ผลการดำเนินงานโครงสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมภิบาลในสถานศึกษา - PDF Flipbook

ผลการดำเนินงานโครงสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมภิบาลในสถานศึกษา

111 Views
46 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ
นโยบายรัฐบาล ข้อที่ 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

และนโยบายเร่งด่วน เรื่องที่ 8 แก้ไขปัญหาการทุจริต

งบประมาณ 3,013,800 บาท
แ ผ น ง า น บู ร ณ า ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร ทุ จ ริต แ ล ะ ป ร ะ พ ฤ ติ มิ ช อ บ





สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

หน่วยศึกษานิเทศก์





บทสรปุ ผู้บรหิ าร

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ได้มอบให้หน่วยศึกษานิเทศก์ รับผิดชอบโครงการ
เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 6 การปรับสมดุล
และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ นโยบายรัฐบาล
ข้อที่ 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และนโยบายเร่งด่วน ข้อที่ 8
แก้ไขปัญหาการทุจริต ได้รับอนุมัติให้ดำเนินโครงเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศึกษา ลักษณะโครงการต่อเนื่อง โครงการเทียบเท่าผลผลิต งบประมาณ วงเงินจำนวน
3,013,800 บาท (สามล้านหนึ่งหมื่นสามพันแปดร้อยบาทถ้วน) โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ
1. สร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา
2. พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา (ITA) และการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
ต้านทุจริตศึกษา และ3. ส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาเกิดความสำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ให้เป็น
เยาวชนคนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริต
ความมีระเบียบวนิ ัย ขยนั หมนั่ เพยี ร ประหยัดและอดออม สุภาพ มีนำ้ ใจ และมจี ติ อาสา จติ สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษาได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างคุณธรรมและ
จริยธรรม จำนวน 25,000 คน โดยการดำเนินโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
ในศึกษา ประกอบด้วยกจิ กรรมหลกั 4 กจิ กรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาเอกสารแนวการจดั กิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาและผลิต กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร
อาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อนำไปใช้
ในการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมที่ 3 สร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ ในการบันทึกข้อมูล
สาธารณะ (OIT) เพื่อเตรียมความพร้อม และกิจกรรมที่ 4 ติดตาม ส่งเสริม และประเมินผล
การนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา



อาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษา

อาชวี ศกึ ษาภาครัฐ

พบวา่ การดำเนินงานโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
มผี ลการดำเนินงาน ดงั น้ี

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา
อาชีวศึกษาและผลิต โดยหน่วยศึกษานเิ ทศกร์ ว่ มกับวทิ ยาลัยการอาชีพปากท่อ

การดำเนินงาน โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ซึ่งเป็นการจัดทำร่างเอกสารแนวการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยการพัฒนาที่มีจุดมุ่งหวังเพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา โดยน้อม
นำพระบรมราโชบายด้านการศึกษารัชกาลที่ 10 มาเป็นแนวทางการออกแบบกิจกรรมส่งเสริมเสริม
คุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา สามารถนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนให้กับนักเรียน นักศึกษา เกิดความสำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ให้เป็นเยาวชนคนดีของชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริต ความมีระเบียบวินัย
ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สุภาพ มีน้ำใจ และมีจิตอาสา จิตสาธารณะ และเป็นไป
ตามกรอบคุณวุฒิวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดให้ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับช้ัน
ต้องมีคุณภาพ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความรู้
ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และ ความรับผิดชอบ ซึ่งในการจัดการศึกษา
อาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้กำหนดนโยบายให้มีการบูรณาการคุณธรรม
จริยธรรมในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวชิ า

พบว่า จากการผลิตและเผยแพร่แนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมใน
สถานศึกษาอาชีวศึกษา ทั้งสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน มีการนำไปใช้ในการส่งเสริม
และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม โดยใช้เคร่อื งมือแบบสอบถาม

ผลผลิต ผเู้ รียนและบุคลากรอาชีวศกึ ษาท่ีได้รับการสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณธรรม
และจริยธรรม จำนวน 16,092 คน

ผลลัพธ์
1. บุคลากรอาชีวศกึ ษามีความรู้ความเข้าใจในการจดั การเรียนการสอนหลักสตู ร
ตา้ นทุจรติ ศกึ ษา



2. สถานศึกษาอาชีวศึกษามีเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมในสถานศึกษาและแนวทางการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาทัง้ ภาครฐั และเอกชน

3. ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น
สอดคล้องกบั มาตรฐานวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยหน่วย
ศึกษานิเทศก์ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และวิทยาลัย
การอาชีพแกลง

การดำเนินงานในรูปการประชุมเชิงปฏิบัติการศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
รูปแบบออนไลน์ โดยวิธีการสมัครใจ สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ สำหรับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และวิทยาลัยเป็นฐาน สำหรับภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออก
และกรุงเทพมหานคร

ผลผลิต บุคลากรอาชีวศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมและ
จริยธรรม จำนวน 1,470 คน และขยายผลใหก้ บั ผู้เรียนได้รับการสง่ เสริมและพัฒนาคุณธรรมและ
จรยิ ธรรม จำนวน 4,230 คน

ดังนั้น บุคลากรอาชวี ศึกษาและผูเ้ รียนทไ่ี ด้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณธรรม
และจรยิ ธรรม จำนวน 5,700 คน

ผลลพั ธ์
1. บุคลากรอาชวี ศกึ ษามีความรู้ความเขา้ ใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสตู ร
ตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา
2. บุคลากรอาชีวศึกษาสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลกั สูตร
ตา้ นทุจรติ ศกึ ษา
3. ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานวิชาชีพ
กิจกรรมท่ี 3 สร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ ในการบันทึกข้อมูลสาธารณะ
(OIT) เพื่อเตรียมความพร้อม โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ร่วมกับวทิ ยาลัยการอาชพี ปากท่อ



เมื่อดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ จำนวน 23 แห่ง เข้าร่วมประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา ตามเกณฑ์ที่กำหนด
โดยประกอบด้วยเครื่องมือการประเมิน ได้แก่ 1 แบบวัดการรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน (IIT) 2 แบบวัด
ผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสียภายนอก (EIT) และ 3 แบบบันทกึ ขอ้ มลู การเปดิ เผยต่อสาธารณะ (OIT)

พบวา่ สถานศึกษาอาชีวศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ตามกำหนด ในระดบั A หรือ ไม่นอ้ ยกว่าร้อย 85
จำนวน 9 แห่ง และไม่ผา่ นเกณฑต์ ามกำหนด 14 แห่ง

ดังนั้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีสถานศึกษา
ต้นแบบ จำนวน 9 แห่ง ได้แก่ 1. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ 2. วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด
3.วิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรี 4. วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ 5.วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช 6. วิทยาลัย
อาชีวศึกษาสุพรรณบุรี 7.วิทยาลัยการอาชีพลอง 8.วิทยาลัยเทคนิคสงขลา และ 9. วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาชลบุรี

ผลผลิต บุคลากรอาชีวศึกษาท่ีไดร้ ับการส่งเสริมและพฒั นาคุณธรรมและจริยธรรม
จำนวน 100 คน ประกอบด้วยสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ จำนวน 14 แห่ง และสถานศึกษา
อาชวี ศกึ ษาต้นแบบคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน จำนวน 9 แหง่

ผลลัพธ์
1. บุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาภาครัฐมคี วามรู้ความเข้าใจในการประเมิน
คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชวี ศึกษาภาครฐั
2. สังคมไทยมีภาพลักษณ์ความซื่อสัตย์สุจริตดีขึ้น ภาครัฐมีความโปร่งใส
ตรวจสอบได้
กิจกรรมที่ 4 ติดตาม ส่งเสริม และประเมินผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้
การจัดกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ โดยหน่วย
ศึกษานเิ ทศก์ร่วมกับวทิ ยาลัยการอาชีพปากท่อ
การดำเนินงานติดตาม ส่งเสริม และประเมินผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้
การจัดกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรม
และความโปรง่ ใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชวี ศึกษาภาครัฐ จำนวน 37 แห่ง
พบว่า ครูผู้สอนที่นำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ ในรูปแบบการบูรณา ด้วยการนำเข้าสู่
บทเรียนและการจัดกระบวนการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 55.74 รองลงมา การจัดกระบวนการ



เรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 30.79 และนำเข้าสู่บทเรียน คิดเป็นร้อยละ 13.47 สำหรับผู้เรียนมีความ
เข้าใจระหวา่ งการทจุ ริตเพอื่ ผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม คดิ เปน็ ร้อยละ 68.82

ในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน สำหรับสถานศึกษา
อาชีวศึกษา ได้ชี้แนะแนวทางปฏิบัติตามคู่มือติดตามและส่งเสริมการประเมินคุณธรรมและ
ความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน สำหรับสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาภาครฐั (ITA)

สำหรับการติดตาม ส่งเสริม และประเมินผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้
แนวทางการจัดกิจกรรมป้องกันการทุจริตด้านอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ โดยใช้กระบวนการ
นิเทศ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก

ผลผลติ ผู้เรียนที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม จำนวน
3,869 คน และบุคลากรอาชวี ศกึ ษาท่ีไดร้ ับการสง่ เสริมและพฒั นาคณุ ธรรมและจริยธรรม จำนวน
1,010 คน

ดงั น้ัน ผเู้ รียนและบคุ ลากรทไ่ี ด้รับการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม
รวมทง้ั สิน จำนวน 4,879 คน

ผลลัพธ์
1. บุคลากรอาชีวศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน
หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา
2. บุคลากรอาชีวศึกษาสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลกั สตู ร
ต้านทุจรติ ศึกษา
3. บคุ ลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาภาครฐั มีความรคู้ วามเขา้ ใจในการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรบั สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาภาครฐั
4. ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานวิชาชีพ
5. สังคมไทยมีภาพลักษณ์ความซื่อสัตย์สุจริตดีขึ้น ภาครัฐมีความโปร่งใส
ตรวจสอบได้

ดังนั้น กิจกรรมที่ 1 – 4 ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิ
บาลในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้

1. ผลการดำเนินตัวชี้วัด โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศึกษา พบว่า จำนวนผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษาได้รับการพัฒนาและเสริมสร้าง
คุณธรรมและจริยธรรม 26,771 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100



ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ
ปัญหา อุปสรรค
1. เนื่องจากการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัด

การเรยี นรูบ้ ูรณาการหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษาเพ่ือนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน ผา่ นระบบ
ออนไลน์ จงึ ทำให้บคุ ลากรขาดความสนใจ กระตือรือ้ รน้ ในการปฏิบตั เิ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้

2. เนือ่ งจากสถานศึกษาทเี่ ข้ารว่ มในคร้ังน้ี ยังขาดความใจตวั ชีว้ ัดในการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) และคณะกรรมการขับเคลื่อนยังขาดความเข้าใจ
เรือ่ ง ITA จึงไม่สามารถสนับสนนุ หรือให้คำปรึกษา แนะนำให้สถานศกึ ษาได้ครบทุกแห่ง

3. จากการตดิ ตาม ITA พบวา่ สถานศึกษาหลายแห่ง ยงั ขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ
และการเปิดเผยขอ้ มลู ตอ่ สาธารณะ และใสข่ อ้ มูลไมถ่ ูกตอ้ งบนเวบ็ ไซต์

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมกี ารขยายผลให้กบั ครูผู้สอนและให้นำไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
2. ควรมตี วั อยา่ งกิจกรรมการเรยี นรู้ให้ครบทุกแผนกวชิ า
3. ควรจัดทำสอื่ โมดลู ท่เี กยี่ วขอ้ งกับคณุ ธรรม จริยธรรม หรอื ต้านทจุ ริต
4. ควรจดั ทำตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรบู้ ูรณาการหลักสตู รตา้ นทุจริตศึกษา
ทุกรายวิชาของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการบูรณาการ
ในรายวชิ าที่ตนเองรบั ผิดชอบ
5. ควรสร้างความเข้าใจให้แก่คณะกรรมการดำเนินขับเคล่ือน ITA สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
6. ถอดบทเรียนจากสถานศึกษาอาชวี ศึกษา จำนวน 23 แห่ง เพื่อเป็นแนวทาง
ปฏบิ ัติและแกไ้ ขข้อผดิ พลาดในการขบั เคลอ่ื น ITA
7. ควรส่งเสริมให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐทุกแห่งทั่วประเทศ เปิดเผย
ขอ้ มลู ตอ่ สาธารณะ
8. ควรจดั ประชมุ สร้างความเข้าใจเรื่อง ITA และกำหนดเปน็ นโยบายในการขับเคลอ่ื น
9.ควรจัดทำสื่อที่เกี่ยวกับข้องกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เฉพาะด้านอาชีวศึกษา
ที่สอดคล้องกบั ทางสายอาชีพ หรือกรณตี วั อย่าง



2. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา
ภบิ าลในสถานศึกษา พบว่า มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณ คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะงบประมาณ
ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากการโอนจัดสรรแบ่งเป็นงวด ๆ ทำให้การจัดกิจกรรม

ไมเ่ ปน็ ไปตามไตรมาส
ข้อเสนอแนะ ควรโอนจัดสรรงบประมาณเป็นรายกิจกรรม เพื่อสะดวกต่อการดำเนิน

กจิ กรรมตามไตรมาส

3.ประโยชนท์ ส่ี าธารณชนไดร้ ับ
3.1 สถานศึกษาอาชีวศึกษามีเอกสารแนวการจดั กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม

ในสถานศึกษา และแนวทางการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาทั้งภาครัฐและเอกชน

3.2 บุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐมีความรู้ความเข้าใจในการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน (ITA) สำหรับสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาภาครฐั

3.3 บุคลากรอาชีวศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
ต้านทจุ ริตศกึ ษา

3.4 บุคลากรอาชีวศึกษาสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้าน
ทจุ รติ ศกึ ษา

3.5 ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีข้ึน
สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ

.............................................................................................

อินโฟรกราฟกิ
สรุปโครงการ



คำนำ

รายงานการดำเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวม หลักฐานเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องการกับการดำเนินงาน
โครงการ รูปแบบการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความ
เข้าใจในกระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษามีการพัฒนา
บุคลากรในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาให้มีความรู้ความเขา้ ใจการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษา (ITA) การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา และ
การส่งเสริมใหน้ กั เรยี น นักศึกษาเกดิ ความสำนึกที่มงุ่ จะพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นเยาวชนคนดีของชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริต ความมีระเบียบวินัย
ขยันหมั่นเพยี ร ประหยดั และอดออม สภุ าพ มนี ำ้ ใจ และมีจติ อาสา จติ สาธารณะ

รายงานฉบับนี้ ได้รวบรวมผลการดำเนนิ งานโครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา และหลักฐานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ท้งั นเี้ พอ่ื เปน็ ประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนแผนงานบูรณาการต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
การจัดการเรียนการสอน การป้องกันและต่อต้านการทุจริต ความโปร่งใสในการดำเนินงาน
สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา และเปน็ แนวทางขบั เคลอื่ น ส่งเสริม และพฒั นาในปตี อ่ ไป

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
หนว่ ยศึกษานิเทศก์
พฤศจิกายน 2565



สารบญั

บทสรุปผู้บรหิ าร หนา้
คำนำ ก
สารบญั ฉ
บทนำ ช
วิธีดำเนินโครงการ 1
ผลการดำเนินโครงการ 9
15
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม 17
จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาและผลิต
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผน 31
การจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเพื่อนำไปใช้
ในการจดั การเรียนการสอน 61
กิจกรรมท่ี 3 สร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ 69
ในการบันทกึ ข้อมูล สาธารณะ (OIT) เพื่อเตรยี มความพรอ้ ม
กิจกรรมที่ 4 ติดตาม ส่งเสริม และประเมินผลการนำหลักสูตรต้านทุจริต 115
ศึกษาไปใช้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา 117
อาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน 119
(ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาภาครฐั 120
ผลการดำเนินงานตามตัวชว้ี ัด
ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 130
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลใน
สถานศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ภาคผนวก ข แผนการโอนจัดสรรงบประมาณโครงการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565



สารบญั (ต่อ)

ภาคผนวก ค คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการเสริมสร้าง หนา้
คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 144
พ.ศ. 2565
ภาคผนวก ง รายงานผลที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม 156
การทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 157
168
1. แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ 171
ประพฤติมชิ อบ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
207
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม กระทรวงศึกษาธิการ 218
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 220
222
3. แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 223
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565

4. รายงานผ่านระบบ SE -PlanNACC สำนักงานคณะกรรม
การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ

5. รายงานผ่านระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (ระบบ
eMENSCR) ของสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

6. รายงานหลกั สตู รตา้ นทุจริตศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

7. รายงานตามแบบรายงานและวิธีการที่สำนักติดตามและ
ประเมนิ ผลการอาชวี ศึกษากำหนด
ภาคผนวก จ บนั ทึกข้อความ เร่อื ง รายงานผลการดำเนินโครงการฯและเผยแพร่



2

บทนำ

โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา

ลกั ษณะโครงการ : ( √ ) โครงการตอ่ เน่อื ง ( ) โครงการใหม่ เริ่มดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประเภทโครงการ : ( √ ) โครงการเทียบเท่าผลผลติ ( ) โครงการภายใตผ้ ลผลติ

ความเชอื่ มโยงกบั แผนระดบั ตา่ ง ๆ

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครฐั

แ ผ น แ ม ่ บ ท ภ า ย ใ ต้ ประเดน็ ที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ยทุ ธศาสตร์ชาติ

แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตประพฤติมชิ อบ

แผนการปฏริ ูปประเทศ กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรอง และ

ดา้ นการศกึ ษา พฒั นาผู้ประกอบวิชาชพี ครแู ละอาจารย์

กิจกรรมปฏิรูปที่ 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง

การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21

ความเชอ่ื มโยงกบั นโยบายรัฐบาล

นโยบายหลัก 12 ดา้ น นโยบายเรง่ ด่วน 12 เร่อื ง

ข้อที่ 12 การป้องกันและปราบปรามการ เร่ืองท่ี 8 แก้ไขปญั หาการทุจริต
ทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ

ความสอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นการปฏบิ ัตริ าชการของสำนกั งานคณะกรรมการการ

อาชีวศกึ ษา 2565

ขอ้ เรอื่ ง

1. การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีด 1. พัฒนาทักษะและสมรรถนะวิชาชีพกำลังคน

ความสามารถในการแข่งขันของประสงค์ (Up-skll, Re-skill)

2. การยกระดับพัฒนาคุณภาพการจัดการ 2. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการ

อาชวี ศึกษาโดยใช้พ้ืนท่เี ปน็ ฐาน เรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ การสะสม

หน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) และการต่อ

3

ข้อ เรอ่ื ง
ยอดองค์ความรู้และสมรรถนะใหม่ หรืออาชีพ
ใหม่ (New Job/Future Job)
3. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ให้มีสมรรถนะในการใช้และสร้างนวัตกรรมการ
เรยี นรู้ที่ทนั สมยั ในโลกดจิ ิทลั และโลกอนาคต

1. หลกั การและเหตุผล
องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ(Transparency International) เผยรายงานดัชนี

การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index :CPI) ประจำปี 2020 หรือ พ.ศ. 2563
จากจำนวน 180 ประเทศทั่วโลก ประเทศไทยได้อันดับท่ี 104 โดยมีคะแนนเท่าปี 2563 จำนวน
36 คะแนน และอยู่ในอันดับที่ 5 ของกลุ่มประเทศอาเซียนเท่ากับประเทศเวียดนาม ขณะท่ี
สิงค์โปร์ได้คะแนนสูงสุด คือ 85 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 3 ของโลก โดยที่ประเทศเดนมาร์ก
และประเทศนิวซแี ลนด์ ยังครองตำแหน่งอันดบั ท่ี 1 ของโลก ด้วยคะแนนสงู สดุ 88 คะแนนส่งผล
ให้เหน็ วา่ ประเทศไทยยังมีการทุจรติ และคอร์รปั ชันจำนวนมาก แสดงให้เหน็ ว่าการทุจริตถือเป็น
ปัญหาสากลที่ทุกประเทศให้ความสำคญั เพราะส่งผลกระทบตอ่ การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
การเมืองในทุกมิติ สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการป้องกันและปราบปราม
การทจุ ริต โดยกำหนดวสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้งั ชาติต้านการทุจรติ ” จากความ
เห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตามที่คณะกรรมการ
ป.ป.ช. เสนอ และใหห้ นว่ ยงานภาครฐั นำยทุ ธศาสตรฯ์

ประเทศไทยจึงได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) มีเป้าหมายการ
พัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ด้านความ
มั่นคง ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ด้านการเติบโตบนคณุ ภาพ
ชีวิตทีเ่ ป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม และด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั
และคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้จัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน
เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับงานต่าง ๆ
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด มีทั้งหมด 23 แผนแม่บท โดยเป็นการบูรณาการความ
เชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ส่วนราชการสามารถนำแผนแม่บทภายใต้

4

ยุทธศาสตร์ไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแผนแม่บทที่มีความสอดคล้อง
ตามภารกิจหลักของสำนักงาน ป.ป.ช. คือ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นที่ 21 ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ซึ่งแนวทาง
การพัฒนาในแผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ มุ่งพัฒนา “คน” เน้นการปรับ
พฤติกรรมคนทุกกลุ่มสังคมในสังคม มุ่งการพัฒนาระบบ ให้ความสำคัญการส่งเสริม การพัฒนา
นวัตกรรมตอ่ ต้านทจุ ริต ส่งเสรมิ สนับสนุนใหม้ มี าตรการใช้เคร่ืองมือ และมาตรการความโปร่งใส
ในการตรวจสอบได้ ซึ่งสอดคลอ้ งกับด้านการศกึ ษาของไทยทีเ่ น้นพัฒนาคนทุกชว่ งวยั การปฏิรูป
การจัดการเรียนสอนเพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และยังขับเคลื่อนการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการทำงาน (ITA) เพราะคะแนนค่าดัชนีการรับรู้การทุจริต
(CPI) สูงขึ้นย่อมสะท้อนภาพลักษณ์ของประเทศที่ดีโดยเฉพาะการรับรู้การทุจริตของคน
ในประเทศที่มีการตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาในการทุจริตมากขึ้น ซึ่งปัจจุบัน
มสี ่งเสริมการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวสู่การปฏบิ ตั ิ โดยมีกลยุทธส์ ำคัญ คอื การปรับฐานความคิดทุก
ช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต่อต้านการทุจริต เสริมพลัง
การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน และบูรณาการทุกภาคส่วนเพือ่ ต่อตา้ นการทุจรติ โดยได้กำหนดแนวทาง
ในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับและให้มีการขยายผลไปในทุกภาคส่วนจากประเด็นที่กล่าว
มาแล้วซึ่งจัดเป็นวาระแห่งชาติในการสร้างคนดี ต้านการทุจริต ตามนโยบายของรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานด้านการศึกษา
ท่ีมีภาระหนา้ ทห่ี ลกั ในการผลิตผู้เรียนสู่งานอาชีพ ซ่ึงเปน็ กำลังสำคญั ของประเทศ

ดังนั้น การพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะฝีมือที่พร้อมในการทำงาน ยังจำเป็นต้อง
ส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ สู้ ำเรจ็ การศึกษามคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าล รวมทั้งมีพฤติกรรม
ที่พึงประสงค์ด้วย การที่จะปลูกฝังให้ผู้เรียนอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ไม่เพิกเฉยต่อ
การทุจริตทุกรูปแบบในสังคม แนวทางหนึ่งที่สามารถดำเนิน การได้โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริต
ศึกษาในการขับเคลื่อนสู่สถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยบูรณาการรายวิชาต่าง ๆ
กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ กิจกรรมโฮมรูม เป็นต้น และ
มีการพัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
และผลิตเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับพระบรมราโชบายด้านการศึกษาใน
หลวงรัชกาลที่ 10 โดยมุ่งหวังที่จะสร้างเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรมในการเป็นพลเมืองดี
รวมทั้งบูรณาการทุกภาคส่วนให้สถานศึกษาดำเนินการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ (ITA) มงุ่ เน้นการพฒั นาบุคลากรอาชีวศึกษา

5

ให้มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด ำเนินงานทุกภาคส่วน
ภายใตห้ ลักธรรมาภบิ าล สามารถตรวจสอบและเปดิ เผยข้อมลู ให้กบั ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียท้ังภายใน
และภายนอกได้อย่างถูกต้องตามหลักการ รวมทั้งติดตามส่งเสริมทุกรูปแบบเพื่อให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลตามเป้าหมายและยุทธศาสตรช์ าติ

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา

ภบิ าลในสถานศกึ ษา
2.2เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจการประเมิน

คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา (ITA) และการจัดการเรยี นการสอน
หลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา

2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาเกิดความสำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ให้เป็น
เยาวชนคนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตย์สจุ ริต ความ
มีระเบียบวนิ ยั ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สภุ าพ มนี ้ำใจ และมจี ติ อาสา จติ สาธารณะ

3. กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน
กลมุ่ เป้าหมาย 25,000 คน

ผู้เรียนและบุคลากรอาชวี ศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาและเสริมสร้าง คา่ เป้าหมาย
คณุ ธรรมและ จรยิ ธรรม 25,000 คน

4. ตัวช้ีวัดโครงการ
ชื่อตวั ช้ีวัด

จำนวนผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษาได้รับการพัฒนาและ
เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม

5. ตวั ช้ีวดั งบประมาณ คา่ เปา้ หมาย
25,000 คน
ชอ่ื ตัวชว้ี ัด
จำนวนผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษาได้รับการพัฒนาและ
เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

6

6. กจิ กรรมโครงการและวิธกี ารใชจ้ ่ายงบประมาณ

6.1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษาและผลิต

6.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษาเพ่ือนำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

6.3 สร้างความรูค้ วามเข้าใจวิธกี ารประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
(ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ ในการบันทึกข้อมูล สาธารณะ (OIT) เพื่อเตรียม
ความพร้อม

6.4 ติดตาม ส่งเสริม และประเมินผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ การจัด
กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนนิ งาน (ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาภาครฐั

7. งบประมาณ/แหล่งงบประมาณ
ภายใตแ้ ผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานคณะกรรมการ

การอาชวี ศึกษา แผนงานบรู ณาการต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ
โครงการเทียบเท่าผลผลิตโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล

ในสถานศึกษา
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา
ประเภท ( ) งบดำเนินงาน ( ) งบเงินอุดหนุน ( / ) งบรายจา่ ยอน่ื
จำนวนเงนิ งบประมาณ 3,013,800 บาท (สามลา้ นหน่งึ หม่นื สามพันแปดรอ้ ยบาทถว้ น)

8. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ และผู้ประสานงานโครงการ
สำนัก/ศนู ย/์ หน่วย หน่วยศึกษานิเทศก์
ชอ่ื - นามสกลุ ผู้ประสาน นายสันติ ทองแก้วเกดิ
ตำแหนง่ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ เบอร์ติดต่อ (มือถอื ) 091 825 3830

9. ระยะเวลาและพื้นทดี่ ำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน : 1 ตลุ าคม 2564 - 30 กนั ยายน 2565
พนื้ ทีด่ ำเนนิ งาน : ( / ) สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ถนนราชดำเนนิ นอก)
( / ) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ถนนรามอินทรา)
( / ) สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
( / ) กรงุ เทพมหานคร/ปริมณฑล/ตา่ งจังหวดั

7

10. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั
10.1 สถานศึกษาอาชีวศึกษามีเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม

ในสถานศึกษาและแนวทางการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ในสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน

10.2 บุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐมีความรู้ความเข้าใจในการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาภาครัฐ

10.3 บุคลากรอาชีวศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
ต้านทจุ รติ ศกึ ษา

10.4 บุคลากรอาชีวศึกษาสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตร
ต้านทจุ รติ ศกึ ษา

10.5 ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น สอดคล้องกับ
มาตรฐานวชิ าชพี

8



10

วธิ ดี ำเนินโครงการ

โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ สำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา โดยแบ่งออกเปน็ 4 กิจกรรม มวี ิธีการดำเนนิ ดังน้ี

ที่ กจิ กรรม
1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

และผลิต
วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิ
บาลในสถานศกึ ษา

2. เพอื่ ส่งเสริมให้นักเรยี น นกั ศึกษาเกิดความสำนกึ ที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ใหเ้ ปน็ เยาวชน
คนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงามในเรือ่ งของความซื่อสตั ย์สุจริต ความมี
ระเบียบวินัย ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สุภาพ มีน้ำใจ และมีจิตอาสา จิต
สาธารณะ
วิธดี ำเนินการ

1. พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา
อาชวี ศกึ ษา

2. ผลิตเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
และเผยแพร่
กล่มุ เป้าหมาย ผู้เรียนและบุคลากรอาชวี ศกึ ษา
จำนวนกลุ่มเปา้ หมาย 14,000 คน
งบประมาณ (บาท) 663,800 บาท
ระยะเวลาดำเนนิ การ ธนั วาคม 2564 - มีนาคม 2565
ผู้รับผิดชอบ หนว่ ยศึกษานิเทศก์รว่ มกับวทิ ยาลัยการอาชีพปากท่อ

11

ที่ กิจกรรม
2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้บูรณาการ

หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษาเพือ่ นำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
วตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา

2. เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจการจัด
การเรยี นการสอนหลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา

3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาเกิดความสำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ให้เป็น
เยาวชนคนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตย์
สุจริต ความมีระเบียบวินัย ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สุภาพ มีน้ำใจ และ
มจี ติ อาสา จิตสาธารณะ
วธิ ีดำเนินการ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัด
การเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
โดยรปู แบบ On Site และ Online เน่อื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ ช้ือไวรัส
โคโรนา 2019
กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรอาชวี ศกึ ษา
จำนวนกล่มุ เป้าหมาย 1,500 คน
งบประมาณ (บาท) 600,000 บาท
ระยะเวลาดำเนนิ การ มกราคม - มีนาคม 2565
ผู้รับผิดชอบ หน่วยศึกษานิเทศก์ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพแกลง และศูนย์ส่งเสริมและ
พัฒนาอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

12

ที่ กิจกรรม
3 สร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษาอาชีว ศึกษาภาครัฐ ในการบันทึกข้อมูล
สาธารณะ (OIT) เพอื่ เตรยี มความพร้อม
วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา

2. เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ
การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา (ITA)
วิธีดำเนินการ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาภาครัฐให้มีความรู้ความ
เข้าใจวิธีการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรับสถานศึกษา
อาชีวศึกษาภาครัฐ ในการบันทึกข้อมูลสาธารณะ (OIT) เพื่อเตรียมความพร้อมโดยรูปแบบ
On Site และ Online เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019
กลุ่มเปา้ หมาย บคุ ลากรอาชวี ศึกษา
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 3,500 คน
งบประมาณ (บาท) 1,300,000 บาท
ระยะเวลาดำเนนิ การ มกราคม - มิถุนายน 2565
ผรู้ ับผดิ ชอบ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์รว่ มกบั วทิ ยาลัยการอาชีพปากท่อ

13

ที่ กจิ กรรม
4 ติดตาม ส่งเสริม และประเมิน ผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ การจัดกิจกรรม

ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) สำหรบั สถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครฐั
วัตถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวน การส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และธรรมา
ภิบาลในสถานศึกษา

2. เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษา (ITA) และการจัดการเรยี นการ
สอนหลักหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา

3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาเกิดความสำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเองให้เป็น
เยาวชนคนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในเรื่องของความซื่อสัตยส์ จุ ริต
ความมีระเบียบวินัย ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สุภาพ มีน้ำใจ และมีจิตอาสา
จิตสาธารณะ
วธิ ีดำเนินการ

ติดตาม ส่งเสริม และประเมิน ผลการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ การจัด
กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดำเนนิ งาน (ITA) สำหรบั สถาน ศกึ ษาอาชวี ศึกษาภาครัฐ
กล่มุ เปา้ หมาย ผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษา
จำนวนกลมุ่ เปา้ หมาย 6,000 คน
งบประมาณ (บาท) 450,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินการ มถิ นุ ายน - กันยายน 2565
ผู้รับผิดชอบ หน่วยศึกษานิเทศก์รว่ มกบั วทิ ยาลัยการอาชพี ปากท่อ

14

การดำเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มวี ธิ กี ารประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้

1. วธิ ีการประเมินผลการดำเนนิ งาน

1.1 ตดิ ตาม ส่งเสริมและประเมนิ ผล
1.2 แบบสอบถามและแบบประเมินผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา
1.3 สรปุ รายงานผลการดำเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศกึ ษา

2. การรายงานผลการดำเนินงาน

2.1 รายงานผ่านระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (ระบบ eMENSCR) ของสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (รายงานทุกไตรมาส ไตรมาสละ 1 ครั้ง ตามที่สภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตกิ ำหนด)

2.2 รายงานตามแบบจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี
งบประมาณ ตามแบบ สงป. 301 และ สงป. 302 (รายงานทุกไตรมาส ไตรมาสละ 1 ครั้ง ตามที่กลุ่มงาน
ตดิ ตามผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ สำนักนโยบายและแผนการอาชวี ศึกษากำหนด)

2.3 รายงานตามแบบรายงานและวิธีการที่สำนักติดตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษา
กำหนด

2.4 รายงานผ่านระบบ SE -PlanNACC สำนกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทจุ รติ แหง่ ชาติ

2.5 รายงานผลการดำเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
ในสถานศกึ ษา สำหรับหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา



2



18

กจิ กรรมที่ 1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม
จรยิ ธรรมในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาและเผยแพร่

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมใน
สถานศึกษาอาชีวศึกษาและเผยแพร่ โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพปากท่อ
ประกอบดว้ ย 2 กิจกรรมย่อย ดงั น้ี
กิจกรรมที่ 1.1 พัฒนาเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา
อาชวี ศึกษาและเผยแพร่

พน้ื ทดี่ ำเนนิ กิจกรรม ณ ผ้ึงหวาน รีสอรท์ แอนด์ สปา อำเภอเมอื ง จงั หวดั กาญจนบุรี
วันท่ี ระหว่างวันท่ี 1 - 4 กุมภาพนั ธ์ 2565
ผู้เข้ารว่ ม ประกอบด้วยผูบ้ ริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาอื่น ๆ จำนวน
30 คน
ลกั ษณะการดำเนินงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเอกสารแนวการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ
คุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนบูรณาการต่อต้านการทุจริต
และประพฤติมิชอบ โดยวิทยาลัยการอาชีพปากท่อ ร่วมกับ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
รายละเอียด เป็นการจัดทำร่างเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยการพัฒนาที่มีจุดมุ่งหวังเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา โดยน้อมนำพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษารชั กาลที่ 10 มาเป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรมส่งเสริมเสริมคุณธรรม จริยธรรม
สามารถนำไปใชห้ รือประยุกต์ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหก้ ับนักเรียน นักศึกษา เกดิ ความ
สำนึกที่มุ่งจะพัฒนาตนเอง ให้เป็นเยาวชนคนดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม
ในเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริต ความมีระเบียบวินัย ขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม สุภาพ
มีนำ้ ใจ และมจี ิตอาสา จิตสาธารณะ และเป็นไปตามกรอบคุณวฒุ ิวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดให้
ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับชั้นต้องมีคุณภาพ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และ
ความรับผิดชอบ ซงึ่ ในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาได้กำหนด

19
นโยบายให้มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชา

ทั้งนี้ ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นตัวอย่างในการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมในสถานศึกษา โดยการบูรณาการพระบรมราโชบายด้านการศึกษารัชกาลที่ 10
สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาที่มุ่งเน้นเสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี เพิ่มพูนทักษะประสบการณ์
มีจิตบริการ มอี าชีพ โดยใช้การจดั กิจกรรมเปน็ ฐาน (Active based Learning)

ภาพ การประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาเอกสารแนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
ในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา

QR รปู ภาพ
การประชมุ เชิงปฏบิ ัติการพฒั นา
เอกสารแนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ

คณุ ธรรม จริยธรรม
ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

20

กิจกรรมที่ 1.2 เผยแพร่เอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษา

ผลติ จำนวน 1,000 เล่ม
กลมุ่ เปา้ หมาย สถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครฐั และภาคเอกชนทกุ แห่ง
ลักษณะการดำเนินงาน เผยแพร่แนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาทั้งทางไปรษณีย์และออนไลน์ พร้อมประชาสัมพันธ์ Facebook
ประชาสมั พันธ์ สำนักงานคณะกรรมการการการอาชีวศึกษา และเวบ็ ไซต์หนว่ ยศึกษานิเทศก์

สามารถดาวนโ์ หลดเอกสารไดท้ ่ี https://www.link.in.th/2tZfs

ดังนั้น จากการตอบรับเอกสารแนวการจดั กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา

อาชีวศกึ ษา ทัง้ สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาภาครฐั และภาคเอกชน โดยสรุปรายละเอยี ด ดงั นี้

คำถาม คำตอบ

1. เอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริม • ได้ เพราะ เป็นแนวทางที่ต้องปลูกฝัง

ค ุ ณ ธ ร ร ม จ ร ิ ย ธ ร ร ม ใ น ส ถ าน ศ ึกษา ความเปน็ ไทย และทันต่อการเปลี่ยนแปล

อาชีวศึกษา สามารถเป็นตัวอย่างในการ • ได้ เพราะ ครูบุคลากร นักศึกษาสามารถ
นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ได้ นำไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้
หรือไม่ เพราะอะไร
• ไ ด ้ เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป ใ ช ้ หรือ

ประยุกต์ใช้ในการกิจกรรมการเรียน

การสอนใหน้ ักเรียนนักศึกษามีจิตสำนึกที่

มุ่งจะพัฒนาตนเองให้เป็นเยาวชนคนดี

ของชาติมคี ุณธรรม จริยธรรม

21

คำถาม คำตอบ

• ได้ เพราะจะได้มีการวางแผนการเรียน
วิชากจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม ไดต้ รงตาม
จดุ ประสงค์

• ได้ เพราะสามารถนำไปสอดแทรก
แผนการจัดการเรียนรู้ได้ในหลายรายวิชา
ซึ่งจะเป็นการบูรณาการ การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรมให้กับผู้เรียนได้อีก
ทางหนึ่ง

• ได้ เพราะ เป็นตัวอย่างที่ดีในการนำไป
ปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน และ
สามารถนำมาใช้ในชวี ิตประจำวันได้

• ได้ เพราะเป็นตัวอย่างที่ดี ส่งเสริมให้
นกั เรียนนักศึกษา เกดิ ความสำนักท่ีจะมุ่ง
พฒั นาตนเอง

• ได้ เพราะสามารถนำไปเป็นสื่อการเรียน
การสอน และนำไปปรบั ใชไ้ ด้

• ได้ เพราะ เป็นตัวอย่างใยการดำเนินการ
จัดกิจกรรม พร้อมทั้งแรับไปใช้ในการ
จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น ใ ห ้ ผ ู ้ เ ร ี ย น มี
คุณลักษณะตามตัวช้ีวัดและคุณภาพชีวิต
ของผู้เรยี นตอ่ ไป

• ได้ ซึ่งเป็นตัวอย่างในการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดยบูรณา
การพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
รชั กาลท1่ี 0

• ได้ เพราะเพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูล
สนับสนุนโครงการ/กิจกรรม/การจัดการ
เรียนการสอน

22

คำถาม คำตอบ

• ได้ เพราะเป็นตัวอย่างที่ดี ทำให้ครูผู้สอน

มแี นวทางในการจดั การเรยี นการสอน

• ได้ เพราะเป็นเอกสารที่ใช้ในการส่งเสริม

คุณธรรมจริยธรรมในการนำไปปรับใช้

ในการจัดการเรียนการสอน

2.ท่านคิดว่าจะสามารถนำเอกสารการจัด • ครูผู้สอนอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชนที่
กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมใน ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 750 คน
สถานศึกษาอาชีวศึกษา นำไปใช้ในการ • นำไปใช้กับผู้เรียนระดับปวช.และปวส.
จัดการเรียนการสอนกับผู้เรียนในระดับ จำนวน 15,312 คน
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

จำนวนกี่คน

3. ท่านคิดว่าเอกสารการจัดกิจกรรม • มากทีส่ ดุ จำนวน 540 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 72

ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา • มาก จำนวน 121 คน คิดเป็นร้อยละ 16.13
อาชีวศึกษา มีประโยชน์ต่อสถานศึกษามาก • ปานกลาง 89 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 11.87
น้อยเพยี งใด
หมายเหตุ ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 750 คน

4. ท่านคิดว่าเอกสารแนวการจัดกิจกรรม • มากที่สุด จำนวน 480 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 64

ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา • มาก จำนวน 137 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.27
เป็นประโยชนต์ อ่ ครูผสู้ อนมากน้อยเพียงใด • ปานกลาง 133 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.73

หมายเหตุ ผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน 750 คน

5.ท่านคิดว่าเอกสารแนวการจัดกิจกรรม • มากที่สุด จำนวน 493 คน คิดเป็นร้อยละ
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา 65.74
เป็นประโยชน์ต่อผู้เรยี นมากนอ้ ยเพียงใด • มาก จำนวน 139 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.53

• ปานกลาง 118 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15.73

หมายเหตุ ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 750 คน

6. ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม • ควรติดตามผลการนำไปใช้จากครูผู้สอน

แตล่ ะสาขาวชิ าตอ่ ไป

23

คำถาม คำตอบ

• ควรมีกิจกรรมที่ปลูกฝั่งจิตสำนึกแบบน้ี
อย่างสมำ่ เสมอ

• ให้มีการทำสื่อเพิ่มเติม เช่น วิดีโอ เพ่ือ
เพิ่มความสนใจ และสะดวกในการเรยี นรู้
เพ่มิ มากขน้ึ

• ควรมกี ารจัดอบรมครูเพ่ือขยายผลการนำ
เอกสารมาใชง้ าน

ตัวอย่างเอกสารแนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา

ชอื่ -สกุล นายฉัตรชยั เนยี รมงคล สถานศึกษา วทิ ยาลยั การอาชพี กบนิ ทร์บรุ ี

แผนการจดั การเรียนรู้

หน่วยท่ี1 รหัสวชิ า 20000-1404 วิชา คณิตศาสตร์ธรุ กิจและบริการ

สอนครัง้ ที่ 1 ช่ัวโมง รวม 1-2

ช่อื หน่วย รอ้ ยละ จำนวนช่วั โมง 2

1. ชือ่ เร่ือง

1. ความหมายของรอ้ ยละ

2. การคำนวณเกี่ยวกับรอ้ ยละ

3. การนำรอ้ ยละไปใช้ในอาชีพ

2. สาระสำคัญ รอ้ ยละหรือเปอรเ์ ซ็นต์ ใชส้ ัญลักษณแ์ ทนด้วย % เปน็ การเปรียบเทียบจำนวนใด

จำนวนหนึ่งกับ จำนวนเต็ม 100 ซง่ึ อาจอย่ใู นรปู อตั ราสว่ นทมี่ ีจำนวนหลังของอัตราสว่ นเป็น 100

หรือเศษสว่ นท่มี สี ว่ น เป็น 100 สามารถเปล่ียนรูประหว่างร้อยละ เศษส่วน และทศนยิ มได้

3. สมรรถนะประจำหนว่ ย

3.1 แสดงความรู้เกีย่ วกับร้อยละ การคำนวณ และนำไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ

3.2 คำนวณคา่ ร้อยละไดต้ ามหลักการคำนวณ

3.3 ประยุกตใ์ ชค้ ่าร้อยละในงานอาชพี ตามหลักการ

4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

4.1 ด้านความรู้

4.1.1 อธิบายความหมายของรอ้ ยละได้

4.1.2 คำนวณคา่ ร้อยละได้

24

4.2 ด้านทักษะ
4.2.1 สามารถคำนวณเก่ียวกับร้อยละได้
4.2.2 สามารถประยกุ ตใ์ ช้ค่ารอ้ ยละในงานอาชีพได้
4.3 ดา้ นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
ประพฤติปฏิบัติตนบนพื้นฐานของความมีคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต
มนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี ี มีสว่ นรว่ มในการทำงานรว่ มกัน มีความสนใจใฝร่ ู้ จนเปน็ ลกั ษณะนสิ ัย
5. เน้อื หาสาระการเรียนรู้
5.1 ความหมายของรอ้ ยละ
รอ้ ยละ หรือเปอรเ์ ซน็ ต์ (Percent) หมายถึง อัตราสว่ นทีต่ อ้ งการเปรียบเทยี บจำนวนใด
จำนวน หนึ่งกับจำนวน 100 ซึ่งอาจเขียนอยู่ในรูปอัตราส่วนที่มีจำนวนหลังของอัตราส่วนเป็น
100 หรือเศษส่วน ที่มีตัวส่วนเป็น 100 หรือ อัตราส่วน ที่มีส่วนเป็น 100 เรียกว่า เปอร์เซ็นต์
ใช้สญั ลักษณ์ แทนด้วย เครื่องหมาย %
เชน่ รอ้ ยละ 5 หรอื 5% หมายถึง 5 : 100 หรอื 5

100

ร้อยละ 90 หรือ 90% หมายถึง 90 : 100 หรือ 5

100

5.2 การคำนวณเก่ยี วกับร้อยละ
การคำนวณเกี่ยวกับรอ้ ยละ ส่วนใหญจ่ ะพบใน 3 ลักษณะ คอื
ตัวอย่างที่ 1 25% ของ 60 เท่ากับเท่าไร หมายความว่าถ้ามี 25 ส่วน ใน 100 ส่วน
แล้วจะมกี ่ีสว่ นใน 60 ส่วน
วิธีคิด ใหม้ ี a ส่วนใน 60 สว่ น
เขยี นสัดสว่ นได้ ดงั นี้ a/60 = 25/100
จะได้ a x 100 = 60 x 25
a = (60×25)/100
ดงั นั้น a = 15
น่นั คือ 25% ของ 60 คอื 15
ตัวอย่างที่ 2 9 เป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของ 45 หมายความว่า ถ้ามี 9 ส่วนใน 45 ส่วน แล้วจะ
มกี ่สี ่วนใน 100 สว่ น
วธิ ีคดิ ให้ 9 เปน็ a% ของ 45
a% หมายถงึ a/100
เขยี นเป็นสดั สว่ นไดด้ ังนี้ 9/45 = a/100

25

จะได้ 9×100 = 45 x a
a = (9×100)/45
ดงั นั้น a = 20
นนั่ คือ 9 เปน็ 20% ของ 45

ตัวอย่างที่ 3 8 เปน็ 25% ของจำนวนใด หมายความวา่ ถ้ามี 25 ส่วนใน 100 ส่วน แลว้

จะมี 8 สว่ น ในกสี่ ว่ น

วธิ คี ดิ ให้ 8 เปน็ 25% ของ m

เขยี นเป็นสัดส่วนไดด้ ังนี้ 8/m = 25/100

จะได้ 8 x 100 = m x 25 m = (8×100)/25

ดังนัน้ m = 32

นน่ั คือ 8 เปน็ 25% ของ 32

5.3 การประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ ในชีวิตประจำวันและในทุกสาขาอาชีพ จำเป็นต้องใช้

ความรู้เรอ่ื งร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์เพ่ือ ช่วยในการคำนวณเสมอ เชน่ ลดราคาของสินคา้ 50-70%

ปุ๋ยแอมโมเนียไนเทรตมีธาตุไนโตรเจนเป็น องค์ประกอบอยู่ 25% เงินออม 20% ของรายได้ต่อ

เดือน คา่ กระแสไฟฟา้ เพิ่มข้ึนอีก 5% เป็นต้น

ตัวอย่างท่ี 1 ปทุมวัลยม์ ีรายไดเ้ ดือนละ 37,500 บาท ต้องจ่ายคา่ นำ้ มนั รถคิดเปน็ ร้อยละ

20 ของรายไดท้ ง้ั หมด อยากทราบว่าปทมุ วัลย์จ่ายค่าน้ำมนั เดอื นละเทา่ ใด

วิธที ำ ให้คา่ นำ้ มันรถทจี่ ่ายประจำเดือนเป็น p บาท และคา่ นำมันรถคดิ เป็นจำนวน 20%

ของรายได้ หรือ

P = 20% ของ 37,500

P = 0.20 x 37,500 = 7,500

ดังนัน้ ปทุมวลั ย์จา่ ยค่านำ้ มนั รถเดอื นละ 7,500 บาท

6.กจิ กรรมการเรียนรู้

หน่วยที่ กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ สือ่ เวลา บรู ณาการพระ

บรมราโชบายดา้ น

การศกึ ษา

1 ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1.ครูบอกจุดประสงค์การ เรียนประจำหน่วย 5 นาที

ท่ี 1

2.ครูเข้าสู่บทเรียนโดยใช้ กิจกรรม “ลูกโป่ง 30 นาที ➢ดา้ น 2 พื้นฐาน
ความด”ี ชวี ิตท่ี มัน่ คง (ใหร้ จู้ ัก

26

หน่วยท่ี กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ ส่อื เวลา บรู ณาการพระ
บรมราโชบายดา้ น
ขั้นใหค้ วามรู้
การศกึ ษา
2.1.แจกลูกโปง่ ใหน้ กั เรยี น คนละ 2 ใบ 1. ลูกโปง่
แยกแยะสิ่งที่ผดิ -ชอบ
2.2 ให้ผู้เรียนเป่าลูกโป่ง ให้ได้ขนาดตามที่ 2. ปากกาเคมี / ชัว่ –ดี)

ตวั เอง ตอ้ งการ 3. กระดานไวทบ์ อรด์/ ➢เป็นพลเมืองดี
(การเป็น พลเมืองดี
2.3 ให้ผู้เรียนแต่ละคน เขียนความดีที่ตัวเอง ปากกาไวทบ์ อรด์ เป็น หนา้ ท่ีของทกุ
คน)
เคยทำ ลงใน ลกู โป่ง 1 ใบ แลว้ อีก 1 ใบเขยี น

ส่งิ ทีไ่ ม่

2.4 เสร็จแล้วให้นำลูกโป่ง ไปใส่ไว้ใน บริเวณ

ทจี่ ัดให้

2.5 ให้ตวั แทนนกั เรยี น หยบิ ลูกโปง่ มาท่ีละ 1

ลูก ทุกคนร่วมกันวิเคราะห์ อะไร คือความดี

และความไม่ดี

2.6 ครูตั้งประเด็นคำถาม “มุมมองความดี

ของนักเรียน ที่ร่วมกันวิเคราะห์” “มุมมอง

ของความไม่ดีและ แนวทางในการปรับ

พฤตกิ รรม”

2.7 ร่วมกันสรุปเชื่อมโยงสู่ เนื้อหา “ค่าร้อย

ละในการทำความดี กับสิ่งไม่ดีที่สามารถ

นำไปใช้กับงานอาชีพ”

ขั้นสอน

3. ร่วมกันอภิปราย“ความ หมายของร้อย กระดานไวทบ์ อรด/์ 10 นาที

ละ” โดยการ นำจำนวนลูกโป่งจากกิจกรรม ปากกาไวท์บอรด์ 10 นาที
10 นาที
มาใชใ้ นการเปรยี บเทยี บ 20 นาที
20 นาที
4. ให้นกั เรยี นเขียนรอ้ ยละ ในรปู ระหว่างร้อย
15 นาที
ละ เศษสว่ น และทศนยิ ม

5. ให้นักเรียนคำนวณหาค่าร้อยละจาก

“ลูกโป่งความดี”

6. ให้นักเรียนปฏิบัติตามใบ งานที่ 1 เรื่อง ใบงานท่ี 1 เรอ่ื งการ

การคำนวณค่า ร้อยละ คำนวณ ค่ารอ้ ยละ

7. ครูสอบถามความพร้อม ของนกั เรยี นหรือ

ส่มุ นักเรยี น ในการนำเสนองานตามใบ งานที่

1

ข้ันสรุป

8. ร่วมกนั อภปิ ราย สรปุ เรื่องร้อยละ

27

ตวั อย่างเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล (ดา้ นคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค)์

กรอบการวดั และประเมนิ

จดุ ประสงค์ ด้านทใ่ี ช้วดั ระดับการวดั พฤตกิ รรม วธิ วี ดั เครือ่ งมอื
ประพฤติปฏิบัติตนบน พ้ืน ฐ า น ข อ ง KPA สรา้ ง การ การสังเกต แบบสงั เกต
ความมี คุณธรรม จริยธรรม ความ
ซื่อสัตย์ สุจริต มีส่วนร่วมใน การทำงาน √ ลกั ษณะนิสัย แสดงออก
ร่วมกัน มีความ สนใจใฝ่รู้จนเป็น
ลักษณะนิสยั

เคร่ืองมอื การประเมนิ แบบสังเกตพฤติกรรม

แผนผงั การสร้างแบบสงั เกตพฤตกิ รรม

พฤตกิ รรม นิยาม
ความซ่อื สตั ย์สุจริต 1.ไม่นำผลงานของคนอ่ืนมาเปน็ ของตนเอง
การมสี ว่ นรวมในการทำงาน 2.ไม่ใช้ความรู้ในทางทผี่ ดิ
1. มสี ว่ นร่วมในการทำกิจกรรม
ความสนใจใฝ่เรียนรู้ 2. รบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ่ืน
3. ร่วมแสดงความคดิ เหน็
1. เข้าเรยี นตรงเวลา 2. การรว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมได้ 1 ขอ้ ให้ 1 คะแนน
ไมป่ ฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมเลย ให้ 0 คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

6-7 ดี

3-5 พอใช้

ต่ำกวา่ 2 ปรบั ปรุง

.................................................................................................................

28

ความพึงพอใจเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา

อาชวี ศกึ ษา

มีผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม

จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา จำนวน 299 คน จากจำนวนผู้เรียนและบุคลากรทั้งหมด

จำนวน 16,092 คน

ท่ี ด้านกายภาพ N=299 ระดับ

̅ S.D. ความพึงพอใจ

1 ความสวยงามของปก 3.84 0.86 มาก

2 ความเหมาะสมของขนาดตวั อักษร 3.90 0.92 มาก

3 ความเหมาะสมของขนาดรปู เลม่ 3.95 0.98 มาก

4 ความสอดคล้องของเนอ้ื หากับวตั ถปุ ระสงค์ 4.05 0.80 มาก

5 ความถกู ตอ้ ง ชัดเจนของเนอื้ หา 4.01 0.73 มาก

6 ความยาก-ง่ายของเน้อื หาเหมาะสมกบั ครูผู้สอน 4.07 0.77 มาก

7 ความสอดคล้องของการออกแบบกิจกรรมกับ 4.10 0.81 มาก

ตัวชี้วดั /วตั ถปุ ระสงค์

8 ความเป็นไปได้ในทางปฏบิ ตั ิของกิจกรรม 4.16 0.78 มาก

9 การชี้แจงให้ทราบเกณฑ์การประเมินผลมีความ 4.00 0.80 มาก

ชดั เจน

10 สามารถนำไปใช้เป็นค่มู ือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.13 0.67 มาก

ดา้ นการเรียนการสอน

11 สามารถนำเนื้อหาและกิจกรรมไปใช้ประโยชน์ใน 4.11 0.68 มาก

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

12 สามารถนำรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไป 4.08 0.77 มาก

ประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดทำคมู่ ือและกิจกรรมอนื่ ได้

รวม 4.03 0.79 มาก

พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.03, S.D.=0.79)
โดยมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.84 – 4.16 ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2 ลำดับ ได้แก่ ข้อ 8 ความเป็นไปได้ในทาง
ปฏิบัติของกิจกรรม ( ̅= 4.16, S.D.=0.78 และ ข้อ 10 สามารถนำไปใช้เป็นคู่มือการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ดา้ นการเรียนการสอน ( ̅= 4.13, S.D.=0.67)

29

สรุปผลการดำเนินกจิ กรรมท่ี 1

ผลผลติ
ผู้เรียนและบุคลากรอาชีวศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม
จำนวน 16,092 คน
ผลลัพธ์
1. บุคลากรอาชีวศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
ตา้ นทจุ ริตศึกษา
2. สถานศึกษาอาชีวศึกษามีเอกสารแนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาและแนวทางการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติใน
สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาท้ังภาครฐั และเอกชน
3. ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น สอดคล้อง
กับมาตรฐานวชิ าชพี
ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา อปุ สรรค
ไมม่ ี
ข้อเสนอแนะ
- ควรมกี ารขยายผลให้กบั ครผู สู้ อนและใหน้ ำไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- ควรมตี ัวอย่างกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ครบทกุ แผนกวชิ า
- ควรจัดทำสื่อโมดูลท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั คุณธรรม จรยิ ธรรม หรอื ตา้ นทุจรติ

30

อาชวี ศึกษามมี าตราการต่อตา้ นการทุจรติ



32

กิจกรรมท่ี 2 พัฒนาศกั ยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจดั การ
เรยี นร้บู รู ณาการหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา เพอ่ื นำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน

กิจกรรมที่ 2 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้บูรณาการ
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ร่วมกับศูนย์
ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือและวิทยาลัยการอาชีพแกลง แบ่งออกเป็น 2
กจิ กรรมย่อย ดังน้ี
กิจกรรมที่ 2.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรอาชีวศึกษาในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ

หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษาเพอ่ื นำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน โดยการบูรณาการในขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน

ดว้ ยกจิ กรรมจติ ศกึ ษา สำหรบั ครอู าชีวศึกษาภาครัฐ

พนื้ ที่ดำเนินการ ผา่ นระบบออนไลน์ Google Meeting
วนั ที่ ระหวา่ งวันท่ี 24 มกราคม – 24 กุมภาพนั ธ์ 2565
ผู้เขา้ ร่วม จำนวน 891 คน

รายละเอยี ด ไฟล์ ลิงค์ QR-CODE
1. รูปภาพ WORD https://shorturl.asia/ybe3M

อัลบั้ม https://shorturl.asia/McYTs

2. การบ้านท่ีครสู ง่ PDF,WORD https://shorturl.asia/1vImi
กิจกรรมจติ ศกึ ษา PDF https://shorturl.asia/H98lI

3. ใบกจิ กรรมจติ ศกึ ษา

33

ตัวอยา่ งกจิ กรรมจติ ศกึ ษา

34

35

36

37

38


Data Loading...