โรค ฺBipolar - PDF Flipbook

โรค Bipolar ที่มา : bupphamusika

120 Views
17 Downloads
PDF 2,948,461 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


สารบัญ ความหมาย สาเหตุ อาการของโรค แนวทางการรักษา ข้อควรปฏิบัติ การปองกันการกลับเปนซํา

1 2 3 5 6 7

1

2 โรคไบโพลาร์ โรคที มี ค วามผิ ด ปกติ ของ อารมณ์ เ ด่ นชั ด โดยมี อ ารมณ์ เศร้ า มากผิ ด ปกติ ร้ อ งไห้ อ่ อนเพลี ย อยากตาย หรื อ อาจ มี อ ารมณ์ ดี มากผิ ด ปกติ ครึ ก ครื น พู ดมาก ผู้ ป วยอาจมี อาการเพี ย งด้ านเดี ยว กรณี อารมณ์ ค รื นเครง หรื อ มี อาการสองด้ านก็ ได้

3

สาเหตุ ข องโรคไบโพลาร์ คนกลุ่ ม ไหนเปนโรคไบโพลาร์ ม ากกว่ า กั น จากสถิ ติ จะพบว่ า ผู้ ป วยโรคนี มั ก เริ มเปน ก่ อนวั ย กลางคน บางรายเริ มเปนตั งแต่ อายุ ยั ง ไม่ ถึ ง 20 ป ช่ ว งวั ย รุ่ น แต่ อาการไม่ ปรากฏชั ด ทํา ให้ คนไม่ สั ง เกต แต่ ก็ มี บ าง รายที มาเริ มเปนหลั ง อายุ 40 ปได้ ส่ ว น สาเหตุ นั น เชื อว่ า เกิ ดจากการทํา งานที ผิ ด ปกติ ของสมอง โดยมี ส ารสื อนํา ประสาทที ไม่ ส มดุ ล คื อมี ส ารซี โ รโทนิ น เกิ นไป และ สารนอร์ เ อพิ เ นฟริ น มากเกิ นไป นอกจาก นี ยั ง เกี ยวข้ อ งกั บปจจั ย ทางพั น ธุ กรรม ค่ อนข้ า งมาก หากแพทย์ ล องซั ก ผู้ ป วยดี ๆ จะพบว่ า ผู้ ป วยจะมี ญ าติ บางคนปวยเปน โรคนี ด้ วย ทํา ให้ อาจบอกได้ ว่ า ลู ก หลาน ของผู้ ป วยโรคไบโพลาร์ มี โ อกาสที จะปวย เปนโรคนี ได้ มากกว่ า คนทั วไป

4

5

อาการของโรค

6

ระยะซึ ม เศร้ า จะรู้ สึ ก เบื อหน่ า ยไปหมด ไม่ เ พลิ น ใจไป หมด อารมณ์ อ่ อนไหวง่ าย ร้ อ งไห้ ง่ าย ทนเสี ย งดั งไม่ ไ ด้ ไม่ อ ยากพบใครหรื อ ไม่ อ ยากทํา อะไร ถ้ าเบื อมากอาหารการ กิ นก็ ไม่ ส นใจ นําหนั ก ลด นั งเฉยๆ นาน เปนชั วโมง ใจลอยหลงๆ ลื ม ๆ ไม่ มั นใจ ตั ดสิ น ใจไม่ ไ ด้ คิ ดว่ า ตนเองเปนภาระ และหากมี อ าการหนั ก จะถึ งขั นฆ่ า ตั ว ตาย

ระยะพลุ่ ง พล่ า นฟุ งเฟอ อารมณ์ เ ปลี ยนแปลงง่ า ย มี ค วามมั นใจ ในตั ว เองมาก รู้ สึ ก ว่า ตั ว เองเก่ ง พู ด มาก คล่ อ งแคล่ ว ทั ก ทายคน พู ด เสี ย ง ดั ง ขาดความยั บ ยั งชังใจ แต่ ง ตั ว แปลกๆ ใช้จ่ า ยเสิ นเปลื อ ง ไม่ คิ ด ถึ ง กฎ เกณฑ์ ข องสั ง คม พลุ่ ง พล่ า น หากถู ก ห้ า มปรามหรื อ ขั ด ขวางในสิ งที ต้ อ งการ จะหงุ ดหงิ ด ฉุ น เฉี ย ว นอนดึ ก หรื อ ไม่ นอน

แนวทางในการรั ก ษาโรคไบโพ ลาร์ 1.การรั ก ษาได้ ด้ ว ยการใช้ย า ได้ แ ก่ ยาในกลุ่ ม ยา ควบคุ ม อารมณ์ (mood stabilizers), ยารั ก ษา โรคจิ ต และยาโรคซึม เศร้ า (antidepressants) ใช้ ยาไปช่ว ยในการปรั บ สารสื อนํา ประสาทตรงให้ ก ลั บ มา ทํา งานได้ อ ย่ า งปกติ เรี ย กชือกลุ่ ม ยานี ว่า กลุ่ ม ปรั บ อารมณ์ ใ ห้ ค งที mood stabilizer ซึงจะมี ย าเฉพาะ ไม่ กี ตั ว ที จะใช้ใ นการรั ก ษาที จะช่ว ยอาการนี ได้ ช่ว ง ระยะการรั ก ษาช่ว งแรกจะเปนการคุ ม อาการให้ ก ลั บ มา เปนปกติ ที สุ ด ภายใน 1 สั ป ดาห์ ก่ อ น หรื อ อย่ า งช้า 1 เดื อ น หลั ง จากนั นจะเปนการรั ก ษาต่ อ เนื อง อาจต้ อ ง ใช้ย าคุ ม อาการ ระยะเวลาการรั ก ษาขึ นอยู่ กั บ อาการ คนไข้ เ ปนสํา คั ญ ในคนไข้ บ างราย 1 ป อาจมาพบหมอ แค่ 2-4 ครั งเท่ า นั น ไม่ ต้ อ งอยู่ โ รงพยาบาลตลอด

แนวทางในการรั ก ษาโรคไบโพลาร์ 2.การรั ก ษาด้ ว ยจิ ต บํา บั ด ผู้ ป วยโรคอารมณ์ ส องขั วมั ก เจอกั บ ปญหาใน ด้ า นต่ า ง ๆ ที เปนผลจากโรค การทํา จิ ต บํา บั ด จึ ง มี ป ระโยชน์ ม าก ผู้ ป วยจะเรี ย นรู้ เ กี ยวกั บ ตั ว เองและการจั ด การปญหาต่ า ง ๆ ที เข้ า มาใน ชีวิต ได้ ดี ขึ น นอกจากนั นยั ง มี กิ จ กรรมบํา บั ด อื น ๆ ที มี ป ระโยชน์ เช่น ดนตรี บาํ บั ด ศิ ล ปะ บํา บั ด และโยคะ

แนวทางในการรั ก ษาโรคไบโพลาร์ 3.การรั ก ษาด้ ว ยไฟฟา ในกรณี ที ผู้ ป วยมี อ าการรุ น แรงมาก หรื อ ตั ว โรคตอบสนองต่ อ ยาไม่ ดี เ ท่ า ที ควรรั ก ษาด้ ว ยไฟฟา เปนตั ว เลื อ กหนึ งที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี โดยกระแสไฟฟาจะ กระตุ้ น สมองเพื อปรั บ สารเคมี ต่ า ง ๆ ผู้ ปวยจะต้ อ งนอนโรงพยาบาลเพื อ ติ ด ตามอาการอย่ า งใกล้ ชิด บางราย อาจมี ป ญหาด้ า นความจํา ช่ว งสั น ๆ แต่ ยั ง ไม่ พ บว่า การรั ก ษาด้ ว ยไฟฟา มี ผ ล เสี ย ต่ อ สมองในระยะยาว

ข้ อ ควรปฏิ บั ติ 1.กิ น ยาอย่ า งถู ก ขนาด และสมําเสมอ ตรงตามเวลาตามแพทย์ สั งทุ ก มื อ (สามารถรั ก ษาอาการในช่ว งเฉี ย บพลั น ได้ ดี /สามารถปองกั น การกํา เริ บ ของ โรคได้ ) 2.พบแพทย์ ต ามนั ด ทุ ก ครั ง 3.ดู แ ลตั ว เอง (ห้ า มอดนอน หลี ก เลี ยงเครื องดื มชู กํา ลั ง กาแฟ ห้ า มใช้ สารเสพติ ด สุ ร า แอลกอฮอล์ อย่ า เครี ย ด)

แล้ ว จะอยู่ อ ย่ า งไร.เมื อเปนไบโพ ล่ า ร์ ? โรคไบโพล่ า ร์ เปนโรคเรื อรั ง มี โ อกาส กลั บ เปนซําได้ จึ ง จํา เปนต้ อ งรั บ ประทานยาเพื อให้ ช่ว ยควบคุ ม อารมณ์ ให้ อ ยู่ ใ นภาวะปกติ

การปองกั นกลั บ เปนซํา กิ น ยาให้ ต่ อ เนื อง ผู้ ป วยโรคอารมณ์ สองขั ว เมื อมี อ าการปวยแล้ ว จะมี โอกาสกลั บ เปนซําตลอดช่ว งชีวิต ทั ง ภาวะเมเนี ย (Mania episode) ภาวะ ผสม (Mixed episode) และภาวะซึม เศร้ า (Depressive episode) ซึงจะ ทํา ให้ ค วามสามารถในการดํา เนิ น ชีวิต ของผู้ ป วยลดลง มี ค วามบกพร่ อ งของ หน้ า ที การงาน

ญาติ และครอบครั ว ..กํา ลั ง ใจที สํา คั ญ ญาติ มี บ ทบาทสํา คั ญ ในการดู แ ลให้ ผู้ ปวยรั บ ประทานยาและปฏิ บั ติ ต าม แผนการรั ก ษารวมทั งหลี ก เลี ยงปจจั ย กระตุ้ น ให้ เ กิ ด อาการกํา เริ บ ดั ง นั นญาติ ผู้ ป วยจึ ง เปนผู้ ที มี ค วามสํา คั ญ มากที จะ ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลและช่ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ให้ มี ค วามสามารถในการดู แ ล ผู้ ป วยได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมไม่ มี อาการกํา เริ บ รุ น แรงไม่ ก ลั บ ปวยซําและ สามารถดํา รงชีวิต อยู่ ใ นครอบครั ว และ ชุ ม ชนได้

ให้ โอกาส.ผู้ ป วยไบโพล่ า ร์ สิ งสํา คั ญ ที สุ ด คนรอบข้ า งต้ อ ง เข้ า ใจในผู้ ป วยที เปนภาวะเช่น นี ด้ ว ย ผู้ ปวยไบโพลาร์ เปนบุ ค คลที มี ค วาม สามารถที ไม่ ไ ด้ ด้ อ ยไปกว่า คนอื น เพราะ ฉะนั นการที ทุ ก คนมองผู้ ป วยไบโพลาร์ ไม่ ต่ า งจากผู้ ป วยโรคอื นๆ ที สามารถ รั ก ษาได้ ก็ จ ะช่ว ยคนที เปนไบโพลาร์ เ ข้ า สู่ ก ระบวนการรั ก ษาและใช้ชีวิต ได้ อ ย่ า ง มี ค วามสุ ข เช่น เดี ย วกั บ คนทั วไป

Data Loading...