แบบเรียนออนไลน์วิชาการป้องกันการทุจริตม.ปลาย - PDF Flipbook

แบบเรียนออนไลน์วิชาการป้องกันการทุจริตม.ปลาย

107 Views
4 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รายวชิ า MyHSetlluod. ent.
การปองกนั การทจุ ริต

รหัสรายวชิ า สค32036 สาระการพัฒนาสังคม

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย


บทที 1 การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์
ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม
บทที 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
บทที 3 STRONG : จิตพอเพยี งต้านการทุจริต
บทที 4 พลเมืองกับความรับผดิ ชอบต่อสังคม


มาตรฐานการเรยี นรู

1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดาํ เนินชีวติ ตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎ ระเบยี บของประเทศ
ต่างๆ ในโลก
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สงั คม สามารถวเิ คราะห์
ขอ้ มูลและเป็นผนู้ าํ ตาม ในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ใหส้ อดคลอ้ งกบั
สภาพการเปลียนแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบนั


การป้องกันการทุจริต ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เป็ นการรู้เกยี วกับการคดิ แยกแยะ
ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการ
ทุจริต STRONG : จติ พอเพยี งต้านการทุจริต และพลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคม ซึงจะ
สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เรียนในเรือง
ดงั กล่าวข้างต้นเพือร่วมกันป้องกนั หรือต่อต้านการทจุ ริต ไม่ให้มีการทุจริตเกดิ ขนึ ในสังคมไทย
ร่วมกันสร้างสังคมไทยทไี ม่ทนต่อการทจุ ริตต่อไป


บทที่ 1
การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนสว นรวม

การทเี จ้าหน้าทีรัฐปฏิบัตหิ น้าทีโดยคาํ นึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนหรือพวก
พ้องเป็ นหลกั ซึงเป็ นการ กระทาํ ทีขดั ต่อหลกั คุณธรรม จริยธรรม และหลกั การ
บริหารกจิ การบ้านเมืองทดี ี (Good Governance) ซึงจะนําไปสู่การทุจริตต่อไป หาก
เจ้าหน้าทีไม่มีการแยกแยะว่าอะไรคือผลประโยชน์ส่วนตน หรืออะไร เป็ นผล
ประโยชน์ส่วนรวมแล้ว ย่อมจะเกดิ ปัญหาเกยี วกับผลประโยชน์แน่นอน


เร่อื งท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ รติ และทิศทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย
1. สาเหตุของการทุจริต สาเหตุของการทุจริต อาจเกดิ ขนึ ได้ในประเทศทมี สี ถาน
การณดี งั ต่อไปนี
1.1 มีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ้ กาํ หนดจาํ นวนมากทีเกียวขอ้ งกบั การดาํ เนินการทาง
ธุรกิจ หากมาตรการหรือขอ้ กาํ หนดดงั กลา่ วมีความซบั ซอ้ น คลุมเครือ เลือกปฏบิ ตั ิเป็น
ความลบั หรือไม่โปร่งใส จะส่งผลให้เป็นตน้ เหตุของการทุจริตได้
1.2 มีสถานการณ์ โอกาส หรือมกี ฎ ระเบียบตา่ ง ๆ ทีนาํ ไปสู่การทุจริตได้
1.3 กฎหมาย และกระบวนการยตุ ิธรรมไม่มีความเขม้ แขง็ ตลอดจนการพฒั นาให้
ทนั สมยั


เร่อื งท่ี 1 สาเหตุของการทจุ รติ และทิศทางการปอ งกนั และการทจุ ริตในประเทศไทย
2. ทิศทางการป้องกนั การทุจริตในประเทศไทย
2.1 กาํ หนดเนือหาเกียวกบั เรืองนีในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช
2560 หมวด ที 4 หนา้ ทีของประชาชนชาวไทยวา่ “... บุคคลมีหนา้ ทีไม่ร่วมมือหรือ
สนบั สนุนการทุจริตและประพฤติ มิชอบทุกรูปแบบ” หมวดที 5 หนา้ ทีของรัฐวา่ “รัฐตอ้ ง
ส่งเสริมสนบั สนุนและใหค้ วามรู้แก่ประชาชน ถึงอนั ตรายทีเกิดจากการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบทงั ภาครัฐและภาคเอกชน จดั ใหม้ ีมาตรการและกลไกทีมี ประสิทธิภาพ
เพือป้องกนั และขจดั การทุจริตอยา่ งเขม้ งวด รวมทงั กลไกในการส่งเสริมใหป้ ระชาชน
รวมตวั กนั เพือมีส่วนร่วมในการรณรงคใ์ หค้ วามรู้ต่อตา้ นการทุจริต หรือชีเบาะแสโดย
ไดร้ ับความคุม้ ครองจากรัฐ ตามที กฎหมายบญั ญตั ิ”


เร่อื งท่ี 1 สาเหตุของการทจุ รติ และทิศทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย
2.2 กาํ หนดให้มียทุ ธศาสตร์การแกไ้ ขปัญหา 3 ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย
1) ยทุ ธศาสตร์การปลกู ฝัง “คนไทยไม่โกง” เพือปฏิรูป “คน” ใหม้ ีจิตสาํ นึกและสร้าง
พลงั ร่วม เพือแกไ้ ขปัญหาทุจริตคอร์รปั ชนั
2) ยทุ ธศาสตร์การป้องกนั ดว้ ยการเสริมสร้างสงั คมธรรมาภิบาล เพือปฏิรูประบบและ
องคก์ ร เพือสร้างธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วน
3) ยทุ ธศาสตร์การปราบปราม เพือปฏริ ูประบบและกระบวนการจดั การ
ต่อกรณีการทุจริต คอร์รัปชนั ใหม้ ีประสิทธิภาพ


เร่อื งท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ ริตและทศิ ทางการปอ งกันและการทจุ ริตในประเทศไทย

2.3 กําหนดไวในกรอบยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยมวี ิสยั ทศั น “ประเทศไทย มี
ความมั่นคง มั่งคง่ั ยั่งยนื เปน ประเทศพฒั นาแลว ดวยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”

2.4 กําหนดใหมแี ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) วาดว ยเรอื่ งสังคมไทยมวี นิ ัย โปรงใส ยึดม่นั ในความซอ่ื สัตย ยตุ ธิ รรม

2.5 กําหนดใหมโี มเดลประเทศไทยสคู วามมน่ั คง มงั่ ค่ัง และย่ังยนื
(Thailand 4.0)

2.6 กาํ หนดใหมยี ทุ ธศาสตรชาตวิ า ดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 -
2564) โดยกาํ หนดวิสัยทัศน “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ า นทุจรติ ”
(Zero Tolerance & Clean Thailand)


เร่อื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนสว นตน และผลประโยชนสว นรวม (โลก)

การขัดกนั ระหวางประโยชนส วนบคุ คลกับประโยชนส ว นรวมน้นั มลี ักษณะทาํ นองเดียวกันกบั กฎ
ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลักคุณธรรม จริยธรรม กลาวคือ การกระทําใด ๆ ที่เปนการ
ขัดกนั ระหวางประโยชนส วนบุคคลกบั ประโยชนสวนรวม เปน ส่ิงท่ีควรหลกี เลยี่ ง ไมค วรจะกระทํา ซ่ึงบุคคลแต
ละคนแตละสังคม อาจเห็นวา เรื่องใดเปนการขัดกันระหวา งประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมแตกตา ง
กันไปหรอื เม่อื เห็นวา เปน การขัดกันแลว ยังอาจมีระดับความหนกั เบาแตกตางกนั อาจเหน็ แตกตา งกนั วา เรื่องใด
กระทาํ ได กระทาํ ไมไดแตกตางกันออกไปอกี และในกรณที ี่มกี ารฝาฝน บางเรอ่ื งบางคนอาจเหน็ วาไมเปนไร
เปนเร่ืองเล็กนอย หรืออาจเห็นวาเปนเร่ืองใหญตองถูกประณาม ตําหนิ ติฉิน นินทาวากลาว ฯลฯ แตกตาง
กนั ตามสภาพของสงั คม


เร่อื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนสว นตน และผลประโยชนสว นรวม (โลก)

1. ทฤษฎขี องการขัดกันระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (โลก)
ทฤษฎีการทจุ รติ ทฤษฎีทจุ รติ เกิดขึ้นจากปจจัย 3 ประการ คอื
1) ความซ่ือสัตย เมอื่ มนุษยมีความตองการ ความโลภ แมถ ูกบงั คับดว ยจริยธรรม คุณธรรม และ

บทลงโทษทางกฎหมายกต็ าม ความจาํ เปนทางเศรษฐกจิ มสี วนผลักดันใหบ ุคคลตดั สินใจกระทําความผดิ เพอ่ื ให
ตนเองอยรู อด

2) โอกาส ผกู ระทาํ ความผิด พยายามทจี่ ะหาโอกาสท่เี ออื้ อํานวยตอการทุจรติ โอกาส ทเ่ี ยายวนตอ การ
ทจุ รติ ยอ มกระตนุ ใหเ กดิ การทจุ รติ ไดงายขึ้นกวาโอกาสท่ไี มเ ปดชอง

3) การจงู ใจ เปน มูลเหตุจงู ใจใหบ ุคคลตดั สนิ ใจกระทําการทุจริต และนําไปสูการหา มาตรการในการ
ปองกันการทุจรติ ดวย การจูงใจในการกระทําการทจุ รติ เชน ความทะเยอทะยานอยางไมม ี ท่สี ้ินสดุ
ปรารถนาจะยกระดบั ใหท ดั เทยี มกับบุคคลอนื่ ในสงั คม ปญ หาทางการเงิน การกระทําเพื่ออยากเดน เปนตน


เร่อื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขดั กันระหวางผลประโยชนสว นตน และผลประโยชนสว นรวม (โลก)

2. ความหมายของการขดั กันระหวา งประโยชนส ว นตนและประโยชนสวนรวม (โลก)
คําวา ผลประโยชนสว นตน (Private Interests) หมายถงึ ผลประโยชนท ่บี ุคคลไดร ับ โดยอาศัยตาํ แหนง

หนา ท่ีของตนหาผลประโยชนจากหนา ท่ขี องตนและหาผลประโยชนจากบคุ คลหรอื กลมุ บุคคล ผลประโยชนสว นตนมี
ท้งั เกย่ี วกับเงิน ทอง และไมไ ดเก่ยี วกบั เงนิ ทอง เชน ทด่ี ิน หุน ตาํ แหนง หนา ท่ี สมั ปทาน สว นลด ของขวัญ หรอื
ส่งิ ทีแ่ สดงน้ําใจไมตรอี ื่น ๆ การลําเอยี ง การเลือกปฏิบัติ เปน ตน

คําวา ผลประโยชนสว นรวม (PublicInterests) หมายถึง การทบ่ี คุ คลใดในสถานะที่เปน เจา หนา ท่ีของรฐั
(ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขา ราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ในหนว ยงาน ของรัฐ)
ไดกระทําการใด ๆ ตามหนา ทหี่ รอื ไดปฏบิ ตั หิ นาท่อี ันเปนการดําเนนิ การในอีกสวนหนง่ึ ทแ่ี ยกออกมาจาก การ
ดําเนินการตามหนา ที่ในสถานะของเอกชน การกระทําการใด ๆ ตามหนา ทข่ี องเจาหนา ทีข่ องรฐั จงึ มี วตั ถปุ ระสงค
หรือมเี ปาหมายเพ่ือประโยชนข องสวนรวม


เร่อื งท่ี 3 กฎหมายท่ีเก่ยี วของกับการขดั กันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสว นรวม

รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 ไดบ ญั ญตั หิ นา ที่ของปวงชนชาวไทย
ไวใน มาตรา 50 (10) ใหบ ุคคลไมร วมมอื หรือสนบั สนนุ การทุจริตและประพฤตมิ ิชอบทกุ รปู แบบ ดังนน้ั
ในฐานะ ทเ่ี ราเปน ประชาชนชาวไทย จงึ มีความจาํ เปนตองมีความรูเกี่ยวกับกฎหมายท่เี กีย่ วขอ งกับการ
ขดั กันระหวาง ผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนสวนรวม ดังตอ ไปน้ี


เร่อื งท่ี 3 กฎหมายทเี่ ก่ยี วของกับการขัดกนั ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสว นรวม

1. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศกั ราช 2560 ไดบัญญตั ไิ วในหมวด 9 การขดั กนั แหงผลประโยชน (มาตรา 184 – 187) โดย
บญั ญัติขอหา มสําหรับผูด ํารงตาํ แหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 184 – 185)
ขอ หา มสําหรบั ผดู ํารงตําแหนงรัฐมนตรี (มาตรา 186 – 187)


เร่อื งท่ี 3 กฎหมายท่เี ก่ยี วของกับการขดั กนั ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสว นรวม

2. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ พทุ ธศกั ราช
2561 พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 ได
บญั ญัตขิ อหา มสาํ หรับกรรมการ ผดู าํ รงตาํ แหนงในองคกรอิสระ และเจา พนักงานของรัฐท่คี ณะกรรมการ
ป.ป.ช. ประกาศกาํ หนดไวใ นมาตรา 126 – 129

3. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหหรือรบั ของขวัญของเจา หนาท่ีของรฐั พ.ศ. 2544
นายกรฐั มนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี ไดว างระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวย

การใหห รือรบั ของขวญั ของเจา หนา ทข่ี องรัฐ พ.ศ. 2544

4. ประกาศคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ เรอื่ ง หลักเกณฑก ารรบั ทรัพยสนิ
หรอื ประโยชนอื่นใด โดยธรรมดาของเจาหนาที่รัฐ พ.ศ. 2543

5. ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวา ดวยการเรยี่ ไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2544


เร่อื งท่ี 4 การคดิ เปน

ในชีวิตประจําวันทุกคนตองเคยพบกับปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนปญหาการเอารัดเอาเปรียบ การงาน
การเงิน หรือแมแตการเลน กฬี าหรือปญ หาอื่น ๆ เชน ปญ หาขัดแยง ของเด็ก หรือปญหาการแตงตัวไปงานตาง ๆ
เปนตน เมื่อเกิดปญหาก็เกิดทุกข แตละคนกจ็ ะมวี ิธีแกไขปญหา หรือแกทุกขดวยวธิ ีการท่ีแตกตางกันไป ซง่ึ แตละ
คน แตละวิธีการอาจเหมือนหรอื ตางกัน และอาจใหผลลพั ธที่เหมือนกันหรือตางกันก็ได ท้ังนี้ ขึ้นอยูกับ พื้นฐาน
ความเชื่อ ความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคลนั้น หรืออาจจะข้ึนอยูกับทฤษฎีและหลักการ ของ
ความเชือ่ ที่ตางกนั เหลานัน้


เรื่องท่ี 4 การคดิ เปน

1. ปรชั ญา “คิดเปน ” อยบู นพื้นฐานความคิดท่ีวา ความตองการของแตละบคุ คลไมเหมือนกัน แต
ทกุ คนมีจดุ รวมของความตอ งการทเี่ หมือนกนั คอื ความสขุ คนเราจะมีความสขุ เมื่อตนเองและสังคม
สิ่งแวดลอมประสมกลมกลืนกันได โดยการปรับตัวเราเองใหเขากับสังคมหรือสิ่งแวดลอม หรือโดยการปรับ
สังคม และสิง่ แวดลอมใหเ ขากบั ตัวเรา หรือปรบั ท้ังตวั เราและสง่ิ แวดลอมใหประสมกลมกลืนกนั หรอื เขาไปอยู
ใน สิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมกับตน คนที่สามารถทาํ ไดเชน นเ้ี พ่ือใหต นเองมีความสุขน้ัน จําเปน ตองเปนผูม ีการ
คิด สามารถคิดแกป ญ หา รูจักตนเอง รูจักสังคมและสิง่ แวดลอม และมีองคค วามรูที่จะนํามาคิดแกปญหาได
จึงจะเรยี กไดว าผนู ั้นเปน คนคิดเปน


เร่อื งท่ี 4 การคดิ เปน


เร่อื งท่ี 4 การคดิ เปน

จากแผนภมู ดิ งั กลาวน้ี จะเห็นวา คิดเปนหรือกระบวนการคดิ เปนนนั้ จะตองประกอบไปดวยองคป ระกอบตา ง ๆ
ดงั ตอ ไปนี้
1. เปนกระบวนการเรยี นรูท ่ีประกอบดว ยการคิด การวเิ คราะหแ ละสังเคราะหขอมลู ประเภทตาง ๆไมใ ชการเรยี นรจู ากหนงั สอื
หรอื ลอกเลียนจากตํารา หรือรับฟง การสอนการบอกเลาของครูแตเ พยี งอยา งเดยี ว
2. ขอ มลู ทนี่ าํ มาประกอบการคดิ การวิเคราะหต า ง ๆ ตอ งหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลมุ อยา งนอ ย 3 ดาน คอื ขอ มลู ทาง
วิชาการ ขอมลู เก่ียวกบั ตนเอง และขอมลู เก่ยี วกบั สังคมสง่ิ แวดลอ ม
3. ผูเรยี นเปน คนสาํ คัญในการเรยี นรู ครูเปนผูจ ัดโอกาสและอาํ นวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู
4. เรยี นรจู ากวถิ ีชีวติ จากธรรมชาติและภูมิปญ ญา จากประสบการณและการปฏบิ ตั ิจริงซ่ึงเปน สว นหน่งึ ของการเรียนรูต ลอดชีวิต
5. กระบวนการเรียนรูเปน ระบบเปดกวาง รบั ฟงความคดิ ของผูอ่นื และยอมรบั ความเปนมนษุ ยท ่ศี รัทธาในความแตกตา งระหวาง
บคุ คล ดงั นั้น เทคนิคกระบวนการท่นี าํ มาใชในการเรยี นรจู งึ มกั จะเปนวิธีการสานเสวนา การอภปิ รายถกแถลง กลุมสัมพนั ธเ พอื่
กลุม สนทนา
6. กระบวนการคิดเปน น้ัน เมือ่ มกี ารตดั สนิ ใจลงมือปฏิบตั ิแลวจะเกิดความพอใจ มคี วามสขุ แตถ า ลงมอื ปฏิบตั ิแลว ยังไมพ อใจกจ็ ะ
มีสติ


เร่อื งท่ี 4 การคดิ เปน


เร่อื งที่ 5 บทบาทของรฐั /เจา หนาทข่ี องรัฐทีเ่ กย่ี วขอ งกบั การปอ งกันปราบปรามเกย่ี วกบั การทจุ รติ

1. บทบาทของรฐั
1.1 ไมนําความสมั พันธสวนตัวท่ีตนมีตอ บุคคลอื่นมาประกอบการใชดุลยพินิจใหเปนคณุ หรือเปนโทษแกบ ุคคลนั้น
1.2 ไมใชเวลาราชการ เงนิ ทรัพยส นิ บุคลากร บริการ หรอื ส่ิงอาํ นวยความสะดวกของทางราชการ ไปเพอ่ื ประโย

ชนส ว นตวั ของตนเองหรอื ผอู น่ื
1.3 ไมกระทาํ การใด หรอื ดํารงตําแหนง หรอื ปฏิบตั กิ ารใดในฐานะสวนตัว ซึ่งกอใหเ กดิ ความ เคลือบแคลงหรือ

สงสยั วา จะขดั กบั ประโยชนสวนรวมทอ่ี ยใู นความรับผิดชอบของหนาท่ี
1.4 ในการปฏบิ ัตหิ นาท่ีท่รี ับผดิ ชอบในหนว ยงานโดยตรงหรอื หนา ที่อืน่ ในราชการ รฐั วสิ าหกจิ องคก ารมหาชน หรือ

หนว ยงานของรฐั ขาราชการตองยึดถือประโยชนของทางราชการเปน หลกั


เร่อื งที่ 5 บทบาทของรฐั /เจา หนาท่ีของรฐั ที่เกี่ยวขอ งกับการปอ งกนั ปราบปรามเกย่ี วกบั การทจุ รติ

2. หนาที่ของรัฐ
2.1 รฐั ตอ งเปดเผยขอ มลู หรือขา วสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรัฐที่มิใชขอ มลู เกีย่ วกบั ความมนั่ คง

ของรัฐ หรอื เปน ความลบั ของทางราชการท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ และตอ งจดั ใหป ระชาชนเขา ถึง ขอ มลู หรอื ขา วสารดังกลาวได
โดยสะดวก

2.2 รัฐตอ งสง เสริม สนับสนุน และใหค วามรูแ กประชาชนถึงอันตรายท่ีเกดิ จากการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบท้งั ใน
ภาครฐั และภาคเอกชน และจัดใหม มี าตรการและกลไกทม่ี ีประสิทธิภาพ เพอื่ ปองกัน และขจดั การทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
ดงั กลาวอยา งเขมงวด


เร่อื งท่ี 5 บทบาทของรฐั /เจา หนาทข่ี องรฐั ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการปอ งกันปราบปรามเกย่ี วกบั การทจุ รติ

3. แนวนโยบายแหง รฐั
3.1 รัฐพงึ พฒั นาระบบการบริหารราชการแผนดินทั้งราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่นิ และงานของรัฐ

อยา งอ่นื ใหเ ปน ไปตามหลักการบริหารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี ตลอดท้งั พฒั นาเจาหนา ท่ีของรฐั ใหม ีความซือ่ สัตยส จุ ริต
3.2 รฐั พงึ จัดใหม ีมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เพ่อื ใหห นว ยงานของรัฐใชเ ปนหลกั การกําหนด ประมวลจรยิ ธรรมสาํ หรับ

เจา หนา ที่ของรฐั ในหนว ยงานนน้ั ๆ ซง่ึ ตองไมต่าํ กวา มาตรฐานทางจรยิ ธรรมดังกลาว

4. เจา หนาท่ขี องรัฐที่เกย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามเก่ียวกับการทจุ รติ
4.1 ไมนําความสมั พันธสวนตัวทีต่ นมตี อ บุคคลอืน่ ไมวา จะเปนญาติพนี่ อ ง พรรคพวก เพ่ือนฝูงหรอื ผมู ีบญุ คุณสว นตัว

มาประกอบการใชด ลุ ยพินิจใหเ ปน คุณหรอื เปน โทษแกบ คุ คลนน้ั
4.2 ไมใ ชเวลาราชการ เงนิ ทรพั ยส ิน บคุ ลากร บรกิ าร หรอื สิง่ อาํ นวยความสะดวกของทาง ราชการไป เพ่ือประโยชน

สว นตัวของตนเองหรือผูอ ื่น เวน แตไดรับอนญุ าตโดยชอบดว ยกฎหมาย
4.3 ไมกระทาํ การใด หรือดาํ รงตาํ แหนง หรอื ปฏิบัตกิ ารใดในฐานะสวนตวั ซึ่งกอใหเ กิดความ เคลือบแคลงหรือสงสยั

วาจะขดั กบั ประโยชนสวนรวมทอ่ี ยูในความรบั ผิดชอบของหนาท่ี


เร่อื งท่ี 5 บทบาทของรฐั /เจา หนาทข่ี องรฐั ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการปอ งกันปราบปรามเกย่ี วกบั การทจุ รติ

3. แนวนโยบายแหง รฐั
3.1 รัฐพงึ พฒั นาระบบการบริหารราชการแผนดินทั้งราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่นิ และงานของรัฐ

อยา งอ่นื ใหเ ปน ไปตามหลักการบริหารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี ตลอดท้งั พฒั นาเจาหนา ท่ีของรฐั ใหม ีความซือ่ สัตยส จุ ริต
3.2 รฐั พงึ จัดใหม ีมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เพ่อื ใหห นว ยงานของรัฐใชเ ปนหลกั การกําหนด ประมวลจรยิ ธรรมสาํ หรับ

เจา หนา ที่ของรฐั ในหนว ยงานนน้ั ๆ ซง่ึ ตองไมต่าํ กวา มาตรฐานทางจรยิ ธรรมดังกลาว

4. เจา หนาท่ขี องรัฐที่เกย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามเก่ียวกับการทจุ รติ
4.1 ไมนําความสมั พันธสวนตัวทีต่ นมตี อ บุคคลอืน่ ไมวา จะเปนญาติพนี่ อ ง พรรคพวก เพ่ือนฝูงหรอื ผมู ีบญุ คุณสว นตัว

มาประกอบการใชด ลุ ยพินิจใหเ ปน คุณหรอื เปน โทษแกบ คุ คลนน้ั
4.2 ไมใ ชเวลาราชการ เงนิ ทรพั ยส ิน บคุ ลากร บรกิ าร หรอื สิง่ อาํ นวยความสะดวกของทาง ราชการไป เพ่ือประโยชน

สว นตัวของตนเองหรือผูอ ื่น เวน แตไดรับอนญุ าตโดยชอบดว ยกฎหมาย
4.3 ไมกระทาํ การใด หรือดาํ รงตาํ แหนง หรอื ปฏิบัตกิ ารใดในฐานะสวนตวั ซึ่งกอใหเ กิดความ เคลือบแคลงหรือสงสยั

วาจะขดั กบั ประโยชนสวนรวมทอ่ี ยูในความรบั ผิดชอบของหนาท่ี


ถามทายบท ?


บทที่ 2
ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ

การทจุ รติ ในทกุ ระดบั กอใหเกิดความเสียหายตอ สงั คม ประเทศชาติ จําเปนท่ี
จะตองแกปญหา ดวยการสรางสังคมทไี่ มทนตอการทจุ ริต โดยเร่ิมตงั้ แตก ระบวนการ
กลอมเกลาทางสงั คมทุกชว งวัย ปฏิบัตติ น ตามกฎ กตกิ าของสงั คมในเรือ่ งตา ง ๆ เชน
การทาํ งานที่ไดรับมอบหมาย การสอบ การเลอื กต้งั การรวมกลมุ เพ่ือสรา งสรรค
ปองกันการทจุ รติ ไดอ ยา งถูกตอง


เร่อื งที่ 1 การทจุ รติ

1. ความหมายของการทจุ รติ
การทจุ ริต (Corruption) หมายถึง ประพฤติชัว่ คดโกง ไมซอื่ ตรง การใชอ ํานาจท่ไี ดรบั มา

หรอื การใชท รัพยสนิ ที่มีอยูในทางมิชอบ เพ่อื ประโยชนตอตนเองและครอบครวั เพอื่ น คนรูจัก หรือประโยชน
อื่นใดอนั มิควรได ซ่ึงกอใหเ กิดความเสียหายตอประโยชนของผอู ่ืน

2. รูปแบบการทจุ รติ การทุจรติ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในวงราชการและแวดวงการเมือง เปน พฤตกิ รรมทเ่ี จา หนา ที่ของ
รฐั ใชอ าํ นาจ ในตาํ แหนงหนา ที่โดยมชิ อบ เพื่อมงุ หวังผลประโยชนส วนตัว สามารถแบง ได 3 ลักษณะ คือ
แบง ตามผูทเ่ี กย่ี วของ แบง ตามกระบวนการที่ใช และแบง ตามลกั ษณะรูปธรรม


เรื่องที่ 1 การทจุ รติ

2.1 แบงตามผูท ีเ่ ก่ียวของ เปนรูปแบบการทจุ รติ ในเรื่องของอาํ นาจและความสัมพันธ แบบอปุ ถัมภร ะหวา งผูท ่ใี หการ
อุปถัมภ (ผใู หก ารชวยเหลอื ) กบั ผูถูกอปุ ถัมภ

1. การคอรร ปั ชันตามนํ้า (corruption without theft) จะปรากฏขึ้น เมอื่ เจา หนา ที่ของรัฐตองการสนิ บน โดยใหมี
การจา ยตามชองทางปกติของทางราชการ แตใ หเ พ่มิ สินบนรวม เขา ไวกบั การจายคา บรกิ ารของหนวยงานนน้ั ๆ

2. การคอรร ัปชนั ทวนนา (corruption with theft) เปน การคอรร ปั ชนั ในลักษณะท่เี จาหนา ที่ของรฐั จะเรียกรอ ง
เงินจากผขู อรับบริการโดยตรง โดยท่หี นว ยงานนัน้ ไมไดม ีการเรียกเกบ็ เงิน คาบรกิ ารแตอยา งใด

2.2 แบงตามกระบวนการทใ่ี ชมี 2 ประเภท คอื ประเภทที่ 1 เกดิ จากการใชอํานาจในการกําหนด กฎ กติกาพ้ืนฐาน
เชน การออกกฎหมาย และกฎระเบียบตาง ๆ เพื่ออํานวยประโยชนต อกลุมธุรกจิ ของตนหรอื พวกพอง ประเภทท่ี 2 เกดิ
จากการใชอ ํานาจหนาที่เพอ่ื แสวงหาผลประโยชนจากกฎ และระเบียบ ทด่ี ํารงอยู ซงึ่ มักเกดิ จากความไมชัดเจนของกฎ
และระเบียบเหลาน้นั ทที่ ําใหเจาหนาที่สามารถใชความคดิ เหน็ ของตนได


เรือ่ งที่ 1 การทุจรติ

2.3 แบงตามลกั ษณะรปู ธรรม มีท้งั หมด 4 รปู แบบ คอื
รปู แบบท่ี 1 คอรร ปั ชันจากการจัดซอื้ จัดหา (Procurement Corruption) เชน

การจัดซอื้ สิ่งของในหนว ยงาน โดยมีการคิดราคาเพิ่มหรือลดคุณสมบัตแิ ตกําหนดราคาซอ้ื ไวเ ทาเดมิ
รูปแบบที่ 2 คอรร ปั ชนั จากการใหส มั ปทาและสิทธิพิเศษ (Concessionaire Corruption)

เชน การใหเ อกชนรายใดรายหนงึ่ เขามามีสิทธิในการจัดทําสัมปทานเปนกรณพี เิ ศษตางกบั เอกชนรายอื่น
รูปแบบที่ 3 คอรร ัปชันจากการขายสาธารณสมบัติ (Privatization Corruption) เชน

การขายกิจการของรัฐวสิ าหกิจ หรอื การยกเอาท่ดี นิ ทรพั ยส ินไปเปน สทิ ธกิ ารครอบครองของตางชาติ เปน ตน
รูปแบบท่ี 4 คอรร ัปชันจากการกํากบั ดูแล (Regulatory Corruption) เชน การกํากบั

ดแู ลในหนว ยงานแลว ทําการทุจรติ ตาง ๆ เปนตน


เร่อื งท่ี 1 การทจุ รติ

3. สาเหตุท่ที าํ ใหเ กดิ การทุจรติ
3.1 การขาดคณุ ธรรม
3.2 การขาดอดุ มการณและอดุ มคติ
3.3 มคี านยิ มทผี่ ดิ
3.4 ใชอาํ นาจโดยไมเ ปนธรรม
3.5 มีรายไดไ มพอกบั รายจา ย

4. ระดบั การทจุ รติ ในประเทศไทย
4.1 การทจุ ริตระดบั ชาติ เปน รูปแบบการทุจรติ ของนกั การเมืองท่ีใชอํานาจในการบริหารราชการ รวมถงึ อํานาจ

นิตบิ ัญญัติ เปน เครอื่ งมือในการออกกฎหมาย แกไขกฎหมาย การออกนโยบายตาง ๆ โดยการ อาศยั ชอ งวา งทาง
กฎหมาย

4.2 การทจุ ริตในระดบั ทอ งถนิ่ การบริหารราชการในรปู แบบทอ งถน่ิ เปนการกระจายอาํ นาจเพ่อื ให บรกิ ารตาง ๆ
ของรัฐสามารถตอบสนองตอ ความตองการของประชาชนไดม ากขึ้น แตการดาํ เนินการในรปู แบบของ ทองถ่นิ กก็ อ ให
เกิดปญหาการทจุ ริตเปน จาํ นวนมาก


เรื่องท่ี 2 ความละอายและความไมท นตอ การทุจรติ

การสรา งสังคมทไ่ี มท นตอการทุจริต เปนการปรบั เปลยี่ นสภาพสังคมใหเ กดิ ภาวะ “ทไ่ี มทนตอการทุจริต”
โดยเรมิ่ ตัง้ แตกระบวนการกลอมเกลาทางสังคมในทกุ ชวงวัย เพอื่ สรา งวัฒนธรรมตอ ตา นการทุจริตและปลูกฝง
ความพอเพียง มวี นิ ัย ซื่อสตั ยส จุ รติ ความเปน พลเมืองดี มีจิตสาธารณะ ผา นทางสถาบนั หรอื กลมุ ตวั แทนทที่ ํา
หนา ทใ่ี นการกลอ มเกลาทางสังคม เพ่ือใหเ ด็ก เยาวชน ผใู หญเกิดพฤติกรรมท่ีละอายตอ การกระทําความผิด
การไมยอมรบั และตอ ตา นการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ


เร่อื งท่ี 2 ความละอายและความไมท นตอ การทุจรติ

1. ความหมายของความละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ (Anti - Corruption)
ความละอาย เปนความรูสกึ อายทจ่ี ะทําในสิ่งทีไ่ มถ ูกตอง และเกรงกลัวตอ ส่ิงที่ไมด ี ไมถกู ตอง ไมเหมาะสม เพราะเหน็ ถงึ

โทษหรือผลกระทบที่จะไดรับจากการกระทํานน้ั จึงไมก ลาท่จี ะกระทํา ทําใหตนเอง ไมห ลงทาํ ในส่งิ ทผ่ี ิด น่นั คอื มีความละอายใจ
ละอายตอการกระทาํ ผิด

ความอดทน หมายถึง การรูจ ักรอคอยและคาดหวงั เปนการแสดงใหเ ห็นถึงความมน่ั คง แนวแน ตอ สิง่ ท่รี อคอย หรือสิ่งท่ี
จงู ใจใหก ระทําในส่ิงที่ไมด ี

ไมทน หมายถงึ ไมอดกล้ัน ไมอ ดทน ไมยอม ดังนัน้ ความไมท น หมายถึง การแสดงออกตอการ กระทําทเี่ กดิ ขน้ึ กับ
ตนเอง บคุ คลทเี่ ก่ยี วของหรือสังคม ในลกั ษณะทไี่ มยนิ ยอม ไมยอมรบั ในสง่ิ ท่ีเกดิ ขนึ้ ความไมทนสามารถแสดงออกไดห ลาย
ลักษณะทง้ั ในรูปแบบของกรยิ า ทา ทาง หรอื คําพูด


เร่อื งที่ 2 ความละอายและความไมท นตอ การทุจรติ

2. ลักษณะของความละอายและความไมท นตอการทุจริต (Anti - Corruption)
ลกั ษณะของความละอายสามารถแบง ได 2 ระดับ คอื ความละอายระดบั ตน หมายถึง ความละอาย ไมก ลาท่ีจะทําในส่งิ

ท่ีผดิ เนอ่ื งจากกลวั วาเมื่อตนเองไดทําลงไปแลวจะมคี นรบั รู หากถกู จบั ไดจ ะไดร บั การลงโทษ หรอื ไดร ับความเดือดรอนจาก
ส่ิงท่ีตนเองไดท ําลงไป จงึ ไมก ลา ทจี่ ะกระทําผิด และในระดับทีส่ องเปน ระดับที่สงู คอื แมว า จะไมมใี ครรับรหู รือเห็นในสิ่งท่ี
ตนเองไดท าํ ลงไป ก็ไมกลาทจ่ี ะทาํ ผดิ เพราะนอกจากตนเองจะไดรบั ผลกระทบแลว ครอบครัว สงั คมก็จะไดรับผลกระทบ
ตามไปดว ย ท้ังช่ือเสียงของตนเองและครอบครัวกจ็ ะ เสือ่ มเสีย บางครงั้ การทจุ ริตบางเรื่องเปน สิง่ เลก็ ๆ นอ ย ๆ

3. การลงโทษทางสงั คม (Social Sanction) หมายถงึ ปฏกิ ริ ยิ าปฏบิ ตั ทิ างสังคม เปนมาตรการ
ควบคมุ ทางสงั คมทต่ี องการใหส มาชกิ ในสังคมประพฤติปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน หรือกฎเกณฑท ่สี ังคมกําหนดโดยมที ้ัง

ดา นลบและดานบวก การลงโทษโดยสงั คมเชิงลบ (Negative Social Sanction) เปนการลงโทษ โดยการกดดันและแสดง
ปฏิกริ ยิ าตอ ตา นพฤติกรรมของบคุ คลที่ไมปฏิบัติตามกฎเกณฑข องสังคม ทําใหบ ุคคลน้นั เกดิ ความอับอายขายหนา


เร่อื งที่ 2 ความละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ

การลงโทษโดยสงั คมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยูใ นรูปของการใหก ารสนับสนนุ หรอื การสรางแรงจงู ใจ
หรือการใหร างวลั ฯลฯ แกบ คุ คลและสงั คม เพื่อใหประพฤติปฏิบตั ิสอดคลอ งกบั บรรทัดฐาน (Norm) ของสงั คมในระดับ
ชมุ ชนหรือในระดับสังคม
การลงโทษโดยสงั คมเชงิ ลบ (Negative Social Sanctions) จะอยูในรูปแบบของการใชมาตรการตาง ๆ ในการจัด
ระเบียบสงั คม เชน การวากลา วตกั เตอื น ซึง่ เปน มาตรการขัน้ ต่าํ สดุ เร่อื ยไปจนถึงการ กดดนั และบีบค้นั ทางจิตใจ (Moral
Coercion) การตอ ตา น (Resistance) และการประทวง (Protest) ในรปู แบบตาง ๆ ไมวาจะโดยปจเจกบุคคลหรือการ
ชมุ นุมของมวลชน


4. ตวั อยางความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ


4. ตวั อยางความละอายและความไมท นตอการทุจรติ แ


4. ตวั อยางความละอายและความไมท นตอ การทุจรติ แ


คาํ ถามทา ยบท


บทที่ 3
STRONG : จิตพอเพยี งตานการทจุ ริต

การสรา งประชาชนใหมคี วามต่ืนตวั ตอ การทจุ รติ มีการใหความสนใจตอ ขาวสาร และตระหนักถงึ
ผลกระทบของการทจุ ริตทมี่ ตี อประเทศ มีการแสดงออกถงึ การตอตา นการทจุ ริตทั้งในชีวติ ประจาํ วัน
และการ แสดงออกผา นส่ือสาธารณะและส่อื สังคมออนไลนต า ง ๆ ดงั น้ัน ประชาชนในแตล ะชวงวัย
จะตองไดรบั การ กลอ มเกลาทางสังคมวา ดว ยการทจุ รติ ดงั นั้น หนวยงานทกุ ภาคสว นตองใหความ
สําคัญอยา งแทจ ริงกบั การปรบั ประยุกตห ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชป ระกอบหลักการ
ตอ ตา นการทจุ รติ


เรอ่ื งท่ี 1 จติ พอเพียงตา นการทุจริต

1. ความหมายของ STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจรติ
จติ หมายถึง ใจ สิ่งท่ีทําหนาท่ี นึก รับความรสู กึ
พอเพยี ง หมายถงึ พอดีกับความตอ งการ เตมิ เทาท่ีจําเปน ความพอประมาณ มเี หตุมีผล การเดนิ ทางสายกลาง
พอเพยี ง หมายถงึ ไดเทาทีก่ ะไว เชน ไดเ ทาน้ีก็พอเพียงแลว
ตาน หมายถึง ทนไว ยันไว รบั ไว ปะทะไว กันไว คดั คา น ทดั ทานตอ สู
ตาน หมายถึง ตอตา น โต ขัดขวา
ตาน หมายถึง ยนั หรอื รบั ไวเพอื่ ไมใ หลํ้าแนวเขามา เชน ตานขา ศกึ รบั แรงปะทะ (เรือตานลม)
ตานทาน (นาย ก. ขัดขวาง ยบั ยงั้ ตอ สูยนั ไว)เปน ตน
ทุจรติ หมายถึง ประพฤตชิ วั่ โกง ไมซ อ่ื ตรง


เร่อื งที่ 1 จติ พอเพยี งตา นการทจุ รติ


เร่อื งท่ี 1 จติ พอเพียงตา นการทุจริต

2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
“เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรัชญาชถ้ี งึ แนวการดํารงอยูและปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดับต้ังแต ระดบั

ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รัฐ ท้งั ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหกา วทันตอโลกยคุ โลกาภิวัตน ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจําเปน ที่จะตองมีระบบภมู ิคุมกันในตัวท่ดี พี อสมควร ตอ การมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จาก การ
เปลย่ี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ทง้ั นี้ จะตอ งอาศยั ความรอบรคู วามรอบคอบ และความระมดั ระวัง อยางย่งิ ใน
การนาํ วชิ าการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดาํ เนินการทุกขั้นตอนและขณะเดยี วกันจะตอ ง เสริมสราง
พื้นฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนา ที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทกุ ระดับใหม สี าํ นกึ ในคุณธรรม
ความซ่ือสตั ยส จุ รติ และใหมีความรอบรูท ่ีเหมาะสม ดาํ เนินชีวิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญา และความ
รอบคอบ เพือ่ ใหส มดลุ และพรอ มตอ การรองรับการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็วและ กวา งขวางท้ังดานวตั ถุ สังคม
สง่ิ แวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปน อยางดี”


เร่อื งที่ 1 จติ พอเพยี งตา นการทจุ รติ


เร่อื งที่ 1 จติ พอเพยี งตา นการทุจริต

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดตี อความจําเปน ไมม ากเกนิ ไป ไมน อ ยเกนิ ไปและตอ ง ไมเ บียดเบียนตนเองและผอู ืน่
ความมเี หตุผล หมายถึง การตดั สนิ ใจดําเนินการเรอ่ื งตาง ๆ อยา งมเี หตผุ ลตามหลกั วชิ าการ
หลกั กฎหมาย หลักศีลธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมที่ดีงาม คดิ ถงึ ปจ จยั ที่เกยี่ วของอยา งถ่ีถวน โดยคาํ นงึ ถึง
ผลทค่ี าดวาจะเกิดข้นึ จากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ
มภี ูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ รอ มรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลง ดานเศรษฐกิจ สังคม
สิง่ แวดลอ มทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ เพ่ือใหส ามารถปรับตวั และรบั มอื ไดอยางทันทวงที

เงอื่ นไขในการตัดสนิ ใจในการดําเนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. เงอ่ื นไขความรูประกอบดว ย ความรอบรูเกย่ี วกับวชิ าการตา ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ งรอบดา น
ความรอบคอบท่จี ะนําความรูเหลานน้ั มาพจิ ารณาใหเช่อื มโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง
ในการปฏบิ ตั ิ
2. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดว ย มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วามซอื่ สัตย
สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส ตปิ ญญาในการดําเนินชวี ิต


เรอ่ื งที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) ทรงเปนแบบอยา งใน
เรอ่ื งความพอเพียง

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ (พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) เปน แบบอยางในเรือ่ งของความพอเพียงเร่ือง ฉลอง พระองคบนความ “พอเพยี ง” :
หนังสือพิมพคมชดั ลกึ 24 ตุลาคม 2559


คาํ ถามทา ยบท


Data Loading...