ลมบก ลมทะเลและมรสุม - PDF Flipbook

เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นป.6

111 Views
36 Downloads
PDF 485,582 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

วิทยาศาสตร์ ป.6 ใบความรูท้ ี่ 5 ลมบก-ลมทะเล และมรสุม

 เปรียบเทียบการเกิดลมบก-ลมทะเล และมรสุมจากแบบจาลอง  อธิบายผลของลมบก-ลมทะเล และมรสุมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม  อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย

เพจ : รวมสือ่ วิทย์ ครูกี้

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 4 ใบความรูท้ ี่ 5 ลมบก-ลมทะเล และมรสุม

รู้หรือไม่ว่า ลมคืออะไรและเกิดได้อย่างไร คือ การเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง

ลม

การเกิดลม

เกิดจากอากาศ 2 บริเวณมีอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ทาให้อากาศบริเวณที่มี อุณหภูมิสู ง กว่ า ลอยตั ว สูง ขึ้น อากาศบริ เวณที่มีอุ ณหภู มิ ต่ ากว่ า ไหลเข้ า มา แทนที่ จึงเกิดเป็นลมพัด

ประเภทของลม แบ่งตามบริเวณพืน้ ทีท่ เี่ กิด

ลมประจาถิน่

ลมประจาฤดู : เป็นลมที่เกิดบริเวณเขตร้อนของโลก

: เป็นลมที่เกิดบริเวณชายฝั่ง

มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ลมบก ลมทะเล

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ รู้วิทย์ คิดส์จา ลมเคลื่อนที่จากบริเวณที่อากาศมีอณ ุ หภูมิตาไปยั ่ งบริเวณที่อากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู

1

เพจ : รวมสือ่ วิทย์ ครูกี้

ใบความรู้ที่ 5 ลมบก ลมทะเล และมรสุม

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

มารู้จักลมบก-ลมทะเลกันเถอะ เธอรู้ไหม ลมบก-ลมทะเล มี อีกชื่อว่า “ลมประจาถิ่น”

ลมบก-ลมทะเล

1

ลมบก

2

ลมทะเล

1) เกิดในเวลา : กลางคืน

1) เกิดในเวลา : กลางวัน

2) สาเหตุการเกิด : กลางคืน อากาศเหนือพื้นน้า มีอุณหภูมสิ ูงกว่าจึงลอยตัวสูงขึ้น อากาศเหนือพื้น ทรายมีอุณหภูมิต่ากว่าจึงไหลเข้ามาแทนที่

2) สาเหตุการเกิด : กลางวัน อากาศเหนือพื้น ทรายมีอุณหภูมิสูงเร็วกว่าจึงลอยตัวสูงขึ้น อากาศ เหนือพื้นน้ามีอุณหภูมิต่ากว่าจึงไหลเข้ามาแทนที่

3) ทิศทางของลม : พัดจากบกออกสู่ทะเล

3) ทิศทางของลม : พัดจากทะเลเข้าสู่บก

4) ผลต่อสิง่ มีชวี ติ /สิง่ แวดล้อม : -เกิดคลื่นลมมีอากาศเย็นสบายไปกลางทะเล -ชาวประมงนาเรือออกหาปลาไปยังกลางทะเล ช่วยประหยัดน้ามัน

4) ผลต่อสิง่ มีชวี ติ /สิง่ แวดล้อม : -เกิดคลื่นลมอากาศเย็นสบายเข้าชายฝั่ง -ผลเสีย คือ คลื่นลมทะเลทาให้เกิดการกัดเซาะ ชายฝั่ง -ชาวประมงนาเรือหาปลาเข้าฝั่งเพื่อนาปลามา ขาย ช่วยประหยัดน้ามัน

2

เพจ : รวมสือ่ วิทย์ ครูกี้

ใบความรู้ที่ 5 ลมบก ลมทะเล และมรสุม

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

รู้วิทย์ คิดส์จา

มาฝึกร้องเพลง เพื่อจดจาการเกิดลมบก-ลมทะเล

เพลง “ลมบก ลมทะเล” ลมบก ลมทะเล อากาศถ่ายเทผลัดกันผลัดกัน ลมทะเลนัน้ พัดกลางวันๆ ส่วนลมบกนั้นนั้นพัดยามค่าคืน เกิดลมเพราะความร้อนเย็น เป็นเวรกันทุกวันทุกคืน ลมพาน้ามาเป็นคลื่นๆ หัวใจเต็มตื้นอยากอยู่ทะเล นอกจากลมบก-ลมทะเลมีลมอะไรอีกบ้าง ก็จะมีมรสุม ซึ่งเป็น

“ลมประจาฤดู”

มรสุม (monsoon)

ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของมรสุม 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงเดือนกลางเดือนพฤษภาคม-กลางตุลาคม ทาให้เกิด ฤดูฝน 1.มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 2.มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงเดือนกลางเดือนตุลาคม -เดือนกุมภาพันธ์ ทาให้เกิด ฤดูหนาว ***สาหรับ กลางเดือนมีนาคม-กลางพฤษภาคม เป็นช่วงเปลี่ยนมรสุม จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุมน้อย ทาให้เกิด ฤดูร้อน

3

เพจ : รวมสือ่ วิทย์ ครูกี้

ใบความรู้ที่ 5 ลมบก ลมทะเล และมรสุม

วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตารางเปรียบเทียบการเกิดมรสุมในประเทศไทย ประเด็น เปรียบเทียบ

มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้

1.สาเหตุการเกิด

อุณหภูมิของอากาศเหนือมหาสมุท รทาง ซีกโลกใต้สูงกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือ พื้นทวีปทางซีกโลกเหนือ (จีน) จึงพัดเอา ความหนาวเย็นลงมาที่ประเทศไทย

อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้น ทวีป ทางซีก โลกเหนือสูงกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือ มหาสมุ ท รทางซี ก โลกใต้ ( มหาสมุ ท ร อินเดีย)จึงพัดเอาความชื้น ไอน้าจากทะเล เข้าสู่ประเทศไทย

2. ทิศทางการ เคลื่อนที่ของลม

อากาศเหนือมหาสมุทรเคลื่อนที่สูงขึ้นและ อากาศเหนือพื้นทวีปเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่ เป็นลมที่มีอุณหภูมิต่าและความชื้นน้อย

อากาศเหนือพื้นทวีปเคลื่อนที่สูงขึ้นและ อากาศเหนือพื้นสมุทรเคลื่อนที่เข้ามา แทนที่เป็นลมที่นาความชื้นมา

3. ช่วงเวลาที่เกิด

ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลาง เดือนกุมภาพันธ์

ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลาง เดือนตุลาคม

4. ผลต่อมนุษย์/ สิ่งแวดล้อม

เกิดฤดูหนาว ทาให้อากาศหนาวเย็น เกิดหมอก น้าค้างแข็งทางภาคเหนือ

เกิดฤดูฝน ทาให้ฝนตกชุก หากตกหนัก อย่างต่อเนื่อง อาจเกิดน้าท่วมฉับพลัน น้าป่าไหลหลาก

อิทธิพลของมรสุมส่งผลต่อสิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม ดังนี้ 1. ทาให้เกิดฤดูของประเทศไทย 2. ส่งผลต่อการออกดอกและติดผลของพืชบางชนิด 3. ส่งผลให้บางครั้งอาจมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง จึงอาจเกิดภัยพิบัติ เช่น น้าป่าไหลหลาก น้าท่วมฉับพลัน 4. ส่งผลให้ในฤดูหนาว ทางภาคเหนือเกิดทะเลหมอก ทาให้เกิดความสวยงาม นักท่องเที่ยวเดินทางไปท่องเที่ยว ประเทศไทยตั้งอยู่ในบริเวณเขตร้อนนี่เองจึงได้รับอิทธิพลของมรสุม

4

เพจ : รวมสือ่ วิทย์ ครูกี้

Data Loading...