การปฐมพยาบาล ทางการกีฬา - PDF Flipbook

การปฐมพยาบาล ทางการกีฬา

110 Views
29 Downloads
PDF 35,757,589 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


ทางการกฬี า

สํานักวท� ยาศาสตรก ารกีฬา

กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ‹ งเทย่ี วและกีฬา





ชือ่ หนงั สือ : การปฐมพยาบาลทางการกฬี า
จดั ทาํ โดย : กลุ่มเวชศาสตรก์ ารกฬี า สา� นักวทิ ยาศาสตร์การกฬี า

โทรศัพท์ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า
เวบ็ ไซต์ เลขท่ี 154 ถนนพระรามท่ี 1 แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวนั
กรงุ เทพมหานคร 10330
: 0 - 2215 - 4646
: www.dpe.go.th, www.sportscience.go.th

ISBN : 978-616-297-589-9

พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 : สิงหาคม 2564
จํานวนพมิ พ์ : 1,500 เลม่
พมิ พ์ท่ี : ห้างหุ้นส่วนจ�ากดั แสงจนั ทรก์ ารพิมพ์

เลขท่ี 188/4-5 ซอยแสงจนั ทร์ 67 ถนนเจรญิ กรงุ
แขวงยานนาวา เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0 2211 4058

คำานำา

ปจจุบันประชาชนส่วนใหญ่ให้ความส�าคัญกับการมีสุขภาพท่ีดีได้ด้วย
ตนเองโดยการเล่นกีฬาหรือออกก�าลังกาย การเล่นกีฬาและออกก�าลังกาย
จึงเป็นส่ิงที่ควรสนับสนุนให้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�าวัน ไม่ว่าจะเป็น
การเล่นกฬี าในเวลาว่าง เล่นเพือ่ อาชพี หรือใช้กีฬาชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียด
การเล่นกีฬาหรือการออกก�าลังกายได้แพร่หลายเข้าสู่กลุ่มคนทุกระดับ
ทุกอาชีพ ทุกเพศ และทุกวัย โดยผู้เล่นหวังผลจากประโยชน์ที่จะได้รับ
แต่อาจเกิดผลข้างเคียงของการออกก�าลังกายได้เช่นกัน ดังน้ัน ผู้ที่มีสุขภาพ
ร่างกายไม่พร้อม สภาพแวดล้อมไม่เอื้ออ�านวย รวมท้ังปจจัยอื่นๆ ส่งผลให้
การท�ากิจกรรมนั้นๆ มีโอกาสได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยในทุกช่วงเวลา
ของการเล่นกีฬาหรือการออกก�าลังกาย ซ่ึงในบางภาวะอาจเกิดอันตราย
ถึงขนั้ พกิ ารหรอื เสียชีวติ ได้ การใหก้ ารปฐมพยาบาลท่ีถกู ตอ้ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ
จึงมีความส�าคัญอย่างมากช่วยลดอาการบาดเจ็บ ลดภาวะแทรกซ้อน
และป้องกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น ดังน้ัน ทีมช่วยเหลือหรือผู้ประสบเหตุ
รวมถึงตัวผู้เล่น จึงต้องทราบวิธีการจัดการและแก้ปญหาการบาดเจ็บ
หรือเจ็บป่วยท่ีถูกต้อง ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติทางการแพทย์ในปจจุบัน
เพ่ือช่วยลดอัตราการสูญเสียหรือพิการ ท�าให้อวัยวะท่ีบาดเจ็บสามารถฟืนตัว
และกลับสสู่ ภาวะปกตไิ ด้เร็วยิ่งข้ึน

ซ่ึงกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา หวังเป็นอย่างย่ิงว่า
องค์ความรู้จากหนังสือการปฐมพยาบาลทางการกีฬาเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์
บ้างไม่มากก็น้อย ส�าหรับผู้ดูแลนักกีฬาหรือผู้เกี่ยวข้องกับการเล่นกีฬา
และการออกก�าลงั กาย และเป็นประโยชนต์ ่อการดแู ลตนเองของประชาชนต่อไป

ดร.นิวตั น์ ลม้ิ สขุ นิรันดร์
อธบิ ดกี รมพลศึกษา

สารบญั 7
13
ความหมาย สาเหตุและประเภทการบาดเจบ็ ทางการกฬี า 14
การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉุกเฉนิ 15
16
- ความสาํ คญั ของการปฐมพยาบาล 17
- วัตถปุ ระสงค์ของการปฐมพยาบาล 18
- การเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน 20
- ลักษณะการเจ็บป่วยฉุกเฉนิ 32
- ขัน้ ตอนการประเมนิ และการปฐมพยาบาล 38
- หลักการชว่ ยฟืน้ คืนชพี 39
- หลักการใชเ้ ครอ่ื ง AED 42
หลกั การปฐมพยาบาลทางการกฬี า 44
- หลักการ R.I.C.E 47
- วิธกี ารประคบร้อน 50
- วธิ ีการประคบเยน็
- วธิ กี ารหา้ มเลอื ด
- วิธีการพันผา้ ยืด

การปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ และการเจ็บป่วยฉุกเฉินท่พี บบอ่ ยจากการกีฬา 62

- การบาดเจบ็ ทีช่ น้ั ผิวหนงั 63

• แผลฟกช�้า (Contusion) 65

• แผลพอง (Blister) 66

• แผลถลอก (Abrasion) 68

• แผลฉกี ขาด (Laceration) 69

• แผลโดนความร้อน (Burn wound) 70

• แผลมวี ัตถุปกคา (Stap wound) 72

• แผลทม่ี อี วัยวะถูกตัดขาด (Incision wound) 73

- การบาดเจ็บท่ีกล้ามเน้ือ 74

• ตะครวิ (Muscle cramps) 75

• กล้ามเนอ้ื ปวดตงึ (Muscle pain) 76

• กล้ามเนอ้ื ฟกช้�า (Muscle contusion) 77

• กลา้ มเนอ้ื ฉีก (Muscle strain) 78

- การบาดเจบ็ ทเ่ี อ็นกลา้ มเนอื้ 80

• เย่อื หุ้มเอ็นกล้ามเน้อื อกั เสบ (Tendosynovitis) 81

• เอน็ กล้ามเนื้ออักเสบ (Tendinitis) 82

• เอน็ ฉกี ขาด (Ruptured tendon) 83

- การบาดเจบ็ ที่ข้อตอ่ 84
• ขอ้ แพลง (Sprain joints) 85
• ข้อเคล่อื นและข้อหลุด (Dislocated joints) 86
88
- การบาดเจบ็ ท่กี ระดกู 89
• กระดูกหกั ล้า (Stress fracture) 90
• กระดกู หัก (Bone fracture) 92
93
- การบาดเจบ็ อื่นๆ ทีพ่ บบอ่ ย 94
• เป็นลม (Faint) 96
• ลมแดด (Heatstroke) 97
• เลอื ดก�าเดาไหล (Epistaxis) 98
• อาการหายใจเร็วกว่าปกติ (Hyperventilation) 100
• ภาวะชกั หรอื ลมชกั (Epilepsy) 101
• ชอ็ ก (Shock) 102
• หลอดเลอื ดสมองแตกหรอื ตบี (Stroke) 103
• กล้ามเนอื้ หวั ใจตายเฉียบพลัน (Heart attack) 104
• ส่งิ แปลกปลอมเขา้ ตา (Foreign body in the eye) 108
• การอุดก้นั ทางเดนิ หายใจ (Choking)

บรรณานกุ รม

ความหมาย สาเหตุ
และประเภทการบาดเจบ็
ทางการกฬี า

การออกกําลงั กายหรอื เล่นกฬี า มีความสาํ คญั ตอ่ การพฒั นาคุณภาพ
ชีวิตบุคคล ทุกเพศ ทุกวัย ทําให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ระบบต่างๆ
ในร่างกายทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดี
เสรมิ สร้างสมรรถภาพรา่ งกายดา้ นความทนทานความแข็งแรงการทรงตวั
ความยืดหยุ่นและช่วยชะลอการเกิดโรคเร้ือรังในผู้สูงอายุอีกด้วย อีกท้ัง
ยังปลูกฝังความมีนํ้าใจเป็นนักกีฬา รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
จนทําให้ประชาชนท่ัวไปเร่ิมตระหนักว่าสุขภาพและพลานามัยเป็นเรื่อง
ท่ีจําเป็นต้องใส่ใจเพื่อทําให้ตนดูดีอยู่เสมอ ผู้คนจึงหันมาให้ความสนใจ
ในการรักษาสุขภาพและใช้ประโยชน์จากการบริการทางด้านสุขภาพและ
การออกกาํ ลงั กายมากข้นึ

แต่อย่างไรก็ตามผู้ที่ออกกําลังกายหรือเล่นกีฬา มักมีโอกาสที่จะ
ได้รับอุบัติเหตุหรือเกิดการบาดเจ็บจากการออกกําลังกายหรือเล่นกีฬา
ได้เสมอ ท้ังจากสภาพร่างกายของผู้เล่นหรือจากสภาพแวดล้อม ต้ังแต่
การบาดเจ็บเล็กน้อยจนถึงการบาดเจ็บที่รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตราย
ต่อชีวิต ไม่ว่าบุคคลนั้นเป็นมือใหม่ที่เริ่มออกกําลังกายหรือแม้กระทั่ง
นักกีฬาทฝี่ ก ฝนร่างกายมาเกือบตลอดชีวติ ซึ่งอบุ ตั ิเหตุดังกล่าวมักเกิดข้ึน
จากสาเหตุต่างๆ กันไป ดังน้ันการให้การปฐมพยาบาลท่ีถูกต้องและ
มีประสทิ ธิภาพ จะชว่ ยลดอาการเจบ็ ปว่ ยและอาการแทรกซอ้ นให้นอ้ ยลง
ป้องกันความพิการบางอย่างมิให้เกิดข้ึน และยังช่วยลดระยะเวลา
การรักษาพยาบาลให้หายได้เร็วย่ิงขึ้น และจะช่วยให้ผู้บาดเจ็บสามารถ
กลบั มาออกกําลังกายหรือเลน่ กฬี าได้ดงั เดิม

การบาดเจ็บ
จากการเล่นกีฬา

การบาดเจ็บท่ีเกิดจากการเล่นกีฬา
หมายถึง การบาดเจ็บที่เกิดข้ึนระหว่าง
การออกกา� ลังกายหรอื เล่นกีฬา ซึ่งอาจ
เกิดจากอุบัติเหตุ ขาดเคร่อื งมอื อุปกรณ์
ที่เหมาะสม ขาดการอุ่นเคร่ืองหรือ
ยืดกล้ามเนื้อหรือแม้แต่ความรู้เท่า
ไมถ่ ึงการณ์ในการปฐมพยาบาล

การเลน่ กีฬาที่ไม่ถูกวธิ ีไมเ่ หมาะสม
กั บ ส ภ า พ ร ่ า ง ก า ย ข อ ง ผู ้ เ ล ่ น ห รื อ
ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
อาจท�าให้เกิดการบาดเจ็บตั้งแต่
การบาดเจ็บเล็กน้อยจนถึงบาดเจ็บ
ท่ีรุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต
ซ่ึ ง ห า ก ก า ร บ า ด เ จ็ บ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น
มีความรุนแรงไม่มาก ประชาชนก็ควร
ทีจ่ ะสามารถดแู ลตนเองได้ การมคี วามรู้
ความเข้าใจ และการปฏิบัติที่ถูกต้อง
เมื่อเกิดการบาดเจ็บที่เกิดข้ึนจาก
การออกก�าลังกายจึงเป็นเรื่องที่ส�าคัญ
และจ�าเป็นส�าหรับประชาชนเพื่อช่วยให้
การบาดเจบ็ หายเรว็ ข้นึ

8 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

สาเหตกุ ารบาดเจ็บทางการกฬี า

การบาดเจ็บท่ีมีสาเหตมุ าจากตัวนกั กฬี า ไดแ้ ก่
1. ความเหมาะสมของรูปร่างกบั ประเภทกีฬา
2. ความสมบรู ณ์ของรา่ งกายหรอื สมรรถภาพทางกาย
3. การบาดเจ็บในอดีตที่ท�าให้ไม่สามารถใช้อวัยวะส่วนน้ันได้เต็มท่ีหรือ

กลัวว่าจะได้รบั บาดเจบ็ ซ�า้ ทเ่ี ดิมจนลืมป้องกนั ทอ่ี นื่
4. ความพร้อมก่อนลงท�าการแข่งขันหรือฝกซ้อม เช่น ชุดแข่งขันหรือ

ชุดฝกอปุ กรณป์ อ้ งกันตา่ งๆ เชน่ สนบั เขา่ สนับแขง้ หมวกนริ ภยั เปน็ ต้น
5. สภาพจิตใจ เช่น มีจิตใจท่ีขลาดกลัวหรือบุ่มบ่าม ขาดความยั้งคิด

และประมาท

ความหมาย สาเหตแุ ละประเภทการบาดเจบ็ ทางการกีฬา 9

การบาดเจบ็ ทมี่ สี าเหตุจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก ได้แก่
1. สนามและอปุ กรณไ์ ม่ได้มาตรฐาน
2. คู่แขง่ ขนั
3. กรรมการหรือผู้ตดั สิน
4. ผ้ชู มหรือผเู้ ชียรก์ ีฬา
5. สภาพอากาศ เช่น ร้อนเกินไป หนาวเกินไป หรือมฝี นตก

การบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนจากการฝกหรือการแข่งขันกีฬาน้ัน บางอย่าง
นักกีฬาหรือผู้ฝกสอนสามารถปฐมพยาบาลหรือรักษาพยาบาลได้เอง โดย
ไม่จ�าเป็นต้องอาศัยแพทย์แต่บางอย่างจ�าเป็นต้องอาศัยแพทย์ อย่างไรก็ตาม
การปฐมพยาบาลที่ถูกวิธีก่อนถึงแพทย์นั้นนอกจากจะช่วยแบ่งเบาภาระ
ของแพทย์แล้ว ยังช่วยท�าให้การรักษาข้ันต่อไปง่ายข้ึนและช่วยลดอันตราย
ลงได้ ในทางตรงข้ามถ้าได้รับการปฐมพยาบาลหรือรักษาพยาบาลไม่ถูกวิธี
อาจท�าให้การบาดเจ็บมีความรุนแรงขึ้น และยากต่อการรักษาขั้นต่อไป
จนอาจเปน็ สาเหตขุ องความพิการหรือการบาดเจบ็ เร้ือรงั ได้

10 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

ประเภทของการบาดเจบ็ ทางการกฬี า

ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บจากการออกก�าลังกายข้ึนอยู่กับ
ประเภทของการออกก�าลังกาย ประเภทที่มีการบาดเจ็บมากท่สี ุด คอื ประเภท
ที่มกี ารปะทะ เชน่ ฟตุ บอล รองลงมา คือ ประเภทไมป่ ะทะ เชน่ แบดมนิ ตัน
ตา� แหนง่ ที่มีการบาดเจ็บมากทสี่ ดุ คือ ขอ้ ตอ่ และเอ็นยึดข้อต่อ รองลงมา คอื
กล้ามเนือ้ ส่วนอวยั วะของการบาดเจ็บมากทส่ี ุด คือ ขารองลงมา คอื แขน
การบาดเจ็บจากการออกกําลงั กายสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลมุ่ ดงั น้ี

1. การบาดเจบ็ ทีเ่ กดิ จากอบุ ัติเหตุ (Traumatic injury)
2. การบาดเจบ็ ทีเ่ กดิ จากการใช้งานมากเกนิ ไป (Overuse injury)

ความหมาย สาเหตแุ ละประเภทการบาดเจบ็ ทางการกฬี า 11

1 การบาดเจ็บท่ีเกิดจากอุบัตเิ หตุ
(Traumatic injury)
เป็นการบาดเจ็บต่อเน้ือเย่ือหรือโครงสร้างของร่างกายท่ีสามารถเห็น
และทราบได้ทันทีในขณะเล่น อาจท�าให้เล่นต่อไม่ได้ แต่หากได้รับ
การรักษาอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม จะท�าใหก้ ลบั ไปเล่นได้ปกติ การบาดเจบ็
ลักษณะน้ี เชน่ กล้ามเนือ้ ฉกี ข้อเทา้ พลิก เป็นต้น

2 การบาดเจ็บท่เี กดิ จากการใช้งานมากเกินไป
(Overuse injury)
เป็นการบาดเจ็บต่อเน้ือเย่ือหรือโครงสร้างของร่างกายท่ีไม่สามารถ
สังเกตเห็นบางคร้ังมีการบาดเจ็บเร้ือรัง การบาดเจ็บลักษณะนี้ เช่น
เอ็นกลา้ มเน้อื อกั เสบ ภาวะกลา้ มเน้ือปวดตงึ เป็นต้น

12 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

การปฐมพยาบาล
ทางการกีฬาในภาวะฉกุ เฉนิ

การปฐมพยาบาล หมายถึง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ
เป็นการฉุกเฉิน ก่อนท่ีจะได้รับ
การรักษาทางการแพทย์ การปฐมพยาบาล
จึงเป็นการช่วยเหลือชั่วคราวระหว่าง
รอคอยการรักษาจากแพทย์ ในราย
ที่บาดเจ็บรุนแรง การปฐมพยาบาล
อาจเป็นสิ่งท่ีช่วยให้ผู้ป่วยเจ็บ
รอดชีวิตได้

ความสําคญั ของการปฐมพยาบาล
วตั ถปุ ระสงค์ของการปฐมพยาบาล
การเจบ็ ป่วยฉุกเฉิน
ลกั ษณะการเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉนิ
ขัน้ ตอนการประเมินและ
การปฐมพยาบาล

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉิน 13

ความส�ำ คญั ของ
การปฐมพยาบาล

ไม่มใี ครต้องการพบกับความเจ็บปว่ ย หรอื เกดิ อุบตั ิเหตุ แต่ถ้าหลกี เลีย่ ง
ไม่ได้เราก็จ�ำเป็นท่ีจะต้องแก้ไขตามสถานการณ์ บางครั้งการเจ็บป่วยหรือ
บาดเจบ็ อาจเปน็ เพียงเลก็ นอ้ ย แตบ่ างครงั้ มคี วามรนุ แรงถึงกับเสยี ชีวิตในเวลา
อันรวดเร็ว ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลช่วยเหลือท่ีถูกต้องและทันท่วงที ดังนั้น
แต่ละบุคคลควรสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้บ้างในภาวะวิกฤติ
ซงึ่ เป็นการชว่ ยเหลือหรือปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

การปฐมพยาบาลมีความส�ำคัญเป็น
อย่างย่ิงเพราะถ้าหากการปฐมพยาบาล
1669 น้ัน กระท�ำอย่างถูกต้องเหมาะสมก็จะ

สามารถชว่ ยชีวติ ผ้ปู ่วยไวไ้ ด้ คอื
1. ช่วยใหผ้ ู้ป่วยหายใจและหวั ใจเตน้
ตามปกติ
2. ชว่ ยระงบั การตกเลอื ด
3. ชว่ ยป้องกันอาการชอ็ ก
4. ช่วยปอ้ งกันการตดิ เชือ้ เข้าส ู่
บาดแผลได้
5. ชว่ ยประคบั ประคองผู้ป่วยให้
บรรเทาความเจ็บปวดลงได้

14 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

วัตถปุ ระสงค์ของ
การปฐมพยาบาล

1เพ่ือช่วยให้ผู้ป่วยรอดชีวิต เช่น การผายปอดให้แก่
ผู้จมน�้ำหรือการใช้ผ้ายืดรัดเพื่อห้ามพิษงูให้แก่ผู้ที่ถูก
งูมีพิษกัดในทันทีทันใด อาจช่วยให้ผู้ป่วยจากการจมน้�ำ
หรือถกู งมู พี ษิ กัดรอดชวี ติ ได้
เพื่อชว่ ยลดอตั ราความพกิ ารให้แก่ผูป้ ่วยเชน่ การเขา้ เฝือก
ชั่วคราวและการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยท่ีตกจากท่ีสูงอย่างถูกวิธี
ช่วยป้องกันอาการอัมพาตจากกระดูกสันหลังหักได้หรือ
การช่วยการหายใจให้แก่ผู้ที่หายใจติดขัดเน่ืองจากมี
สิ่งแปลกปลอมอุดตันภายใน 4 นาทีช่วยให้รอดพ้นจาก
ความพกิ ารทางสมองได้
2เพ่ือช่วยลดความเจ็บปวดทรมานให้แก่ผู้ป่วย เช่น
การเข้าเฝือกช่ัวคราว จะช่วยลดความเจ็บปวดทรมาน
จากการเคลอ่ื นยา้ ยใหแ้ กผ่ ู้ปว่ ยทก่ี ระดกู หักได้

3 เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้ผู้ป่วยมสี ภาพที่เลวลง เช่น การห้ามเลอื ด
จะชว่ ยปอ้ งกนั การชอ็ กจากการเสียเลอื ดเป็นจ�ำนวนมากได้
หรือการเข้าเฝือกช่ัวคราวให้ผู้ป่วยท่ีกระดูกหัก จะช่วย
4 บรรเทาความเจบ็ ปวดซึ่งเปน็ สาเหตุหนึ่งของการช็อก
การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉกุ เฉนิ 15

การเจ็บปว ยฉุกเฉิน

การเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง การได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการ
เจ็บป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการด�ารงชีวิตหรือ
การท�างานของอวัยวะส�าคัญ จ�าเป็นต้องได้รับการประเมิน
การจัดการและบ�าบัดรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อป้องกันการเสียชีวิต
หรือความรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยน้ัน
เช่น ภาวะหัวใจหยุดเต้นระหว่างเล่นฟุตบอล การเสียเหง่ือ
ปริมาณมากในการออกก�าลงั กาย ฯลฯ

16 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

ลกั ษณะการเจบ็ ปว ยฉกุ เฉนิ

การหยดุ หายใจ

ท�าให้ร่างกายขาดออกซิเจน และจะเสียชีวิต
ภายในไม่ก่ีนาทีผู้ปฐมพยาบาลจึงต้องรู้วิธีการผายปอด
ซึ่งวิธีท่ีง่ายและได้ผลดีที่สุด คือ การเป่าลมหายใจ
เขา้ ปอดทางปากหรอื จมูก

1 หวั ใจหยุดเต้น
ท�าให้ไม่มีการสูบฉีดเลือด ส�าหรับน�าออกซิเจน
ไปเล้ียงร่างกายทั่วไป ผู้ปฐมพยาบาลจ�าเป็นจะต้องรู้วิธี
ส�าหรับแก้ไขท�าให้กระแสเลือดไหลเวียนในร่างกาย คือ
การนวดหัวใจภายนอก
2การเสยี เลอื ดจากหลอดเลอื ดใหญข่ าด
ทา� ใหเ้ ลอื ดไหลออกจากรา่ งกายอยา่ งรวดเรว็ และ

3จะทา� ให้เสียชีวิต ผ้ปู ฐมพยาบาลจึงต้องร้วู ธิ ีการหา้ มเลอื ด
ภาวะช็อก
4 เป็นการตอบสนองของศูนย์ประสาทส่วนกลางใน
สมองท่ีถูกกระตุ้นด้วยความรู้สึกที่ส่งมาจากต�าแหน่งท่ี
บาดเจ็บ อาจมีความกลัวและความตกใจรว่ มดว้ ย ภาวะ
ช็อกจะมีความรุนแรงมากถ้ามีการสูญเสียเลือดหรือ
น�้าเหลือง (ในรายมีแผลไหม้) ภาวะช็อกอาจท�าให้
เสยี ชีวิตไดท้ ้งั ทบี่ าดเจบ็ ไมร่ นุ แรงนัก ดังน้ันผ้ปู ฐมพยาบาล
จงึ ควรรู้วธิ ีการป้องกันและรกั ษาภาวะช็อก

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉุกเฉิน 17

ขนั้ ตอนการประเมนิ และการปฐมพยาบาล

ประเมนิ สถานการณ์

เหตุการณ์ปลอดภยั เหตกุ ารณ์ไมป่ ลอดภยั
ใหค้ วามช่วยเหลือและ ขอความช่วยเหลือ หรอื
ให้การปฐมพยาบาลผู้ป่วย จัดสถานทเี่ กิดเหตุใหป้ ลอดภยั

ประ*เค*มกวนิาาอรมหารกาสู้ ยากึ รใตจผวัปู้ ่วย รูส้ ึกตวั
*การเสยี เลือด

หมดสติ ไม่หายใจ หมดสติ หายใจ

CPR แAละEใDช้เคร่ือง จัดทา่ นอนทป่ี ลอดภยั ปฐมพยาบาลตามอาการ
สง่ ตอ่ ทมี แพทย์ฉุกเฉนิ

18 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

ตารางการช่วยชวี ติ ขน้ั พนื้ ฐาน
ในทารก เดก็ และผู้ใหญ่

คําแนะนํา

ทารก (1 เดือน - 1 ปี) เด็ก (1 ปี - วัยรุ่น) ผู้ใหญ่

การประเมนิ เบ้อื งตน้ หมดสติ ไม่มีการตอบสนอง ไม่หายใจ หรือหายใจผดิ ปกติ (หายใจเฮอื ก)

ลําดับการชว่ ยชีวติ เร่ิมดว้ ยการกดหนา้ อก เปดิ ทางเดินหายใจ ชว่ ยหายใจ (C-A-B)

อัตราเร็วการกดหนา้ อก อยา่ งน้อย 100 ครัง้ ตอ่ นาที

ความลกึ ในการกดหนา้ อก อยา่ งนอ้ ย 1/3 ของ อย่างนอ้ ย 1/3 ของ อยา่ งน้อย 2 น้ิว

ความหนาหนา้ อกในแนว ความหนาหน้าอกในแนว หรอื อย่างน้อย

หนา้ หลัง หนา้ หลงั 5 เซนตเิ มตร

ประมาณ 1.5 นิว้ หรอื ประมาณ 2 นิ้ว หรอื

ประมาณ 4 เซนตเิ มตร ประมาณ 5 เซนติเมตร

การขยายของทรวงอก ปลอ่ ยใหม้ ีขยายตัวกลบั ของทรวงอกระหว่างการกดหน้าอกแต่ละคร้ัง

ควรเปล่ียนคนกดหน้าอกทุก 2 นาที

การรบกวนการกดหนา้ อก รบกวนการกดหนา้ อกให้น้อยที่สุด ไมค่ วรหยุดกดหนา้ อกนานเกนิ 10 วนิ าที

เปิดทางเดนิ หายใจ ดนั หน้าผากลง ยกคางขึน้

สัดส่วนการกดหน้าอกต่อ 30 : 2
การช่วยหายใจ (คร้งั : คร้ัง)

การช็อกไฟฟ้า ตดิ แผน่ AEDทนั ทที ีเ่ ครอื่ งพรอ้ ม โดยรบกวนการกดหนา้ อกใหน้ อ้ ยที่สุด

เริ่มทําการกดหนา้ อกทันทีเมอื่ ซอ็ กเสรจ็

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉิน 19

หลักการชว่ ยฟน คนื ชีพ

Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR

1. ปลุกเรียก 2. โทร 1669 ปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ คือ
3. ดูการหายใจ การช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจและหัวใจ
หยุดเต้นท�าให้ผู้ป่วยกลับมาหายใจ
หรือมีการน�าออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย
และเกิดการไหลเวียนเลือดไปเล้ียง
อวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย โดยเฉพาะ
สมองกับหัวใจ จนกระท่ังระบบต่างๆ
ก ลั บ ม า ท� า ห น ้ า ท่ี ไ ด ้ ต า ม ป ก ติ
เป็นการป้องกันการเสียชีวิต หรือ
เน้ือเยื่อได้รับความเสียหายอย่างถาวร
จากการขาดออกซเิ จน

4. เริ่มกดหนา้ อก (CPR)

5. ชว่ ยจนกว่ารถพยาบาลจะมาถึง

20 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

1 ประเมินความปลอดภยั

 เมอ่ื พจิ ารณาวา่ ปลอดภยั แล้ว จงึ เขา้ ไปหาผูป้ ่วย
จดุ เกิดเหตุ ปลอดภยั

การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉกุ เฉนิ 21

2 ประเมินอาการผู้ปวย

 นัง่ ขา้ งลาํ ตัวผู้ปว่ ย และปลกุ เรียก โดยการตบไหลท่ ั้งสองขา้ ง
 สงั เกตการตอบสนอง

 เชน่ การลืมตา ขยบั ตวั พูด
 สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกและหน้าทอ้ ง

 หากมกี ารขยบั แสดงว่าผู้ปว่ ยมีการหายใจ
 หากไม่มกี ารขยบั แสดงว่าผู้ปว่ ยไมร่ สู้ ึกตวั และไม่หายใจ

คุณๆ เปน็ อย่างไรบา้ ง

22 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

3 ขอความชว่ ยเหลือ

9 ข้อควรรกู้ อ่ นโทร 1669
1. โทร 1669 5. บอกระดบั ความรู้สกึ ตวั ผู้ป่วย
2. บอกลกั ษณะเหตุการณ์ 6. บอกความเสยี่ งท่ีจะเกดิ ซาํ้
3. บอกสถานทเี่ กิดเหตุ 7. บอกชอื่ ผแู้ จง้ เบอติดต่อกลับ
4. บอกเพศ ช่วงอายุ อาการ 8. ทําตามคาํ แนะนาํ เจ้าหน้าที่
จาํ นวนผ้ปู ว่ ยทง้ั หมด 9. รอทีมกู้ชีพมารบั

ช่วยดว้ ยๆ มคี นหมดสติ
ช่วยโทรแจง้ 1669 ให้ดว้ ย

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉิน 23

4 ตรวจรา่ งกาย

 ตรวจการหายใจ
 ตรวจรา่ งกาย โดยใช้ 2 มือคลาํ

 ตัง้ แต่ ศรี ษะ คอ ไหล่ ลําตัว จนถงึ สะโพก
 แขน-ขาด้านใกล้ตวั แขน-ขาด้านไกลตัว
 ถา้ มกี ารบาดเจบ็ ให้ปฐมพยาบาลตามอาการ
 ถ้าไม่มีการบาดเจ็บ ใหจ้ ดั ทา่ นอนท่ีปลอดภยั

ตรวจการหายใจ

ตรวจรา่ งกาย

24 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

5 จดั ท่านอนที่ปลอดภัย

 กรณีเกิดอุบัติเหตุหรือสงสยั การบาดเจบ็ ทีค่ อและหลงั
 ต้องจัดท่าต้องระมดั ระวังอย่างทส่ี ุด โดยใหศ้ รี ษะ คอ ไหล่ และลาํ ตวั
ตรงึ เปน็ แนวเดยี วกนั ไมบ่ ิดงอ

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉนิ 25

6 เปด ทางเดินหายใจ

 ใช้สันมือกดหน้าผาก
 ใช้ 2 น้วิ เชยคางให้แหงนขนึ้

26 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

7 เรมิ่ กดหนา้ อก

 กดหน้าอก โดย
 วางสนั มอื บรเิ วณกง่ึ กลางระหวา่ งแนวหัวนมทัง้ สองข้างบรเิ วณกระดกู หน้าอก
 วางประสานอกี มือหนึ่งไปบนมือแรก ประสานนวิ้ มอื ทงั้ สองเข้าดว้ ยกนั
 แขนเหยียดตรงห้ามงอข้อศอก

 กดด้วยความเร็ว 100 ครัง้ /นาที
 กดให้ลกึ 1.5 - 2 นว้ิ
 กดหน้าอก 30 ครั้ง สลับกับเป่าปาก 2 คร้ัง

 หากไม่เป่าปาก ใหก้ ดหนา้ อกตอ่ เนื่อง ไมต่ ้องหยุด

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉนิ 27

8 ชว่ ยหายใจโดยการเปา ปาก

 เปา่ ปากโดยการ
 ปดิ จมูกและประกบปากผู้ปว่ ยใหส้ นิท
 เปา่ ลมเข้าปอดผู้ป่วย 2 ครงั้
 ขณะเป่าลม ตอ้ งมองเหน็ ทรวงอกขยายตวั ข้นึ

 หากทรวงอกไม่ขยายตวั
ให้ปรบั ทางเดินหายใจ แลว้ จงึ เป่าปากใหม่
ขณะเป่าปาก

ตามองการขยายตวั ของทรวงอก

28 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

9 ชว่ ยเหลอื อย่างตอ่ เน่อื ง

 กดหน้าอก 30 ครั้ง สลับกับเปา่ ปาก 2 คร้งั (30 : 2)
 ทําการกดหนา้ อกและเปา่ ปากต่อเนื่องจนกวา่ การช่วยเหลอื จะมาถึง

เปลีย่ นผชู้ ่วยเหลอื ทุกๆ 2 นาที หรอื กด
หนา้ อกสลับการชว่ ยหายใจครบ 5 รอบ (30 : 2)

เน่ืองจากผูช้ ่วยเหลือจะเริ่มเหน่ือยและ
ประสทิ ธิภาพในการกดหนา้ อกลดลง

การปฐมพยาบาลทางการกฬี าในภาวะฉกุ เฉิน 29

เคร่ืองกระตุกหัวใจด้วยไฟฟาอัตโนมัติ

Automated External Defibrillator : AED

AED ย่อมาจากคําว่า Automated External Defibril ator หมายถึง
เคร่ืองมือชนิดกระเปาห้ิว ซึ่งประเมินอาการการเจ็บป่วยเกี่ยวกับโรคหัวใจ
ฉับพลันของคนป่วยได้โดยอัตโนมัติ และช่วยรักษาอาการเจ็บป่วยได้ทันทีด้วย
การช็อกกระแสไฟฟ้าเพ่ือกระตุ้นหัวใจท�าหน้าท่ีคล้ายกับการปมหัวใจด้วยมือ
แต่มีประสิทธิภาพมากกว่าเนื่องจากเป็นการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อให้
หวั ใจกลบั มาส่กู ารเต้นอยา่ งปกติไดอ้ ีกครัง้

ปจ จบุ นั ในหลายประเทศจะเห็นตใู้ สเ่ คร่อื ง AED อยู่ในสถานทีส่ าธารณะ
ทุกแห่ง เน่ืองจากได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่ามีประสิทธิภาพในการช่วยชีวิตผู้คน
จากอาการผิดปกติที่เลือดไม่ไปเลี้ยงหัวใจ แพทย์เองเมื่อประสบคนหมดสติ
ก็ต้องตรวจสอบอาการ โดยมเี ครื่องมอื วดั การเต้นของหัวใจและหาขอ้ มูลอื่นๆ
ซึ่งแพทย์ไม่มีอยู่กับตัวตลอดเวลาส่วนเคร่ือง AED น้ันเป็นเครื่องมืออัตโนมัติ
ท่ีสามารถประเมินสถานการณ์ของคนเจ็บป่วยได้ทันทีและให้การรักษาในกรณี
ทตี่ อ้ งการกระแสไฟฟา้ เพ่ือกระตนุ้ การทา� งานของหัวใจอันน�าไปสูก่ ารไหลเวยี น
ของโลหิตสู่สมองและสว่ นอืน่ ของร่างกายไดท้ นั เหตกุ ารณ์

30 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

เครือ่ งกระตุกหัวใจด้วยไฟฟา อตั โนมัติ

Automated External Defibrillator : AED
 เป็นเครอื่ งที่ใชง้ า่ ยและปลอดภัย
 ปจจุบันอนุญาตให้บุคลากรทางการแพทย์
และประชาชนท่ัวไปก็สามารถใชไ้ ด้
 เป็นอุปกรณ์ที่มีน�้าหนักเบา สามารถ
เคลอ่ื นย้ายได้
 สามารถระบุลักษณะของจังหวะการเต้น
ของหัวใจท่ีอาจเสียชีวิต และส่งกระแสไฟฟ้า

Pad-Pak ของผู้ใหญ่ Pediatric-Pak ของเดก็ ไปช็อกเพื่อหยุดการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ
และทา� ให้หวั ใจกลบั มาเตน้ เป็นปกติอกี ครงั้

หลักการใชง้ านเคร่อื ง AED (ร่นุ SAM 500P)

การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉุกเฉิน 31

หลักการใช้งานของเคร่อื ง AED

1 เปดเครอ่ื ง

กดปุ่มเปิดเครื่อง ในขณะท่ีเครื่อง AED บางรุ่นจะท�างานทันทีเมื่อเปิด
ฝาครอบออก เมื่อเปิดเครื่องแล้วจะมีเสียงบอกให้รู้ว่าต้องท�าอย่างไรต่อไป
ให้ปฏิบตั ติ ามที่เครือ่ งสัง่ ทนั ที

32 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

2 ตดิ แผน่ นำาไฟฟา ทีห่ น้าอก

 ตรวจสอบหนา้ อกของผูป้ ว่ ยวา่ แห้งสนิท
 แล้วลอกแผ่นพลาสติกด้านหลงั แผ่นน�าไฟฟ้าออก แปะแผ่นนา� ไฟฟา้

แผ่นที่หนึ่งท่ีใต้กระดูกไหปลาร้าด้านขวา และแปะแผ่นท่ีสอง
ท่บี รเิ วณใต้แนวราวนมซ้ายด้านข้างลา� ตัว
 ตรวจดูให้แน่ใจว่าสายไฟฟ้าจากแผ่นน�าไฟฟ้าต่อเข้ากับตัวเครื่อง
เรยี บรอ้ ย หากผปู้ ว่ ยเปน็ เดก็ ตวั เล็ก หรือทารก อาจจ�าเปน็ ตอ้ งแปะ
แผน่ นา� ไฟฟ้าท่บี รเิ วณดา้ นหน้าและดา้ นหลังของล�าตัว (ตามรูป)

ด้านหน้า ด้านหลงั

การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉุกเฉนิ 33

3 เครื่อง AED
ทาำ การวเิ คราะห์คลื่นไฟฟา หวั ใจ
 เคร่ือง AED ส่วนมากจะเริ่มวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจทันทีเมื่อแปะ
แผ่นนา� ไฟฟา้ เสร็จ เครื่องบางรนุ่ ต้องกดปุ่ม “วเิ คราะห”์ ก่อน
 ระหวา่ งน้นั หา้ มสมั ผัสถกู ตวั ผูป้ ่วยให้รอ้ งเตอื นดังๆ วา่ “ทกุ คนถอย !!”
 เครื่อง AED จะใช้เวลาส้ันๆ ประมาณ 5 - 10 วินาที ในการวเิ คราะห์
ระหวา่ งนน้ั อาจจะได้ยนิ เสยี งการสง่ สญั ญาณวิเคราะห์

34 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

4 เมื่อเคร่อื ง AED ตรวจพบคล่ืนไฟฟา หวั ใจ
ที่จำาเปน ตอ้ งทำาการช็อก
 เคร่ืองจะบอกว่า “แนะน�าให้ท�าการช็อก” ถอยออกจากผู้ป่วยแล้ว
กดป่มุ “ช็อก”
 แต่ก่อนที่ผู้ช่วยเหลือจะกดปุ่มช็อกต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า ไม่มี
ใครสัมผัสถูกตวั ของผปู้ ว่ ย ดว้ ยการตะโกนบอกดงั ๆ วา่ “ทุกคนถอย !!!”
 พร้อมกบั กางแขนออกเพือ่ กนั ผู้ทไี่ ม่มีส่วนเกย่ี วข้องเข้ามา
 มองซ้�าอีกคร้ังเพ่ือเป็นการตรวจสอบคร้ังสุดท้ายว่าไม่มีผู้ใดสัมผัส
ผู้ป่วยอยแู่ ล้วจึงกดป่มุ “ช็อก”

การปฐมพยาบาลทางการกีฬาในภาวะฉกุ เฉิน 35

5 เคร่อื ง AED
ทำาการวเิ คราะห์คล่ืนไฟฟา หวั ใจ
 เมื่อกดปุ่มช็อกแล้ว ให้เร่ิมกดหน้าอกต่อทันที 30 คร้ัง สลับกับ
ช่วยหายใจ (การเปา่ ปาก) 2 ครั้ง หรือกดหนา้ อกอย่างเดียวในกรณี
ท่ีไมเ่ ป่าปาก
 ไปจนกวา่ เครอ่ื ง AED จะวิเคราะหค์ ล่นื ไฟฟ้าหัวใจซา้� อกี ครัง้ เมือ่ ครบ
ทุกๆ 2 นาที ให้ท�าการกดหน้าอกและช่วยหายใจหรือกดหน้าอก
อย่างเดียวร่วมกับการใช้เครื่อง AED ไปจนกว่าผู้ป่วยจะฟืน หรือ
หน่วยกูช้ ีพจะมาถงึ และรบั ผ้ปู ่วยส่งไปรกั ษาตอ่ ที่โรงพยาบาล

36 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา



หลกั การปฐมพยาบาล
ทางการกฬี า

การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬานั้น
ย่อมเกิดข้ึนได้ทุกเวลาและสถานที่
โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การช่วยเหลือ
ผู้ที่ประสบภัยถ้าผู้พบเห็นรู้หลักการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นก็จะช่วยชีวิต
ผู้ป่วยได้ และสามารถช่วยบรรเทา
ความเจ็บปวด ป้องกันไม่ให้อาการ
ของโรคเลวลง และปอ้ งกันไม่ให้เกิด
ความพกิ ารหรอื โรคแทรกซอ้ นตามมา

1. หลักการ R.I.C.E.
2. วิธกี ารประคบร้อน
3. วิธกี ารประคบเย็น
4. วิธีการห้ามเลือด
5. วธิ กี ารพนั ผา้

38 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

หลักการ R.I.C.E.

หลักการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการออกก�าลังกายและเล่นกีฬา
เร่ิมจากการตรวจร่างกายเพื่อประเมินลักษณะความรุนแรงของบาดแผลหรือ
การบาดเจ็บท่ีได้รับรวมท้ังซักถามอาการจากนักกีฬา เช่น มีบวมหรือกดเจ็บ
มีอาการปวดขณะเคลื่อนหรือ ขยับส่วนน้ันๆ หรือไม่ หลังจากได้ข้อมูล
การบาดเจ็บแล้วให้เรมิ่ ท�าการปฐมพยาบาล โดยปฏิบตั ิตามอกั ษรภาษาองั กฤษ

Rในค�าว่า “RICE” โดยท่ี
= Rest
การพกั เพอ่ื ใหบ้ ริเวณทไ่ี ด้รับบาดเจ็บไดพ้ ักใชง้ านอยา่ งเต็มท่ี

จัดท่าทางให้รสู้ ึกผอ่ นคลาย ไม่กระตุ้นหรอื เพ่มิ ความเจ็บปวด
เชน่ ในกรณที ่ีมกี ารบาดเจ็บทขี่ อ้ เท้า ไมค่ วรเดินลงนา้� หนกั
หรอื เล่นกฬี าตอ่ ไปอีก ใหใ้ ชไ้ ม้พยุงช่วยในการเดิน
นง่ั รถเขน็ หรือเปลสนาม

I = Ice

การใชค้ วามเย็น เพ่อื ลดภาวะการมีเลือดออก

จากการฉีกขาดของเสน้ เลือด ช่วยลดอาการบวม
และปวด โดยใชค้ วามเยน็ ในรูปแบบต่างๆ เช่น
นา�้ แข็ง น้า� เยน็ ผา้ เย็น สเปรย์เย็น ประคบสว่ นทบี่ าดเจบ็ ทนั ที ประคบนาน
15-20 นาที ทกุ 2 ชว่ั โมง ทา� เชน่ นไ้ี ปเรอ่ื ยๆ จนอาการบวมลดลง หรอื
ประคบวันละ 2 - 3 ครัง้ ในชว่ ง 24 - 48 ช่วั โมงแรกหลงั จากบาดเจบ็
ข้อควรระวงั หามวางนํา้ แข็งสมั ผสั กับผิวหนังโดยตรง เพราะอาจเกดิ
การพองไหมจ ากความเย็นได

หลกั การปฐมพยาบาลทางการกฬี า 39

C = Compression

การกด พันรดั เพ่ือลดภาวะทม่ี เี ลอื ดออก

ภายใน มกั ใชร้ ว่ มกับการประคบเยน็
เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธิผลในการลดบวมและห้ามเลือด

E = Elevation

การจดั วางส่วนทบ่ี าดเจ็บให้อยูส่ งู กว่าระดับหวั ใจ

เพือ่ ใหเ้ ลือดไหลเวยี นกลบั เข้าสู่
ระบบหมนุ เวียนโลหิตไดส้ ะดวกข้ึน
ท�าใหล้ ดอาการบวมลงได้ เช่น
การใช้หมอนหรอื เกา้ อ้ี รองพยงุ
ส่วนทบ่ี าดเจบ็ ให้สูงขึน้

ถึงแม้บางกรณีเกิดการบาดเจ็บท่ีไม่รุนแรงก็ตาม แต่ถ้าให้
การปฐมพยาบาลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ทันเวลา ก็จะส่งผลเสียในภายหลังต่อ
ตัวนักกีฬาได้ อาจกลับไปเล่นกีฬาได้ไม่เต็มท่ีหรือไม่สามารถเล่นกีฬาได้อีก
ตอ่ ไป เนื่องจากขาดความสมบรู ณ์ของสมรรถภาพทางกาย

อย่างไรก็ตาม การบาดเจ็บย่อมมีความรุนแรงแตกต่างกัน ข้ึนกับ
ชนิดกีฬา และทักษะของผู้เล่นแต่ละคน เนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ
ขณะเล่นกีฬาแต่ละชนิดจะเกี่ยวข้องกับเรื่องของแรง ความเร็วและ
ความแข็งของสิ่งที่มากระทบกระแทกต่ออวัยวะหรือเน้ือเยื่อ ท�าให้เกิด
การบาดเจ็บขึ้น บางคนเกิดแผลขนาดใหญ่แล้วมีกระดูกหักร่วมด้วย
มีการเสียเลือดมากถึงขั้นหมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ถ้าไม่ได้รับการ
ปฐมพยาบาลท่ีถูกต้อง ดังน้ัน การมีความรู้เร่ืองการปฐมพยาบาลและ
สามารถปฏิบตั ิได้อยา่ งถกู ต้องและรวดเร็ว จะทา� ใหน้ ักกฬี าที่ไดร้ บั บาดเจ็บนัน้
สามารถกลบั ไป เล่นกีฬาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

40 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

R.I.C.E. Treatment

R หยุดพัก จัดท่าทางให้รู้สึก
ผ่อนคลาย เพ่ือให้บริเวณท่ี
Rest ได้รับบาดเจ็บไม่ถูกกระตุ้น
หรือเพ่มิ ความเจบ็ ปวด
พกั ประคบดว้ ยความเยน็ ในช่วง
24 - 48 ชั่วโมงแรกหลังการ
I บาดเจบ็ ประคบวันละ2-3ครั้ง
นานครง้ั ละ15-20นาทีเพื่อลด
น้าำ Iแceขง็ ภาวะการมีเลอื ดออก ลดอาการบวม
พั น ผ ้ า ยื ด ก ร ะ ชั บ ส ่ ว น ที่
C บาดเจ็บ เพ่อื ป้องกนั การบวม
เพิ่มขึ้น โดยการพันจากส่วน
Compression ปลายมายังส่วนต้น

รดั ยกกล้ามเน้ือส่วนน้ันให้สูง
กว่าระดับหัวใจ เพ่ือช่วยให้
E เ ลื อ ด ไ ห ล ก ลั บ ไ ด ้ ดี ขึ้ น
ลดอาการบวม
Elevation

ยก

หลักการปฐมพยาบาลทางการกฬี า 41

วิธกี ารประคบรอ้ น

การรักษาโดยการใช้ความร้อนควรจะ
ใช้ส�าหรับโรคเรื้อรังเพื่อช่วยให้ผ่อนคลายและ
เพื่อให้เนื้อเย่ือต่างๆ คลายตัวออกจากกัน
และกระตุ้นให้มีการไหลเวียนของเลือด
รอบๆ ของอวัยวะทีท่ า� การประคบ สามารถ
ใช้วิธีประคบร้อนได้ในนักกีฬาที่ได้รับ
การบาดเจบ็ กล้ามเน้อื เรอื้ รังกอ่ นท่จี ะมีการท�ากจิ กรรม ไมค่ วรใช้ส�าหรับผู้ป่วย
ท่ีพึ่งได้รับอุบัติเหตุมาใหม่ๆ การประคบร้อนสามารถใช้ผ้าร้อนหรือกระเปา
น้�าร้อนก็ได้ โดยเมอ่ื ท�าการประคบร้อนจะต้องมกี ารระมัดระวงั ไมใ่ หร้ ้อนเกินไป
และใช้เวลาในการประคบนานมากเกินไป เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดการไหม้บริเวณ
ผวิ หนัง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ไมค่ วรประคบรอ้ น ในขณะนอนหลบั

ประคบร้อน...เมือ่ ใด

 หลงั ไดร้ ับบาดเจ็บ หรอื อาการฟกชา�้ 48 - 72 ช่วั โมง
 อาการปวดหรอื อกั เสบเร้ือรงั เช่น ปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดเข่า
 ตงึ บริเวณข้อ
 อนื่ ๆ เช่น ตะครวิ ปวดประจ�าเดอื น ปวดฟน เตา้ นมคดั ในช่วงใหน้ มบตุ ร

42 การปฐมพยาบาลทางการกฬี า

ประคบร้อน...ช่วยไดอ้ ย่างไร

ความรอ้ นจะช่วยให้เส้นเลอื ดขยายตัว ทา� ใหเ้ พิ่มการไหลเวยี นของเลอื ด
การซ่อมแซมการบาดเจ็บท่ีเกิดขึ้น กล้ามเนื้อคลายตัว และช่วยบรรเทา
อาการปวด

วิธีการ...ประคบร้อน

 ทดสอบอณุ หภูมิท่จี ะน�ามาประคบไม่ใหร้ อ้ นเกินไป
 วางแผ่นประคบบรเิ วณท่มี ีอาการ ประมาณ 15 - 20 นาที โดยขยับเปล่ยี น

บรเิ วณท่ีวางบ่อยๆ

ข้อควรระวัง...ในการประคบรอ้ น

 ผปู้ ว่ ยท่มี ภี าวะเลือดออกผดิ ปกติ
 มปี ญ หาอาการชา หรือขาดเลอื ดไปเล้ียง
 บรเิ วณท่อี ย่ใู กลก้ ้อนเนือ้ งอกหรือเป็นมะเร็ง
 ผสู้ งู อายุหรอื ผทู้ มี่ ีปญหาด้านการส่อื สาร
 ความรอ้ นทมี่ ากเกินไป อาจท�าให้เกิดรอยด�าไหม้ หรอื แผลผพุ องได้
 บริเวณท่มี ีแผลเปิด มีโอกาสเสี่ยงตอ่ การตดิ เชอื้
 ห้ามประคบร้อนในบรเิ วณทม่ี ีการบาดเจบ็ หรอื อกั เสบเฉยี บพลนั

โดยเฉพาะใน 24 ชวั่ โมงแรก

หลกั การปฐมพยาบาลทางการกีฬา 43

วธิ ีการประคบเยน็

การรักษาโดยการใช้การประคบเย็น
ใช้บ่อยกับการบาดเจ็บทางกระดูกและข้อ
ชนิดฉับพลันเป็นส่วนใหญ่ ถ้าหากได้รับ
บาดเจ็บภายใน 48 ช่ัวโมงควรจะใช้วิธีการ
รักษาวิธีน้ีเพื่อลดอาการบวมบริเวณต�าแหน่ง
ท่ไี ดร้ ับบาดเจ็บ เช่น การใช้ถุงนา้� แขง็ ประคบ
บริเวณรอบขอ้ เทา้ โดยหากทา� การประคบทันทที ่ีได้รับการบาดเจบ็ และประคบ
อย่างสม�่าเสมอในเวลา 48 ช่ัวโมงแรกหลังได้รับการบาดเจ็บจะสามารถ
ลดอาการบวมได้อย่างดี ส่งผลให้อวัยวะท่ีได้รับบาดเจ็บ ลดบวมลงจะท�าให้
ลดอาการปวดได้อยา่ งดีอีกด้วย
การรักษาโดยประคบน�้าแข็งยังสามารถใช้กับโรคเรื้อรังได้อีกด้วย
ยกตวั อยา่ งเชน่ การใชก้ ล้ามเนื้อมากเกินไปในนกั กฬี า ผูส้ ูงอายุท่อี อกแรงเกินตวั
ผงั ผดื กลา้ มเนื้อบางชนิด การประคบน้า� แข็ง หลงั จากทที่ �ากจิ กรรมกจ็ ะชว่ ยลด
อาการอักเสบได้ แต่เราไม่ควรใช้น้�าแข็งประคบก่อนการท�ากิจกรรมในผู้ป่วย
ทีม่ อี าการปวดเรือ้ รัง

ประคบเย็น...เม่อื ใด

 มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น ข้อเท้าแพลง รอยฟกช้�าจากการ
กระแทก อาการปวดหรอื บาดเจบ็ จากการเลน่ กฬี า/การออกก�าลงั กาย

 อาการปวดเฉยี บพลนั ของสว่ นต่างๆ เชน่ ปวดไหล่ ปวดหลงั
 การอกั เสบ บวม แดง ในระยะฉับพลนั
 อาการอน่ื ๆ เชน่ ปวดศรี ษะ มไี ขส้ งู เลอื ดกา� เดาไหล แผลจากของมคี ม หรอื

นา�้ ร้อนลวก ไฟไหม้ทีไ่ ม่รุนแรง

44 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา

ประคบเย็น...ช่วยไดอ้ ยา่ งไร

ความเย็นจะช่วยท�าให้เส้นเลือดหดตัว ท�าให้เลือดออกน้อยลง ท้ัง
เลือดที่ออกนอกร่างกายให้เห็นได้ และเลือดที่ออกนอกเส้นเลือดในร่างกาย
ดงั นัน้ อาการบวมก็จะน้อย มกี ารดดู ซึมน�้ากลบั เขา้ หลอดเลือดช่วยให้ยุบบวม
จึงช่วยลดการบาดเจ็บการอักเสบ นอกจากนี้ความเย็นยังช่วยลดการน�า
กระแสประสาทท่ีรบั ความรู้สกึ เจ็บปวด ทา� ใหบ้ รรเทาอาการปวดได้

วธิ กี าร...ประคบเย็น

 ประคบทันที่บริเวณที่มีการบาดเจบ็ ภายใน 24 - 48 ชั่วโมง
 ใชเ้ วลาในการประคบ10-15 นาที ไม่ควรใช้เวลานานกว่านี้

และไม่วางท่ีเดียวนานเกินไปจะเป็นอันตรายตอ่ เนอ้ื เย่อื ได้
 ในขณะท่ปี ระคบเยน็ ใหย้ กสว่ นที่บาดเจบ็ สูงกว่า

ระดบั หัวใจ ไมค่ วรนวดบรเิ วณท่บี าดเจบ็ จะท�าให้
เลอื ดออกมากขนึ้
 ประคบได้บ่อยเทา่ ที่ต้องการ แตต่ อ้ งทิง้ ระยะพกั สว่ นที่
ประคบอย่างน้อย 45 - 60 นาที หรอื จนกว่าผิวบริเวณ
ที่ประคบจะอนุ่ เท่าผิวปกติ

ข้อควรระวงั ...ในการประคบเย็น

 ผปู้ ว่ ยท่มี คี วามผิดปกติในการรับความรสู้ กึ
 บริเวณทเ่ี ลือดไปเลย้ี งไม่พอเพยี ง
 ผู้ปว่ ยที่มปี ญหาด้านการสือ่ สาร
 ผู้ป่วยท่ีมีปฏิกิริยาต่อความเย็น เช่น มีเม็ดเลือดแตก แพ้ความเย็น

ทนความเย็นไมไ่ ด้ เส้นประสาท อักเสบจากความเย็น เป็นต้น

หลักการปฐมพยาบาลทางการกีฬา 45



วิธกี ารห้ามเลอื ด

อุบตั ิเหตุ การเล่นกีฬา หรือการออกก�าลงั กาย มกั ทา� ให้เกดิ การบาดเจบ็
ได้ สิ่งท่ีตามมาก็คือเกิดการเสียเลือด ท้ังที่สามารถเห็นได้ด้วยตา หรือเกิด
การตกเลอื ดภายในรา่ งกายและมีโอกาเสยี ชวี ติ การบาดเจบ็ ท่ถี อื เปน็ เหตกุ ารณ์
ฉกุ เฉนิ อาจตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลือโดยทันที ดงั นน้ั การทา� ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั
อาการและอาการแสดงทีบ่ ง่ บอกถึงความรุนแรงของการบาดเจ็บ การเสียเลอื ด
และภาวะช็อก ซึ่งเปน็ ความเส่ียงตอ่ การสญู เสียทรี่ ุนแรงทีอ่ าจจะเกดิ ตามมาได้
ก็จะเปน็ วิธกี ารที่ชว่ ยลดความสูญเสยี และอันตรายทจี่ ะตามมาได้ดวี ธิ ีหนง่ึ

การเสียเลือด เป็นผลจากการที่ร่างกายได้รับบาดเจ็บ เกิดการฉีกขาด
ของเนื้อเยื่อและอวัยวะภายในร่างกายหรือเกิดบาดแผล สิ่งที่ตามมา คือ
เลือดออก เกดิ การเสยี เลอื ดการตกเลอื ด ภาวะช็อก และตดิ เชอ้ื โรคได้ ในคน
ปกติมีปริมาณเลือดในรา่ งกายคิดเปน็ 7 - 8% ของน้า� หนกั ตัว หรือประมาณ
4 - 5 ลิตร ในผู้ใหญ่ การชว่ ยเหลือผทู้ ไ่ี ด้รับบาดเจบ็ สงิ่ ส�าคัญ คอื การห้าม
และควบคุมการเสียเลือดซ่ึงต้องกระท�าโดยทันทีท่ีมีการสูญเสียเลือดทั้งท่ี
เกิดขึ้นภายนอกและภายในร่างกาย ซ่ึงสามารถแสดงออกให้รู้ได้หลายอาการ
และอาการแสดงท่ีบ่งชีถ้ งึ การเสียเลือด และเกดิ อาการชอ็ กขึน้ ได้

หลักการปฐมพยาบาลทางการกีฬา 47

วธิ กี ารห้ามเลอื ด มดี งั น้ี

1. ต้องค�านึงถึงความปลอดภัยของตนเอง การป้องกัน
การติดเชื้อหากต้องไปสัมผัสบาดแผล และเลือดของผปู้ ่วย
โดยตรง ควรสวมถุงมือยาง หรือหาวัสดุใกล้ตัว เช่น
ถุงพลาสติก

2. แผลเล็กกดโดยตรงลงบนบาดแผล แผลใหญ่ขึ้นใช้ฝ่ามือกด
ปลายแผลไว้ วิธีที่ดีท่ีสุดคือ ใช้ผ้าสะอาดพับหนาๆ กดลงบน
บาดแผลในกรณีฉุกเฉินใช้เสื้อ ผ้าเช็ดหน้า แต่ถ้าไม่มีจริงๆ
ใช้ฝ่ามือกดลงไปตรงๆได้เลยนานประมาณ 10 นาที ถ้าเลือด
ยงั ไมห่ ยุดให้เตมิ ผา้ ช้ินใหมล่ งบนชิ้นเดิมทป่ี ิดอยู่บนบาดแผล
3. ใชผ้ า้ ยดื พันทับบนผา้ ที่ปดิ กดบาดแผลไว้

4. ถ้าเลือดออกมาก ให้ใช้มือกดบนบาดแผล พร้อมทั้งยกส่วนนั้น
ให้สูงขึ้นเหนือระดับหัวใจ ในกรณีที่ไม่มีกระดูกบริเวณน้ันหัก
ร่วมดว้ ย

5. ถ้าเลือดยังไม่หยุด ให้ใช้น้ิวมือกดตรงจุดเส้นเลือดแดง
ท่ีมาเลี้ยงบริเวณบาดแผลท่ีมีเลือดออก โดยการกด
ติดกับกระดูก ซ่ึงจะช่วยท�าให้การไหลของเลือดช้าลง
ชั่วคราว การใช้น้ิวกดเส้นเลือดนี้จะต้องท�าควบคู่กับ
การกดลงบนบาดแผลโดยตรง ไม่ควรใช้วธิ ีนี้วิธเี ดียว

6. เฝ้าระวังอาการช็อกเนื่องจากการเสียเลือดจะมีอาการ ดังน้ี
หน้ามดื เวยี นศีรษะ หนา้ ซีด ตวั เยน็ เหงอ่ื ออก ชพี จรเบา เรว็
หรอื คลา� ไมไ่ ด้ตา� แหนง่ กดเส้นเลอื ดแดง

48 การปฐมพยาบาลทางการกีฬา


Data Loading...