ ฤตการณ์ด้านทรัพยากร

และสิง่ แวดลอ้ ม

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภูมศิ าสตร์ ห น ้ า 25

18. เม่ือวนั ท่ี 14 มีนาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดเลยพบกบั สถานการณแ์ ละคณุ ภาพอากาศท่มี ปี รมิ าณ

ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ 2.5 ไมครอนในระดบั สงู และมีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึนเร่อื ยๆ ถึง 120 ไมโครกรมั

ต่อลูกบาศก์เมตร ซง่ึ มผี ลกระทบต่อสขุ ภาพประชาชนในพนื้ ที่ ทางจังหวัดเลยจำเป็นต้องใช้มาตรการ

ปอ้ งกนั ภยั ประเภทใดเพือ่ ชว่ ยลดปริมาณฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน 2.5 ไมครอน (ONET 2563)

1. ไฟป่า 2. ภยั แลง้

3. วาตภยั 4. แผน่ ดนิ ไหว

5. ดนิ โคลนถลม่

19. ข้อใดเปน็ กฎหมายป้องกันและอนรุ กั ษห์ อยมอื เสือของประเทศไทย (ONET 2563)

1. พระราชบญั ญตั ปิ ่าไม้ พ.ศ. 2484

2. พระราชบญั ญตั อิ ุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504

3. พระราชบญั ญตั ปิ า่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2507

4. พระราชบญั ญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 2)

5. พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ 2535

20. ลูกพะยนู "มาเรยี ม" ตายลงจากหลากหลายสาเหตุ ซึง่ รวมถงึ ขยะถุงพลาสตกิ องค์กรภาคเอกชน

องคก์ รใดควรมีบทบาทโดยตรงในการดำเนนิ การร่วมกับองค์กรภาครฐั (ONET 2563)

1. กลุ่มอนรุ กั ษป์ า่ ชายเลนบา้ นเปรด็ ใน

2. มูลนิธอิ าสาสมัครเพ่ือสงั คม

3. มูลนธิ สิ บื นาคะเสถยี ร

4. สมาคมสรา้ งสรรคไ์ ทย

5. สมาคมหยาดฝน

21. สนุ ทรฝ่าฝนื คำสั่งหา้ มใชย้ านพาหนะท่ีก่อใหเ้ กิดมลพิษ มีโทษปรับไมก่ ิน 5,000 บาท และสมทุ รฝ่าฝืน

ไมย่ นิ ยอมหยุดพาหนะใหพ้ นกั งานเจ้าหน้เทต่ี รวจสอบ มีโทษจำคุก 1 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กิน 10,000 บาท

หรอื ทง้ั จำทั้งปรับ จากสถานการณด์ ังกล่าวเป็นบทกำหนดโทษของกฎหมายใด (ONET 2563)

1. พรบ.พฒั นาทด่ี นิ พ.ศ. 2551

2. กฎหมายเกี่ยวกับการจดั การขยะของประเทศไทย

3. พรบ.ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535

4. พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท2่ี ) พ.ศ. 2550

5. พรบ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรยี บร้อยของบ้านเมอื ง พ.ศ. 2535

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 26

22. จากวกิ ฤตด้านทรพั ยากรน้ำสมู่ ลพิษทางนำ้ เทคโนโลยีการบำบดั น้ำเสียทเี่ รียบงา่ ยภายใต้แนวคดิ
ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติบำบดั ของโครงการตามพระราชดำริฯ แหลมผกั เบีย้ การนำวธิ กี าร
บำบัดน้ำเสียดงั กลา่ วไปใช้ในการจดั การน้ำเสยี ใหเ้ ปน็ น้ำดีเพ่ือการเกษตรกรรมของชมุ ชน
จะต้องเริ่มต้นข้นั ตอนแรกตามข้อใด (ONET 2562)
1. จดั ทำระบบพืชและหญา้ กรองนำ้ เสียด้วยตน้ ธปู ฤๅษี กกกลม และหญา้ แฝกอินโดนเี ซยี
2. จดั สร้างระบบนเิ วศพ้ืนที่ชุ่มน้ำเทยี ม
3. จัดทำระบบแปลงพชื ป่าและพืชนำ้ ทอ้ งถิ่นตามสภาพภูมนิ ิเวศ
4. สร้างระบบบ่อบำบัด ดว้ ยบอ่ ตกตะกอน บ่อผึ่ง และบอ่ ปรบั สภาพ
5. ดำเนนิ การสร้างระบบลุ่มน้ำเทียมรองรบั และบำบดั น้ำเสยี

23. ข้อใดหมายถึงการแกล้งดนิ ในโครงการตามแนวพระราชดำริ (ONET 2563)
1. การแกป้ ญั หาดินแห้ง โดยการขังนำ้ ไวใ้ นดินใหล้ กึ ถึงระดบั นำ้ ใตด้ ิน เพ่ือดงึ น้ำขึ้นสผู่ ิวดิน
2. การแกป้ ญั หาดินเค็ม โดยขงั น้ำไวเ้ ล็กน้อยใหร้ ะเหย เหลอื แตเ่ กลือทหี่ น้าดินแล้วจงึ ตกั เกลอื ออก
3. การแกป้ ัญหาดินเปร้ียว โดยการขงั น้ำและระบายนำ้ สลับกนั ไปจนดินเปรย้ี วจัด แล้วปรบั สภาพ
ด้วยปนู ขาว
4. การแก้ปัญหาดินขาดธาตุอาหาร โดยการไมไ่ ล่ปุย๋ จนกระทั่งพชื ทง้ิ ใบ ใบจะสะสมและยอ่ ยสลาย
เป็นธาตุอาหาร
5.. การแกป้ ัญหาการชะลา้ งพงั ทลายของหน้าดิน โดยเซาะหน้าดนิ เปน็ ขั้นบนั ไดและปลกู พืช
ยดึ หน้าดนิ ไว้

โครงการพระราชดำริ
1. ปลูกหญา้ แฝก = ป้องกนั หน้าดินพงั ทลาย : ภาคเหนอื +อีสาน+ตะวนั ตก
2. แกล้งดนิ = แก้ดินเปรยี้ ว : ภาคใต้
3. แก้มลงิ = ป้องกันนำ้ ท่วม : ภาคกลางตอนลา่ ง
4. พกิ ลุ ทอง นราธวิ าส = ดินเปรยี้ ว
5. ห้วยฮอ่ งไคร้ เชยี งใหม่
6. ช่งั หัวมัน เพชรบรุ ี = เปน็ โครงการพระราชดำริ โครงการสดุ ท้าย
7. ฝนหลวง
8. กังหนั น้ำชัยพฒั นา
9. กำจัดสารอินทรยี ์ในน้ำเสีย = ปลอ่ ยปลากระด่ี (ปลาพ้นื เมือง)

24. การกระทำในขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั แนวทางการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติโดยการใช้

ทรพั ยากรธรรมชาติให้คมุ้ คา่ (ONET 2563)

1. ปิดไฟเม่อื ไมใ่ ช้ 2. ปลกู ป่าชายเลน

3. รบั ประทานอาหารใหห้ มด 4. ขยายพันธพ์ุ ชื ผกั พืน้ ถน่ิ

5. ใชจ้ ุลนิ ทรยี ช์ ีวภาพกำจดั ศัตรูพืช

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 27

25. การประชมุ สหประชาชาติว่าด้วยสิง่ แวดล้อมและการพฒั นา หวั ข้อการประชุมเรอื่ งใด
ไมใ่ ชแ่ นวทางการอนุรักษ์และการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ (ONET 2562)
1. การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ในพน้ื ทีภ่ เู ขา
2. การคุ้มครองและการจัดการมหาสมุทร
3. การแกไ้ ขการแปรสภาพเป็นทะเลทรายและความแหง้ แล้ง
4. การจัดการของเสียท่เี ปน็ อนั ตราย
5. การแกไ้ ขปัญหาการตัดไม้ทำลายปา่

26. แนวทางใดเป็นแนวทางการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ หยุดโลกร้อน
ในเชิงภูมิศาสตร์ (ONET 2562)
1. ซ้อื ผลิตภัณฑ์อาหารจากผูผ้ ลิตทไี่ ดร้ บั ฉลากลดโลกร้อน
2. รณรงค์ไม่ใชผ้ ลิตภณั ฑต์ า่ งๆ ทที่ ำมาจากพลาสตกิ
3. รวมกล่มุ กันสรา้ ง "ผลติ ภณั ฑ์สีเขยี ว" โดยซื้อขายกันภายในตลาดทอ้ งถิน่
4. นำหลักการ การลดทอน การใช้ซ้ำ การแปรใชใ้ หม่ มาใช้ในชวี ิตประจำวัน
5. ริเร่มิ ใช้พลังงานทางเลือก เช่น ติดตง้ั แผงโซลารเ์ ซลล์ เพื่อผลิตไฟฟ้าเฉพาะจดุ เปน็ ตน้

27. ปัจจุบันมลพิษขยะพลาสตกิ กลายเปน็ วกิ ฤตสำคัญดา้ นส่ิงแวดล้อม แต่ละปที ว่ั โลกมกี ารใช้
ถุงพลาสติกมากถงึ 5 แสนล้านใบ ในประเทศไทยกเ็ ช่นกันมขี ยะถงุ พลาสติกเกิดขน้ึ จำนวนมาก
และประเทศไทยถกู จดั อย่ใู นลำดบั ที่ 6 ของประเทศที่มีขยะพลาสตกิ ในทะเลมากที่สดุ ในโลก
แนวทางใดจะลดขยะถงุ พลาสติกได้มากทส่ี ดุ (ONET 2562)
1. เลอื กใช้ถุงพลาสตกิ ที่มคี ณุ สมบตั ยิ อ่ ยสลายเองได้
2. จัดการเก็บถงุ พลาสติก คดั แยก และนำไปท้ิงถังขยะให้เรยี บรอ้ ย
3. พยายามนำถุงพลาสติกทใ่ี ชแ้ ลว้ กลับมาใช้อกี
4. ปฏิเสธการใช้ถงุ พลาสตกิ จากร้านคา้ และใช้ถงุ ผา้ แทน
5. นำขยะถงุ พลาสติกทรี่ วบรวมไว้ นำไปแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์ใหม่

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 28

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 : ภมู ศิ าสตร์กายภาพโลกและประเทศไทย
28. ภมู ปิ ระเทศในขอ้ ใดทม่ี กี ระบวนการเกดิ เหมอื นกับหบุ เขาทรุด (rift valley)

(ONET 2563)
1. แกรนด์แคนยอนในสหรัฐอเมริกา
2. ทะเลสาบทางตอนเหนือของแคนาดา
3. ทะเลสาบแทนแกนยกิ าในประเทศคองโก
4. เนินทรายหรือสนั ทรายในเขตทะเลทรายซาฮารา
5. ทะเลสาบรูปแอกในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

หบุ เขาทรุด Rift valley เกดิ จาก
- แผน่ ทวีปเคลื่อนออกจากัน
- โดยแมกมา ดนั ใหแ้ ผน่ ทวปี โก่งตัวขึ้น
- และส่วนยอดของรอยโก่ ง่ นนั้ ยดื ตัวออกบางลงจนเกดิ รอยแตก และทรุดตัวลงกลายเป็น “หบุ เขาทรดุ ”
- และต่อมาแมกมา ผลักให้แผ่นดินบรเิ วณนั้น ขยายตวั แยกออกจากกันมากขนึ้ จนน้ำทะเลไหลเขา้ มา
เช่น ทะเลสาบด้านตะวันออกของทวปี แอฟริกา และทะเลแดง ซ่งึ ก้นั ระหวา่ งทวปี แอฟริกา กับคาบสมุทรอาหรับ

29. แนววงแหวนไฟ (Ring of Fire) มีการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทบุ อ่ ย เพราะมี
ลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ตามข้อใด (ONET 2562)
1. แนวพ้ืนท่ีเกดิ รอยเลือ่ นแปลง
2. แนวแผน่ เปลอื กโลกเคล่ือนที่ตามรอยเล่ือน
3. แนวแผน่ เปลอื กโลกสว่ นท่ีเป็นสนั เขากลางมหาสมุทร
4. แนวชนกันของแผน่ ซีกโลกลอเรเซียกบั กอนดว์ านา
5. แนวร่องลึกบาดาลระหวา่ งมหาสมทุ รกับพน้ื ทวปี

30. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ข้อเทจ็ จริงในเรอ่ื งภูมภิ าคการเกษตรและการผลติ อาหาร เมือ่ อณุ หภมู ิของโลก
เปล่ียนแปลงสงู ขนึ้ (ONET 2562)
1. ดินแดนสหราชอาณาจักร ผลผลติ ปศุสตั ว์ในเขตทางเหนือของประเทศจะเพ่มิ ขน้ึ
2. ประเทศรัสเซยี ทางตอนเหนอื และแถบไซบเี รยี ผลผลิตทางการเกษตรอาจเพ่ิมขนึ้
และเขตภูมิภาคของพืชผลจะเล่ือนขน้ึ ไปทางเหนอื
3. ในรัฐควิเบก ประเทศแคนาดา พบวา่ ผลผลติ ขา้ วโพด ถัว่ เหลอื ง ข้าวฟา่ งจะลดลง
แต่ผลผลิตข้าวสาลจี ะเพ่มิ ขนึ้
4. ประเทศนวิ ซีแลนด์สามารถขยายพนื้ ที่การเกษตรพวกธญั พชื ลงไปทางใตไ้ ด้อกี
5. พ้ืนทีก่ ารเกษตรในเขตหนาว บรเิ วณตอนเหนือของแคนาดา สวเี ดน นอรเ์ วย์ ฟนิ แลนด์
และรสั เซยี เม่อื สภาพภมู ิอากาศเปลย่ี นแปลงจะช่วยเพม่ิ พ้นื ที่การเกษตร

Facebook : Paramee Waichongcharoen

สงั คม อ.จวง ม.6 เทอม 1 / 2564 ประวตั ิศาสตร์+ภมู ศิ าสตร์ ห น ้ า 29

31. ข้อใดไมใ่ ช่การเปลี่ยนแปลงกาลอากาศและภูมิอากาศของไทย (ONET 2562)

1. ชว่ งปลายเดอื นเมษายนบรเิ วณความกดอากาศสงู จากประเทศจีน จะแผ่มาคลมุ ประเทศไทย

ตอนบน ขณะทป่ี ระเทศไทยมอี ากาศร้อน ทำให้บรเิ วณดงั กล่าวจะมีพายุฤดูรอ้ น

2. พายุฤดูรอ้ นจะทำใหเ้ กิดพายฝุ นฟ้าคะนองในบางพนื้ ที่ ลมกระโชกแรง ฟ้าผา่ และมลี ูกเหบ็ ตก

เป็นบางพืน้ ท่ี

3. ฤดูรอ้ นของไทย เปน็ ชว่ งเปลี่ยนแปลง เพราะอิทธิพลจากลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ

เปน็ ลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้

4. ช่วงเปล่ียนฤดูฝนเปน็ ฤดหู นาวของไทย ในชว่ งประมาณกลางเดือนตลุ าคม อากาศแปรปรวน

อากาศจะเรม่ิ เยน็ แต่ก็อาจมพี ายุฝนฟ้าคะนองได้

5. พายฤุ ดูรอ้ นมกั จะเกดิ ในฤดฝู นระหว่างทฝ่ี นทง้ิ ช่วง อากาศร้อนจัด แปรปรวน

มีโอกาสเกิดลมพัดรุนแรง

32. หากท่านตอ้ งการเดินทางไปท่องเท่ยี วเมืองชายฝง่ั ทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งอา่ วเบงกอลกบั เมียนมา

ควรหลกี เล่ียงการเดนิ ทางในชว่ งเวลาใดเพ่ือลดความเสี่ยงทจ่ี ะเจอกับภัยจากพายหุ มนุ เขตรอ้ น

(ONET 2563)

1. มกราคม 2. กมุ ภาพนั ธ์

3. มีนาคม 4. พฤษภาคม

5. ธนั วาคม

ขอ้ คดิ คำคม : รวบรวมโดย อ.จวง

“คนใดเอาชนะ ผา่ นอปุ สรรค ผ่านเหตุการณ์ ผา่ นมรสมุ ชวี ติ ไปไดด้ ้วยดี

คนนั้นจะเปน็ ผู้ทแ่ี กรง่ กลา้ มีชีวิตท่ีได้พฒั นาความฉลาด เปล่ียนปัญหาใหเ้ ปน็ ปญั ญา

ปัญหา นน้ั เปลย่ี นพยัญชนะตัวเดียวกก็ ลายเปน็ ปญั ญา”

สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) วัดญาณเวศกวนั จ.นครปฐม

*********************************************************************

ครขู ออวยพรใหน้ กั เรียนที่นา่ รักของครทู กุ คน ประสบความสำเร็จในการสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั

ในการสอบตรง ในการสอบทโี่ รงเรยี น และในการสอบทกุ ๆ ประเภทนะคะ ขอให้คณุ พระรัตนตรัยคมุ้ ครองทุก

คน นะคะ สู้สู้ คะ่ และถา้ หากนกั เรียนมปี ญั หาต้องการท่จี ะถามครูเก่ยี วกับวชิ าสงั คมศกึ ษา นกั เรียนสามารถ

ตดิ ต่อครไู ดท้ ี่ Facebook People : ปารมี ไวจงเจริญ ,

มอื ถอื : 08-1573-9090 หรือ LINE ID : ajarn_juang คะ่

Facebook : Paramee Waichongcharoen


Data Loading...