เต็มเล่มงานวิจัยในชั้นเรียน - PDF Flipbook

เต็มเล่มงานวิจัยในชั้นเรียน

124 Views
10 Downloads
PDF 7,018,963 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


งานวิจัยในชั้นเรียน

เรอื่ ง

การจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning
โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ชดุ “เด็กดีตามวิถีไทย”

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3

ผูว้ จิ ัย
คุณครูสุดารัตน์ ถาวร
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565

โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 1 ทุง่ โพธท์ิ ะเล
อำเภอเมืองกำแพงเพชร จงั หวัดกำแพงเพชร
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1

กระทรวงศึกษาธกิ าร

ประกาศคุณูปการ

การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้ สำเร็จได9ด9วยความกรุณาจากคณะครูโรงเรียนนิคมสร9างตนเอง 1
(ทุEงโพธิ์ทะเล) ที่ได9ให9ความชEวยเหลือให9ความรู9 ความคิดให9คำแนะนำ คำปรึกษาตลอดจนการตรวจแก9ไข
ขอ9 บกพรEองตาE ง ๆ เปนT อยาE งดี จนการศึกษาวิจยั ในคร้งั น้เี สรจ็ สมบูรณU ผวู9 ิจัยขอขอบคุณเปนT อยาE งสงู ไว9 ณ ท่ีนี้

ขอขอบพระคุณทEานผู9อำนวยการนางสุภาวิณี ลุสมบัติ ผู9อำนวยการโรงเรียนนิคมสร9างตนเอง 1
(ทุEงโพธิ์ทะเล) ที่กรุณาให9ความอนุเคราะหU ให9คำแนะนำ ให9ความรู9 ความคิดที่มีประโยชนU และอำนวยความ
สะดวกในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปTนอยEางดี และขอขอบใจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปYที่ 3 ของโรงเรียนนิคม
สร9างตนเอง 1 (ทุEงโพธิ์ทะเล) ทุกคนที่ให9ความรEวมมือเปTนอยEางดีในการวิจัยและเก็บข9อมูลที่ใช9ในการศึกษา
วิจัยคร้งั นี้ จนกระทั่งการศึกษาวิจัยคร้ังนี้เสรจ็ สมบูรณU

นางสาวสดุ ารตั นU ถาวร
ผ9วู ิจัย

ช่ืองานวิจัย การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน

ชอ่ื ผู้วิจัย ชุด “เดก็ ดีตามวถิ ไี ทย” ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3
กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ครสู ดุ ารัตน์ ถาวร
สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน
ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด เด็กดีตามวิถีไทย
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 1 (ทุ่งโพธิ์ทะเล) ปีการศึกษา 2564 กลุ่มทดลองเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จำนวน 12 คน โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุดเด็กดี
ตามวิถีไทยสาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม จำนวน 1 เล่ม และทำการ
ทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น

ผลการศึกษาปรากฏว่า การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน
ชุดเด็กดีตามวิถีไทยสาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ทำให้นักเรียนสามารถ
ทำคะแนนได้ค่อนข้างสูง ดังเห็นได้จากการเปรียบเทียบผลการแบบทดสอบก่อเรียนและหลังเรียน
ของนักเรียน 12คน ทโี่ ดยเฉลยี่ คิดเป็นร้อยละ 83.33

ความเปน' มาและความสำคัญของป3ญหา

ป[จจุบันสภาพสังคมไทยได9มีการเปลี่ยนแปลงอยEางรวดเร็ว เปTนยุคสมัยที่มีการสื่อสารความรู9ข9อมูล
ขEาวสารอยEางไร9ขีดจำกัดหรือไร9พรมแดน มีการแขEงขันกันพัฒนาทางด9านวิทยาศาสตรU เทคโนโลยีและธุรกิจการ
ค9าขายสูง มีคEานิยมทางวัตถุสูงมาก เกิดการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน มุEงแสวงหาประโยชนUให9กับตนเอง
และพวกพ9องมากกวEาสEวนรวม ขาดการพัฒนาคุณภาพคุณธรรม จริยธรรมอยEางจริงจังและตEอเนื่อง ทำให9
เกิดภาวะขาดความสมดุลทั้งทางจิตใจและวัตถุ เยาวชนไทยในป[จจุบันได9รับอิทธิพลทางด9านวัฒนธรรมจาก
ตะวันตกมากมาย ซึ่งบางอยEางไมEเหมาะสมกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย เชEน ภาษาพูด การ
แตEงกาย และการเลียนแบบพฤติกรรม ที่ผิด ๆ การทะเลาะวิวาทอยEางรุนแรง ป[ญหาเหลEานี้ยิ่งทวีความรุนแรงมาก
ขึ้น โดยเฉพาะนักเรียนที่เปTนเด็กวัยรุEน เปTนรอยตEอของชีวิต มีอารมณUแปรปรวน มีป[ญหาการปรับตัว เชEน
ปรบั ตัวให9เข9ากับเพอ่ื นเพศเดียวกันและเพื่อนตาE งเพศ เยาวชนวัยเด็กมีปญ[ หาความประพฤติ แสดงความกา9 วร9าว ไมE
แสดงความเคารพครู หนีเรียน ซึ่งป[ญหาเหลEานี้ล9วนเปTนอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
สร9างบรรยากาศให9เกิดความตึงเครียดในโรงเรียน เชEน การทะเลาะวิวาท ป[ญหาเหลEาน้ีเปTนความเสื่อมทางด9าน
จิตใจ สEงผลกระทบตEอผู9ปกครอง โรงเรียน บุคคลในสังคมและการพัฒนาประเทศชาติขาดประสิทธิภาพเพราะ
เยาวชนท่ีเปTนกำลังสำคัญของประเทศเปTนบุคคลท่ีมีคุณลักษณะไมEพึงประสงคUของสังคมไทย

จากป[ญหาดังกลEาว ทุกภาคสEวนที่เกี่ยวข9องจึงตระหนักและเห็นความสำคัญของการสEงเสริมปลูกฝ[งให9
เยาวชนเปTนคนดีตั้งแตEในวัยเด็กอายุยังน9อยระดับประถมศึกษา โดยมีเนื้อหาที่ให9นักเรียนได9เรียนรู9เกี่ยวกับ
หลักการประพฤติตนเปTนคนดีของสังคม ปลูกฝ[งแนวความคิดเรื่องความรักชาติ ความจงรักภักดีตEอองคU
พระมหากษัตริยU การเสริมสร9างและพัฒนาวัฒนธรรมประเพณี การให9ความรู9เรื่องประชาธิปไตยให9เปTนสEวน
หนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิตในสังคมไทย โดยสร9างกระบวนการเรียนรู9 ปลูกฝ[งจิตสำนึก คEานิยมในวัฒนธรรม
ประเพณี การปกครองระบอบประชาธิปไตยแกEนักเรียนหรือการเสริมสร9างคนไทยให9อยูEรEวมกันในสังคมได9อยEาง
สันติสุข มุEงเสริมสร9างความสัมพันธUที่ดีของคนในสังคมบนฐานของความมีเหตุมีผล ดำรงชีวิตอยEางมั่นคงทั้งใน
ระดับครอบครัวและชุมชน โดยพัฒนาระบบการคุ9มครองทางเศรษฐกิจและสังคม กระบวนการยุติธรรม สิทธิ
มนยุ ษยชน รวมทง้ั มคี วามปลอดภยั ในการดำเนนิ ชวี ิตใหเ9 กดิ ความสงบสุขในสงั คมอยาE งยง่ั ยนื

พระราชบัญญัติการศึกษาแหEงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก9ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
อันเปTนกฎหมายแมEบทในการจัดการศึกษาของประเทศ ได9กำหนดจุดหมาย ตลอดจนหลักการจัดการศึกษาไว9
ในมาตรา 6 และ 7 วEา การจัดการศึกษาต9องเปTนไปเพื่อพัฒนาคนไทยให9เปTนมนุษยUที่สมบรู ณUทั้งราE งกาย จติ ใจ
สติป[ญญา ความรู9และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูEรEวมกับผู9อื่นได9อยEางมี
ความสุข ในกระบวนการเรียนรู9ต9องมุEงปลูกฝ[งจิตสำนึกที่ถูกต9องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยUทรงเปTนประมุข รู9จักรักษาและสEงเสริมสิทธิ หน9าที่ เสรีภาพ ความเคารพ
กฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปTนมนุษยU มีความภาคภูมิใจในความเปTนไทย
รู9จักรักษาผลประโยชนUสEวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งสEงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ
การกีฬา ภูมิป[ญญาท9องถิ่น ภูมิป[ญญาไทยและความรู9อันเปTนสากล ตลอดจนอนุรักษUทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล9อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพรู9จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร9างสรรคU ใฝkรู9และ
เรียนรู9ด9วยตนเองอยEางตEอเนื่อง(กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 2) นอกจากนี้ยังได9กำหนดแนวทางการจัด
การศึกษาไว9ในมาตรา 22 และ 24 อีกวEา การจัดการศึกษาต9องยึดหลักวEาผู9เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู9
และพฒั นาตนเองได9 และถอื วาE ผเ9ู รียนมคี วามสำคัญท่สี ุด กระบวนการในการจดั การศกึ ษาตอ9 งสEงเสรมิ ให9ผเู9 รียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพโดยให9สถานศึกษาและหนEวยงานที่เกี่ยวข9องจัดเนื้อหาสาระและ
กิจกรรมให9สอดคล9องกับความสนใจและความถนัดของผู9เรียน โดยคำนึงถึงความแตกตEางระหวEางบุคคล ทำให9
ผู9ที่เกี่ยวข9องกับการจัดการศึกษา โดยเฉพาะครูผู9สอนที่อยูEใกล9ชิดกับผู9เรียน จำเปTนอยEางยิ่งที่ต9องเข9ามามี
บทบาทเพื่อสร9างความเข9าใจอันดีงาม ให9เกิดขึ้นแกEผู9เรียน ซึ่งคงจะเปTนการนำย9อนไปสูEบทบาทของชุมชน
ในอดีต นำแหลEงเรียนรู9 ภูมิป[ญญาชาวบ9าน ปราชญUชาวบ9าน ไมEวEาจะเปTนวัฒนธรรมประเพณี หรือความ
เปTนอยูEของชุมชน องคUความรู9ดั้งเดิมที่มีอยูEมาพัฒนาและจัดการ หรืออีกนัยหนึ่งคือ
การยอมรับสิทธิมนุษยชนและความรู9 ความสามารถของคนในท9องถิ่นเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคนในสังคม
ให9อยูEเย็นเปTนสุขรEวมกันและเปTนรากฐานการพฒั นาประเทศได9อยาE งยง่ั ยนื

กลุEมสาระการเรียนรู9สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เปTนกลุEมสาระหนึ่งของกลุEมสาระการเรียนร9ู
พื้นฐานสำคัญที่ผู9เรียนทุกคนต9องเรียน ในจำนวน 8 กลุEมสาระการเรียนรู9ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพราะกลุEมสาระนี้วEาด9วยการอยูEรEวมกันบนโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยEางรวดเร็ว
ตลอดเวลา การเชอ่ื มโยงทางเศรษฐกจิ ทแ่ี ตกตาE งกนั อยาE งหลากหลาย การปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดล9อม
ทำให9เปTนพลเมืองที่รับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู9 ทักษะ คุณธรรม และคEานิยมที่
เหมาะสม เปTนการสร9างพื้นฐานการคิดและเปTนกลยุทธUในการแก9ป[ญหาและวิกฤติของชาติ
โดยให9ผู9เรียนมีความเจริญงอกงามด9านความรู9 ความคิดรวบยอด และหลักการที่สำคัญ ๆ ในสาขาวิชาตEาง ๆ
นักเรียนควรจะได9พัฒนากระบวนการและทักษะการคิด เชEน การสรุปความคิด การแปลความ
การวิเคราะหU หลักการและการนำไปใช9 ตลอดจนคิดอยEางมีวิจารณญาณ ทักษะแก9ป[ญหาตามกระบวนการ
ทางสังคมศาสตรU ทักษะการเรียนรู9 ปฏิบัติหน9าที่ที่ได9รับมอบหมายด9วยความรับผิดชอบ สร9างสรรคUผลงาน
ชEวยลดข9อขัดแย9งและแก9ป[ญหาของกลุEมได9อยEางมีประสิทธิภาพ ด9านเจตคติ และคEานิยมเกี่ยวกับ
ประชาธิปไตย และความเปTนมนุษยU (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 1–2)

การจัดการเรียนรู

Data Loading...