เอกสารอ้างอิง - PDF Flipbook

โรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน

121 Views
110 Downloads
PDF 12,207,929 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


โรคตดิ ต่อทปี่ ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีน
และวคั ซีนพนื้ ฐาน

แพทย์หญงิ ธนาวดี ตนั ตทิ ววี ฒั น์ 1
พบ.,วบ. กมุ ารเวชศาสตร์

กล่มุ งานโรคตดิ ต่อทป่ี ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีน
สํานักโรคตดิ ต่อทว่ั ไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

วตั ถุประสงค

1) อธิบายสาเหตุ ระยะฟกตัว ระยะติดตอ การแพรกระจายของโรค อาการ
และอาการแสดง รวมท้ังการปอ งกันโรคไดอยา งถกู ตอ ง

2) ระบอุ าการแสดงหลัก และการตดิ ตอ ของโรคไดโ ดยสังเขป
3) ระบลุ ักษณะทางกายภาพของวัคซีนแตละชนิด รวมถึงขนาดและวิธีการ

บริหารวัคซีนไดอ ยางถูกตอ ง
4) เขียนตารางการใหว ัคซีนไดอ ยา งถกู ตองครบถวนตรงตามประชากร

กลมุ เปา หมายตา งๆ

2

ขอบเขตการนําเสนอ

1) การตดิ ตอและการแพรกระจายของเชื้อโรค
2) ลําดับขั้นในการจัดการกับโรคตดิ ตอ
3) โรคติดตอท่ีปองกันไดดวยวัคซีน
4) วคั ซีนที่ใชในแผนการสรางเสริมภูมิคุมกนั โรคของกระทรวง

สาธารณสุข
5) กําหนดการใหวคั ซีนในแผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของกระทรวง

สาธารณสขุ

3

1) การติดตอและการแพรกระจายของเชื้อโรค

4

Chain of infection

Pathogen

Susceptibl Source
e Host

Entry Mode

5

วธิ ีการแพร่กระจายของเชื้อโรค

การแพร่เชื้อโรคโดยทางตรง การแพร่เชื้อโรคโดยทางอ้อม

การที่เชื้อแพรจ ากแหลง หน่ึงสูแหลงหนง่ึ โดย การแพรของเชื้อจากแหลง หนึง่ สูแหลงหนงึ่
ไมม สี อ่ื กลาง / พาหะ นํา โดยมีส่ือกลาง / พาหะ นาํ

ตัวอยา ง ตวั อยาง
การสัมผัส / รบั เชื้อจากน้าํ มกู นา้ํ ลาย เช้อื ทปี่ ะปนอยใู นอาหาร เส้อื ผา ของใช
สารคัดหลงั่ ไอ จาม (โดยมาก < 3 ฟตุ ) หรือ ผานทางสัตว / แมลงนาํ โรค

ชองทางการเขาสูรางกาย ชอ งทางการเขา สูรางกาย

- ทางระบบทางเดนิ หายใจ - ทางระบบทางเดินอาหาร

- ทางผิวหนงั - ทางผวิ หนัง

- ทางเย่อื บตุ างๆ

- ทางระบบอวัยวะสบื พันธุ / เพศสมั พนั ธ 6

ช่องทางการเข้าสู่ร่างกายของเชื้อโรค

1) ทางระบบทางเดนิ หายใจ
2) ทางระบบทางเดนิ อาหาร
3) ทางผวิ หนัง
4) ทางเยอื่ บุต่างๆ
5) ทางระบบอวยั วะสืบพนั ธ์ุ / เพศสัมพนั ธ์
6) ทางรก

7

ระยะเวลาทสี่ ําคญั เกย่ี วกบั การตดิ เชื้อ
และการแพร่กระจายเชื้อ

Incubation Period
ระยะฟก ตวั ของโรค

Period of communicability
ระยะติดตอของโรค

Latent Period Patent Period
ระยะเชอ้ื ไมป รากฎ ระยะเชอ้ื ปรากฎ

Exposure to Infection appeared Disease appeared Shedding of agent Infection
infection การติดเชอื้ ปรากฎ โรคปรากฏ terminated termination
ไดร บั เชอ้ื
เชอื้ หยุดแพรออก การติดเช้อื 8ยตุ ิ
จากรางกาย

ระยะฟักตวั (Incubation period)

• ระยะเวลานับจากเชอ้ื โรคเขาสูรางกายจนกอใหเกดิ อาการ
• เปน ระยะเวลาที่เช้อื โรคใชเ พือ่ การเจริญเตบิ โต/แบง ตัวจนมีกําลังมาก

พอจะกออาการ

• ตวั อยา ง
ระยะฟกตัวของโรคไวรัสตับอักเสบ บี ~ 30-180 วัน หมายความวา

เม่ือไดรับเช้ือไปแลวจะยังไมมีอาการ แตจะไปมีอาการเมือ่ ผานไปแลว
~ 30-180 วนั

9

ระยะตดิ ต่อ (Communicable period)

• ระยะเวลาทเ่ี ชอื้ โรคสามารถกระจายทาํ ใหมีการตดิ ตอ จาก

คน คน
คน สตั ว
สตั ว คน

• อาจจะเริ่มตง้ั แตวนั แรกท่ไี ดรับเช้อื / เมื่อเร่มิ ปรากฏอาการ /
ระหวา งระยะฟก ตวั กไ็ ด

• อาจสนิ้ สุดเมอื่ หายจากอาการสําคัญแลว / คงแพรต ิดตอ ไดเ ปน

ชว ง ๆ / เปน เวลานาน 10

2) ลาํ ดบั ขัน้ ในการจดั การกบั โรคติดตอ

11

การจดั การกบั โรคตดิ ต่อ

1) การป้ องกนั (Prevention)
2) การควบคุม (Control)
3) การกาํ จดั (Elimination)
4) การกวาดล้าง (Eradication)

12

การป้ องกนั โรค

เปน การควบคุมสาเหตุและปจ จัยเสีย่ งของการเกิดโรคชวยไมใหค น
สัมผัสเช้ือ / หากสัมผัสเชื้อก็สามารถตานทานโรคได
แบ่งเป็ น 3 ระดบั ดงั นี้
1) การปอ งกันโรคแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention)
2) การปอ งกันโรคแบบทตุ ิยภูมิ (Secondary Prevention)
3) การปอ งกันโรคแบบตติยภูมิ (Tertiary Prevention)

ไมม อี าการใดๆ หายปว ย
1 2 อาการ / อาการ 3 ภาวะแทรกซอน /
คน แสดง เสยี ชวี ติ
เช้อื / ปจ จยั เส่ยี ง

13

ภูมคิ ุ้มกนั โรค (Immunity)

• Passive immunity
- ความตานทานทไี่ ดรับโดยธรรมชาติจากแม หรอื การฉดี ภูมิคุมกัน
(Antibody Serum Immunoglobulin)
- ความตานทานชนิดนี้อยูไ ดไมนาน (เปน วัน-เปน เดอื น)

• Active immunity
- เกดิ ขน้ึ โดยการไดรบั เช้ือโรคตามธรรมชาติ หรือการไดรบั วัคซีน
- ความตา นทานชนดิ นี้อยไู ดนานเปนป หรืออาจจะมอี ยูต ลอดชวี ติ กไ็ ด

14

ภูมคิ ุ้มกนั ของกลุ่ม (Herd immunity)

ภูมิคุมกันของกลมุ และชุมชน
ซึ่งความสามารถในการตา นทาน
โรคจะข้นึ กับระดับความครอบ
คลมุ ของบุคคลท่มี ีภมู คิ ุมกันใน
กลมุ หรือชุมชนน้ัน

15

การควบคุมโรค

เปนการจาํ กัดโรคทเี่ กิดขึ้นไมใ หเกดิ การแพรกระจาย เชน การ
ควบคุมวัณโรค การควบคุมโรคคอตีบ

การกกั กัน (Quarantine) 16

• กักกนั ผูทีไ่ ปสัมผัสกับผูปว ยท่ีเปน โรคติดตอ
• เพือ่ เฝาสังเกตวาผูสมั ผัสโรคติดโรคมาดวยหรือไม
• อาศัยระยะฟก ตัวเปนตัวกําหนดระยะเวลากักกัน

การแยกผู้ป่ วย (Isolation)

• การแยกผูปวยท่ีมีเช้อื โรคซึ่งอยใู นระยะติดตอ ออกจากผูอื่น
• เพื่อปองกนั การกระจายของเชอื้ กอโรคจนกอใหเกิดการระบาดได

การกาํ จดั

เปนการลดจาํ นวนผูปว ยใหเหลอื นอ ยท่ีสุด แตไมสามารถกาํ จัดเชอื้
สาเหตุใหหมดไปจากสิ่งแวดลอมได

องคการอนามัยโลกกําลังดําเนินการกําจัดโรคตา งๆ ดังนี้
• โรคบาดทะยักในทารกแรกเกดิ (Neonatal tetanus)
• โรคหัด (Measles)
• โรคพิษสุนัขบา (Rabies)
• โรคเร้ือน (Leprosy)

17

การกวาดล้าง

เปน การดําเนินงานเพื่อไมใหมผี ูปว ยในโลก รวมท้งั ทําใหเชื้อหมด
ส้ินไปจากทุกพื้นท่ี

ตวั อยางโรคทส่ี ามารถทําการกวาดลางได

• ไขทรพิษ (สําเร็จป พ.ศ. 2521)

• โปลิโอ (กาํ ลงั ดาํ เนินการ)

ทําไมจึงสามารถ -เปน โรคท่ีเกิดในคนเทานั้น
กวาดลา งโปลโิ อได -ไมมีสัตวเปน พาหะ
-เช้อื ไมสามารถดํารงชวี ิตอยนู อกรา งกายคนได
-มวี ัคซนี ปอ งกนั โรคทมี่ ีประสิทธิภาพสูง

18

3) โรคติดตอ ทปี่ อ งกนั ไดด ว ยวคั ซนี

19

โรคทปี่ ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีน

โรคทปี่ ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีนตามแผนของกระทรวงสาธารณสุข (EPI)

วณั โรค (Tuberculosis) โปลิโอ (Polio)
ตบั อกั เสบบี (Hepatitis B) คางทูม (Mumps)
คอตีบ (Diphtheria) หดั (Measles)
ไอกรน (Pertussis) หดั เยอรมัน (Rubella)
บาดทะยกั (Tetanus) ไขส มองอกั เสบ เจอี (Japanese encephalitis

ตวั อย่าง โรคทป่ี ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีนอน่ื ๆ

โรคอจุ จาระรว งโรตาไวรัส
โรคไขห วดั ใหญ
โรคไขส มองอักเสบจากเชื้อฮิบ

20

วณั โรค (Tuberculosis)

• เชื้อสาเหตุ: แบคทเี รีย Mycobacterium tuberculosis

• อาการ/อาการแสดง: ไข นํา้ หนักลด ไอ>3 สัปดาห ไอมีเสมหะปนเลอื ด
เจ็บหนาอก ออ นเพลีย เหง่ือออกกลางคืน

• ระยะฟักตวั : 4-6 สัปดาห

• ระยะตดิ ต่อ: ตลอดเวลาท่เี กดิ โรค

• การถ่ายทอดโรค: รับเชื้อท่อี ยใู นนํ้ามูก น้าํ ลาย สารคดั หลงั่ จากผูปว ย
ทปี่ นเปอ นอยูในอากาศ พ้ืนดิน อาหาร ของใช
รวมกนั

21

22

โรคตบั อกั เสบ บี (Hepatitis B)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Hepatitis B

• อาการ/อาการแสดง:

– แบบเฉียบพลนั : ออ นเพลยี เบ่ืออาหาร มไี ข ถา ยเหลว ตอมามตี ัวเหลอื งตา
เหลือง ปสสาวะสีเขม

– แบบเรื้อรัง: อาการเรม่ิ แรกไมชัดเจน ไขต ํ่า-สูง คลน่ื ไส อาเจียน ตวั เหลอื ง ตา
เหลอื ง อาจมอี าการรนุ แรงถึงตับวายและเสียชีวติ ได

• ระยะฟักตัว: 3-6 เดอื น

• ระยะตดิ ต่อ: ตลอดเวลาสําหรับผูที่เปน พาหะเรือ้ รัง

• การถ่ายทอดโรค: โดยการสมั ผัสกับเลือด สารคัดหล่งั ของผูปวย ใชเข็มฉีด

ยารวมกัน เพศสัมพนั ธ ตดิ เชื้อจากแมสูลกู 23

24

โรคคอตบี (Diphtheria)

• เชื้อสาเหตุ: แบคทีเรีย Corynebacterium diphtheria

• อาการ/อาการแสดง:

• ระยะแรก: มีอาการคลายหวัด มีไขต ํ่าๆ ไอเสียงกอ ง พบแผน
เย่อื สขี าวบรเิ วณทอนซลิ และลน้ิ ไก

• รายทร่ี ุนแรง: เกดิ การอดุ ตันของทางเดินหายใจสวนบน
กลา มเนือ้ หัวใจอกั เสบ ทําใหเสยี ชีวิตได

• ระยะฟักตวั : 2-5 วัน

• ระยะติดต่อ: สวนใหญ 2-4 สัปดาห (พาหะอาจไดถงึ 6 เดือน)

• การถ่ายทอดโรค: รบั เชื้อทอ่ี ยใู นละอองเสมหะ นํ้ามกู นาํ้ ลายผาน
ทางการหายใจ ไอ จามรดกัน ใชภ าชนะรวมกนั 25

26

โรคไอกรน (Pertussis)

• เชื้อสาเหตุ: แบคทีเรีย Bordetella pertussis

• อาการ/อาการแสดง: 1-2 สัปดาหแรกมีอาการคลา ยหวัด ตอ มาไอถๆี่
หายใจลึกมีเสียงดัง ไอจนมเี ลือดออกท่ตี าขาวได

• ระยะฟักตวั : 6-20 วัน (พบบอ ย 7-10 วัน)

• ระยะตดิ ต่อ: 3 สัปดาหตงั้ แตเ ร่ิมมีนํา้ มูก

(4-6 สัปดาหห ากไมไดร กั ษา)

• การถ่ายทอดโรค: รบั เช้ือทอ่ี ยูในละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายผปู ว ย
ผา นทางการหายใจ ไอ จามรดกัน

27

28

โรคบาดทะยกั (Tetanus)

• เชื้อสาเหตุ: แบคทีเรีย Clostridium tetani

• อาการ/อาการแสดง:

– ทารกแรกเกดิ : มักเรม่ิ มีอาการเมอื่ อายุ 4-10 วนั โดยทารกจะไมค อ ยดูด
นม หนา ยิ้มแสยะ รองคราง มือ แขน ขาเกร็ง อาจมชี ัก
กระตุกและหนา เขยี ว

– เดก็ โต/ผู้ใหญ่: ขากรรไกรแข็ง อา ปากไมได คอแขง็ เกร็ง กระตุก หยดุ
หายใจ เสียชวี ติ

• ระยะฟักตัว: 3-21 วนั (เฉลยี่ 8 วัน)

• ระยะตดิ ต่อ: ไมตดิ ตอจากคนสูค น

• การถ่ายทอดโรค: รับเช้ือผา นทางผิวหนงั บาดแผลถลอก แผลลึก

กรณที ารก เช้ือเขา ทางสายสะดือท่ีตัดดวยกรรมไกร / ของมคี มท่ีไมส ะอาด
รวมทง้ั การพอกสายสะดือ โดยเฉพาะกรณีทม่ี ารดาไมไดวัคซนี กอนคลอด 29

30

โรคโปลโิ อ (Poliomyelitis)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Poliovirus Types 1,2,3

• อาการ/อาการแสดง:

– ชนิดไม่รุนแรง: ไขต าํ่ เจ็บคอ เพลีย อาเจียน มอี าการคลายไขห วดั นาน 2-4 วัน

– ชนิดรุนแรง: ไข เจ็บคอ ออ นเพลยี อาเจยี น ปวดศีรษะ กระสับกระสาย ปวด

เม่ือย อาจมีคอเขง็

อาการรุนแรงมาก: อมั พาตของแขน ขา กระบังลม หายใจเองไมได เสียชวี ิต

• ระยะฟักตวั : 3-35 วัน (พบบอ ย 6-20 วัน)

• ระยะตดิ ต่อ: 7-10 วัน กอ น / หลังมีอาการของโรค

• การถ่ายทอดโรค: รบั เชอื้ ทป่ี นเปอนมากบั อุจจาระผูป ว ย/พาหะ ผา นเขาทางปาก

หรือรับประทานอาหาร / น้ํา ทป่ี นเปอนเชอ้ื 31

32

Number of polio cases by country, 1988

33

โรคคางทูม (Mumps)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Mumps virus

• อาการ/อาการแสดง: ไข ตอมนา้ํ ลายบวมโตและปวด มกั เปนขา งเดียว

• ระยะฟักตวั : 12-25 วัน (พบบอย 16-18 วัน)

• ระยะตดิ ต่อ: 2 วันกอนและ 9 วนั หลงั ตอ มนาํ้ ลายบวม

• การถ่ายทอดโรค: รับเช้ือท่นี ้าํ ลายผูปว ยผานการหายใจ หรือสัมผัส
กบั นาํ้ ลายของผูป ว ย ใชภ าชนะกินอาหารและนาํ้
รวมกนั

34

35

โรคหัด (Measles)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Measles virus

• อาการ/อาการแสดง: ไขสูง น้าํ มกู ไหล ไอ ตาแดง มีผืน่ หรือตุมท่เี ยือ่ บุ
ชองปาก กระพุงแกม (Koplik spots) หลงั มีอาการ
3-7 วัน จะมผี ่ืนท่ีไรผม ซอกคอ หนา ลําตวั

• ระยะฟกตัว: 8-12 วัน

• ระยะตดิ ต่อ: 3-5 วันกอ นมผี นื่ ถงึ

4 วนั หลงั มีผื่น

• การถ่ายทอดโรค: รบั เช้ือท่อี ยูใ นละอองเสมหะ น้าํ มกู

น้ําลายของผูปว ย เชือ้ สามารถแพรก ระจายผา นฝอย

ละอองขนาดเล็กในอากาศ 36

Conjunctivitis
Coryza or runny nose
Cough

Koplik’s spot Maculopapular 3r7ash

โรคหัดเยอรมนั (Rubella)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Rubella virus

• อาการ/อาการแสดง: ไขตํ่าๆ เพลยี ตาแดง มผี ่ืนเล็กๆ ตามใบหนา ลาํ ตวั
แขนขา ตอ มน้ําเหลืองท่ีหลงั หู ทา ยทอย และ
ดา นหลงั ของลาํ คอโตขึ้น

• ระยะฟักตวั : 14-21 วัน (พบบอ ย 16-18 วัน)

• ระยะตดิ ต่อ: 2-3 วันกอ นมผี นื่ ถงึ 7 วนั หลงั มีผ่ืน

• การถ่ายทอดโรค: รับเช้ือท่ีอยใู นละอองเสมหะ น้ํามกู นํ้าลายของ
ผูปว ย ผานทางการหายใจ จากการไอจาม ทารกท่ี
เปน โรคจะมีเชอื้ อยูในลําคอและขบั ถา ยออกมา
ทางปส สาวะไดน าน 1 ป

38

ความสําคญั ของโรคหัดเยอรมนั : ทารกที่ตดิ เช้อื ในครรภเม่อื คลอด อาจมีความ
พกิ ารทางตา หู หวั ใจ และสมองได

•Blindness 39
•Deafness
•Heart defect
•Mental retardation

โรคไข้สมองอกั เสบ เจอี (Japanese encephalitis)

• เชื้อสาเหตุ: ไวรัส Japanese B encephalitis virus

• อาการ/อาการแสดง:

– สวนใหญมกั ไมมีอาการ

– รายที่รุนแรงจะมอี าการสมองอักเสบ มีไขสูง ปวดศีรษะ คลื่นไส
อาเจยี น ระดับความรูสกึ ตัวเปลย่ี นแปลง ชกั เกร็ง เสียชวี ิตได

• ระยะฟักตวั : 5-15 วัน

• ระยะติดต่อ: ไมตดิ ตอจากคนสูคน

• การถ่ายทอดโรค: สกุ รเปน แหลง รังโรค ยุงรําคาญเปน พาหะนําเช้ือ

40

41

4) วคั ซนี ท่ใี ชใ นแผนการสรางเสรมิ ภูมคิ ุมกนั โรค
ของกระทรวงสาธารณสุข

42

วคั ซีนพ้ืนฐานท่คี นไทยทุกคนควรไดร ับ

43

หลกั ในการให้วคั ซีน (1)

• หากผูท่ตี อ งรับวัคซีนมไี ขสูงควรเลอ่ื นออกไป หากเจ็บปว ยเลก็ นอย
สามารถใหไ ด เชน เปนหวัดไมมีไข

• หากแพวัคซีน / สวนประกอบของวคั ซีน ควรหลีกเลยี่ งการใหว ัคซีนนั้น
• ควรอธิบายใหผูปกครอง / ผูปว ยทราบวาจะฉีดวัคซีนปองกนั โรคอะไร

และอาจเกดิ อาการขางเคยี งใดบา ง
• ตอ งบนั ทึกช่ือวัคซีนในสมดุ วัคซีนทุกครั้ง และแนะนําใหผปู กครองเกบ็

สมดุ ไวจ นเด็กโตเปนผูใหญ

44

หลกั ในการให้วคั ซีน (2)

• ไมควรใหว ัคซีนเชื้อมีชวี ิตในหญิงมีครรภ
• หญิงที่ไดรบั วัคซีนชนดิ เชื้อมีชวี ิต ควรคุมกาํ เนดิ หลังไดน าน 1 เดอื น
• ทารกทค่ี ลอดกอ นกําหนด สามารถรับวคั ซีนไดตามปกติ

ยกเวน นาํ้ หนักตัว < 2,000 กรัม ควรใหวัคซีนตับอักเสบบซี ้ําเมอื่ อายุ 1
เดือน และใหซํ้าครบ 3 คร้ัง โดยไมนับการฉีดเมื่อแรกคลอด
• การรับวัคซีนซ้ําเน่ืองจากไมทราบประวตั ิแนชัด โดยท่ัวไปไมมีอนั ตราย
รุนแรง แตอาจมปี ฏิกริ ยิ าตอวัคซีนเพ่ิมข้ึนได และส้ินเปลอื ง

45

หลกั ในการให้วคั ซีน (3)

• การใหวคั ซีนท้ิงชวงหา งกันเกินกวาที่กาํ หนดไมไ ดท ําใหภูมิคุมกนั ต่ําลง แต
หากใหวัคซีนแตละคร้ังใกลก นั เกนิ ไป อาจทาํ ใหภูมิคุมกนั ตาํ่ กวา ทคี่ วรเปน

• วคั ซีนทกุ ชนิดถา ไมสามารถเร่ิมใหตามกาํ หนด ควรเริ่มใหทนั ทีทพี่ บครั้งแรก
• วคั ซีนท่ตี อ งใหมากกวา 1 ครั้ง หากเดก็ เคยไดรับมาบา งแลวแตไมไ ดมารับ

ตามกาํ หนดนัด สามารถใหวคั ซีนครั้งตอไปไดโดยไมตองเร่ิมตน ใหม
• หากมีบันทกึ หลักฐานวา เคยไดรับ BCG มากอ น ไมจาํ เปนตองใหซ้ํา แมจะ

ไมมีแผลที่บริเวณท่ีไดร บั วัคซีน

46

5) กําหนดการใหว คั ซนี ในแผนการสรางเสริม
ภมู คิ มุ กนั โรคของกระทรวงสาธารณสุข

47

กาํ หนดการให้วคั ซีนแก่เดก็
ตามแผนการสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกนั โรคของกระทรวงสาธารณสุข

อายุ BCG HB DTP OPV MMR JE dT

แรกเกิด √ √

2 เดือน √√√

4 เดือน √√√

6 เดือน √√√

9 เดอื น √

1 ½ ป √√ √*

2 ½ ป √

4 ป √ √

7 ป (ป1) √** √*** √ √***

12 ป (ป6) √

* ใหว ัคซีน 2 ครั้ง หางกนั 4 สัปดาห
** ไมมหี ลกั ฐานวาเคยไดร ับ/ไมมแี ผลเปน/ไมใ หในเดก็ HIV ท่มี อี าการของ AID4S8
*** เฉพาะผูท่ีไดร ับวัคซีนไมค รบ 5 คร้งั

กาํ หนดการให้วคั ซีนแก่เดก็ ทมี่ ารับวคั ซีนล่าช้า
กรณที พี่ ลาดการได้รับวคั ซีนในช่วงขวบปี แรก (อายุ 1-6 ปี )

เดอื นที่ BCG HB DTP OPV MMR JE dT

0 √* √ √ √ √

1 √√√ √

2√

4 √√√

12 √√ √

* ไมมหี ลกั ฐานวาเคยไดรบั /ไมม แี ผลเปน/ไมใหใ นเด็ก HIV ทม่ี อี าการของ AIDS

49

กาํ หนดการให้วคั ซีนแก่เดก็ ทม่ี ารับวคั ซีนล่าช้า
กรณที พี่ ลาดการได้รับวคั ซีนในช่วงขวบปี แรก (ต้งั แต่ 7 ปี ขนึ้ ไป)

เดือนท่ี BCG HB DTP OPV MMR JE dT

0 √* √√ √

1√ √**

2 √√ √

7√

12 √ √ √

* ไมมหี ลักฐานวาเคยไดรบั /ไมม แี ผลเปน /ไมใหใ นเดก็ HIV ทม่ี อี าการของ AIDS
** ให 2 ครั้ง หา งกัน 2 สัปดาห เพอ่ื เรงใหม ีภมู ิคมุ กนั เร็วขึน้

50


Data Loading...