วิจัย b slim model - PDF Flipbook

วิจัย b slim model

113 Views
23 Downloads
PDF 101,409 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


130 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

การใชการสอนแบบบีสลิมเพื่อสงเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 USING B-SLIM MODEL TO PROMOTE ENGLISH LANGUAGE SKILLS OF MATHAYOM SUKSA 2 STUDENTS ปารณัท ศุภพิมล1* และจารุณี มณีกุล2 Paranat Suphapimol1* and Jarunee Maneekul2 1,2Faculty

1,2คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม of Education, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand *Corresponding Author, E-mail: [email protected]

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบทักษะการฟง-พูด ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนหลังการเรียน แบบบีสลิม เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนกอนและหลังการเรียนแบบบีสลิม และ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิม กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คนควาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/2 โรงเรียนสองแคววิทยาคม อําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม ที่กําลังศึกษารายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 22102) ในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 จํานวน 28 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการสอนภาษาอังกฤษแบบบีสลิมที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น จํานวน 5 แผนการสอน แผนการสอนละ 4 คาบ รวมทั้งหมด 20 คาบ คาบละ 60 นาที เครื่อ งมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอ มูล ไดแก แบบทดสอบทักษะการฟง-พูด ภาษาอังกฤษ แบบทดสอบทักษะการอานภาษาอังกฤษ และแบบประเมินทักษะ การเขียนภาษาอังกฤษ จากนั้นนําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คารอยละ โดยใช โปรแกรมคอมพิวเตอร ผลการวิจัยสรุป ไดวา 1. ทั ก ษะการฟ ง พู ด ภาษาอัง กฤษของนัก เรีย นหลัง การเรีย นแบบบีส ลิม ผ า นเกณฑ รอ ยละ 50 ที่กําหนดไว 2. ทักษะการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้น จากระดับไมผานเปนระดับดีหลังการเรียนแบบ บีสลิม 3. ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิม ผานเกณฑรอยละ 50 ที่กําหนดไว

คําสําคัญ: การสอนแบบบีสลิม ทักษะการฟง-พูดภาษาอังกฤษ ทักษะการอานภาษาอังกฤษ ทักษะการเขียน

ภาษาอังกฤษ

Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.3 July - September 2018 | 131

Abstract

The purposes of this research were to compare English listening and speaking abilities of students after learning through B-SLIM model, to compare the students’ English reading ability before and after learning through B-SLIM model, and to compare English writing ability of students after learning through B-SLIM model. The target group was 28 students of Mathayom Suksa 2 who enrolled in the Fundamental English ( Eng. 22101) during the second semester of the academic year 2013 at Songkaew Wittayakom School, Doi Law District, Chiang Mai. The experimental instruments were 5 lesson plans each of which was designed for 4 periods. The students were taught for 20 periods. Each period took 60 minutes. The data collecting instruments were an English listening and speaking ability test, English reading ability test and English writing ability test. The data obtained were analyzed for mean, standard deviation, and percentage by using the computer program. The findings of this research were as follows: 1. After learning through the B-SLIM Model, the students’ English listening and speaking abilities were passed the preset criteria of 50%. 2. After learning through B-SLIM Model, the students’ English reading ability increased from a need improvement level to a good level. 3. After learning through the B- SLIM Model, the students’ English writing ability was passed the preset criteria of 50%.

Keywords: B-SLIM Model, Listening, Speaking Skill, Reading Skill, Writing Skill ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ภาษาถือเปนสื่อกลางหรือเปนเครื่องมือของการรับรู ทําความเขาใจและการแสดงออกเพื่อใหผูอื่นรับรู และเข า ใจป จ จัย หลัก ของการเรียนรูภ าษาทั้ งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ซึ่ งนั้น หมายถึง การสื่อสารใน ชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพและสามารถประยุกตใชในสถานการณที่แตกตางกันออกไปได จะเห็นไดวา สังคมในปจจุบันนี้ภาษาอังกฤษเขามามีบทบาทสําคัญอยางมาก ทั้งในเรื่องการศึกษา การทํางาน หรือแมกระทั้ง ดานเศรษฐกิจที่มีการติดตอในเรื่องธุรกิจ ลวนแตมีภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือในการสื่อสารดวยกันทั้งนั้น อีกทั้ง ปจจุบันประชาคมอาเซียนเปนตัวกระตุนใหทุกคนตระหนักถึงความสําคัญ ของภาษาอังกฤษอยางมากมายและ เดนชัดขึ้นมากกวาเดิม ดังนั้น การใชภาษาอังกฤษจึงเปนที่ตองการเพิ่มมากขึ้นจากสังคม ดั ง นั้ น ภาษาอั ง กฤษจึ ง เป น เครื่ อ งมื อ อั น ดั บ หนึ่ ง สํ า หรั บ พลเมื อ งอาเซี ย น ในการสื่ อ สารสร า ง ความสัมพันธสูโลกกวางของภูมิภาคอาเซียน โลกแหงมิตรไมตรีที่ขยายกวางไรพรมแดน โลกแหงการแขงขันไร ขอบเขตภูมิศาสตรและวัฒนธรรม (Onwimon, 2011) ภาษาอังกฤษปจจุบัน คือ ภาษานานาชาติ ภาษาอังกฤษ เป น ภาษากลางของมนุ ษ ยชาติ เมื่ อ ต อ งติ ด ตอ กั บ คนอื่ น ที่ ต า งภาษาต า งวั ฒ นธรรมกั น ทุ ก คนจํ า เป น ตอ งใช ภาษาอังกฤษเปนหลักอยูแลว แตอีกปจ จัยที่มีความสํา คัญ คือ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ จะทําอยางไร ใหการเรียนภาษาอังกฤษนั้นมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมตัวและพรอมเขาสูการเปดเสรีอาเซีย น อยางมีคุณภาพประเด็นแรก คือ การศึกษา จะเห็นไดวาประเทศไดตระหนักถึงการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

132 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

อยูแลว แตการเรียนรูดังกลาวนั้นยังไมสอดรับกับจุดมุงหมายในการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเทาที่ควร เพราะความสามารถในการสื่อสารตามหลักสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้ นพื้น ฐานพุทธศัก ราช 2551 หมายถึง ความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและ สังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวย หลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสังคม Angwatanakul (1996, pp. 17–21) กลาวถึงการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารวา การสอนภาษา เพื่อการสื่อสารเปนแนวคิดที่เกิดจากความตระหนักถึงความจริงที่วาความรูความสามารถทางดานศัพทไวยากรณ และโครงสรา งทางภาษาเพียงอยางเดียวไมสามารถชวยใหผูเ รีย นใชภาษาที่เ รีย นไดอยางมีประสิทธิภาพและ เหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่น การใชภาษาเพื่อการสื่อสารเปนการใชภาษาระหวางผูรับสารและผูสงสารปจจุบัน เปนที่ยอมรับวาวิธีสอนที่ทําใหผูเรียนสามารถนําภาษาไปใชในการสื่อสารไดจริง (Actual Communication) คือ แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach) เนื่องจากจุดมุงหมายหลักของวิธีการสอน ดังกลาวเนนความสามารถในการสื่อสาร (Communicative Competence) ของผูเรียน Chomsky (as cited in Angwatanakul, 1996, p. 4) ในการเรียนรูภาษาตางประเทศนั้น ทักษะภาษาทั้งสี่ถือวามีความสําคัญอยางมาก โดยเฉพาะผูเรียน อังกฤษเปนภาษาที่สองอยางประเทศไทยตามหลัก สูตรแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ไดอ ธิบาย เกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศที่มุงหวังใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอภาษาตางประเทศ สามารถใช ภาษาตางประเทศสื่อสารในสถานการณตางๆ แสวงหาความรู ประกอบอาชีพ และศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นรวมทั้ง มีความรูความเขาใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถายทอดความคิดและ วัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอยางสรางสรรค อีกทั้งยังอธิบายถึงสาระสําคัญที่วาดวยภาษาเพื่อการสื่อสาร หมายถึงความสามารถการใชภาษาตางประเทศในการฟง พูด อาน และเขียน แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดง ความรูสึกและความคิดเห็น ตีความ นําเสนอขอมูลความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องตา งๆ และสราง ความสัมพันธระหวางบุคคลอยางเหมาะสม เมื่อพิจารณาการเรียนภาษาอังกฤษในปจจุบัน พบวา ผูเรียนมีประสบ ปญหาในเรื่องทักษะทางภาษาอังกฤษ ในดานปญหาของทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษนั้น จะเห็น ไดว า การเรีย นการสอนไมไ ดใ หนัก เรีย นไดพั ฒนาทั กษะอยา งแทจ ริง เพราะผู ส อนจะเนน ไปในดา นการแปล เนนความจําคําศัพท กฎไวยากรณ ซึ่งไมสงเสริมทักษะการคิด ทําใหนักเรียนไมเขาใจในการอาน ไมสามารถสรุป องคค วามรูจ ากการอ า นใหอ อกมาเปนคํา พูดหรือตัว อักษรได ประกอบกับ ผูส อนไมไ ดสอนให นัก เรีย นฝกฝน กระบวนการอานอยางแทจริง แตจะสอนโดยวิธีแปลเปนภาษาไทย แทนที่จะใหนัก เรียนทําความเขาใจโดยใช ภาษาอังกฤษ (Hiran, 1997) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Phuvipadawat (1997) ไดสรุปหลักการสอนทักษะ การอานวา ทักษะการอานตองอาศัยประสบการณหรือความรูเดิม ในการทําความเขาใจสิ่งที่อาน สิ่งแวดลอม และ กิจกรรมการเรียนการสอนก็มีอิทธิพลที่จะชวยใหผูเรียนเกิดความพอใจในการเรียน โดยผูสอนตองจัดกิจกรรมที่ เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความถนัดในการเรียน และตองใหนักเรียนใชภาษาอังกฤษใหมากที่สุดไมควรใช ภาษาไทย ควรสอนใหนักเรียนมีความสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการทําความเขาใจกับสิ่งพิมพในรูปแบบ ตางๆ ที่ปรากฏจริงในชีวิตประจําวัน มีแบบฝกหัดใหนักเรียนใชภาษาโดยอัตโนมัติและจัดกิจกรรมทางภาษาที่เปด โอกาสใหนักเรียนไดฝกใชภาษา เพื่อติดตอสื่อสารในสถานการณจริง และกิจกรรมตองมีสภาพการณใกลกับความ เปนจริงมากที่สุด จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวา ปญหาของทักษะภาษาอังกฤษของผูเรียนทั้งดานคําศัพทและ โครงสรางทางภาษาจํากัดรวมทั้งขาดความรูเดิมในเรื่องที่เรีบย อีกทั้งการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมไมมี

Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.3 July - September 2018 | 133

ความเหมาะสมหรือไมมีประสิทธิภาพเพียงพอในการพัฒนาทักษะได เปนสาเหตุสําคัญที่ทาํ ใหการเรียนการสอนไม ประสบความสําเร็จ ดังนั้น จากปญหาการสอนทักษะทางภาษาดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในไทยไมสามารถพัฒนาทักษะทั้ง 4 ในการเรียนรูภาษาตางประเทศอยางมีประสิทธิภาพได จากการศึกษาการเรียน การสอนเพื่อสงเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษ พบวา การสอนแบบบีสลิม (B-SLIM Model) นาจะเปนการสอนที่ สามารถพัฒนาและสงเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยวิธีการสอนแบบบีสลิมเปนการสอน รูปแบบหนึ่งของการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองเพื่อมุงเนนการสื่อสารโดยอาศัยหลักการและแนวคิดทฤษฎี ดานความรูความเขาใจ (Cognitive Science) ซึ่งมุงเนนการศึกษาความสัมพันธระหวางจิตใจกับสมองของมนุษย ภายใตแนวคิด ของ Piaget, Vygotsky และ Gagne อีกทั้งทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง (Constructivism) ตามแนวคิดของ Bruner ซึ่งหมายถึง การเรียนรูเปนกระบวนการที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดวยตนเอง ผูเ รี ย นแตล ะคนจะมีป ระสบการณแ ละพื้ นฐานความรูที่แ ตกตา งกัน การเรีย นรูจ ะเกิด จากการที่ผูเรีย นสรา ง ความสัมพันธระหวางสิ่งที่พบใหมกับความรูเดิมแลวนํามาสรางเปนความหมายใหม โดยการสอนนี้สอดคลองตาม แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language Teaching) หลักการของวิธี สอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมุงใหผูเรียนใชภาษาที่เรียนในการสื่อสารทําความเขาใจระหวางกัน การสอนแบบ บีสลิมนั้น มีลักษณะสงเสริมผูเรียนใหสามารถนําความรูท่มี ีอยูแลวมาผสมผสานกับความรูใหมพรอมกับสรางองค ความรูดวยตนเองได ซึ่งจะทําใหเกิดกระบวนการคิดที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งการกิจกรรมการเรียนการสอนไดเนน การพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง 4 ทักษะ ซึ่งความสามารถในการสื่อสารที่ดีนั้นตองมีการพัฒนาทั้ง 4 ทักษะฟง พูด อาน และเขียนไปพรอมๆ กัน ทักษะดังกลาวจะถูกสงเสริมและพัฒนาในกิจกรรมการสอนแบบบีสลิม เพื่อสงเสริม ทักษะทางภาษาอังกฤษ โดยคัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับระดับของผูเรียนและสอดคลองกับกลุมสาระการเรียนรู ภาษาต า งประเทศ จากนั้ น นํ า เนื้ อ หาที่ เ หมาะสมมาเขี ย นแผนการสอนแบบบี ส ลิ ม เพื่ อ ส ง เสริ ม ทั ก ษะทาง ภาษาอังกฤษ โดยแตละแผนการสอนประกอบดวยขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้ น วางแผนและการเตรี ย ม (Planning and Preparation) จะเลื อ กกิ จ กรรม และเนื้ อ หาให สอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรและความสนใจของผูเรียนนอกจากนั้นครูตองจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ ที่ จําเปนเพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูสื่อตองนาสนใจและสอดคลองกับเนื้อหาและควรเปนสื่อของจริง 2. ขั้นทําความเขาใจตัวปอนหรือขอมูลความรูใหม (Comprehensible Input) ขั้นนี้ครูตองอธิบาย ความรูขอมูลหรือตัวปอนใหมโดยตั้งอยูบนฐานความรูเดิมของผูเรียนครูสามารถใหตัวปอนเหลานี้ ในการที่นักเรียน จะเขาใจหรือเกิดการเรียนรูมากขึ้น 3. ขั้นกิจกรรมเพื่อความเขาใจและฝก ทักษะ (Intake Activity) การทํากิจกรรมเพื่อฝกทักษะทาง ภาษาอังกฤษทั้ง 4 ดานเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจตัวปอนที่ไดรับและพัฒนาทักษะฟง พูด อาน และเขียน 4. ขั้นผลิตผลงาน (Output) ในขั้นนี้ สงเสริมใหผูเรียนใชภาษานอกหองเรียนทั้ง 4 ทักษะ สงเสริมให ผูเรียนใชภาษานอกหองเรียนทั้งทักษะฟง พูด อานและเขียนลักษณะกิจกรรมขั้นนี้เปนกิจกรรมสรางสรรคและ สวนมากเปนกิจกรรมเดี่ยว (Individual Activity) เชนโครงงาน การเขียนไดอารี่ เรียงความ เรื่องสั้นเปนตน 5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) ขั้นการสอนนี้ครูรวบรวมขอมูลตางๆ จากการสังเกตหรือซักถาม ผูเรียนในขั้นตางๆ เพื่อตองการทราบปญหาตางๆ และแกไขปญหาในการสอนครั้งตอไปขั้นนี้เปนขั้นการประเมินผล การเรียนของนักเรียนครูอาจใชการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) และการสอบเก็บคะแนน กอนและหลังเรียน

134 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

จากขั้นตอนกิจกรรมการสอนแบบบีสลิมจะเห็นไดวามีการเรียนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมีหลักที่ สําคัญ ในการจัดกิจ กรรมการเรีย นรูวาในการเรีย นตรงกับ ความตองการหรือความสนใจของผูเรีย นเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนในชั้นเรียนมากที่สุด มีการเนนใหผูเรียนสามารถสรางสรางองคความรูได ดวยตนเอง หมายถึง สามารถเรียนรูจากประสบการณในสภาพความเปนจริง และสืบคนหาความรูดวยตนเอง อีกทั้งผูเรียนสามารถพึ่งพาตนเอง เพื่อใหเกิดทักษะที่จะนําสิ่งที่เรียนรูไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน ไมเนนที่การ จดจําเพียงเนื้อหาเพียงเพื่อการสอบใหผานไปเนนการประเมินตนเอง เดิมผูสอนเปนผูประเมิน การเปดโอกาสให ผูเรียนประเมินตนเองอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง จะชวยใหผูเรียนเขาใจตนเองไดชัดเจนขึ้น รูจุดเดนจุดดอยและ พรอมที่จ ะปรับปรุงหรือพัฒนาตนเองใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เนนความรวมมือ ซึ่งเปนทักษะที่สําคัญในการดําเนิน ชีวิตประจําวัน และมีรูปแบบการเรียนรู ซึ่งอาจจัดไดทั้งในรูปเปนกลุมหรือเปนรายบุคคล

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิม 2. เพือ่ เปรียบเทียบทักษะการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนกอนและหลังการเรียนแบบบีสลิม 3. เพือ่ เปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิม

ขอบเขตของการวิจัย

กลุมเปาหมาย 1. กลุมเปาหมาย ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/2 โรงเรียนสองแคววิทยาคม อํา เภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม ที่กําลังศึกษารายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 22102) ในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 จํานวน 28 คน กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/2 โรงเรียนสองแคววิทยาคม อําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม ที่กําลังศึกษารายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 22102) ในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 จํานวน 28 คน ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรตน ไดแก การสอนแบบบีสลิม 2. ตั ว แปรตาม ได แ ก 1) ทั ก ษะการฟ ง พู ด ภาษาอั ง กฤษ 2) ทั ก ษะการอ า นภาษาอั ง กฤษ และ 3) ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เนื้อหา เนื้อหาที่ใชในการวิจัย โดยคัดเลือกเนื้อหาจากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ Team Up in English 2 มี ทั้งหมด 5 เรื่อง ดังนี้ 1) Barcelona is better, 2) The best holiday ever, 3) She was sitting next to you, 4) We could join a club, 5) Are you coming back? นิยามศัพทเฉพาะ การสอนแบบบีสลิม หมายถึง การสอนเพื่อสงเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษ เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรู สื่อสารและสรางองคความรูได ซึ่งมีขั้นตอนการสอน คือ 1) ขั้นวางแผนและการเตรียมมีการเลือกกิจกรรม และ เนื้อหาใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรและความสนใจของผูเรียน 2) ขั้นตัวปอนความรูใหมโดยตั้งอยูบน ฐานความรูเ ดิม ของผูเ รีย น เมื่อ ผูเ รีย นได ตัว ป อน 3) ขั้ นจัด กิ จ กรรมเพื่อ ความเขา ใจและฝก ทั ก ษะภาษาทั้ ง

Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.3 July - September 2018 | 135

4 ทักษะ เพื่อใหผูเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น 4) ขั้นผลิตผลงานสงเสริมใหผูเรียนใชภาษานอกหองเรียนทั้ง 4 ทักษะ 5) ขั้นประเมินผล เพื่อประเมินและตรวจสอบตัวผูเรียน วิธีดําเนินการวิจัย 1. กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/2 โรงเรียนสองแคววิทยาคม จัง หวั ดเชีย งใหม จํา นวน 28 คน ที่ กํ า ลัง ศึก ษารายวิ ชา ภาษาอัง กฤษพื้ นฐาน (อ 22102) ในภาคเรีย นที่ 2 ปการศึกษา 2556 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย แผนการสอนที่สรางขึ้นโดยใชการสอนแบบบีสลิม จํานวน 5 แผน แผนละ 4 คาบ คาบละ 60 นาที รวมทั้งหมด 20 คาบ โดยผานการตรวจสอบจากอาจารยที่ป รึกษาวิทยานิพ นธและผูเชี่ยวชาญจํานวน 4 ทาน ประเมินคาความคิดเห็น 4 ระดับ ครอบคลุม 7 ประเด็นหลัก ไดแก จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาของบทเรียน กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน ขั้นนําเสนอ ขั้นฝก ขั้นนําไปใช และการประเมินผล ผลการประเมิน พบวา บทเรียนมี ระดับประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งผานเกณฑ 2.50 ที่ตั้งไว ขั้นตอนการสรางแผนการเรียนแบบบีสลิม 1. ศึ ก ษาค น คว า เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ศึ ก ษาขั้ น ตอนในการสอนและกิ จ กรรม เพื่อนํามาใชในการสอนแบบบีสลิม 2. ศึก ษาคํา อธิบ ายเกี่ ย วกั บ หลัก สูต รกลุ ม สาระการเรีย นรู ตา งประเทศ ตามหลัก สูต รการศึก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเปนแนวทางในการคัดเลือกเนื้อหาจากหนังสือที่สนองตอผลการเรียนรู 3. สรางแผนการเรียนรูที่ใชการสอนแบบบีสลิม จํานวน 5 แผน แผนละ 4 คาบ คาบละ 60 นาที โดยมีขั้นตอนการสอน ดังนี้ ขั้นวางแผนและการเตรีย ม (Planning and Preparation) โดยเปนขั้นที่ผูสอนจะ มีการเตรียมกิจกรรม เนื้อหา และสื่ออุปกรณการสอนใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรและความสนใจของ ผูเรียน เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ดี ีขึ้น ขั้นทําความเขาใจตัวปอนหรือขอมูลความรูใหม (Comprehensible Input) ขั้นนี้ผูสอนตองอธิบายความรูใหมขอมูลหรือตัวปอนใหม (Giving it) ทั้งในเรื่อง ทักษะทางภาษา กลวิธี การเรีย นรู โดยตั้ง อยูบ นฐานความรูเ ดิม ของผูเ รีย นซึ่ง ขั้ นนี้ จ ะทํา ใหผูเ รีย นเข า ใจหรื อ เกิ ด การเรีย นรูม ากขึ้น ขั้น กิ จ กรรมเพื่ อความเข า ใจและฝ ก ทั ก ษะ (Intake Activity) เพื่ อ ให ผู เ รีย นเข า ใจเนื้ อ หาบทเรี ย นมากยิ่ ง ขึ้ น จําเปนตองมีการเพิ่มกิจกรรมเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจและพัฒนาทักษะฟง พูด อาน และเขียน เชนแบบฝกหัด กิจกรรมเปนกลุม หรือเดี่ยว 3.1 ผูสอนตองจัดกิจกรรมเพื่อชวยใหนักเรียนเขา ใจตัวปอนเรียกวา กิจกรรมเพื่อความเขาใจ (Intake – Getting it) กิจกรรมเพื่อความเขาใจนี้จะใชเวลาจนกวาครูจะแนใจวานักเรียนเขาใจ ตัวปอนหรือหรือ ขอมูลความรูใหม 3.2 ประการที่สอง หลังจากที่นักเรียนเขาใจตัวปอนแลวครู ตองออกแบบกิจกรรมที่ยากและ ซับซอนมากขึ้นเพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกเรียกวากิจกรรมฝกใชภาษา (Intake – Using It) กิจกรรมฝกใชภาษา เปนกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและเปนธรรมชาติมากกวากิจกรรม เพื่อความเขาใจ (Getting It Activity) 4. ขั้นผล (Output) กิจกรรมขั้นนี้ สงเสริม ใหผูเ รีย นใชภาษาทั้งทักษะฟงพูด อานและเขียน เชน การจั ดการเรีย นการสอนแบบสถานการณ จํ า ลองในลัก ษณะตา งๆ (Real World Task Activity) ซึ่ง ลั ก ษณะ กิจ กรรมขั้นนี้เปนกิจกรรมสรางสรรค เปนไดทั้งกิจกรรมกลุม และกิจกรรมเดี่ยว เชน การแสดงบทบาทสมมติ โครงงานการเขียนบรรยาย หรือเรียงความเรื่องสั้น เปนตน

136 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) ขั้นการสอนนี้ครูรวบรวมขอมูลตางๆ จากการสังเกตหรือซักถาม ผูเรียนในขั้นตางๆ เพื่อตองการทราบปญหาตางๆ และแกไขปญหาในการสอนครั้งตอไป ขั้นนี้เปนขั้นการประเมินผล การเรียนของนักเรียนครูอาจใชการประเมินทักษะตามสภาพจริง (Authentic Assessment) และการสอบเก็บ คะแนนกอนและหลังเรียน เครื่องมือในการใชเก็บรวบรวมขอมูล แบบทดสอบทักษะทางการฟง พูด อานและเขียนภาษาอังกฤษ เปนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อวัดความ เขาใจจากเรื่องที่เรียนจํานวน 30 ขอ ตามระดับการเรียนรูดานพุทธิสัยตามทฤษฎี Bloom’s Taxonomy ไดแก ความรู และความเขาใจแลวนํามาเทียบกับเกณฑเพื่อดูระดับคุณภาพ ดังนี้ รอยละ 80-100 70-79 60-69 50-59 0-49

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ปานกลาง ผาน ไมผา น

ในการประเมินทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เกณฑผาน คือ รอยละ 50

สรุปผลการวิจัย

1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิมปรากฏวา ทักษะของนักเรียนผานเกณฑรอยละ 50 ที่ตั้งไว 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้นหลังจากเรียนแบบบีสลิมจาก ระดับไมผานเปนระดับดี ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 3. ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนแบบบีสลิมปรากฏวา ทักษะของนักเรียนผานเกณฑรอยละ 50 ที่ตั้งไว

อภิปรายผล

1. ทักษะในการฟง พูดภาษาอังกฤษของผูเรียนหลังไดรับการสอนแบบบีสลิม ผลสรุปไดวาผานเกณฑ รอยละ 50 ที่กําหนดไวเปนผลที่เปนปจจัยสําคัญ ดังตอไปนี้ การพั ฒ นาทั ก ษะการฟ ง พู ด ภาษาอั ง กฤษนั้ น จํ า เป น ต อ งมี ก ารปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู อื่ น รวมถึ ง ความสามารถเลือกใชภาษาใหเหมาะสมกันสถานการณ ซึ่งจะเห็นไดวาการนําการแสดงบทบาทสมมตินั้นสามารถ ชวยใหผูเรียน สามารถพัฒนาทักษะการฟงพูดภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี เพราะทักษะการฟงพูดควรเปนทักษะที่ พัฒนาไปพรอมกันเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ดีและเร็วขึ้นอันเนื่องมาจากการแสดงบทบาทสมมติจําเปนตองมีการฟง และมีการตอบโตในสถานการณนั้นๆ วิธีดังกลาวนี้เปนผลทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดจากตัวเองและผูสนทนา ตอบโตซึ่งสอดคลองกับวิจัยของ Islam (2012) ที่พบวา การใชการแสดงบทบาทสมมติสามารถพัฒนาทักษะการพูด อีกทั้งผูเรียนยังมีทัศนคติที่ดีตอภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนผลมาจากการที่ผูสอนมีสวนชี้แนะบทเรียนแกผูเรียน มากไป กวานั้นการแสดงบทบาทสมมติสามารถกระตุนและเสริมสรางความคิดสรางสรรคในการคิดสรางสถานการณท่แี ตง

Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.3 July - September 2018 | 137

ตางออกไปไดจากที่เรียน ซึ่งทําใหผูเรียนสามารถพูดไดอยางมั่นใจตอตนเองและตอหนาสาธารณะไดเปนอยางดี อีกทั้งซึ่งสอดคลอ งกับ แนวคิดของ Vygotsky วาดวยเรื่องพื้นที่รอยตอพัฒนาการและการเสริมตอการเรีย นรู การที่จะทําไหผูเรียนสามารถรับเนื้อหาและนําไปใชอยางเต็มที่นั้น ผูสอนถือวาเปนบทบาทสําคัญในการสงเสริม พัฒนาการของผูเรียนและมีการชี้แนะแกผูเรียน เพราะผูสอนควรคําถึงความแตกตางของผูเรียน ซึ่งวิธีทําใหผูเรียน สามารถนําความรูที่ไดไปตอยอดในขั้นเรียนรูอื่นตอไป 2. ทักษะในการอานภาษาอังกฤษของผูเรียนกอนและหลังการการสอนแบบบีสลิม ผลสามารถสรุปได วาผูเรียนมีผลการทดสอบหลังเรียนสูงขึ้นหลังจากไดรับการสอนแบบบีสลิม มีผลที่เปนปจจัยสําคัญ ดังตอไปนี้ การพัฒนาการอานนั้นถื อวาเปนอี กทักษะที่จําเป นและสําคัญ ในการเรียนภาษาอังกฤษเพราะ การรับรูขาวสารตางๆ นั้นลวนมาจากการอานดวยกันทั้งสิ้น การสอนที่สามารถทําใหผูเรียนเขาใจสาระสําคัญของ เนื้อหาไดนั้น จึงเปนเรื่องที่ตองคํานึงเพราะในการอานถาผูเรียนไมมีสามารถเขาใจเนื้อเรื่องที่อานนั้นจะถือวา การอานนั้นไมประสบความสําเร็จเพราะไมสามารถคนหาวาผูเ ขียนตองการสื่อถึงอะไร ดังนั้น การจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาการอานพรอมกับเทคนิคที่ชวยใหผูเรียนอานจับใจความสําคัญและเขาใจความหมายของขอความที่อาน ไดโดยการสอนในแตหละแผนการสอนจะมีกระบวนการสอนการอานตามการสอนแบบบีสลิม 3. ทักษะในการเขียนภาษาอังกฤษของผูเรียนหลังไดรับการสอนแบบบีสลิม ผลสามารถสรุปไดวา ผูเรียนผานเกณฑรอยละ 50 ที่ตั้งไว มีผลที่เปนปจจัย ดังนี้ การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษถือวาเปนลักษณะการสื่อสารอยางหนึ่งซึ่งมีหนาที่สื่อให ผูอื่นเขาใจไดรับรูดวยขอความที่เปนลายลักษณอักษรมีจุดมุงหมายเพื่อถายทอดความคิดของผูสงสารคือผูเขียนไปสู ผูรับสารคือผูอานกระบวน ดังนั้น กระบวนการสอนทักษะการเขียนจึงจําเปนตองเริ่มตนจากการสรางระบบในการ เขียนใหผูเรียนรูหลักการเขียนที่ถูกตองเพื่อใหการเขียนมีประสิทธิภาพโดยการสอนในแตหละแผนการสอนจะมี กระบวนการสอนการเขียน ซึ่งเนนใหผูเรียนสามารถเขียนบรรยายไดตามหัวขอที่กําหนดตามรูปแบบบีสลิมจากการ อภิปรายขางตน สามารถแสดงใหเห็นวาการสอนแบบบีสลิมสามารถพัฒนาทักษะการฟงพูด การอาน และการเขียน ภาษาอังกฤษใหมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ในทุกขั้นตอนของบีสลิม ไดแก ขั้นวางแผนและการเตรียมโดยมีการเลือก กิจกรรม และเนื้อหาใหสอดคลองกับจุดมุง หมายของหลักสูตรและความสนใจของผูเรียน ขั้นตัวปอนความรูใหม โดยตั้งอยูบนฐานความรูเดิมของผูเรียน เมื่อผูเรียนไดตัวปอน ขั้นจัดกิจกรรมเพื่อความเขาใจและฝกทักษะภาษาทั้ง 4 ทักษะ เพื่อใหผูเรียนเขา ใจมากยิ่ งขึ้น ขั้นการทํากิจกรรมและขั้นผลิตผลงาน สงเสริม ใหผูเรีย นใชภาษาทั้ ง 4 ทักษะ และขั้นประเมินผล คือ การรวบรวมขอมูลจากผูเรียน ซึ่งเห็นไดวา เปนเทคนิคการสอนที่เนนผูเรียนเปน ศูนยกลาง ทําใหผูเรียนมีความสุขกับการเรียน สามารถเรียนรูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข สามารถคิดคน คนหา ความรู หาคําตอบไดดวยตนเอง มีการเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง กลาคิด กลาทํา และกลาแสดงออก ผูเรียนมีสวน รวมจัดกิจกรรมรวมกับผูสอน สามารถเรียนรูไดจากกระบวนการของตนเองและผูเรียนสามารถสรางความรูและ สรุปความรูดวยตนเองไดเปนอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับ Mongkol (2010) จากการศึกษาการพัฒนาการ เรียนรูภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชการสอนแบบบีสลิม (B–SLIM Model) พบวาการสอนแบบบีสลิม ทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียน มีความรับผิดชอบ ผูเรียนระดมความคิด รวบรวมเรียบเรียงขอมูลปรับปรุงผลงานการเขียนของตนเองและมีพัฒนาการดานการเขียนภาษาอังกฤษดีขึ้น ตามลําดับ จึงควรสงเสริมสนับสนุนใหครูนํารูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใชกาสอนแบบบีสลิมไปใชใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอไป การสอนแบบบีสลิมตอบสนองการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะทั้ง 4 ทักษะ ซึ่งมีผลมาจากการที่มี การจัดกิจกรรมการสอนที่เนนสําหรับผูเรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง จึงทําใหการสอนแบบบีสลิมเขาถึงปญหา

138 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

ของผูเรียนไดเปนอยางดีโดยการสอนแตละขั้นมีการเนนย้ําเนื้อหาอยางสม่ําเสมอ เชน การจัดแบบฝกหัดหรือ กิจกรรมเพื่อฝกทักษะทางภาษาลวงหนากอนการปฏิบัติจริง เปนผลใหผูเรียนสามารถทบทวนความรูและเกิดการ เรี ย นรู ด ว ยตนเองได เ ป น อย า งดี ทํ า ให เ กิ ด การเรี ย นรูที่ ค งทนซึ่ ง ผูเ รีย นสามารถรูถึ ง ศั ก ยภาพในการพัฒ นา ภาษาอังกฤษเพื่ออยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับ Dandongying (2012) ไดศึกษาและพัฒนาความสามารถใน การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยใชกระบวนการแบบบีสลิม ผลการศึกษาสรุปวา ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่เรียนโดยใชกระบวน การสอนแบบบีสลิม หลังเรียนสูงกวา กอนเรียน อีกทั้ง นักเรียนมีเจตคติตอการสอนเขียนภาษาอังกฤษ โดยใชกระบวนการแบบบีสลิม การสอนแบบ บีสลิมยังสงเสริมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ไดสงเสริมให ผูเ รี ย นสามารถแสวงหาความรู และพัฒ นาความรูไ ดตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพของตนเอง รวมทั้ง สนับสนุนใหมีการฝกและปฏิบัติในสภาพจริง มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เ รีย นกับสังคมและการประยุกตใช มีก ารจัด กิจกรรมและกระบวนการใหผูเรียนไดคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินและสรางสรรคสิ่งตางๆ โดยไมเนนไปที่ การทองจําเพียงเนื้อหา ซึ่งสอดคลองกับ Chawwakiratipong (2002) ที่อธิบายวา การเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ เปนการจัดการใหผูเรียนสรางความรูใหมโดยผานกระบวนการคิดดวยตนเอง ทําใหผูเรียนไดเรียนรูดวย การลงมือปฏิบั ติเ กิ ดความเข า ใจ และสามารถนํา ความรูบูร ณาการในชี วิต ประจํา วัน และมี คุณ สมบัติตรงกับ เปาหมายของการจัดการศึกษาทีตองการใหผูเรียนเปนคนเกง คนดี และมีความสุข และไดกลาวถึงหลักการสําคัญ ของการจัดการเรียนรูท่เี นนผูเรียนเปนสําคัญ 2 ประการ ไดแก 1) การจัดการโดยคํานึงถึงความแตกตางของผูเรียน และ 2) การสงเสริมใหผูเรียนไดนาํ เอาสิ่งที่เรียนรูไ ปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองไปสูศักยภาพสูงสุดที่ แตละคนจะมีและเปนไปได

ขอเสนอแนะ

1. ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอน 1.1 ผูสอนควรศึกษาการสอนแบบบีสลิมในหลายๆทิศทาง เชน การสอนเพื่อพัฒนาทางดาน IQ EQ AQ MQ SQ เพราะการสอนแนวนี้สามารถนําการสอนมาประยุกตใชในการสอนดวยกันได 1.2 แนวการสอนแบบบีสลิมเหมาะสมกับการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟงพูดอานและเขียนดังนี้ ควรมีการจัดแนวการสอนใหเหมาะสมกับการเรียนตามบริบทไทยใหมากที่สุด มีการสอดแทรกเรื่องไกลตัวผูเรียน เชน การดําเนินชีวิตประจําวัน วัฒนธรรม สิ่งตางรอบตัวผูเรียน เพื่อใหการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1.3 สื่อ การเรียนการสอนมีความสําคัญมากตอการเรียนแบบบีสลิม เพราะจะทําใหผูเรียนเกิด การจินตนาการและสามารถคิดภาพตามในการเรียนรูเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี เชน รูปภาพ แผนคําศัพทหรือวีดีทัศน เปนตนดังนั้น ควรมีการจัดสื่อ อุปกรณทุกครั้งในจัดการเรียนการสอน 1.4 ผูสอนควรมีการอธิบายถึงหลักการการสอนแบบบีสลิมแกผูเรียนเพื่อใหผูเรียนเขาใจแนว การสอนและสามารถรูจุดประสงคการสอนในกอนการเริ่มสอน โดยอาจแจกเอกสารการสอนแบบบีสลิมหรือเปด วีดีทัศนเกี่ยวกันการสอนดังกลาวในสถานการณจริงเพื่อแนะแนวทางในการกิจกรรมการสอนใหงายขึ้น 1.5 วิธีการสอนแบบบีสลิมนั้นเนนใหมีการทํากิจกรรมที่เกิดขึ้นในสถานการณจริง ซึ่งอาจเปนไป ไดยากในบางครั้ง เชน มีการออกไปฝกฝนทักษะนอกสถานที่หรือมีการสื่ อสารกับเจาของภาษา ดังนั้น การจัด กิจกรรมจึงมีความจําเปนอยางมากในการจัดการเรียนการสอน ดังนั้นผูสอนควรจะมีวิธีการสอนที่หลากหลาย หรือ มีการจัดรูปแบบการเรียนนอกหองเรียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะของผูเรียน

Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.3 July - September 2018 | 139

1.6 ผูสอนควรมีบุคลิกที่กระตือรือรนเพื่อที่กระตุนไหผูเรียนมีความสนใจในบทเรียน อีกทั้งมีความ อดทนในการสอนเนนย้ําในบางเรื่องหรือกับผูเรียนบางคน เพราะวาการรับรูของผูเรียนแตหละคนนั้นแตกตางกัน ดังนั้น ผูสอนควรที่เขาใจผูเรียนและเปดโอกาสใหมีการซักถามโตตอบในการสอนเสมอ 1.7 ในการสอนทักษะการเขียนนั้น ถือเปนทักษะที่ยากที่สุดเพราะผูเรียนจําเปนตองรูหลักการ เขียนที่ถูกตอง ดังนั้น ผูสอนควรที่จะมีการสอนหรือทบทวนหลักการเขียนหรือมีแบบตัวอยางในการเขียนเพื่อให ผูเรียนคุนชิน และเขาใจหลักการเขียนในแตหละครั้ง 1.8 การจัดกิจกรรมในแตละครั้งควรคํานึงถึงการแบงกลุมผูเรียน โดยใหมีการจัดสรรใหผูเรียนที่ ออนและเกงคละกัน เนื่องจากเปนวิธีที่ใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธในการเรียนอี กทั้งผูเรียนที่เกงกวาสามารถสอน ผูเรียนที่ออนกวาได 2. ขอเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งตอไป 2.1 สําหรับทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษควรมีการทดสอบที่มากครั้งขึ้น หรือทุกแผนการสอน เพื่อดูพัฒนาการในแตหละครั้งเพื่อพัฒนาทักษะใหดียิ่งขึ้น 2.2 ควรมี ก ารศึก ษาเพิ่ม เติม เกี่ ย วกับ ความวิ ต กกั ง วลในการพัฒ นาทัก ษะในด า นตา งๆ เชน แรงจูงใจที่มีผลตอ การเรี ยนแบบบีสลิม การพูดและการคิดอยา งมิวิจ ารณญาณหลังจากการเรียนแบบบี ส ลิ ม โดยอาจจําแนกไดจาก อายุ สิ่งแวดลอมหรือผูเรียนที่มีความสามารถทางภาษาที่แตกตางกันไป 2.3 ควรมีการทดสอบการใชการสอนแบบบีสลิม ในพื้นที่วิจัยในดา นอื่นๆ เชน บุคลากร กลุม องคกร หรือหนวยงานที่ตองการพัฒนาทักษะทั้งในเรื่องการทํางาน ทักษะทางภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ 2.4 เนื่องจากการทดลองใชระยะเวลาเพียง10สัปดาห และพบวาผูเรียนมีการพัฒนาที่ดีขึ้น ดังนั้น ควรมีการทดลองที่ใชเวลานานกวานี้เพื่อดูผลในระยะยา

References Angwatanakul, S. (1996). Concepts and techniques of teaching English at secondary level. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) Bloom, B. S. (1984). Taxonomy of educational objectives. MA Boston: Allyn and Bacon. Chawwakiratipong, N. (2002). Facilitating student - centered learning. Bangkok: Office of The Permanent Secretary Ministry of Education. (in Thai) Dandongying, B. (2012). Developing English writing ability of Mathayomsuksa 6 students using B-SLIM Model (Master thesis). Udon Thani: Udon Thani Rajabhat University. (in Thai) Hiran, R. (1997). How to teach children to read for understanding in English? Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) Islam Priscilla, Islam Tazria. (2012). Effectiveness of role play in enhancing the speaking skills of the learners in a large classroom: An investigation of tertiary level students. Retrieved December 17, 2015, from http://www.banglajol.info/index.php/SJE/article/view/1445 Mongkol, S. (2010). Developing learning English for communication through B-SLIM Model for students in Mathayomsuksa I (Master thesis). Maha Sarakham: Mahasarakham University. (in Thai)

140 | วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2561

Onwimon, S. (2011). English and the future of Thailand and ASEAN. Retrieved October 16, 2015, from http://blog.eduzones.com/wigi/81880 (in Thai) Phuvipadawat, P. (1997). English teaching techniques at secondary level. Chiang Mai: Faculty of Education Naresuan University. (in Thai)

Data Loading...