Future of living - PDF Flipbook

National Innovation Agency (Public Organization) and FutureTales Lab by Magnolia Quality Development Corporation Limited

309 Views
32 Downloads
PDF 3,379,711 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


อนาคตของการใช ชี วิ ต FUTURE OF

LIV I NG

คํานํา

INTRODUCTION

สํ า นั ก งานนวั ต กรรมแห ง ชาติ (องค ก ารมหาชน) ร ว มกั บ ศู น ย วิ จั ย ฟ ว เจอร เ ทลส แล็ บ ภายใตบริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเมนต คอรปอเรชั่น จํากัด (MQDC) ไดจัดทํา รายงาน เร�อง "อนาคตของการใชชีวิต" (Future of Living) เพ�อนําเสนอขอมูลสถิติสําคัญ บทวิ เ คราะห ส ถานการณ ป ญ หา และป จ จั ย ขั บ เคล� อ นสํ า คั ญที่สง ผลตอรูป แบบการใชชีวิต ในอนาคต รวมถึ ง ผลการคาดการณ ภ าพอนาคตของการใช ชี วิ ต ในบริ บ ทประเทศไทย เพ�อเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและการออกแบบอนาคตที่พึงประสงคในประเทศไทย เพ� อ นํ า เสนอต อ ภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งสํ า หรั บ พั ฒ นาที่ อ ยู  อ าศั ย และสภาพความเป น อยู  ของมนุษย และวางกลยุทธเพ�อใหผูคนในประเทศมีความมั่นคงในการดํารงชีวิต และพรอม รั บ มื อ ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงและความท า ทายต า งๆ ในอนาคต

ทางคณะผูวิจัยขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานตางๆ ที่ไดกรุณาใหการสนับสนุน ดานขอมูลและความคิดเห็นอันเปนประโยชนตองานวิจัย และหวังเปนอยางยิ่งวางานวิจัย ฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ สามารถนําขอมูลไปใชในการ กําหนดนโยบาย วางแผน และดําเนินงานดานการใชชีวิตของผูคนในประเทศไทยใหสอดรับ กับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตตอไป National Innovation Agency (Public Organization) and FutureTales Lab by Magnolia Quality Development Corporation Limited (MQDC) have produced the “Future of Living” report to highlight key statistics and review the current situation and driving forces that will shape future living in Thailand, so people can prepare for any changes and work for the country’s desirable future. The report will be presented to relevant sectors to develop residences and people’s well-being and to craft strategy to build security for the country and people’s lives, so they can prepare for any future changes and challenges. The research team would like to thank the experts from various agencies who have supported us with information and opinions that have hugely assisted the research. We greatly hope that this study will be useful to all relevant sectors, as they can apply its information to formulate policy and to design and implement action plans for Thai ways of life to accommodate any future changes.

สารบัญ CONTENTS

03 05 08 10 18

สถานการณในปจจุบัน Current Situations

สัญญาณการเปลี่ยนแปลง Signals of Change

ปจจัยขับเคลื1อนสําคัญ Drivers of Change

ฉากทัศนในอนาคต Scenarios

บรรณานุกรม References

CURRENT SITUATIONS

สถานการณในปจจุบัน

ผูคนใชเวลา People spend

11.4

ชั่วโมง ภายใน ที่อยูอาศัย hours at home.

วิถีชีวิตความเปนอยูของมนุษยนั้นถูกกําหนดและผูกพันดวยเร�องราวในอดีต ทั้งสภาพสังคม วั ฒ นธรรม ศาสนา และความเช� อ รวมถึ ง สภาพแวดล อ มภายนอก เช น สภาพภู มิ อ ากาศ สภาพทางภูมิศาสตร เปนตน ปจจุบันมนุษยใชเวลาอยูในบานเฉลี่ยมากถึง 11.4 ชั่วโมงตอวัน ดังนั้นบานจึงเปนปจจัยที่สําคัญในการดํารงชีวิต การเขามาของเทคโนโลยีทําใหบานมีความ ทันสมัยมากยิ่งขึ้น โดยมากกวา 43% ของผูคน คิดวาเทคโนโลยีอัจฉริยะนั้นจําเปนสําหรับ ที่อยูอาศัย โดยชวยใหพวกเขามีความสะดวกสบายในการใชชีวิตภายในบาน นอกจากบานแลว ยังมีอุปกรณอัจฉริยะอ�นๆ ที่สามารถเช�อมตอพวกเขาเขากับสิ่งตางๆ รอบตัว ทําใหการใชชีวิต ประจําวันนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบวาในปจจุบันมีอุปกรณสวมใสอัจฉริยะ บนโลกอยูมากกวา 800 ลานชิ้น มากกวาครึ่งหนึ่งคือนาฬ�กาอัจฉริยะที่ชวยเหลือผูสวมใสให เขาถึงขอมูลดานสุขภาพของตนเอง ทั้งสามารถชวยประหยัดเวลาของแพทยในการวินิจฉัยโรค มากถึง 15 ชั่วโมงตอสัปดาห และเพิ่มประสิทธิภาพของการออกกําลังกายใหสูงขึ้นอีก 20% ผลจากการที่วิถีชีวิต มีความเช�อมตอกับโลกเทคโนโลยีเหลานี้มากขึ้น ทําใหมนุษยมีอายุที่ ยืนยาวมากขึ้น ซึ่งในปจจุบันมนุษยมีอายุขัยเฉลี่ยถึง 72.2 ป มากกวา 70 ปที่แลวถึง 24 ป อยางไรก็ตามราคาของที่อยูอาศัยและที่ดินในปจจุบันมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเน�อง เน�องจาก ที่ดินนั้นมีอยูจํากัดโดยเฉพาะในเมืองหลวง เชน กทม. ซึ่งราคาของที่ดินใน กทม. เพิ่มขึ้น 8% ตอปโดยเฉลี่ย โดยยานสยามราชดําริ-ชิดลม มีมูลคาสูงสุดถึง 1 ลานบาทตอตารางวา เม�อเทียบ กับรายไดเฉลี่ยของประชากรซึ่งอยูที่ประมาณ 280,000 บาทตอป และเศรษฐกิจของประเทศที่ โตเพียง 25% ตอปเทานั้น ดังนั้นเม�อเทียบกับคาใชจายสําหรับที่อยูอาศัยที่เพิ่มขึ้น 8% ตอป จึงทํา ใหในอนาคตผูคนจะไมสามารถถือครองสินทรัพยท่ีดินของตนเองได ขอจํากัดเหลานี้ เปนปจจัยที่สําคัญไมแพความสะดวกสบายที่จะกําหนดอนาคตของการอยูอาศัยและปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตของเราในอนาคต ดังนั้นการมองอนาคตจึงมีความสําคัญในการกําหนดรูปแบบของ การใชชีวิตอนาคตเพ�อเตรียมการกับอนาคตที่เปนไปไดทุกรูปแบบ

800,000,000

รายไดเฉลี่ยของคนไทย

ชิ้น ของอุปกรณสวมใสอัจฉริยะบนโลก

Thailand’s per capita annual income is

wearables in the world.

280,000 บาทตอป baht

43

% ตสําอหรังการเทคโนโลยี บ การเป น อยู needs technology for living.

ราคาที่ดิน เพิ่ ม ขึ้ น

8

% ตอป

Human ways of life are defined by background, social condition, per year. culture, religion and beliefs, and external environment such as climate Land price rises by and geography. People currently spend an average of 11.4 hours at home each day. Therefore, homes are critical in our lives. New technology is making homes more modern. More than 43% of respondents think smart technology is necessary for houses since it makes homelife more convenient. There are also smart gadgets that link people with objects around them, making daily life more efficient. Furthermore, there are more than 800 million smart wearables, of which over half are smart watches that help their wearers get health information. Average lifespan has increased by They can also reduce doctors’ diagnosis time by 15 hours per week

อายุ ข ั ย เฉลี่ยเพิ่มขึ้น

and boost exercise efficiency by 20%. Stronger connection to technology like this can extend life expectancy from 72.2 years today, which is 24 years longer than those living 70 years ago. However, the price of homes and land is currently on a continuous rise due to limited supply, especially in capital cities like Bangkok. Average land prices in Bangkok have been rising by 8% per year; land in Siam & Ratchadamri-Chidlom is about 1 million baht/square wah, while per capita annual income is about 280,000 baht and the world’s annual economic growth is only 2.5%. Therefore, comparing income with annual growth in house prices of 8%, people may no longer be able to afford their own residential property. In addition to convenience, these constraints are a key factor in shaping future ways of life. Foresight can therefore play a crucial role in shaping ways of life to accommodate any future.

ป

24

years.

เรากําลังอาศัยอยูในโลกที่มีความซับซอนขึ้นกวาในอดีต ทั้งสภาพเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม สุขภาพ คานิยม ความเปนอยู สิ่งเหลานี้สรางการเปลี่ยนแปลง และสรางผลกระทบตอวิถีชีวิต We are living in a more complex world than our ancestors in terms of economy, society, environment, health, value, and well-being. These changes shape our ways of life.

URBANIZATION

ECONOMIC RECESSION

ENVIRONMENTAL CRISIS

ขั บ เคล� อ นการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ แต ใ นขณะเดี ย วกั นก็ สรางใหเกิด ปญ หา ทางสั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง เปลี่ยนรูปแบบการดําเนินชีวิตของผูคน

ทํ า ให ต  น ทุ น การใช ชี วิ ต สู ง ขึ้ น ผู  ค น ตางตองเรงรีบ เรงแขงขัน ถึงแมจะมี เทคโนโลยี ที่ เ ข า มาอํ า นวยความสะดวก สบาย และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ทํางานและการใชชีวิต แตก็แลกมาดวย ตนทุนและค า ใช จ า ยที่ เ พิ่ ม ขึ้ น

เกิ ด จากเศรษฐกิ จ บริ โ ภคนิ ย ม และ วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ปลี่ ย นไป ทํ า ให เ กิ ด การใช ทรั พ ยากรธรรมชาติ อ ย า งเกิ น ขี ด จํ ากัด ในขณะเดี ยวกั น ก็ เ กิ ด การสร า งขยะและ มลพิ ษ ที่ส  ง ผลกระทบต อสิ่ง แวดล อ ม ในระยะยาว

Recession increases the cost of living and brings fast-paced lifestyles. Although technology has made life easier and raised efficiency in work and living, it is at the expense of rising cost.

Environmental crisis brought by consumerism and changing lifestyles leads to the overuse of natural resource, with waste and pollution causing long-term environmental impacts.

การเติบโตของสังคมเมือง

Urbanization has driven economic growth while bringing social and environment problems and affecting people’s ways of life.

สภาพเศรษฐกิจที่ถดถอย

วิกฤตดานสิ่งแวดลอม

DEMOGRAPHIC CHANGE

SOCIAL VALUE

ADVANCE TECHNOLOGY

ประชากรไทยมีสัดสวนผูสูงอายุมากขึ้น และประเทศกํ า ลั ง เข า สู  สั ง คมผู  สู ง วั ย ทําใหมีอัตราการพึ่งพิงที่เพิ่มขึ้น สงผล ต อ ระบบเศรษฐกิ จ และความสามารถ ในการแข ง ขั น และระบบสวัสดิการ

เกิดจากความแตกต า งทางพฤติ ก รรม และความคิ ด ของคนแต ล ะช ว งวั ย (Generation gap) รวมถึ ง สภาพ แวดลอมทางเศรษฐกิจ ความเปนอยู และการเข า มาของเทคโนโลยี

เข า มาสร า งการเปลี่ ย นแปลงใน วิ ถี ชี วิ ต และพฤติ ก รรมของผูบริโภค แต ใ นขณะเดี ยวกั น ก็ ทํ า ให เ กิ ด ความ ไม เ ท า เที ยมกั น ในการเข า ถึ ง ทั้งในเชิง เศรษฐกิ จ สั ง คม และความสามารถ ในการเรี ยนรู  ใ ช ง านเทคโนโลยี

Demographic change with greater numbers of older adults and the arrival of an aging society increases the dependency ratio, affecting the economy, competitiveness, and the welfare system.

Differences in social values are caused by generation gaps, economic conditions, different ways of life and the arrival of technology.

การเปลี่ยนแปลง ของโครงสรางประชากร

คานิยมทางสังคม ที่แตกตาง

เทคโนโลยีขั้นสูง

Advanced technology changes consumers’ lifestyles and behaviors while creating economic and social inequality in access to knowledge for using technology.

การเปลี่ยนแปลงเหลานี้เขามาเปลี่ยนวิถีชีวิตของผูคน ทั้งในสังคมเมืองและในสังคมชนบท อนาคตของการใชชีวิตจึงกําลังถูกเรงใหตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ These changes have altered urban and rural ways of life. Future ways of life will change to respond to these trends.

SIGNALS OF CHANGE สัญญาณการเปลี่ยนแปลง สัญญาณการเปลี่ยนแปลง (Signals of Change) คือ เหตุการณหรือแนวโนมที่กอตัวและเกิดขึ้น โดยกําลังจะสราง ใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอย างมีนัยสําคัญในอนาคต Signals of Change are events or incoming and established trends that bring significant changes.

Smart Homes and 3D-Printed Houses เทคโนโลยีสมารทโฮม (Smart Home) จะมีตนทุนที่ลดลงเขาถึงงาย ชวยให เกิ ด การเช� อ มต อ สิ่ ง ต า งๆ ภายในบานใหมีความสะดวกสบายและรวดเร็วมาก ยิ่งขึ้น และยังสามารถใหคําแนะนํารวมถึงแจงเตือนและควบคุมเหตุการณตางๆ ภายในบ า น ผ า นการเช� อ มตอ กับอุปกรณดิจิทัล ชนิด อ�น เชน สมารทโฟน หรื อ อุ ป กรณ ส วมใส อั จ ฉริ ย ะ นอกจากนี้ เ ทคโนโลยี ก ารพิ ม พ ส ามมิ ติ ที่ กาวหนาขึ้น ยังสามารถเอื้อใหสรางที่อยูอาศัยไดรวดเร็วทันตอความตองการ ที่ เ พิ่ มขึ้ น ในอนาคต

Smart homes will have lower costs and be more accessible, making it easier and faster to connect appliances and systems. They will also give advice and warnings and control devices in the home through connecting with other digital gadgets such as smartphones or smart wearables. Through advanced 3D-printing technology, houses will also be built faster and respond to rising demand in the future.

Robotics in Healthcare การเกิ ด โรคระบาดเป น ตั วเรงที่ทําใหภาคสาธารณสุข เกิด การนํานวัตกรรม การรั ก ษาใหม ๆ มาใช ง าน รวมถึ ง การปฏิ รู ป ทางดิ จิ ทั ล ให มี ค วามทั่ ว ถึ ง และครอบคลุ ม การนํ า เทคโนโลยี ม าใช ใ นการรั ก ษา เช น การใช หุ  น ยนต หรือปญญาประดิษฐ (Robotics in Healthcare) และการรักษาทางไกล (Telemedicine) เพ� อ ลดความเหล� อ มลํ้ า ในการเข า ถึ ง การรั ก ษาของ ประชาชน

The pandemic has prompted the public health sector to adopt medical innovations including broader digitalization, covering aspects such as robotics in healthcare and telemedicine, which will reduce inequality in access to healthcare.

Smart Wearables วิ ถี ชี วิ ต ของเรากํ า ลั ง ถูกความเปนดิจิทัล ผสมผสานเขามา และปรับเปลี่ยน วิ ถี ชิ วิ ต ของเราให มี ค วามทั น สมั ย สิ่ ง เล็ ก ๆ ที่ ก ลายเป น ดิ จิ ทั ล นั้ น คื อ อุ ป กรณ ส วมใสอั จ ฉริ ย ะ (Smart Wearables) เช น นาฬ� ก า แว น ตา ตลอดจนเซ็ น เซอร หรือ ไมโครชิพที่ส ามารถเขาถึง ขอ มูล ของรา งกายเราได อุ ป กรณ เ หล า นี้ ส ร า งความสะดวกสบายใหกับชีวิต ของเรา

Our lives are being modernized by incorporating the digital world. Small digital gadgets with important roles include smart wearables such as watches or glasses. Sensors or microchips can access information from our bodies and make life more convenient.

Privacy Invasion 24/7 วิถีชีวิตจะถูกขับเคล�อนดวย “ขอมูล” ความเปนสวนตัวในโลกไซเบอร จะได รั บ ความใส ใ จไม น  อ ยไปกว า ในโลกความเป น จริ ง ความกั ง วลของ ผูที่เปนเจาของขอมูลจะเกิดขึ้น เพราะอุปกรณในอนาคตจะสามารถเขาถึง ความเปนสวนตัวของตนเองไดถึงระดับวิถีชีวิต พฤติกรรม และสุขภาพ ทําใหเรารูสึกถูกคุกคามความเปนสวนตัวมากเกินไป (Privacy Invasion) นอกจากนี้ เจาของขอมูลเหลานี้ยังจะกลายเปนผูมีอิทธิพลในการกําหนด ชีวิตของผูที่ใหขอมูลเหลานั้นดวย

People’s lives will be driven by data. Cyber privacy will be given as much attention as privacy in the real world. Data ownership will raise concern as gadgets in the future will be able to access data about lifestyles, behavior, and health, making people feel their privacy has been invaded. Anyone who holds this data will have influence over the data owner by knowing about their lives.

Universal Design for Inclusiveness แนวคิ ด การออกแบบที่อ ยู  อ าศัย พื้นที่ส าธารณะ และเมือ งจะปรับเปลี่ยนไป การออกแบบอย า ง Universal Design ที่ เ น น การใช ง านทางกายภาพ อาจไม เ พี ย งพอ ต อ งคํ า นึ งถึงความสําคัญของการเช�อ มโยงและผสมผสาน ความแตกต า งทางสั ง คมและวิถีชีวิต ใหผสมกลมกลืนและอยูรว มกันอยา ง ลงตั ว (Co-living) โดยมี เ ทคโนโลยีดิจิทัล และแพลตฟอรมบริการรูปแบบ ใหม ม าช ว ยอํ า นวยความสะดวกและยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชน

Design concepts for homes, public spaces, and cities will change. Universal Design focused on physical use may not be enough. It will have to also focus on co-living through digital technology and new kinds of service platform that give convenience and elevate people’s lives.

Sharing Space and Efficient Use of Space การเติ บ โตของสั ง คมเมื อ งทําใหที่ดินที่มีจํากัด มีราคาที่เพิ่มสูง ขึ้น จึงจํา เปน ต อ งมี ก ารจั ด สรรและใช ป ระโยชน ท รั พ ยากรที่ ดิ น ให คุ  ม ค า ที่ สุ ด เช น ใชพื้น ที่ใ หเ กิดประโยชนสู งสุด (Efficient Use of Space) หรือในกรณี ที่ พื้ น ที่ นั้ น มี ค วามต อ งการการใช ง านสู ง แต มี ร าคาแพงจึ ง ทํ า ให เ กิ ด การ แบ ง ป น พื้ น ที่ เ กิ ด ขึ้น (Sharing Space)

Growing urbanization raises land prices. It is necessary, therefore, to allocate and make the fullest and most efficient use of land resources including the use of space. If high demand leads to high land prices, the idea of sharing space will take off.

Shift to Rental Lifestyles ที่ ดิ น เป น สิ น ทรั พ ย ที่ มี อ ยู  อ ย า งจํ า กั ด บนโลก ในขณะที่ ป ระชากรของโลก ที่ เ พิ่ มขึ้ น ตลอดเวลาทํ า ให ความตอ งการที่อ ยูอ าศัยเพิ่มขึ้น เปนเหตุใหร าคา ที่ อ ยู  อ าศั ย นั้ น เพิ่ ม ขึ้ น เช น กัน การเชาอยูจึง เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไ ดของ ผู  ที่ มี ร ายได น  อ ย รวมถึ ง การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงเชิ ง ประชากร การเพิ่ ม ขึ้ น ของจํ า นวนผู  สู ง อายุ ที่ ต  อ งการที่ อ ยู  อ าศั ย รู ป แบบเฉพาะและ เข า ถึ ง ได (Retirement Home)

Land is a limited resource on the earth while population continues to rise, increasing demand for homes and their price. Renting is, therefore, attractive for those with lower purchasing power. This approach also accommodates population changes such as the rise in the number of older adults who need specific and accessible residences like retirement homes.

Return of Plastic World ผลที่ตามมาจากความไมแนนอนของวิกฤตโรคระบาดนั้น ยังนําใหเกิดการ กลับมาของการใชพลาสติกชนิดใชครั้งเดียว ซึ่งมีความปลอดภัยมากกวา วัสดุที่นํากลับมาใชใหมได (Reusable) การรณรงค ใ หงดใชพ ลาสติก จะ ไมประสบความสําเร็จ เพราะผูคนจะคํานึงถึงความปลอดภัยดานสุขภาพของ ตนเองก อ นภาวะวิ ก ฤตดานสิ่งแวดลอ มซึ่ง มองวาเปนเร�อ งไกลตัว

Concern over hygiene in the pandemic has revived consumption of single-use plastic as safer than reusable items. Plastic ban campaigns will have limited success because people will prioritize their health and safety over environment crisis, which seems remote.

Culture of Preparedness นอกจากวิ ก ฤตโรคระบาดจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแลว ยังฝงรากลึก ลงไปในระบบความคิ ด ของผูคนวาความไมปลอดภัยในการดํารงชีวิตนั้น สามารถเกิ ด ขึ้ น ได ตลอดเวลา รวมถึงผูคนจะมีคานิยมหรือ วัฒนธรรม ที่ ป กป อ งและเตรี ย มการต อ การเปลี่ ย นแปลงมากขึ้ น (Culture of Preparedness) เช น การสวมหน า กากอนามั ย ความกั ง วลเร� อ ง ความสะอาด รวมถึ ง การสํารองเงินไวใ ชยามฉุกเฉิน เปนตน

Apart from changing behavior, the pandemic crisis will embed in people’s minds the idea that life is always insecure. People will also develop a culture of preparedness such as wearing masks, being concerned about hygiene, and having emergency savings.

Social Distancing เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ทางพฤติ ก รรมของผู  ค นและ สภาพแวดล อ มทางสั ง คม ด ว ยบทเรี ย นที่ เ กิ ด จากวิ ก ฤตโรคระบาด “การเว น ระยะห า งทางสั ง คม” จึ ง เป น มาตรการที่ มี ค วามเป น ไปได ว  า จะ มี ก ารบั ง คั บ ใช ใ นระยะยาวซึ่ ง จะส ง ผลให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต นํ า ไปสู  ก ารใช ชี วิ ต และการออกแบบวิ ถี ก ารอยู  อ าศั ย ในรู ป แบบใหม

This is a start of changes in people’s behaviors and social environment. As a lesson from the pandemic, social distancing is a measure likely to be enforced in the long term, leading to changes in lifestyle and finally bringing new ways of life.

DRIVERS OF CHANGE ปจจัยขับเคลื1อนสําคัญ ปจจัยขับเคลื1อนสําคัญ (Drivers of change) คือ ปจจัยหรือกลุม สัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่เปนองคประกอบสําคัญที่สรางการ เปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญ และเปนแนวขับเคลื1อนไปสูภาพอนาคต Drivers of Change are factors or groups of major signals significantly shaping change and the direction of future developments.

Digitalization of Life การเปลี่ ย นผ า นสู  โ ลกยุ ค ดิ จิ ทั ล เกิ ด ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว โดยมี อิ น เทอร เ น็ ต เป น ป จ จั ย เร ง ที่ สํา คั ญ ความเปนออนไลนทําใหทุกภาคสว นตอ งปรับตัว เข า สู  ยุ ค ดิ จิ ทั ล ทั้ ง ปรั บ ตั ว ด ว ยตั ว เองและถู ก สภาพแวดล อ มบั ง คั บ การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง นี้ ทํ า ใหวิถีการใชชีวิต ของเราเปลี่ยนไป แพลตฟอรม ออนไลน ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก อยาง ทั้ง การเดินทาง การส�อ สาร ความบันเทิง หรื อ แม ก ระทั่ ง การเข า ถึ ง ป จ จัยสี่ โดยภาคสว นที่จะไดรับผลกระทบมากที่สุด คือภาคธุรกิจออฟไลนตางๆ โดยสังเกตไดวามีจํานวนไมนอยที่ตองปดตัวลง ธุรกิจ มีมูล คาสูงๆ ของโลกกลายเป น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วข อ งกั บ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และแพลตฟอร ม ออนไลน ทั้งสิ้น และสิ่ง เหลานี้กําลังแทรกซึมวิถีการดํา เนิน ชี วิ ต ผ า นอุ ป กรณ อั จ ฉริ ย ะ (Smart Wearables) ซึ่งชว ยใหเราสามารถ เช� อ มต อ สิ่ ง ต า งๆ ได ร วดเร็ว และงายดาย ผสานกับดําเนินธุรกิจจากหลาย ภาคส ว นในการใช ชี วิ ต ทั้ ง ทางการแพทย ซึ่ ง สามารถใช แ พลตฟอร ม กั บ อิ น เทอร เ น็ ต และหุ  น ยนต ใ นการบริ ก ารได (Robotics in Healthcare) บ า นอั จ ฉริ ย ะ (Smart Home) สั ง คมไร เ งิ น สด (Cashless Society) รวมถึ งรู ป แบบการบริ ก ารที่เปลี่ยนแปลงเปนแบบออนไลน อุปกรณเ หลา นี้ เข า ถึ ง “ข อ มู ล " ระดั บ ป จ เจกบุคคลได อยางไรก็ต าม การเปลี่ยนแปลงไปสู ยุ ค ดิ จิ ทั ล นั้ น ถึ ง แม จ ะมี ข  อ ดี อ ยู  ม ากแต ก็ เ ป น ดาบสองคมได เ ช น เดี ย วกั น เม� อ ทุ ก อย า งถู ก บั น ทึ ก เป น ขอ มูล แลว ใครจะเปนเจาของขอ มูล เหลา นั้น แล ว เรามั่ น ใจได แ ค ไหนว า ทั้ งขอ มูล และการดําเนินชีวิต ของเราจะปลอดภัย (Privacy Invasion)

Digitalization has taken place in a short period with the internet as major catalyst. The digital age makes every sector adapt to digitalization, willingly or not. This development has changed our lifestyles. Online platforms cover everything including transport, communication, entertainment, and even access to the 4 necessities. The most affected sector is offline business, which has seen increased closures. The world’s most valuable businesses are now in digital technology and online platforms. They also penetrate people’s life via smart wearables that help us connect to anything faster and easier. They can integrate business activities from several areas of life and medicine, sharing platform with the internet and robotics in healthcare, smart homes, cashless society, and offline-going-online services. These gadgets have access to individual data. The transition to the digital age has pros and cons. When everything is recorded as data, questions arise over who should own it and how we can secure it and live free from invasions of privacy.

Living Design for Inclusiveness วิถีชีวิตของเรากําลังถูกทาทายดวยการเปลี่ยนแปลงรอบดาน ไมวาจะเปน การเปลี่ ย นแปลงด า นโครงสร า ง ประชากร การเปลี่ ย นแปลงด า นสั ง คม การเปลี่ ย นแปลงด า นความเช� อ รวมถึ ง การเปลี่ ย นแปลงด า นเทคโนโลยี สิ่ ง เหล า นี้ ล  ว นเป น ป จ จั ย ขั บ เคล� อ นสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให รู ป แบบการดํ า เนิ น ชี วิ ต และความเป น อยู  ข องเราเปลี่ยนไป

Our lives are being defined by ongoing changes in

ลองเปรี ย บเที ย บวิ ถี ชี วิต ของคนในยุคปจจุบันกับคนในอดีต ในยุคที่เรายัง ไมมีสมารทโฟนและอินเทอรเน็ต "ดิจิทัล" ยังไมไดกลายเปนทุกสิ่งทุกอยาง ในการใชชีวิต ส�อสังคมออนไลน (Social Media) ไมไดเปนส�อกระแสหลัก ที่สามารถกระตุนใหเกิดการเคล�อนไหวและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไดอยาง รวดเร็ว สังคมเมือง (Urbanization) ไมไดเติบโตและกระจายตัวไปในทุกพื้นที่ การเดิ น ทาง (Mobility) ไมไ ดส ะดวกรวดเร็ว และเขาถึง งายอยางในปจ จุบัน จะเห็ น ได ว  า รู ป แบบการดําเนินชีวิต และความเปนอยูข องเราไดรับ ผลกระทบ จากการเปลี่ ย นแปลงที่ เกิด ขึ้นเปนอยางมาก

of life without smartphones, internet, and digital

อย า งไรก็ ต าม บทเรี ย นการเปลี่ ย นแปลงครั้ ง นี้ ก็ ยั ง มี สิ่ ง ดี ๆ เกิ ด ขึ้ น คื อ เป น ป จ จั ย เร ง สํ า คั ญ ในการส ง เสริ ม ศั ก ยภาพด า นสาธารณสุ ข ซึ่ ง เป น โครงสร า งพื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ การบู ร ณาการจากหลากหลายสาขาเพ� อ สร า ง โอกาสทางธุ ร กิ จ เช น เกิ ด บริ ษั ท ด า นนวั ต กรรมทางการแพทย ส มั ย ใหม ที่ ส ามารถตอบโจทย ก ารใช ชี วิ ต ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยความไม แ น น อนนี้ ไ ด

innovative medical companies that address challenges

population structure, society, beliefs, and technology. These are driving factors that alter people’s lifestyles and living patterns. Current lifestyles markedly differ from previous ways technology. Social media was not mainstream media that drove social movements and rapid change. Urbanization was restricted and transport was less convenient and accessible. These changes, however, have had good effects for essential public health infrastructure and the integration of many fields to create business opportunities such as in uncertain situations. Changes, therefore, are catalysts for adjustments in lifestyle and living. When considering the changes we are facing such as differences in each generation’s

การเปลี่ ย นแปลงจึ ง เป น เสมื อ นตั ว เร ง ให เ กิ ด การปรั บ ตั ว ของรู ป แบบการ ดํ า เนิ น ชี วิ ต และความเปนอยู เม�อ พิจารณาการเปลี่ยนแปลงที่เรากํา ลังเผชิญ อยู  ใ นป จ จุ บั น เช น ความแตกตางทางแนวคิด ของคนแตล ะชว งวัย คา นิยม แบบป จ เจกที่ ทํ า ให เ กิ ด ครอบครัว เดี่ยวที่ไ มมีบุต รมากยิ่งขึ้น การเติบโตของ สั ง คมเมื อ งที่ เ ปลี่ ย นรู ปแบบการอยูอ าศัย ความกาวหนาทางการแพทยทํา ให เรามีอายุยืนยาวขึ้น รวมถึงการเปดกวางและยอมรับความแตกตางทางเพศภาพ อนาคตของวิถีชีวิตของเราจึงผสมผสานระหวางความแตกตางที่หลากหลาย ไม ว า จะเป น ความแตกตางดานชว งวัย ทัศนคติ คานิยม และเทคโนโลยี

ideas, individualism that increases childless single

ลองจิ น ตนาการถึ ง อนาคตในวันที่ประเทศไทยกาวเขาสูสัง คมผูสูงอายุ อย า งเต็ ม ขั้ น ผู  สู ง อายุส ว นใหญไ มมีลูกหลานดูแ ลและกลายกลุมเปราะบาง ครอบครั วประกอบด ว ยสมาชิกแตล ะชว งวัยที่มีความแตกตางในวิถีชีวิต เทคโนโลยีดิจิทัลกลายเปนโครงสรางพื้นฐานของที่พักอาศัยและในการใชชีวิต เราจะได เ ห็ น การออกแบบการใชพื้นที่ สิ่งอํานวยความสะดวกภายในบา น แพลทฟอรมบริการรูปแบบใหมที่จะชวยใหคนหลากหลายชวงวัยที่มีความคิด ทั ศ นคติ ค า นิ ย มที่ แ ตกตางกัน สามารถอยูรว มกันไดอ ยางลงตัว

a fully aging society. Most older adults lack children to

households, growth of urbanization that changes living patterns, medical advances that prolong life expectancy, and acceptance of gender diversity, our future of living will be mixture of diversity and differences in terms of generation, attitude, values, and technology. Let’s imagine the day in the future when Thailand is take care of them and so become vulnerable. Families have wide generation gaps with different lifestyles. Digital technology becomes basic living infrastructure. We will see the design of space and facilities with new kinds of platform in homes that help residents divided by generation, attitudes, and values live together.

Unaffordable for Basic Needs ปจจัยขับเคล�อนนี้มีปรากฎใหเห็นมาสักระยะแลว และกําลังจะมีมากขึ้นเร�อยๆ สั ง เกตจากราคาที่ด ิ น ซึ่ ง เป นสินทรัพยที่มีปริมาณจํากัด ซึ่ง ราคาของที่ดิน พุงสูงตามความตองการ โดยเฉพาะยานที่มีทําเลที่ดี ในอนาคตนั้นถาไมมีการ ปฏิ ร ู ป การใช ที่ ด ิ น หรื อ การกระจายอํานาจเพ�อ สรางความเจริญใหกับชนบท การขยายตั ว ของเมื อ งจะมาพรอ มกับภาระของคนที่ไ มส ามารถเปน เจา ของ ที่ อ ยู  อ าศั ย ได อาจเกิ ด โครงการการเชาอยูต ลอดชีว ิต เพ�อ สรางที่อยูอาศัย ใหกับประชาชน ผูที่เปนเจาของที่ดินผูกขาดอํานาจในการพัฒนาที่ดินตลอดจน การพั ฒ นาเมื อ ง และมี อ ิ ท ธิพลตอ การกําหนดวิถีชีว ิต ของผูคน เกิดความ เหล� อ มลํ้ า สู ง ขึ้ น นอกจากนี้การที่ไ มส ามารถจายคาที่อ ยูอ าศัยของตนเองได ยั ง ทํ า ให เ กิ ด การออกแบบพื้นที่บางอยางเพ�อ ตอบสนองความตอ งการของ คนกลุ  ม นี้ เช น การใช พื้ น ที่รว มกัน (Sharing Space) ในอนาคตการใช พื้ นที่ ร วมกั น จะมี ม ากขึ้ น ทั้งที่อ ยูอ าศัยและพื้นที่การทํางาน สําหรับ คนที่มี ความสามารถพอในการจายคาที่อยูอาศัยของตนเองอาจไดพื้นที่ขนาดเล็กลง กว า ป จ จุ บั น และจํ า เป น ต อ งใช พื้ น ที่ ท ุ ก ตารางนิ้ ว ให เ กิ ด ประโยชน ส ู ง สุ ด (Efficient Use of Space)

This driving force has been visible for some time and will become more important as we can see the price of land, which is a limited resource. Land price is based on demand, especially in prime locations. In the future, if there is no land use revolution of decentralization to rural areas, urbanization will mean residents cannot afford their assets. There may be a shift to rental lifestyles for people to have homes. Landowners may have monopoly power over land development and urban development and determine people’s ways of life, leading to more serious inequality. Unaffordability of private property may lead to shared spaces becoming more common for living and working. Purchasers may get less space than currently and have to use space as efficiently as possible.

Living with Vulnerability ความไมแนนอนในอนาคตนั้นสงผลกระทบในปจจุบันและตอเน�องถึงอนาคต แน น อน การใช ชี ว ิ ต อยู  บ นความไม แ น น อนเหล า นี้ ทํ า ให ว ิ ถี ชี ว ิ ต ของเรา เปลี่ยนแปลงไป และภาคสวนแรกที่ไดรับผลกระทบจากความไมแนนอนนี้คือ ภาครั ฐ ซึ่ ง ภาครั ฐ จะต อ งปรับตัว และออกแบบมาตรการที่ต อบสนองตอ การเปลี่ ย นแปลงเหล า นี้ การใช พรก. ฉุ ก เฉิ น และมาตรการ Social distancing อาจกลายเปนเร�อ งปรกติใ หมข องสังคมเพ�อ บรรเทาปญ หา ที่ เ กิ ด จากความเปราะบางทั้งทางภายภาพและชีว ภาพ ผลกระทบสืบเน�องจาก มาตรการภาครั ฐ นั้ น ทํ า ใหทุกภาคสว นตอ งปรับตัว ใหเขากับบริบทใหมของ สั งคม เช น การปฏิ ร ู ป ดว ยระบบดิจิทัล จะเขามามีบทบาทสําคัญ ในการใช ชีวิต ความเช�อมั่นในการอุปโภคบริโภคที่ลดลง และพฤติกรรมการใชชีวิตที่ เลี่ยงการปฏิสัมพันธซึ่งเสี่ยงตอปญหาดานสุขภาพจิตและปญหาทางอารมณ รวมถึ ง การเปลี่ ย นแปลงด า นสิ่ ง แวดล อ มและสภาพอากาศที่ อ  อ นไหวและ ไมแนนอนของ การดํารงชีวิตเหลานี้นอกจากจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแลว ยั ง ฝ ง รากลึ ก ลงไปในระบบความคิด ของผูคนดว ยเชนกัน

Uncertainty about the future affects the present. Living in uncertainty has changed our ways of life. First affected is the government sector, which must adapt and launch measures to respond to changes, such as the Emergency Situation Law and Social Distancing policy, which may become new social norms to reduce problems from physical and biological fragility. And this causes every sector to adapt to the new social context. For example, the digital revolution will play an important role in life. Lower confidence in consumption and lifestyles that avoid human interaction may affect mental and emotional health. Environmental threats and climate change and uncertainty in life will also affect people’s behavior and mindsets.

1

INEQUALITY AS A FRIEND

ความเหลื1อมลํ้ายังเปนปจจัยที่ขับเคลื1อนใหเกิดการปลี่ยนแปลงและเปนปญหาสําคัญในสังคม ในอนาคตเทคโนโลยีดิจิทัลพัฒนาไปไกลก็จริง แตเปนการพัฒนาเพื1อจุดประสงคทางการคา และมีราคาแพงทําใหคนไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีพื้นฐานได อีกทั้งรัฐบาลยังไมลงทุนใน โครงสร า งพื้ น ฐานเพื 1 อ แก ป  ญ หาความเหลื 1 อ มลํ้ า ทํ า ให คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนยํ่ า แย ไม มี เ งิ น ซื้ อ เทคโนโลยี เ พื 1 อ ความสะดวกสบายและไม มี กํ า ลั ง จ า ยค า ที่ พั ก อาศั ย ทํ า ให ต  อ ง อาศัยในหองเชาขนาดเล็กและใชพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด Inequality will be driving force for change and social problems. Although digital technology is advanced, it is only used for business. Its high price excludes ordinary people from easily obtaining it. Moreover, the government does not invest in infrastructure to solve inequality, which becomes worse as people cannot afford technology for their convenience and homelife. They have to stay in small, rented rooms and make the best of it.

SOCIETY

ECONOMY

สังคม

เศรษฐกิจ

คุณภาพชีวิตของคนบางกลุมเทานั้นที่ดี เพราะทั้งวิถีดิจิทัล และการออกแบบนั้นสรางมาเพื1อการคา ประชาชนสวนมาก ตองอยูกับความไมแนนอน ผูคนตองดิ้นรนดวยตนเอง ความเป นอยูและที่อยู อาศัยตอบความต องการของคน กลุมใดกลุมหนึ่ง แตไมสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให คนอื1นๆ อยางทั่วถึง

การกระจายรายไดของภาครั ฐล มเหลว ทําให ป จจัยการ เขาถึงโครงสรางพื้นฐานนั้นจํากัด ผูคนไมสามารถมีที่อยู อาศัยของตนเองได หรือบุคคลใดที่พอมีกําลังจ ายก็จะ ไดเพียงที่อยูอาศัยขนาดเล็กและแออัด นอกจากนี้ยังถูก ซํ้าเติมดวยสถานการณเศรษฐกิจที่เลวรายดวยเชนกัน

Quality of life of some groups is good since digitalization and design are used for commercial purposes. Most people have to live with uncertainty and struggle on their own. Housing only meets the needs of a few people and fails to elevate quality of life for the rest.

TECHNOLOGY

The government’s income distribution fails, so access to infrastructure is limited. People cannot afford homes. Those who can will have small and compact residences. They have also suffered in the economic downturn.

VALUES

เทคโนโลยี

คุณคา

เทคโนโลยีและอุปกรณดิจิทัลตางๆ นั้นสรางความสะดวก สบาย แตไมมีกฏระเบียบที่มากพอ เปนเครื1องมือเอารัด เอาเปรียบคุกคามประชาชน ผูกขาดโดยกลุมธุรกิจกลุมเดียว และมีชองโหวใหมิจฉาชีพนํามาใชเปนเครื1องมือคุกคามผูคน

ผู  ค นส ว นมากกลายเป น คนที่ ทํ า งานเลี้ ย งชี พ รายวั น หาเช า กิ น คํ่ า คิ ด ว า การใช ชี วิ ต ที่ ดี นั้ น ไม ส ามารถเกิ ด ขึ้ น ไดจริง รอคอยปาฏิหาริย ไมพัฒนาตนเอง คนที่มีท่ีอยู อาศัยหรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีกลายเปนคนเอารัดเอาเปรียบ ชนชั้นลาง

Technology and digital gadgets will create convenience but will not be adequately regulated. They will exploit people, put them at risk, and only some groups of businesses will have power over them. There will also be loopholes for criminals to use them to threaten people’s security.

Most people have to earn a living on a daily basis and see good quality of life as unattainable. They wait for a miracle and do not develop themselves. Those with good homes or quality of life will take advantage of other classes.

2

ONLY FOR THE PRIVILEGED

เศรษฐกิจของโลกโดยรวมจะเติบโต ตลอดจนเทคโนโลยีดิจิทัลที่กาวกระโดดชวยใหเราสามารถ เขาถึงสิ่งตางๆ ไดอยางงายดาย แตการไดมาซึ่งเทคโนโลยีที่กาวกระโดดนั้นแลกมาดวยตนทุน ที่สูง ทําใหการเขาถึงเทคโนโลยีจากประชาชนทั่วไปนั้นทําไดยากกวาปกติ บุคคลที่สามารถเขาถึง เทคโนโลยีเหลานี้ไดจําเปนตองมีรายไดสูง หรือเรียกไดวามีเฉพาะคนรวยเทานั้นที่จะไดอภิสิทธิ์นี้ ได ทั้งความสะดวกสบายในชีวิตประจําวั น และที่อยูอาศัยที่มีประสิทธิภาพ แต สําหรับ คนที่ไมมีกําลังจายก็จําเปนตองอยูกับชีวิตที่ไมมีคุณภาพตอไป The global economy has significantly developed and highly advanced digital technology helps us gain access to everything easily. However, acquiring highly advanced digital technology has high costs. Therefore, it is difficult for common people to gain access, which is a privilege for the rich. People on high incomes will be able to afford daily comfort and efficient homes, while others will have to live with low quality of life.

SOCIETY

ECONOMY

สังคม

เศรษฐกิจ

คุณภาพการใช ชีวิตสูง เนื1องจากการพั ฒนาทั้งทางดาน เทคโนโลยี และการออกแบบที่อยูอาศัย รวมถึงพฤติกรรม ในชีวิตประจําวันที่มีความยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลง ที่อยูอาศัยมีความลํ้าสมัย ออกแบบมาอยางดีเพื1อใหคน ทุกกลุมสามารถใชงานไดและเปนมิตรตอผูใชงาน โดยผูมี รายไดสูงจะมีโอกาสในการเขาถึงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีกวา

โครงสรางพื้นฐาน เทคโนโลยี และที่อยูอาศัยนั้นมีราคาแพง เพราะการลงทุนที่สูง ทําใหบุคคลที่มีเงินจายสิ่งเหลานี้จะมี โอกาสและตนทุนทางชีวิตที่ดีกวา คนดอยโอกาสตองรอ การชวยเหลือจากภาครัฐเทานั้น

Quality of living is high due to advances in technology, residential design, changing daily routines, and state-of-the-art and user-friendly home design for all kinds of residents. People on high incomes will have better access to this kind of residence and quality of life.

TECHNOLOGY

Infrastructure, technology, and housing are expensive due to high investment costs. People who can afford them have better opportunities and disproportionate resources. The underprivileged have to rely on government aid.

VALUES

เทคโนโลยี

คุณคา

วิถีดิจิทัลไดรับการพัฒนาถึงขั้นสูงสุด มีการลงทุนในการ พัฒนาอุปกรณอัจฉริยะตางๆ ใหมีความสะดวกสบาย ตอบโจทยคนที่มีรายไดสูงเปนหลัก และไมมีเทคโนโลยี ราคาถูกสําหรับผูมีรายไดนอย

ผูคนสวนมากในสังคมมีความคิดวาเงินคือพระเจา เพราะ ผูที่มีกําลังจ ายไดมากกวาทั้งการเข าถึงที่อยู อาศัยที่มี คุณภาพ และการเขาถึงปจจัย ทางเทคโนโลยีจะกลายเปน ผูที่มีอิทธิพล เปนชนชั้นแนวหนาที่ไดรับการยอมรับทาง สังคมมากกวาผูที่มีรายไดน อย

Digital life has evolved to the highest level and investment has been poured into the development of smart gadgets to create convenience for people on high incomes. However, there is no cheap technology for people on low incomes.

The idea that money is god is embedded in people’s mind since those with higher purchasing power can access high-quality homes. Access to technology will also empower people to be elite and more accepted by society than those with low incomes.

3

LOW-COST LIFESTYLE

ความสามารถในการเขาถึงสินคาและบริการเปนสิ่งที่สําคัญในชีวิต แตการเพิ่มขึ้นของประชากร จํานวนมากและการกระจายรายไดที่ไมทั่วถึง ทําใหภาครัฐจําเปนตองยื1นมือเขามาชวยเหลือดาน โครงสรางพื้นฐานและสวัสดิการตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งที่อยูอาศัย เนนใหมีจํานวนเพียงพอ ต อความต องการ ทําให ประชาชนสามารถมีที่พักขนาดย อมเป นของตนเองได และใหบริการ เครือขายทางดิจิทัลขั้นพื้นฐานสําหรับการดํารงชีวิต แตการชวยเหลือจากภาครัฐอาจเรียกไดวา เนนปริมาณ แตไมเนนคุณภาพ ถึงแมจะมีความสะดวกสบายแตอาจไมไดยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนโดยรวม Gaining access to goods and services is vital to people’s lives but huge population growth and unequal income distribution cause government to provide basic infrastructure and welfare, especially housing. The government will focus on providing enough supply for people’s demand, which will help people to have their own small home. The government will also provide enough basic digital networking services. Government provision, however, may focus on quantity not quality, providing convenience without greatly uplifting quality of life.

SOCIETY

ECONOMY

สังคม

เศรษฐกิจ

การออกแบบที่อยูอาศัยสามารถตอบโจทยความตองการ คนทุกกลุมวัยได มีเทคโนโลยีในการสรางความสะดวก สบายพอสมควร ถึงแม วาปจจัยพื้นฐานจะมีราคาถูก แต อาจขาดคุณภาพ เนื1องจากต องการสรางการเข าถึง จํานวนมาก คุณภาพชีวิตที่ได จึงไม ดีเท าที่ควร

ที่อยูอาศัยและการบริการพื้นฐานมีราคาเขาถึงได ทุกคน สามารถเขาถึงโครงสรางพื้นฐานและบริการ รวมถึงที่อยู อาศัยได ซึ่งอาจจะเกิดจากมาตรการชวยเหลือจากทาง ภาครัฐที่ใหผูคนมีที่อยูอาศัย

Home design may accommodate the needs of all groups of people with technology to create convenience. Basic utilities are cheap for mass access but may lack quality so quality of life may not significantly improve.

TECHNOLOGY

Homes and basic services are affordable, so everyone gains access, potentially including homes that result from state sectoral aid.

VALUES

เทคโนโลยี

คุณคา

เทคโนโลยีและอุปกรณอัจฉริยะตางๆ ไดรับการพัฒนา เพื1ออํานวยความสะดวกสบาย แตคุณภาพของเทคโนโลยี เปนเพียงแคระดับพอใช ซึ่งไม สามารถยกระดับคุณภาพ ชีวิต รวมถึงอาจมีการนําเทคโนโลยีไปใชในทางที่ผิด

ผูคนมีคานิยมเนนปริมาณ ไมเนนคุณภาพ เนนของถูก ไมเนนของดี เนื1องมาจากการเขาถึงปจจัยพื้นฐานในการ ดํารงชีวิตและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพนั้นมีตนทุนที่สูง

Technology and smart gadgets will be developed for comfort and convenience, but with merely acceptable quality, so they may not help improve quality of life. They might also be abused.

People value quantity over quality. They like items that are cheap rather than good quality, because high-quality utilities and technology may be expensive.

4

THIS IS COMFY!

ภาพอนาคตนี้ อ าจเป น สิ่ ง ที่ เ ราทุ ก คนอยากให เ กิ ด ขึ้ น จริ ง คื อ การมี ที่ อ ยู  อ าศั ย ที่ เ รี ย กว า บ า น ที่มีท้ังความอบอุนจากครอบครัวหลายชวงวัย และมีเทคโนโลยีท่ีทันสมัยที่ชวยใหผูคนทุกกลุม มีความสะดวกสบายในการใชชีวิต ทั้งเปนตัวชวยเหลือดานการสื1อสาร สรางความเขาใจและ เชื1อมผูคนต างวัยให มีกิจกรรมรวมกัน นอกจากนี้ราคาของที่อยูอาศัยและอุปกรณอัจฉริยะ มีราคาไมแพง ทําใหทุกคนสามารถเขาถึงได มีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดภัย สะดวกสบาย และ มีความสุขในทุกชวงวัยของชีวิต People can aspire to have homes full of warmth with several generations and modern technology to create convenience and help them communicate, connect, and enjoy activities together. Home and smart gadgets are affordable so everyone can have good quality of life with comfort, safety, and happiness in every phase of life.

SOCIETY

ECONOMY

สังคม

เศรษฐกิจ

คุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางรางกายและจิตใจ ไมมีความเสี่ยง หรือความกังวลตอสถานการณที่ไมแนนอน มีโครงสราง พื้นฐานที่ครอบคลุมคนทุกกลุม การออกแบบที่อยูอาศัย ผสมผสานเทคโนโลยีอย างลงตัว ช วยให คนทุกกลุม เกิดความสะดวกสบายภายในที่อยูอาศัย

คนทุกกลุมสามารถเข าถึ งปจจัยในการดํารงชีวิต ทั้ง ที่อยูอาศัยและสิ่งของจําเปนในการใชชีวิต ค าที่พักอาศัย มีราคาไม สูง การกระจายรายไดทั่วถึง เศรษฐกิจดําเนินไป ด วยการขับเคลื1อนจากวิ ถีดิจิทัลที่เพิ่มขึ้น

Good quality of physical and mental health, living without worry from uncertainty, availability of infrastructure for all groups of people, design of home with the assistance of technology for everyone to feel comfortable at home.

TECHNOLOGY

All groups of people can access the essentials of life, from housing to daily essentials. Residences are affordable, income distribution is equal, and the economy is further driven by digitalization.

VALUES

เทคโนโลยี

คุณคา

มีเทคโนโลยีที่ชวยใหคนทุกกลุมสามารถเขาถึงผูคนและ สิ่งตางๆ ไดมากขึ้น การสื1อสารระหวางบุคคลและอุปกรณ อัจฉริยะ ราบรื1น ไรรอยตอ กิจกรรมในชีวิตประจําวัน ถูกปรับใหเขากับวิถีดิจิทัล

ความเป นอยูและการให คุณค าแก คนทุกกลุ มถูกสะทอน ออกมาจากการออกแบบที่ครอบคลุมคนทุกกลุม ทุกวัย ไมจํากัดเพศหรืออายุ ผูคนมีทักษะทางดิจิทัลประหนึ่ง เป นทักษะในการดํารงชีวิต

Technology is available to help people gain more access to other groups of people and objects. Communication with gadgets is smart, smooth, and seamless, and daily activities are adapted to digital lifestyles.

Inclusion of all kinds of people is reflected in Universal Design that encompasses all kinds of life, genders, and generations. Digital skills will become life skills.

บรรณานุกรม REFERENCES

• • • • • •

Nation's leading apartment resource, Forrent.com Production builders: Falling behind in the smart home trend?, levven.com 29 Wearable Technology Industry Statistics, Trends & Analysis, Brandon Gaille Latest trends in medical monitoring devices and wearable health technology, Alicia Phaneuf Life expectancy at birth, World Bank Group Treasury Department, Ministry of Finance

ศูนยวิจัยฟวเจอรเทลส แล็บ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเมนต คอรปอเรชั่น จํากัด

สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

Data Loading...