หลักสูตรสถานศึกษาประถมปี63 - PDF Flipbook

หลักสูตรสถานศึกษาประถมปี63

123 Views
58 Downloads
PDF 24,509,431 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


หลกั สตู รสถานศึกษา

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภออนิ ทร์บรุ ี
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

(พ.ศ. 2563)
ระดับประถมศกึ ษา

สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั สิงห์บรุ ี
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรสถานศกึ ษา
ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระดับประถมศกึ ษา
(พ.ศ.2563)

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี

สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั สงิ หบ์ รุ ี

สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ

การจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ระดบั ประถมศกึ ษา

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภออนิ ทร์บรุ ี
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

ผูเ้ ห็นชอบ

ลงชอ่ื ..........................................ประธานกรรมการสถานศึกษา
(นายทองเหมาะ ชนื่ กุศล)

ลงชอ่ื ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นายศภุ สนั ต์ ชว่ ยบุญ)

ลงช่อื ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นายวุฒชิ ัย เกิดทอง)

ลงชื่อ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นายวเิ ชียร พันธส์ ขุ )

ลงชื่อ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นางสุรศักดิ์ เพ็งภาค)

ลงชอ่ื ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นางดวงรตั น์ ช้างเนียม)

ลงช่ือ..........................................กรรมการสถานศกึ ษา
(นายทองทรพั ย์ อำไพ)

ลงชื่อ..........................................กรรมการและเลขานกุ ารสถานศึกษา
(นางปกาวรรณ เทยี บฤทธ์ิ)

ลงชื่อ..........................................ผ้ชู ว่ ยกรรมการและเลขานุการสถานศกึ ษา
(นางสาวพินทพ์ วา บญุ คง)
ทราบ

ลงช่อื ......................................................
(นางปกาวรรณ เทยี บฤทธิ์)

ผูอ้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภออินทรบ์ ุรี

หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศึกษา” 2

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เมื่อวันท่ี 18 กันยายน 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์
การจัดการศึกษาตลอดชีวิต และสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น”
เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม โดยให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้เรียน และความเปลี่ยนแปลง
ของเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสร้างให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีศักยภาพในการประกอบ
อาชพี ดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชมุ ชน สังคม ได้อย่างมีความสขุ

ดังนัน้ เพ่ือใหก้ ารนำหลกั สูตรไปสูก่ ารจดั การเรียนรู้ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กศน.อำเภออินทร์บุรี จึง
ได้พัฒนาและจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับประถมศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ที่มี
คุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตอ่ ไป

(นางปกาวรรณ เทียบฤทธิ์)
ผูอ้ ำนวยการ กศน. อำเภออินทร์บุรี

1 ธันวาคม 2563

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี “ระดับประถมศกึ ษา” 3

สารบัญ

เร่ือง หน้า

คำนำ

สารบญั

หลกั สตู รสถานศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศกึ ษา

บริบทพนื้ ฐาน 1

ปรชั ญา “คิดเป็น” 19

วิสัยทัศน์ 19

พันธกิจ 19

หลกั การ 19

จุดหมาย 20

กลมุ่ เป้าหมาย 20

กรอบโครงสรา้ ง 21

ระดับการศกึ ษา 21

สาระการเรียนรู้ 21

กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 21

มาตรฐานการเรียนรู้ 21

เวลาเรยี น 21

หนว่ ยกิต 22

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศึกษา 22

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 22

สาระทกั ษะการเรยี นรู้ 26

สาระความรพู้ น้ื ฐาน 40

สาระการประกอบอาชพี 88

สาระทักษะการดำเนินชวี ิต 106

สาระการพัฒนาสังคม 122

แผนการลงทะเบียนเรยี น ระดบั ประถมศึกษา 161

วิธีการจดั การเรยี นรู้ 163

มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 168

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 169

มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่อื ง 170

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั 171

หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 4

สารบัญ (ต่อ)

เรือ่ ง หน้า
บรรณานกุ รม 172
คณะผจู้ ดั ทำ 176

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 5

บริบทพ้ืนฐาน
ข้อมลู พื้นฐาน

1. ขอ้ มลู ท่วั ไปของจังหวัดสงิ หบ์ ุรี

ตราประจำจงั หวดั สิงหบ์ รุ ี
คำขวญั ของจงั หวดั สิงห์บรุ ี
"ถิน่ วีรชนคนกลา้ คูห่ ล้าพระนอน
นามกระฉ่อนช่อนแมล่ า เทศกาลกินปลาประจำป"ี
ธงประจำจงั หวดั สงิ ห์บุรี

ธงพื้นสีแดง กลางธงมรี ูปอนุสาวรยี ว์ รี ชนคา่ ยบางระจันในวงกลม ขอบวงกลมเปน็ แถบสีธงชาติ

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดับประถมศึกษา” 1

ต้นไม้ประจำจังหวัด คอื มะกล่ำตน้

พันธ์ุไม้มงคลท่ไี ดร้ บั พระราชทาน คอื มะกลำ่ ตน้

ประวตั คิ วามเปน็ มาของจังหวดั สงิ หบ์ ุรี

สิงหบ์ รุ เี ปน็ เมอื งเก่าแก่เมอื งหนงึ่ สนั นษิ ฐานวา่ เป็นเมอื งเก่าแกก่ ่อนสุโขทัย สร้างขน้ึ ราว พ.ศ. 1650 โดย
พระเจา้ ไกรสรราช โอรสพระเจา้ พรหม (พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก) ซึ่งครองเมืองชยั ปราการ (ฝาง) ไดส้ รา้ งข้ึน คร้งั
เมื่อเสด็จพาไพร่พลมาครองเมืองลพบุรีตามรับสั่งพระราชบิดา ซึ่งเข้าใจว่าคงจะมาพักขึ้นบก ณ ที่เป็นที่ตั้ง เมือง
สิงหเ์ ดิม คอื ต้งั อยลู่ ำนำ้ จักรสีห์ ตำบลจกั รสหี ์ อำเภอเมอื ง จงั หวัดสิงหบ์ ุรี ในปจั จบุ นั ใกลว้ ัดหน้าพระธาตุ มีเมือง
เก่า เรยี กว่า "บ้านหนา้ พระลาน" เพ่อื ท่ีพระองคจ์ ะเดนิ ทางลงเรอื ท่วี ดั ปากน้ำ แมน่ ำ้ ลพบุรตี ่อมาได้ย้ายเมืองไปต้ัง
ทางแมน่ ำ้ นอ้ ยตำบลโพสงั โฆ ใต้วัดสงิ ห์ ปจั จบุ นั อยใู่ นทอ้ งทอ่ี ำเภอคา่ ยบางระจัน

คร้ัน พ.ศ. 2310 เมือ่ เสียกรุงศรีอยุธยาใหแ้ กพ่ ม่าแล้ว จึงยา้ ยเมอื งสงิ หม์ าตง้ั ทางแม่น้ำเจ้าพระยา ริมปาก
คลองนกกระทงุ ตำบลบางมอญ (ปัจจุบัน คือ ตำบลตน้ โพธิ์ จงั หวัดสิงห์บุรี) การย้ายคร้งั น้นี ่าจะเป็นสมัยเดียวกับ

หลกั สูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 2

การตั้งเมืองอ่างทองในสมัยธนบุรี ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ราว พ.ศ. 2473 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระ
จุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว) ไดม้ ีการจดั รูปแบบการปกครองเมืองระบอบมณฑลเทศาภิบาล จงึ ได้จัดตง้ั กรงุ เก่า (มณฑล
อยธุ ยา) ขึ้นประกอบดว้ ยเมือง 8 เมือง คอื กรงุ เก่า พระพุทธบาท พรหมบรุ ี ลพบรุ ี สระบุรี สงิ ห์บรุ ี อา่ งทอง และ
อนิ ทรบ์ ุรี ใน พ.ศ. 2439-2440 ได้มีการยุบเมืองพรหมบรุ ี เมอื งอินทร์บุรลี ง ใหเ้ ปน็ อำเภอขึน้ กบั เมืองสงิ ห์บุรี และ
ย้ายไปตงั้ ท่ีตำบลบางพทุ รา อนั เป็นท่ีตัง้ จังหวัดสงิ หบ์ ุรใี นปจั จบุ ันเน่ืองจากมชี ัยภมู ทิ ีด่ ีกวา่ เดมิ เพราะพนื้ ท่ีเป็นเนิน
สงู นำ้ ทว่ มไมถ่ งึ

สภาพภมู ศิ าสตร์
ขนาดและทีต่ ัง้
จังหวดั สงิ หบ์ รุ ี ตงั้ อยทู่ างภาคกลางตอนบน ระหวา่ งเส้นละติจดู 14 องศา 43 ลปิ ดา ถงึ 15 องศา 6
ลปิ ดาเหนอื เส้นลองติจดู ท่ี 100 องศา 11 ลิปดา ตะวันออก ต้งั อยูห่ ่างจากกรงุ เทพมหานคร ประมาณ 142
กโิ ลเมตร มีเนื้อทที่ งั้ สน้ิ 822.478 ตารางกิโลเมตร หรอื 514,049 ไร่
อาณาเขต
จังหวดั สิงหบ์ รุ ีมอี าณาเขตติดตอ่ กบั จังหวดั ใกล้เคียง ดงั นี้
ทิศเหนือ ตดิ อำเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท และอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
ทิศตะวนั ออก ตดิ อำเภอบ้านหมี่ และอำเภอทา่ ว้งุ จังหวดั ลพบุรี
ทิศใต้ ตดิ อำเภอไชโย อำเภอโพธ์ิทอง และอำเภอแสวงหา จงั หวัดอ่างทอง
ทิศตะวนั ตก ตดิ อำเภอสรรคบรุ ี จังหวดั ชัยนาท และอำเภอเดิมบางนางบวช จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ภาพท่ี 1 แผนท่ี จังหวัดสงิ ห์บุรี
หลักสูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดับประถมศึกษา” 3

ลักษณะภูมปิ ระเทศ
จังหวัดสิงหบ์ ุรีมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนตื้นซ่ึงเกิดจากการทับถม

ของตะกอนบรเิ วณแมน่ ำ้ เจ้าพระยาเป็นเวลานาน มคี วามอุดมสมบรู ณข์ องทรพั ยากรดิน เหมาะแกก่ ารทำกสิกรรม
พืน้ ทีก่ วา่ ร้อยละ 80 เปน็ ทร่ี าบเรียบกวา้ งขวาง มคี วามลาดเอียงของพื้นท่นี ้อยมาก จึงเกดิ เปน็ หนองบงึ ขนาดตา่ งๆ
ท่วั ไป พื้นท่ีมรี ะดับความสงู เฉลย่ี ประมาณ 17 เมตร จากระดับนำ้ ทะเล ดงั นนั้ ในฤดูน้ำหลากจงึ มักมนี ำ้ ทว่ มขงั เป็น
เวลานานๆ พื้นที่ทางด้านทิศตะวันตกและด้านทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้มีสภาพค่อนข้างราบ พื้นดินเป็นลูกคลืน่ ลอน
ลาดอนั เกดิ จากการกัดเซาะของน้ำบนผวิ ดนิ จนเกดิ เป็นร่องกวา้ งทัว่ ไป
สัณฐานของพ้นื ที่ แบง่ ออกได้เปน็ 4 แบบ คอื

1. พน้ื ที่ทีเ่ ปน็ คนั ดินตามธรรมชาติ อยู่ตามสองฝั่งแม่น้ำเจา้ พระยา แม่น้ำนอ้ ย และร่องน้ำเกา่ มี
ลกั ษณะเปน็ ท่รี าบแคบ ๆ กวา้ งไม่เกนิ หน่ึงกิโลเมตร มีความยาวขนานตามแนวลำน้ำ มรี ะดบั คอ่ นข้างสงู กว่าทรี่ าบ
ขา้ งเดยี ว ส่วนมากเป็นท่อี ยอู่ าศยั ของประชาชนและเปน็ แหลง่ ชมุ ชนใหญ่ๆ เช่น อำเภอเมอื งสิงห์บุรี อำเภออินทร์
บุรี อำเภอพรหมบุรี และอำเภอท่าช้าง

2. พื้นที่ที่เป็นท่รี าบลุ่ม น้ำท่วมถงึ อยูใ่ กล้แมน่ ำ้ หลงั คันดนิ ธรรมชาติ เกดิ จากการเออ่ ลน้ ของนำ้ จงึ มี
แบนราบเรียบกวา้ งขวาง มีระดบั ค่อนขา้ งตำ่ มกั มนี ำ้ ทว่ มในฤดูนำ้ หลาก ใชเ้ ปน็ พ้นื ทที่ ำการเกษตรจำพวกนาขา้ ว

3. พ้นื ทเี่ ปน็ ลอนลาด อยทู่ างดา้ นทศิ ตะวันตกบริเวณอำเภอคา่ ยบางระจัน และบางส่วนของอำเภอ
บางระจัน มีลักษณะเปน็ ลูกระนาด หรอื ลูกคลืน่ ลอนลาด เกดิ จากนำ้ ผวิ พน้ื พัดพามากดั เซาะจนเป็นรอ่ งกวา้ ง มี
ระดบั ค่อนข้างสงู นำ้ ทว่ มไมถ่ ึง ใช้เป็นพนื้ ทเ่ี พอ่ื การเกษตรจำพวกพชื ไร่ เชน่ อ้อย ขา้ วโพด เปน็ ต้น

4. พน้ื ทเี่ ป็นหนองบึง อยู่ทางตอนกลางของพ้นื ท่ีใกลแ้ ม่น้ำลำคลองและท่รี าบลุ่ม นำ้ ท่วมถงึ มี ลกั ษณะ
เป็นทรี่ าบลุม่ ตำ่ มีนำ้ ขังอยู่ตลอดเวลาท่มี ีระดบั ตำ่ มาก นำ้ จากบรเิ วณข้างเคยี งจงึ ไหลมารวมกนั มลี ักษณะสัณฐาน
กลมมน ในบรเิ วณท่ีมรี ะดับน้ำขงั ค่อนขา้ งตื้น มักใช้ทำนานำ้ ลึก สว่ นที่มีนำ้ ขังมาก ๆ มกั ปล่อยให้วา่ งเปลา่

ลักษณะภูมิอากาศ
โดยทั่วไปคล้ายกับจังหวดั อน่ื ในภาคกลาง แบ่งเป็น 3 ฤดู คอื ฤดรู ้อน ตงั้ แตเ่ ดือนกมุ ภาพันธ์-เมษายน
ฤดูฝน ตงั้ แตเ่ ดือนพฤษภาคม-ตลุ าคม และฤดหู นาว ต้ังแตเ่ ดือนพฤศจิกายน – มกราคม

การปกครองและประชากร
แบ่งการปกครองออกเปน็ 6 อำเภอ 43 ตำบล 364 หมบู่ ้าน 14 ชุมชน ดงั นี้

1) อำเภอเมอื งสงิ หบ์ รุ ี มี 8 ตำบล 58 หมบู่ า้ น 14 ชุมชน
2) อำเภออินทร์บรุ ี มี 10 ตำบล 105 หม่บู ้าน
3) อำเภอพรหมบรุ ี มี 7 ตำบล 42 หมู่บ้าน
4) อำเภอบางระจัน มี 8 ตำบล 77 หมูบ่ า้ น
5) อำเภอท่าชา้ ง มี 4 ตำบล 23 หมูบ่ า้ น
6) อำเภอคา่ ยบางระจัน มี 6 ตำบล 59 หมู่บ้าน

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 4

การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด เทศบาลเมือง จำนวน 2 แหง่
เทศบาลตำบล จำนวน 6 แหง่ และองค์การบรหิ ารสว่ นตำบล จำนวน 33 แห่ง

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีสำคัญของจงั หวดั สงิ หบ์ ุรี ไดแ้ ก่
ทรายแมน่ ้ำ ใชส้ ำหรับงานก่อสรา้ ง
ดิน สามารถแบง่ ได้ 7 ชุด ดินชดุ ท่าม่วง ดินชดุ สรรพยา ดนิ ชุดราชบุรี ดินชุดนครปฐม ดนิ ชุดสระบุรี

ดินชุดสงิ ห์บรุ ี ดินชุดโคกกระเทียม ทพี่ บมาก ได้แก่ ดนิ ชุดราชบรุ ี ดินเหลา่ นี้เหมาะสำหรับทำนา ประมาณ 60 % และ
ปลกู พืชไร่ ประมาณ 40 %

ทรพั ยากรปา่ ไม้
จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ไี มม่ พี ้นื ทปี่ า่ ไม้หรอื อยใู่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ มีเพยี งพนื้ ทป่ี ่าชุมชน ประมาณ 1,452 ไร่
สว่ นใหญอ่ ยูใ่ กล้แหล่งน้ำ ป่าชุมชนปลกู โดยชุมชน และใหช้ ุมชนดแู ลรักษา พร้อมใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน
แร่ธาตุ จังหวดั สิงหบ์ รุ ไี มม่ ีแร่ธาตทุ ่สี ำคัญในพ้ืนที่

ทรัพยากรนำ้
จังหวัดสงิ หบ์ ุรมี แี มน่ ้ำทส่ี ำคญั ไหลผ่าน 3 สาย

1. แม่นำ้ เจา้ พระยา รับน้ำจากใต้เขอ่ื นเจ้าพระยา ไหลผ่านพ้ืนท่ตี อนกลางของอำเภออนิ ทร์บุรี
ไปยังอำเภอเมืองและอำเภอพรหมบุรี การใชป้ ระโยชน์ด้านการเกษตร โดยตรงมนี ้อยเนื่องจากฤดฝู นมี น้ำมากเกนิ ไป
และฤดแู ลว้ ปริมาณน้ำลดลงมาก

2. แมน่ ้ำน้อย รบั น้ำจากเหนอื เขื่อนเจ้าพระยาไหลผ่านพ้ืนทตี่ อนกลางของอำเภอบางระจัน ไปยัง
อำเภอค่ายบางระจนั และอำเภอท่าชา้ งโดยมีประตรู ะบายนำ้ ที่ โครงการชลประทานชนั สตู ร

3. แมน่ ำ้ ลพบรุ ี แยกจากฝ่งั ซ้ายของแมน่ ้ำเจา้ พระยาบรเิ วณดา้ นเหนอื ไปยงั ด้านตะวนั ออกของ
อำเภอเมอื งสิงห์บุรี ในฤดูฝนปรมิ าณน้ำมาก สันฝั่ง เกษตรกรท่อี าศัยอยรู่ มิ ฝง่ั แม่นำ้ นจ้ี ะใช้นำ้ ทำการเกษตร ไดใ้ นชว่ ง
ฤดแู ลง้ โดยการปลูกพชื ผกั และพชื ไรอ่ ายสุ น้ั

นอกจากน้ียังมีลำนำ้ ทส่ี ำคัญ ไดแ้ ก่ ลำน้ำแมล่ า ลำนำ้ การอ้ ง คลองเชยี งราก และคลองโพธ์ิชัย
รวมทัง้ หนองบึงทีม่ ีอยทู่ ่วั ไป ประมาณ 853 แห่ง และโครงการชลประทาน 6 แห่ง ครอบคลมุ พ้ืนท่ี459,206 ไร่

ลำน้ำท่ีสำคัญของจงั หวดั สงิ ห์บรุ ี ไดแ้ ก่ลำนำ้ แมล่ า ลำการ้อง มีลักษณะเปน็ คลองยาว ท่มี ีน้ำขงั
อยตู่ ลอดปี อยู่ในเขตอำเภอเมอื งและอำเภออนิ ทร์บุรี มีความยาวประมาณ 18 กโิ ลเมตร ความกวา้ ง 40 -
80 เมตร ซึ่งเป็นแหล่งพนั ธ์ุปลาช่อนรสดี เรียกกนั ทว่ั ไปวา่ " ปลาชอ่ นแม่ลา" ซ่ึงเป็นทต่ี ้องการของผู้บรโิ ภคทำชอ่ื เสยี ง
และนำรายได้สูจ้ ังหวดั จำนวนมาก

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี “ระดับประถมศึกษา” 5

นโยบายพัฒนาของจงั หวดั สิงห์บรุ ี

วสิ ัยทัศน์ "สงั คมเกษตรอินทรีย์เข้มแข็ง ท่องเทีย่ วถ่ินสงิ หบ์ ุรีเพม่ิ คณุ คา่ พฒั นาสูเ่ มืองแห่งสุขภาวะที่
ยง่ั ยนื "

พันธกจิ
1.พฒั นาเกษตรกรและโครงสรา้ งพ้ืนฐานภาคเกษตร เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ พฒั นาผลผลิต

ให้มีคุณภาพปลอดภยั ไดม้ าตรฐาน และเพ่ิมมูลคา่ ของผลผลิต โดยใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม
2.อนรุ ักษ์ ฟื้นฟู สง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม วิถีชีวติ และภูมิ

ปญั ญาท้องที่ที่เปน็ เอกลักษณ์
3.เสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนแบบบูรณาการและมีสว่ นรว่ มเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต

พัฒนาระบบโครงสรา้ งทางสังคม ทนุ ทางสงั คม และวถิ ีชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขอ้ มลู อำเภออินทร์บุรี

ประวัตคิ วามเป็นมาของอำเภออินทรบ์ ุรี
เมืองอนิ ทรบ์ ุรี (เขยี นตามที่ปรากฏในหนงั สือประวตั ศิ าสตร)์ เปน็ เมืองชายแดนทางเหนือของอาณาจักร
อยุธยา (ตอนตน้ ) มีอาณาเขตติดต่อกบั เมืองชัยนาทซึ่งเป็นหวั เมืองตอนใตข้ องอาณาจกั ร สุโขทยั เมอื งอินทร์ตัง้ ขึ้น
โดยกษัตริย์สมยั กรุงศรีอยธุ ยาเมอื่ ประมาณปี พ.ศ. 1912 ตรงกบั รชั สมยั สมเดจ็ พระราเมศวร พระโอรสของสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) เจ้าเมืองเลือกสรรจากเชื้อพระวงศ์ เมืองอินทร์บุรีเดิมตั้งอยู่บริเวณเหนือวัดปราสาท
ต่อมาย้ายไปบริเวณเหนือวัดโบสถ์ เจ้าเมืองอินทร์คนสุดท้ายคือพระศักดิบุรินทร์ ในรัชสมัยสมเด็จพระมหา
จักรพรรดิ พระองค์ได้เคยเสด็จมาคล้องช้าง และคล้องช้างเผือกคู่บารมีได้ 1 เชือก "ที่บ้านน้ำทรง แขวงเมือง
อนิ ทรบ์ รุ ี ฯลฯ
นอกจากนี้เมืองอินทร์บุรียังเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตามที่ปรากฏ คือ "…พระเจ้า
บุเรงนองยกทัพใหญ่มาล้อมกรุงศรีอยุธยา ฝ่ายไทยซึ่งมีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและพระมหินทร์ได้เตรียม
ป้องกันพระนครอย่างเต็มที่ เมืองลพบุรีเป็นเมืองหนึ่งที่พระราชพงศาวดารกล่าวว่า ถูกเกณฑ์ให้ไปรักษาเมือง
เช่นเดียวกับเมืองสุพรรณบุรี อินทร์บุรี เพชรบุรี ฯลฯ" และปรากฏในปี พ.ศ. 2307 รัชสมัยพระเจา้ เอกทัศน์ ทรง
เตรยี มแผนการตอ่ สู้กบั พมา่ โดย "ขัน้ ที่ 1 ใหเ้ กณฑ์ทหารออกไปรกั ษาดา่ น แบง่ กองทัพเรอื ออกเป็น 9 กอง กองละ
20 ลำ แต่ละกองมีทหารประจำการกองละ 1,400 คน พร้อมด้วยเครื่องศัสตราวุธ เรือรบมีปืนใหญ่ 1 กระบอก
ปนื ขนาดเล็ก 1 กระบอก แล้วแบง่ ไปประจำท่ีตา่ ง ๆ ดงั น้ี ฯลฯ
1.ให้หมอ่ มมหาดเล็กวงั หน้า ไปตง้ั รับพมา่ ทางแมน่ ้ำเมืองสิงหบ์ ุรี
2.ใหห้ ม่อมเทไพ ไปตัง้ รบั พมา่ ทางเมอื งอนิ ทร์บรุ ี
3.ใหห้ มอ่ มทพิ ยุพนิ ไปตง้ั รบั พม่าทางแม่น้ำเมอื งพรหมบุรี
4.ใหศ้ รภี ูเบศก์ ไปตัง้ รับพม่าทางแม่น้ำเมอื งพรหมบรุ ี...

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 6

จนกระทั่งปี พ.ศ. 2438 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระองค์ไดท้ รง
ปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้ยุบเมืองอินทร์บุรีและเมืองพรหมบุรีไปขึ้นตรงกับเมืองสิงห์บุรี เมือง
อินทรบ์ รุ ีจึงกลายเปน็ อำเภออินทร์บุรี เมืองพรหมบรุ เี ปน็ อำเภอพรหมบุรี และเมอื งสงิ ห์บุรเี ปน็ จังหวดั สงิ หบ์ ุรี

สำหรับที่ว่าการอำเภออินทร์บุรี ครั้งแรกตั้งอยู่ที่บริเวณวัดโพธิ์ลังกา ต่อมาย้ายเข้ามาตั้งอยู่บริเวณวัด
ปราสาท ตรงกับที่ตั้งเมืองอินทร์บุรีครั้งแรก อาจเป็นเพราะบริเวณที่ตั้งที่ว่าการอำเภอคับแคบไม่สะดวกในการ
ขยายสำนักงานของส่วนราชการอ่ืน ทางราชการจงึ ย้ายทีว่ ่าการอำเภอมาทางทิศใต้ บริเวณบ้านบางท้องคุ้ง หมู่ที่
3 ตำบลอินทร์บรุ ี คือทีต่ ง้ั บรเิ วณปัจจบุ ันนี้ นายอำเภออินทรบ์ ุรคี นแรก คือ หลวงอินทรวรนาถ

ลักษณะทางกายภาพ
อำเภออินทร์บรุ ี ตั้งอยูใ่ นเขตพน้ื ท่รี าบบริเวณสองฝั่งแมน่ ้ำเจ้าพระยาหา่ งจากเมอื งสิงห์บรุ โี ดยทางรถยนต์

17 กโิ ลเมตร มพี ้นื ท่ปี ระมาณ 314.3 ตารางกิโลเมตร

ลักษณะภมู ิประเทศ
อำเภออินทรบ์ ุรี มพี น้ื ที่สว่ นใหญ่เป็นท่รี าบลุ่มริมฝง่ั แม่น้ำ โดยมแี มน่ ้ำเจ้าพระยาไหลผา่ น มีน้ำทว่ มขังใน

บางปี ลกั ษณะของหมบู่ ้านอยู่หนาแนน่ เลียบริมฝ่ังแม่น้ำเจา้ พระยา

ลักษณะภมู ิอากาศ
ภมู ิอากาศทัว่ ไปค่อนขา้ งรอ้ นในฤดูร้อน และอบอ่นุ ในฤดูหนาว มฤี ดฝู นตั้งแตเ่ ดอื นมิถนุ ายน - ตลุ าคม

อาณาเขต ตดิ ตอ่ กับ อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
ติดต่อกบั อำเภอบา้ นหม่ี จงั หวดั ลพบรุ ี
ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั อำเภอเมอื ง จงั หวดั สิงหบ์ ุรี
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ อำเภอสรรคบุรี จงั หวดั ชัยนาท
ทิศใต้
ทศิ ตะวนั ตก

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี “ระดับประถมศกึ ษา” 7

ภาพที่ 2 แผนทอี่ ำเภออินทรบ์ รุ ี จังหวดั สิงห์บรุ ี

การปกครอง
การปกครองส่วนภมู ิภาค อำเภออนิ ทรบ์ ุรี แบง่ เขตการปกครองออกเป็น 10 ตำบล ไดแ้ ก่

1. ตำบลอินทร์บรุ ี (In Buri)
2. ตำบลท่างาม (Tha Ngam)
3. ตำบลประศุก (Prasuk)
4. ตำบลน้ำตาล (Namtan)
5. ตำบลทับยา (Thap Ya)
6. ตำบลทองเอน (Thong En)
7. ตำบลงิ้วราย (Ngio Rai)
8. ตำบลหว้ ยชัน (Huai Chan)
9. ตำบลชนี ำ้ รา้ ย (hi Nam Rai)
10. ตำบลโพธ์ิชยั (Pho Chai)
องค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ แบ่งออกเปน็
1. เทศบาลตำบล 2 แห่ง คอื

1 เทศบาลตำบลอนิ ทร์บรุ ี ครอบคลมุ พ้นื ท่ตี ำบลอนิ ทร์บรุ ี (หมทู่ ี่ ๓, ๔, ๖, และ ๗)
2 เทศบาลตำบลทบั ยา ครอบคลมุ พน้ื ทตี่ ำบลทบั ยาท้งั ตำบล
2. องคก์ ารบริหารส่วนตำบล 9 แหง่ คอื
1. องคก์ ารบริหารส่วนตำบลอนิ ทร์บรุ ี

หลักสูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 8

2. องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลท่างาม
3. องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลประศกุ
4. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลน้ำตาล
5. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลทองเอน
6. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลงวิ้ ราย
7. องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลหว้ ยชัน
8. องค์การบริหารส่วนตำบลชนี ้ำร้าย
9. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโพธิช์ ยั

ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ
อาชพี หลัก ไดแ้ ก่ การทำนา
อาชีพเสริม ได้แก่ การเล้ยี งสัตว์ เชน่ โคเน้ือ สกุ ร ไกพ่ ืน้ เมือง ไกเ่ นอ้ื และจกั สาน

สถานทีท่ อ่ งเที่ยว
1.วดั ไทร ตำบลชีนำ้ รา้ ย
2.วดั หลวงพ่อม่งิ โมฬี ตำบลชนี ้ำรา้ ย
3.วัดดอกไม้ ตำบลประศกุ
4.วัดสวา่ งอารมณ์ ตำบลประศุก
5.วัดบ้านลำ ตำบลโพธ์ชิ ยั
6.วดั สองพน่ี ้อง ตำบลโพธช์ิ ยั
7.วดั กระทุ่มป่ี ตำบลโพธ์ชิ ัย
8.วัดพระปรางค์สามยอด ตำบลทองเอน
9.สวนศิลป์ สขุ ดี ตำบลทองเอง
10.ไร่แสนสมบรู ณ์ ตำบลทองเอน
11.สวนมะม่วงสองเรา ตำบลทองเอน
12.วดั โคกงู ตำบลทับยา
13.วดั สาลโคดม ตำบลทับยา
14.วัดสงิ ห์ ตำบลทบั ยา
15.วัดกำแพง ตำบลทา่ งาม
16.วดั หนองสุ่ม ตำบลหว้ ยชัน
17.พิพธิ ภัณฑ์บา้ นคูเมือง ตำบลห้วยชนั
18.สวนรุกขชาตบิ ้านคูเมอื ง ตำบลหว้ ยชัน
19.พพิ ธิ ภัณฑ์สถานแหง่ ชาติ ตำบลอินทรบ์ รุ ี

หลักสูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 9

20.ภาพจติ กรรมฝาผนังวดั มว่ ง ตำบลอินทร์บรุ ี
21.วัดโพธศ์ิ รี ตำบลอนิ ทร์บรุ ี

ดา้ นการสาธารณูปโภคการส่ือสารและโทรคมนาคม

1. การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค จำนวน 1 แหง่

2. ที่ทำการไปรษณีย์ จำนวน 1 แห่ง

การสาธารณสุข

1. โรงพยาบาล จำนวน 1 แห่ง

2. สำนักงานสาธารณสขุ อำเภออินทรบ์ ุรี จำนวน 1 แห่ง

3. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพชมุ ชนตำบล จำนวน 17 แหง่

สภาพสงั คมและวัฒนธรรม
สง่ิ สำคญั และส่ิงโดดเด่นในชมุ ชน

ศนู ยก์ ารเรียนรชู้ ุมชน

กศน.ตำบล ทต่ี ั้ง ผู้ประสานงาน/
ผู้รบั ผดิ ชอบ
กศน.ตำบลชีน้ำรา้ ย องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล ชีน้ำรา้ ย หมู่ 4ตำบลชนี ้ำ นางสาวสุนิสา โพธิก์ ลีบ
รา้ ย
กศน.ตำบลงวิ้ ราย วดั เพ่มิ ประสทิ ธิผลหมู่ 6 ตำบลงิว้ ราย นายณฐั ดนัย เสือเนยี ม
กศน.ตำบลนำ้ ตาล วดั ราษฏรบ์ ำรงุ วดั หมู่ 4 ตำบลนำ้ ตาล นางสาวชนัญญา สงิ หส์ ูง
กศน.ตำบลประศุก องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลประศุก (หลังเกา่ )หมู่ 3 นางสาวฉลกิ า พฤทธสิ ารกิ ร
ตำบลประศุก
กศน.ตำบลโพธิ์ชัย องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโพธ์ิชัย หมู่ 1 ตำบลโพธ์ิชัย นางสาวเขมรินทร์ ขวญั อนิ ทร์
กศน.ตำบลทองเอน องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลทองเอน หมู่ 13 นายปพนวัฒน์ วฒุ วิ ชิ ญานันต์
ตำบลทองเอน
กศน.ตำบลทบั ยา ศนู ยส์ ามวยั หมู่ 6 ตำบลทับยา นางลัดดา สนิ อนันต์
กศน.ตำบลท่างาม โรงเรียนวดั ทา่ อฐิ (หลงั เก่า) หมู่ 6 ตำบลท่างาม นางสมติ า หวังสาสุข
กศน.ตำบลหว้ ยชัน สวนรกุ ขชาติคเู มอื ง หมู่ 9 ตำบลห้วยชนั นางสาวชญาณิศ บุญเอี่ยม
กศน.ตำบลอินทร์บุรี วัดมว่ ง หมู่ 8 ตำบลอนิ ทรบ์ ุรี นางกลั ญา ศรรี กั ษ์

แหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 10

ชื่อแหล่งเรยี นรู้ ด้าน ท่อี ย่/ู เบอรโ์ ทรศัพท์ ผรู้ ับผดิ ชอบ
กลุ่มจกั สานวดั โฉมศรี หตั ถกรรม (การจกั สาน หมู่ 1 ต.ชนี ำ้ รา้ ย อ.อนิ ทร์บรุ ี นางเรณู สัมฤทธิ์ผอ่ ง

กลุ่มจกั สานบ้านสวน ไม้ไผ่และหวาย) จ.สงิ หบ์ ุรี นางชศู รี เกตุทอง
มะปราง หัตถกรรม (การจกั สาน หมู่ 5 ต.ชีนำ้ รา้ ย อ.อินทรบ์ ุรี
วัดราษฎร์ศรทั ธาทำ พระพรชยั เชาว์โน
ไมไ้ ผ่และหวาย จ.สิงหบ์ รุ ี
วัดโฉมศรี ศาสนาและ หมู่ 3 ต.ชีนำ้ รา้ ย อ.อินทรบ์ ุรี พระครปู ลัดสรุ พล
ศิลปวฒั นธรรม จ.สิงหบ์ รุ ี ประภาโส
แหล่งเรียนรทู้ ้องถนิ่ ศาสนาและ หมู่ 1 ต.ชนี ำ้ รา้ ย อ.อินทรบ์ รุ ี นายนรินทร แตงทอง
เศรษฐกจิ พอเพียง ศิลปวัฒนธรรม จ.สิงห์บุรี
เรยี นรู้ด้านการ เลขท่ี 61 ม. 7 ต.งว้ิ ราย นายไพลนิ ทร์ คลา้ ยเณร
บา้ นหนังสือชมุ ชนบา้ น เกษตรกรรม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี
ประโมง นายธนวรรษ
กลุ่มผ้ามดั ย้อมจากสี โทร.081 570 3542 อนิ ทร์สวุ รรณ์
ธรรมชาติ บ้านหนงั สอื ชุมชน ม.1 ต.ประศกุ อ.อินทรบ์ ุรี
นายกฤตภาส ป้อมเปีย่ ม
ศูนย์เรยี นรู้หลักปรชั ญา จ.สงิ ห์บุรี โทร.081-3646385
เศรษฐกจิ พอเพยี งตำบล ศิลปกรรม(ผา้ มดั ยอ้ ม) เลขที่ 42/1 ม.6 ต.ประศกุ
โพธ์ิชยั แหล่งเรียนรู้
เกษตร บา้ นทงุ่ ไผ่ทอง อ.อินทร์บุรี จ.สงิ หบ์ รุ ี
แหลง่ เรยี นรู้ท้องถ่นิ โทร.089-1307969
เศรษฐกิจพอเพียง เรียนรดู้ ้านการ เลขท่ี 28/1 ม. 4 ต.โพธ์ิชยั
เกษตรกรรม อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สงิ หบ์ ุรี
กลุ่มจักสานบา้ นท่างาม โทร.069-3858695

กลุม่ แม่บ้านบางโฉมศรี เรยี นรดู้ า้ นการ ไร่แสนสมบูรณ์ 11/3 หม9ู่ นายสมบรู ณ์
เกษตรกรรม
ต.ทองเอน อ.อินทรบ์ รุ ี เรอื ศรจี ันทร์
หัตถกรรม
(การจกั สานหวาย) จ.สงิ ห์บรุ ี โทร.0804681174

หตั ถกรรม องค์การบริหารสว่ นตำบลท่า นางสนุ นั ท์ สนธิ
(หมวกปอพลาสตกิ )
งาม (หลังเกา่ ) หมู่ 6

ต.ทา่ งาม อ.อินทร์บุรี

จ.สิงหบ์ ุรี

บา้ นบางตาโฉม หมู่ 8 ต.ท่างาม นางจตพุ ร สนเอ่ียม

อ.อินทรบ์ ุรี จ.สงิ ห์บรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 11

ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ ดา้ น ทีอ่ ย/ู่ เบอร์โทรศัพท์ ผู้รบั ผดิ ชอบ
ศูนยเ์ รยี นรู้ แนะแนว ฝึก หัตถกรรม(งาน
อาชีพ กล่มุ พรม อเนก ประดษิ ฐ์จากเศษผา้ ) บ้านเลขที่ 10 หมู่ 3 ต.ห้วยชนั นางบญุ ชู ฉ่ำทอง
ประสงค์ บ้านการ้อง
ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั ท่องเทย่ี วเชงิ อ.อินทร์บุรี จ.สงิ ห์บรุ ี
มว่ ง ประวตั ิศาสตร์
พิพธิ ภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติ ท่องเทยี่ วเชิง ม.8 ต.อนิ ทรบ์ ุรี อ..อนิ ทรบ์ รุ ี พระครโู้ สพิทบญุ ญาคม
อินทร์บรุ ี ประวตั ศิ าสตร์ จ.สิงห์บุรี กรมศิลปากร
ม.1 ต.อินทร์บรุ ี อ..อนิ ทรบ์ รุ ี
จ.สิงห์บุรี

ภาคีเครือขา่ ย ได้แก่

ภาคีเครือข่าย ด้าน ท่อี ยู่ เบอร์โทรศัพท์
(กลุ่ม องค์กร และ 036-581982
-สนับสนุนการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต หมู่ 3 ต.อนิ ทรบ์ ุรี 036-507242
หนว่ ยงาน) -สนับสนนุ การจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น อ.อินทรบ์ ุรี จ.สงิ หบ์ ุรี
สถานีตำรวจภธู ร -สนับสนนุ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื ศาลากลางจังหวดั 036-581998
อำเภออินทร์บุรี พัฒนาสงั คมและชมุ ชน สิงหบ์ ุรี อาคาร 2
สำนักงาน ช้นั 4 ต.บางมญั 036-581991
คณะกรรมการการ -สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม อ.เมอื ง จ.สิงหบ์ รุ ี 036585040
เลือกตง้ั ประจำจังหวดั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 3 ต.อินทร์บรุ ี
สิงห์บุรี -ให้ความร่วมมือให้ขอ้ มูลพ้ืนฐานระดบั อ.อนิ ทร์บุรี จ.สิงหบ์ ุรี 036-510470
เกษตรอำเภออนิ ทรบ์ ุรี ตำบล
-ใหค้ วามร่วมมอื ด้านข้อมูลและสนับสนุน หมู่ 3 ต.อินทร์บุรี
สาธารณสุขอำเภอ การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บรุ ี
อินทรบ์ รุ ี ระบาดของโรคโควิด 19
-ให้การสนับสนุนพื้นท่ี สร้างอาคาร กศน. หมู่ 4 ต.ชีน้ำรา้ ย
องคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตำบล อ.อินทร์บุรี จ.สงิ หบ์ ุรี
ตำบลชีน้ำรา้ ย -ให้ความรว่ มมือใหข้ อ้ มูลพ้ืนฐานระดับ
ตำบล หมู่ 3 ต.งว้ิ ราย
องคก์ ารบริหารสว่ น -ใหค้ วามร่วมมือให้ข้อมูลพน้ื ฐานระดบั อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สงิ หบ์ รุ ี
ตำบลงิ้วราย ตำบล

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศึกษา” 12

ภาคเี ครือข่าย ดา้ น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์
(กลมุ่ องคก์ ร และ 036-530221
-ใหก้ ารสนับสนุนอาคารสถานท่ี กศน. หมู่ 4 ต.น้ำตาล
หนว่ ยงาน) ตำบล อ.อนิ ทร์บรุ ี จ.สงิ ห์บรุ ี 036-699428
องคก์ ารบริหารสว่ น -ให้ความร่วมมอื ให้ข้อมูลพน้ื ฐานระดบั
ตำบลนำ้ ตาล ตำบล 036-699-424
-ให้การสนับสนนุ อาคารสถานที่ กศน. หมู่ 4 ต.ประศกุ
องคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตำบล อ.อินทรบ์ ุรี จ.สิงหบ์ ุรี 036-811588
ตำบลประศุก -ให้ความรว่ มมอื ใหข้ อ้ มลู พื้นฐานระดบั 092-5150055
ตำบล 036-812431
องค์การบริหารสว่ น -ใหก้ ารสนับสนนุ อาคารสถานท่ี กศน. หมู่ 1 หมบู่ ้านแหลม
ตำบลโพธิช์ ยั ตำบล ยอ ต.โพธ์ิชยั อ.
-ให้ความรว่ มมอื ให้ขอ้ มลู พน้ื ฐานระดับ อนิ ทร์บรุ ี จ.สงิ ห์บุรี
องคก์ ารบริหารสว่ น ตำบล
ตำบลตำบลทองเอน -ใหก้ ารสนับสนนุ อาคารสถานที่ กศน. หมู่ 13 ต.ทองเอน
ตำบล อ.อินทรบ์ รุ ี จ.สงิ หบ์ ุรี
เทศบาลตำบลทับยา -ให้ความรว่ มมือใหข้ อ้ มลู พนื้ ฐานระดบั ตำบล
-ให้การสนับสนุนอาคารสถานที่ กศน.ตำบล หมู่ 13 ต.ทบั ยา
องค์การบรหิ ารสว่ น -ให้ความรว่ มมอื ให้ข้อมูลพ้ืนฐานระดบั อ.อินทร์บรุ ี จ.สิงหบ์ ุรี
ตำบลตำบลทา่ งาม ตำบล
-ให้ความร่วมมือให้ขอ้ มูลพ้นื ฐานระดับ หมู่ 3 ต.ทา่ งาม
ตำบล อ.อินทร์บรุ ี จ.สิงหบ์ ุรี

องค์การบริหารสว่ น -ให้การสนับสนุนอาคารสถานที่ กศน. หมู่ 6 ต.หว้ ยชัน 036-505204
ตำบลตำบลหว้ ยชัน ตำบล อ.อินทร์บรุ ี จ.สงิ ห์บุรี
-ใหค้ วามร่วมมอื ใหข้ อ้ มลู พน้ื ฐานระดับ 036-581989
เทศบาลตำบล ตำบล หมู่ 2 ต.อนิ ทรบ์ รุ ี 036-585193
อนิ ทรบ์ รุ ี -ให้ความรว่ มมือให้ข้อมูลพื้นฐานระดบั อ.อนิ ทร์บุรี จ.สิงห์บุรี
โรงพยาบาลสง่ เสริม ตำบล หมู่ 1 ต.ชีนำ้ ร้าย
สขุ ภาพประจำตำบล -ให้ความรว่ มมือการตรวจสุขภาพนกั ศึกษา อ.อนิ ทร์บรุ ี จ.สงิ ห์บุรี
ชีน้ำรา้ ย 1 -สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมทกั ษะชีวติ
-สนบั สนนุ การจดั การศึกษาในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 13

ภาคีเครอื ข่าย ด้าน ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
(กล่มุ องค์กร และ 036-585239
-ให้ความรว่ มมือการตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา หมู่ 4 ต.ชีน้ำร้าย
หน่วยงาน) -สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมทักษะชีวิต อ.อนิ ทร์บุรี จ.สงิ ห์บุรี 036 812 630
โรงพยาบาลสง่ เสริม -สนับสนุนการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ 036-503227
สุขภาพประจำตำบล การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 หมู่ 3 ต.ง้วิ ราย
ชีน้ำร้าย 2 ใหค้ วามรว่ มมือการตรวจสุขภาพนักศกึ ษา อ.อินทรบ์ ุรี จ.สิงห์บุรี 036-583140
-สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมทักษะชีวิต
โรงพยาบาลส่งเสรมิ 036-588489
สขุ ภาพตำบลตำบล -ใหค้ วามรว่ มมือการตรวจสขุ ภาพนักศกึ ษา หมู่ 3 ต.น้ำตาล
งวิ้ ราย 3 (วดั ไผข่ าด) -สนับสนุนการจัดกจิ กรรมทกั ษะชวี ติ อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สิงหบ์ ุรี
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ -สนับสนุนการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์
สขุ ภาพประจำตำบล การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 หมู่ 3 ต.ประศุก
นำ้ ตาล -ให้ความร่วมมือการตรวจสขุ ภาพนกั ศกึ ษา อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สงิ ห์บุรี
-สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมทักษะชีวิต
โรงพยาบาลส่งเสรมิ -สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ หมู่ 2 ต.โพธช์ิ ยั
สขุ ภาพตำบลประศุก การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สงิ หบ์ ุรี
-ให้ความร่วมมือการตรวจสขุ ภาพนักศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสรมิ -สนับสนนุ การจัดกิจกรรมทกั ษะชวี ิต
สขุ ภาพตำบลโพธิ์ชัย 1 -สนับสนนุ การจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19

โรงพยาบาลส่งเสรมิ -ใหค้ วามร่วมมอื การตรวจสขุ ภาพ หมู่ 8 ต.โพธิช์ ัย 036522159
สขุ ภาพตำบลโพธ์ิชัย 1 นักศึกษา
อ.อินทรบ์ รุ ี จ.สงิ หบ์ ุรี
-สนับสนุนการจัดกิจกรรมทกั ษะชวี ติ
-สนับสนุนการจดั การศกึ ษาใน ม. 6 ต.ทองเอน 084-0817192
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค อ.อินทรบ์ ุรี จ.สงิ หบ์ ุรี
โควดิ 19
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ -ให้ความร่วมมือการตรวจสขุ ภาพ
สขุ ภาพตำบลทองเอน นักศึกษา
2 -สนบั สนุนการจดั กิจกรรมทักษะชวี ิต

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี “ระดับประถมศึกษา” 14

ภาคีเครือข่าย ดา้ น ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
(กลุ่ม องค์กร และ
-สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาใน หมู่ 6 องคก์ าร 036-812431
หนว่ ยงาน) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค บรหิ ารสว่ นตำบล
โควดิ 19 ท่างาม
โรงพยาบาลสง่ เสริม -ให้ความรว่ มมือการตรวจสขุ ภาพ อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สิงหบ์ ุรี
สขุ ภาพประจำตำบล นกั ศึกษา
ท่างาม -สนบั สนุนการจัดกิจกรรมทกั ษะชวี ติ หมู่ 10 ต.หว้ ยชนั 061-5733589
-สนับสนนุ การจดั การศึกษาใน อ.อนิ ทร์บุรี
โรงพยาบาลส่งเสริม สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค จ.สงิ ห์บุรี
สขุ ภาพประจำตำบล โควิด 19
ห้วยชนั 1 -ให้ความร่วมมือการตรวจสุขภาพ หมู่ 3 ต.ห้วยชนั 036-505258
นักศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริม -สนบั สนุนการจดั กิจกรรมทกั ษะชวี ิต อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี
สุขภาพประจำตำบล -สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาใน
ห้วยชัน 2 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค
โควดิ 19
-ใหค้ วามรว่ มมอื การตรวจสุขภาพ
นักศึกษา
-สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมทักษะชวี ิต
-สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค
โควิด 19

โรงพยาบาลสง่ เสริม -ใหค้ วามร่วมมอื การตรวจสุขภาพ หมู่ 9 ต.อินทร์บรุ ี 087-8163357
สุขภาพชุมชนตำบล นกั ศกึ ษา อ.อินทรบ์ ุรี จ.สงิ ห์บุรี
อินทร์บรุ ี 2 -สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมทักษะชวี ติ
-สนับสนุนการจดั การศึกษาใน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค
โควิด 19

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 15

ภาคเี ครือข่าย

(กลุ่ม องค์กร และ ด้าน ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
092-5150055
หน่วยงาน)
036-581528
โรงเรยี นเทศบาลตำบล -ให้ความรว่ มมือสถานท่ี เครื่องวดั หมู่ 6 ต.ทับยา
036-812424
ทับยา อณุ หภูมิในการจดั สอบปลายภาคเรียน อ.อินทรบ์ รุ ี จ.สงิ ห์บรุ ี 036-588237

-ให้ความร่วมมอื ในการสนบั สนนุ 036-581108
080-6176950
กรรมการคมุ สอบปลายภาคเรียน

โรงเรยี นอินทร์บรุ ี -ใหค้ วามรว่ มมือสถานท่ี เครอื่ งวัด หมู่ 1 ต.อินทร์บุรี

อุณหภมู ิ ในการจดั สอบปลายภาคเรียน อ.อนิ ทรบ์ รุ ี จ.สงิ ห์บรุ ี

-ใหค้ วามรว่ มมอื ในการสนบั สนุน

กรรมการคมุ สอบปลายภาคเรียน

โรงเรยี นวัดทา่ อิฐ -ให้ความร่วมมือสถานที่ เครอ่ื งวดั หมู่ 6 ต.ทา่ งาม

อณุ หภมู ิ ในการจดั สอบปลายภาคเรยี น อ.อนิ ทร์บรุ ี จ.สงิ หบ์ ุรี

โรงเรียนวดั กระทมุ่ ปี่ -ใหค้ วามรว่ มมอื สถานท่ี เครอื่ งวดั หมู่ 1 ต.โพธิช์ ยั

อณุ หภมู ิ ในการจดั สอบปลายภาคเรยี น อ.อินทรบ์ รุ ี จ.สงิ ห์บุรี

-ให้ความร่วมมอื ในการสนับสนุน

กรรมการคมุ สอบปลายภาคเรียน

โรงเรียนอนุบาล -ให้ความรว่ มมอื สถานที่ เครื่องวัด หมู่ 8 ต.อินทร์บรุ ี

อินทร์บรุ ี อุณหภมู ิ ในการจดั สอบปลายภาคเรียน อ.อนิ ทรบ์ ุรี จ.สิงหบ์ รุ ี

โรงเรียนบ้านคเู มือง -ใหค้ วามร่วมมอื สถานที่ เครือ่ งวดั หมู่ 6 ต.หว้ ยชัน

อณุ หภมู ิ ในการจดั สอบปลายภาคเรยี น อ.อินทรบ์ ุรี จ.สงิ ห์บุรี

-ใหค้ วามรว่ มมือในการสนบั สนนุ

กรรมการคมุ สอบปลายภาคเรียน

ข้อมลู สถานศกึ ษา
ช่ือสถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภออนิ ทรบ์ ุรี
ท่ีอยู่ หมู่ท่ี 3 ตำบลอนิ ทร์บุรี อำเภออินทรบ์ ุรีจงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี
เบอร์โทรศัพท์ 036-583346 เบอร์โทรสาร 036-583346
E-mail : [email protected]
สังกัด : สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั สงิ หบ์ ุรี
สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศึกษา” 16

ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภออินทร์บุรี ได้ประกาศจัดตั้งตามประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2536 มีชื่อว่า ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ
อินทร์บุรี สังกัด ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสิงห์บุรี กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวง
ศึกษาธิการ โดยใช้สถานที่ส่วนหนึ่งของอาคารพระปริยัติธรรมวัดโพธิ์ศรี หมู่ที่ 8 ตำบลอินทร์บุรี
อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ซึ่งเป็นที่ทำการห้องสมุดประชาชนอำเภออินทร์บุรี เป็นสถานศึกษาชั่วคราว
ปฏิบัติหน้าที่จัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน โดยมีนายประพันธ์ สุนทรนันท์ เป็นหัวหน้าศูนย์ฯ คนแรก
และตอ่ มาไดม้ กี ารยา้ ยสถานทีท่ ำการหลายคร้งั ดงั นี้

-เดอื นเมษายน 2541 นางลัดดา โมลาส ได้รบั อนญุ าตจากท่านเจา้ คณุ พระราชสุมนต์มุณี ใหใ้ ช้อาคาร
กฏุ ินายใช้ หาญพานชิ เปน็ ทีท่ ำการสถานศกึ ษา(ซ่ึงแยกจากห้องสมดุ ประชาชนอำเภออินทรบ์ รุ )ี

-วันที่ 8 กันยายน 2548 นายปัญญา สังข์ทิพย์ ได้ย้ายอาคารที่ทำการสถานศึกษามาอยู่ที่อาคาร
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภออินทร์บุรี ณ บริเวณที่ว่าการอำเภออินทร์บุรี หมู่ 3 ตำบลอินทร์บุรี อำเภอ
อนิ ทรบ์ ุรี จังหวดั สิงหบ์ รุ ี

-วนั ท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 2551 ได้เปลย่ี นชอ่ื เป็นศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
อำเภออินทรบ์ ุรี ตามพระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551

-ปีงบประมาณ 2554 ได้รับงบประมาณจากสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ในการก่อสร้างห้องสมุดประชาชนอำเภอ
อินทร์บุรี จำนวน 3,000,000 บาท(สามล้านบาทถ้วน) โดยใช้สถานที่บรเิ วณวัดปราสาท เป็นอาคาร 2 ชั้น ชั้น
บนเป็นที่ทำการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภออินทร์บุรี ส่วนชั้นล่าง
เป็นห้องสมุดประชาชนอำเภออนิ ทร์บุรี ซึ่งในการก่อสร้างครั้งนี้ยังขาดงบประมาณในการถมดนิ พื้นที่ กว้าง 35
เมตร ยาว 35 เมตร สูง 2 เมตร จึงได้หาทุนสมทบเพื่อการถมดินในการก่อสร้างอาคารดังกล่าว โดยมีท่านพระ
อธกิ ารลออ โภคกุญโณ เจ้าอาวาสวดั ปราสาท เปน็ ประธานอปุ ถมั ภฝ์ า่ ยสงฆ์ และชว่ ยดูแลการกอ่ สร้างอาคารจน
สำเร็จได้ดว้ ยดี

บคุ ลากร จำนวน 1 คน
1. ผูบ้ ริหาร จำนวน 1 คน
2. ข้าราชการครู้ จำนวน 1 คน
3. ครู้อาสาสมคั รฯ จำนวน 9 คน
4. ครู้ กศน.ตำบล จำนวน 1 คน
5. ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชุมชน จำนวน 1 คน
6. บรรณรกั ษ์จ้างเหมาปฏบิ ัติงาน รวม 14 คน

หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 17

ข้อมูลบคุ ลากร ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภออินทร์บรุ ี

ประเภท/ตำแหน่ง จำนวน(คน)

ผูบ้ ริหาร ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจำนวน
ข้าราชการครู้ - 1
พนกั งานราชการ - -1 - 1
ครู้อาสาสมัคร กศน.
ครู้ กศน.ตำบล - -1 -
อตั ราจา้ ง -
-ครู้ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน 1- - 1
-บรรณารักษอ์ ตั ราจ้าง - 9- - 9
-
รวมจำนวน(คน) 1- - 1
1- - 1
12 2 14

คณะกรรมการสถานศกึ ษา จำนวน 9 คน ด้านการศึกษา ประธานกรรมการ
1. นายทองเหมาะ ช่ืนกุศล
2. นายศุภสันต์ ชว่ ยบญุ ด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีและสารสน เทศ กรรมการ
3. นายวุฒิชัย เกิดทอง
4. นายวเิ ชยี ร พันธ์สุข ด้านความม่ันคง กรรมการ
5. นางสุรศักด์ิ เพ็งภาค
6. นางดวงรัตน์ ช้างเนยี ม ด้านสาธารณสขุ กรรมการ
7. นายทองทรัพย์ อำไพ
8. นางปกาวรรณ เทยี บฤทธ์ิ ดา้ นการเมืองการปกครอง กรรมการ
9. นางสาวพนิ ท์พวา บุญคง
ดา้ นพฒั นาสงั คมชุมชนและส่ิงแวดล้อม กรรมการ

ดา้ นภมู ิปญั ญาท้องถิ่น กรรมการ

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี กรรมการและเลขานุการ

ผูช้ ว่ ยกรรมการและเลขานุการ

เปา้ หมายการจัดการศึกษา
1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง

การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม
อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง พร้อมทั้งสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองเป็นไปตามสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย สร้างเสริมและปลูกฝัง
คุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมืองอันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้
ชมุ ชนเพอ่ื พฒั นาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คมวัฒนธรรมประวัตศิ าสตรแ์ ละสิ่งแวดล้อม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 18

2. ชมุ ชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนร่วมจดั สง่ เสริมและสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยรวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและปรชั ญาคดิ เปน็

3. สถานศึกษาพัฒนาสื่อและเสริมทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการ
เรียนรู้เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชนสามารถคิดวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมการสร้าง
มูลค่าสินค้า ผ่านศูนย์จำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center -
OOCC) รวมทง้ั แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

4. บคุ ลากรของสถานศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัตงิ านการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล

ปรัชญา “คดิ เปน็ ”
ปรัชญา “คิดเป็น” มีแนวคิดภายใต้ความเชื่อที่ว่า “คนเราสามารถพัฒนาการคิด การตัดสินใจ” ให้มี

ประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ ด้วยการฝึกทักษะ การใช้ข้อมูลที่หลากหลายทั้งด้านตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และ
วชิ าการมาวเิ คราะห์ เชื่อมโยง สมั พันธ์ สร้างสรรค์ เปน็ แนวทาง วธิ กี าร สำหรับตนเอง แลว้ ประเมนิ ตคี ่า ตดั สินใจ
เพ่ือตนเอง และชมุ ชน สังคม ซึ่งเปน็ ลักษณะของคน “คดิ เปน็ ”

วสิ ัยทัศน์
ภายในปี พ.ศ. 2565 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภออินทรบ์ รุ ี จดั การศึกษา

นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เป็นไปตามมาตรฐาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พนั ธกจิ
1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคณุ ภาพ เพื่อยกระดบั การศกึ ษาของประชาชน

อำเภออนิ ทร์บรุ ี
2. ภาคีเครอื ข่ายมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ
3. จัดกจิ กรรมและส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักการ
1. เป็นหลักสูตรที่มี'โครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียน เวลาเรียน และการจัดการเรียน โดยเน้นการ

บรู ณาการเนื้อหาให้สอดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ิต ความแตกต่างของบคุ คล และชมุ ชน สังคม
2. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม

อธั ยาศยั

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดบั ประถมศึกษา” 19

3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียน!อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความสำคัญ
สามารถพัฒนาตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศกั ยภาพ

4. ส่งเสริมใหภ้ าคีเครือข่ายมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา

จุดมุ่งหมาย
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราชการ 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมี

คุณธรรม จริยธรรม มสี ตปิ ัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี มีศกั ยภาพในการประกอบอาชีพ และการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง
ซง่ึ เปน็ ลักษณะอันพึงประสงคท์ ี่ตอ้ งการ จงึ กำหนดจุดหมาย ดงั ต่อไปนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มท่ดี งี าม และสามารถอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอย่างสันติสุข
2. มคี วามรพู้ ื้นฐานสำหรบั การดำรงชวี ติ และการเรยี นรตู้ ่อเนื่อง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพ ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และเท่าทันความ
เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง
4. มีทักษะการดำเนินชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
6. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และบูรณาการ
ความรมู้ าใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ

กล่มุ เปา้ หมาย
กลุ่มเกษตรกร กลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงาน กลมุ่ ผนู้ ำทอ้ งถิน่ กลมุ่ ผู้สูงอายุ กลุ่มเดก็ ออกกลางคัน

หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 20

กรอบโครงสร้าง

1. ระดับการศกึ ษา
ระดับประถมศึกษา

2. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดังน้ี
1. สาระทักษะการเรยี นรู้ เป็นสาระเกีย่ วกับการเรยี นรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรยี นรู้ การจัดการความรู้
การคดิ เป็น และการวิจยั อย่างง่าย
2. สาระความรู้พื้นฐาน เป็นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
3. สาระประกอบอาชีพ เป็นสาระเก่ียวกับการมองเห็นช่องทาง และการตัดสินใจประกอบอาชีพ
ทกั ษะในอาชพี การจดั การอาชพี อยา่ งมคี ณุ ธรรม และการพฒั นาอาชีพให้มน่ั คง
4. สาระทักษะการดำเนินชีวิต เป็นสาระที่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพอนามัยและความ
ปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวติ ศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ
5. สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระที่เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ
ปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา้ ท่พี ลเมอื ง และการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม

3. กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต
กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพอ่ื ให้ผเู้ รยี นพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม

4. มาตรฐานการเรียนรู้
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
ตามสาระการเรยี นรู้ทั้ง 5 สาระ ทเ่ี ปน็ ข้อกำหนดคุณภาพของผเู้ รยี น ดงั น้ี
1. มาตรฐานการเรยี นรู้การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ ในแต่
ละสาระการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551
2. มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ เป็นมาตรฐานการเรียนร้ใู นแต่ละสาระการเรยี นรู้ เมื่อผูเ้ รยี นเรียนจบในแต่
ละระดับช้นั ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

5. เวลาเรยี น
ในแต่ละระดับใช้เวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนต้อง
ลงทะเบียนเรยี นในสถานศกึ ษาอย่างนอ้ ย 1 ภาคเรยี น

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศึกษา” 21

6. หนว่ ยกิต
ใช้เวลาเรียน 40 ชั่วโมง มีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

7. โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา

จำนวนหน่วยกติ

ประถมศกึ ษา

ท่ี สาระการเรยี นรู้ วชิ าบงั คับ วิชาเลือก
เลือกบังคบั เลอื กเสรี
1 ทักษะการเรียนรู้
2 ความรพู้ ื้นฐาน 5
3 การประกอบอาชพี
4 ทักษะการดำเนินชีวติ 12 2
5 การพัฒนาสงั คม
8
รวม
5
กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
6 46

36 6 6

48 หนว่ ยกติ

200 ชั่วโมง

หมายเหตุ วิชาเลอื กในแต่ละระดบั สถานศกึ ษาตอ้ งจัดใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรจู้ ากการทำโครงงาน จำนวนอยา่ งนอ้ ย 3
หน่วยกติ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช
2551 ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดงั นี้

สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานท่ี 1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
มาตรฐานท่ี 1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ีดตี ่อการใช้แหลง่ เรียนรู้
มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี ่อการจดั การความรู้
มาตรฐานท่ี 1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ตี อ่ การคดิ เป็น
มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดตี ่อการวจิ ัยอยา่ งงา่ ย

หลักสูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 22

สาระความรูพ้ ้นื ฐาน ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพ้ืนฐานเก่ียวกบั ภาษาและการสื่อสาร
มาตรฐานท่ี 2.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะพ้ืนฐานเก่ยี วกบั คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

สาระการประกอบอาชพี ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานท่ี 3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ีด่ ใี นงานอาชพี มองเห็นชอ่ งทางและตัดสนิ ใจ

ประกอบอาชีพไดต้ ามตอ้ งการ และศักยภาพของตนเอง
มาตรฐานที่ 3.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพทต่ี ดั สนิ ใจเลอื ก
มาตรฐานท่ี 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม
มาตรฐานที่ 3.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการพัฒนาอาชพี ให้มีความม่นั คง

สาระทักษะการดำเนินชีวิต ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดังน้ี
มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติทด่ี เี กยี่ วกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถ

ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคตทิ ่ีดีเก่ยี วกับการดูแล ส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัยและ

ความปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวติ
มาตรฐานที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ด่ี ีเก่ยี วกับศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ

สาระการพฒั นาสังคม ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังน้ี
มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนกั ถงึ ความสำคญั เกย่ี วกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์

เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชวี ติ
มาตรฐานที่ 5.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรมประเพณี เพอ่ื การอยู่

รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ
มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย มจี ติ สาธารณะเพอ่ื ความสงบสุขของสังคม
มาตรฐานท่ี 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคญั ของหลกั การพัฒนา และสามารถพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน/สังคม

หมายเหตุ สาระการเรียนรู้ ความรพู้ น้ื ฐาน มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจทักษะพ้นื ฐาน
เก่ียวกับภาษาและการสอื่ สาร ซ่ึงภาษาในมาตรฐานนี้ หมายถึง ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 23

สาระทักษะการเรยี นรู้

สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในเรื่องของการเรียนรู้
ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
กำหนดเป้าหมายและวางแผนการเรียนรู้ โดยใช้ทักษะการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าของตนเองได้
ต่อเนือ่ งตลอดชีวิต

สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
มาตรฐานที่ 1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การใช้แหลง่ เรียนรู้
มาตรฐานท่ี 1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ตี อ่ การจดั การความรู้
มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี ่อการคดิ เป็น
มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ การวจิ ยั อย่างง่าย

มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา และผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวงั ในแตล่ ะมาตรฐาน

มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั ความสามารถในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 1. อธิบายความหมายของการเรียนรู้ด้วยตนเองและวิธีการแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง
2. ปฏิบตั ิตนตามข้ันตอนการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
3. เหน็ คณุ คา่ ของกิจกรรมการแสวงหาความรู้

มาตรฐานที่ 1.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ตี ่อการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั รจู้ กั เห็นคุณค่า และใช้แหล่งเรียนรถู้ ูกต้อง
ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. บอกประเภท คุณลักษณะของแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และเลือกใช้แหล่ง
เรียนรูไ้ ด้ตามความเหมาะสม
2. ใช้แหล่งเรียนรู้อย่างเห็นคุณคา่
3. ทำตามกฎ กตกิ า และขัน้ ตอนการใชแ้ หล่งเรียนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ ุรี “ระดับประถมศึกษา” 24

มาตรฐานที่ 1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ตี อ่ การจดั การความรู้

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ เข้าใจความหมายกระบวนการชุมชนปฏิบัติการ และทำตามกระบวนการ
ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั จดั การความรู้ชมุ ชน
1. อธบิ ายความหมาย กระบวนการชุมชนปฏบิ ตั กิ าร กำหนดขอบเขตความรู้
จากความสามารถหลักของชุมชน และวิธีการยกระดับขอบเขตความรู้ให้
สูงขนึ้
2. ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลการเรียนรู้ที่บ่งชี้ถึงคุณค่าของ
กระบวนการจัดการความรู้
3. สามารถสงั เกต และทำตามกระบวนการการจดั การความรสู้ ชู่ ุมชน

มาตรฐานท่ี 1.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การคดิ เป็น

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ ความสามารถในการอธิบายปรัชญาคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิดเป็นใน
ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั การแกป้ ัญหา
1. อธิบายและเชื่อมโยงความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอก
ระบบสู่ปรัชญาคดิ เป็น
2. เข้าใจความหมายและความสำคัญของปรัชญาคิดเป็น สามารถอธิบายถึงขั้นตอน
และกระบวนการแก้ปญั หาของคนคดิ เป็น
3. เข้าใจลกั ษณะของข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดลอ้ ม และสามารถ
เปรียบเทียบความแต่กต่างของขอ้ มูลทงั้ สามด้าน

มาตรฐานที่ 1.5 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การวจิ ัยอย่างงา่ ย

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ เข้าใจความหมาย เห็นความสำคัญ และปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์
ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง ขอ้ มลู และสรปุ ผลการหาความรู้ ความจรงิ
1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนในการทำวิจัยอย่างง่าย
คน้ หาความรู้ความจริง
2. เหน็ ความสำคญั ของการค้นหาความรู้ ความจรงิ
3. ปฏิบัติการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการหาความรู้
ความจริง

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศึกษา” 25

สาระทกั ษะการเรยี นรู้

รายวิชาบงั คับ

มาตรฐานที่ สาระ ระดบั ประถมศกึ ษา หน่วยกิต
1.1-1.5 ทักษะการเรียนรู้ รหสั รายวิชา รายวชิ าบงั คบั 5
ทร11001 ทักษะการเรยี นรู้ 5

รวม

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 26

สาระทกั ษะการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าและรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดับประถมศึกษา” 27

คำอธบิ ายรายวชิ า ทร11001 วชิ าทกั ษะการเรยี นรู้ สาระทักษะการเรยี นรู้
จำนวน 5 หนว่ ยกติ ระดับประถมศึกษา

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั
1. ความสามารถในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
2. รู้จกั เห็นคณุ คา่ และใช้แหลง่ เรยี นรู้ถกู ตอ้ ง
3. เขา้ ใจความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏบิ ัติการและทำตามกระบวนการจัดการความรชู้ ุมชน
4. ความสามารถในการอธบิ ายปรัชญาคดิ เปน็ และทกั ษะในการใช้กระบวนการคดิ เปน็ ในการแก้ปญั หา
5. เข้าใจความหมาย เห็นความสำคัญ และปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู และสรุปผลการหา

ความรู้ ความจริง

ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกับเร่อื งดงั ต่อไปนี้
1. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
ความหมาย ความสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการ

แก้ปัญหาและเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้านการอ่าน การฟัง การสังเกต การจำ และการจดบนั ทึกเจตคติ/
ปัจจัย ที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ การเปิดรับโอกาสการเรียนรู้ การคิดริเริ่มและเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การสรา้ งแรงจงู ใจ การสร้างวินยั ในตนเอง การคดิ เชงิ บวก ความคดิ สร้างสรรคค์ วามรักในการเรยี น การใฝ่
รใู้ ฝ่ เรยี น และความรับผิดชอบ

2. การใช้แหลง่ เรียนรู้
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ของแหล่งเรียนรู้ โดยทั่วไป เช่น กลุ่มบริการข้อมูล กลุ่มศิลปวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ กลุ่มข้อมูลท้องถิ่น กลุ่มสื่อ กลุ่มสันทนาการศึกษา สํารวจ แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน จัดกลุ่ม
ประเภท และความสำคัญ ศึกษาเรียนรู้กับภูมิปัญญา ปราชญ์ ผู้รู้ในท้องถิ่น การเข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้
ห้องสมุดประชาชน สถานศึกษา และ ศูนย์การเรยี นชุมชน (ศรช.) ศึกษาบทบาทหน้าที่และการบริการของแหล่ง
เรียนรู้ดา้ นต่าง ๆ กฎ กตกิ า เงื่อนไขตา่ ง ๆ ในการไปขอใช้ บริการ ฝึกทกั ษะการใชข้ อ้ มลู สารสนเทศจากห้องสมดุ
ประชาชนใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการ ความจำเปน็ เพ่อื นาํ ไปใชใ้ นการเรียนร้ขู องตนเอง
3. การจัดการความรู้
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ หลักการของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลมุ่
เพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ฝึกทักษะ
กระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการโดยการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ระบุ
ความรู้ท่ตี ้องใชก้ ารแสวงหาความรู้ สรปุ องคค์ วามรู้ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ แลกเปลย่ี นความรู้ การรวมกลุ่มปฏิบตั ิการ
เพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้ใน
การพัฒนาตนเอง ครอบครวั

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดับประถมศึกษา” 28

4. การคดิ เป็น
ศึกษาทำความเข้าใจกับความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ และเชื่อมโยงไปสู่
การเรียนรู้เรื่องความหมายและความสำคัญของการคิดเป็น โดยใช้ข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม
อย่างพอเพียง มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อกำหนดทางเลือกในการคิด การตัดสินใจ แก้ปัญหาที่เหมาะสม
อย่างคนคิดเป็น ฝึกทักษะในการทำความเข้าใจในลักษณะของข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมสิ่งแวดล้อม
และฝึกการใช้ข้อมูลทั้ง 3 ด้าน ในการประกอบการคิดและการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาที่หลากหลายตามกระบวนการ
แก้ปญั หาอย่างคนคิดเป็น
5. การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
ศึกษา / ฝึกทักษะ ความหมาย ความสำคัญของ การวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการ
ดำเนินงาน ได้แก่ การระบุ / กำหนดปัญหา ที่ต้องการหาความรู้ ความจริง หรือสิ่งต้องการพัฒนา การแสวงหา
ความรู้จากการศึกษาเอกสาร ผู้ทรงคุณวุฒิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งความรู้ ต่าง ๆ เพื่อกำหนดแนวคำตอบ
เบื้องต้น การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการ สอบถาม สํารวจ / สัมภาษณ์ / ทดลอง การนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
หาคำตอบท่ีตอ้ งการ การเขียนรายงานสรปุ ผล และการนําความรู้ไปปฏิบัตจิ ริง

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
1. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้ อย่าง

สร้างสรรค์ เพื่อ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กำหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรียนรู้ 2) เพิ่มพูนให้มีทกั ษะพืน้ ฐานในการ
อ่าน ฟงั สงั เกต จดบนั ทึก 3) มเี จตคติทด่ี ีต่อการเรียนร้ดู ้วยตนเองทท่ี ำใหก้ ารเรียนรดู้ ว้ ย ตนเองประสบผลสำเร็จ
และนาํ ความรไู้ ปใช้ในวถิ ชี วี ิตให้เหมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน/สังคม

2. การใช้แหล่งเรยี นรู้
ต้องให้ผูเ้ รยี นทกุ คนไปศกึ ษาหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอทำความเขา้ ใจบทบาท หนา้ ท่ี กฎ กติกา เงื่อนไข
การให้บรกิ าร เพือ่ ใช้ห้องสมดุ ประชาชนให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ความจำเปน็ ในการนาํ ไปใช้ ในการเรียนรู้
ของตนเอง รวมทั้งมอบหมายให้ผู้เรียนไปศกึ ษาจากแหล่งเรยี นรอู้ ืน่ ๆ เช่นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน แหล่งเรียนรชู้ ุมชน
3. การจัดการความรู้
ศึกษาค้นควา้ หลกั การ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏบิ ัติจรงิ โดยการรวมกลมุ่
ปฏิบัตกิ าร/ชุมชนปฏิบตั ิการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์ความรขู้ องกลมุ่ และจดั ทำสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้
4. การคดิ เปน็
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาทำความเข้าใจกับความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบด้วย
กระบวนการอภิปรายกลุ่มและร่วมสรุปสาระสำคัญที่เชื่อมโยงไปสู่การคิดเป็นด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งด้าน
วชิ าการ ตนเอง สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม และนาํ ไปสกู่ ารคิดและการแกป้ ัญหาตามกระบวนการคดิ เป็นท่ีมี คณุ ธรรม
จริยธรรม และมีความสุข จากใบงานและใบความรู้ต่าง ๆ ที่มีการจัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน มีโอกาสฝึก ทักษะใน

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 29

การคิด การให้เหตุผลในการแก้ปัญหาหลากหลายชนิดที่เสนอขึ้นมาเป็นกรณีตัวอย่าง และสรุปให้ เห็นว่าการ
แก้ปัญหาตามกระบวนการคดิ เปน็ นนั้ ต้องใชข้ ้อมูลประกอบอย่างนอ้ ย 3 ประการดังกลา่ ว

5. การวิจยั อยา่ งงา่ ย
จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า เอกสารที่เกี่ยวข้อง ฝึกทักษะการสังเกตและค้นหาปัญหาที่พบใน
ชีวิตประจำวัน / ในสาระที่เรียน การตั้งคำถาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน / ผู้รู้ การคาดเดาคำตอบอย่างมี
เหตุผล การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยง่าย ๆ การเก็บรวบรวมข้อมูล การสรุปข้อมูล และเขียนรายงานผล
อยา่ งงา่ ย ๆ

การวดั และประเมินผล
1. การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเกี่ยวกับ การกำหนดเป้าหมาย และวางแผนการ

เรยี นรู้ รวมทักษะพ้ืนฐานและเทคนิคในการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ตลอดจนปจั จัยทที่ ำให้การเรียนรปู ระสบความสำเร็จ
2. การใช้แหลง่ เรยี นรู้
ข้อมูลจากการนําเสนอ ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่นการเขียน รายงาน

การรว่ มกนั อภปิ ราย การนาํ ในการพบกลุ่ม เปน็ ต้น
3. การจดั การความรู้
จากการสงั เกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือในกลุ่มปฏิบัติการ

ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วมระหว่างครู้ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมกันประเมนิ ตีคา่ ความสามารถ ความสำเร็จกับเปา้ หมายที่วางไว้ และระบุข้อบกพร่องทีต่ ้องแก้ไข ส่วนทีท่ ำได้
ดีแลว้ กพ็ ฒั นาใหด้ ียิ่งข้นึ ต่อไป

4. การคิดเป็น
ประเมินจากการร่วมอภิปรายของผู้เรียน และจากการใช้ข้อมูลทางวิชาการ ตนเอง และสังคม
ส่งิ แวดล้อม มาประมวลใช้ประกอบการคดิ การตัดสินใจแก้ปัญหาอยา่ งเหมาะสมและพอเพียงของผเู้ รยี น
5. การวิจัยอยา่ งง่าย
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนรว่ ม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชน้ิ งานท่ีมอบหมายใหฝ้ กึ ปฏบิ ตั ใิ น
ระหว่างเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น

หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บุรี “ระดับประถมศกึ ษา” 30

รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า ทร11001 วชิ าทักษะการเรยี นรู้ สาระทกั ษะการเรยี นรู้
จำนวน 5 หนว่ ยกติ (200 ชว่ั โมง) ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั
1. ความสามารถในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
2. รจู้ ัก เหน็ คณุ คา่ และใชแ้ หลง่ เรยี นรถู้ ูกตอ้ ง
3. เข้าใจ ความหมาย กระบวนการชุมชน และศักยภาพของชุมชนในการปฏิบัติการและทำตาม

กระบวนการจัดการความรชู้ ุมชน เพือ่ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการประกอบอาชพี
4. ความสามารถในการอธิบายกระบวนการคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิดเป็นในการ

แกป้ ัญหา การเรียนร้แู ละการประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ
5. เข้าใจความหมาย เห็นความสำคัญ และปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู และสรุปผลการหา

ความรู้ ความจรงิ ในการเรยี นรู้และการประกอบอาชีพ
6. เข้าใจความหมาย และเห็นความสำคัญของศักยภาพหลักของพื้นที่ในการเพิ่มขีดความสามารถของ

การประกอบอาชีพ 5 กล่มุ อาชีพใหม่

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ัด เน้ือหา จำนวน
(ชว่ั โมง)

1 การเรียนรู้ 1. รู้ เข้าใจความหมาย ตระหนัก 1. ความหมาย ความสำคัญของ 3

ดว้ ยตนเอง และเห็นความสำคัญของการเรียนรู้ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง

ดว้ ยตนเอง

2. สามารถกำหนดเป้าหมายและ 2. การกำหนดเป้าหมายและวาง 8

วางแผนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง แผนการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

3. มีทกั ษะพื้นฐานทางการศึกษาหา 3. ทักษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหา 15

ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และ ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และ

เทคนิคในการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง เทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง

(การอ่าน การฟงั การสงั เกต การ

จำ และการจดบนั ทึก)

4. สามารถอธิบายปัจจัย ที่ทำให้ 4. เจตคติ/ปัจจัย ที่ทำให้การ 8

การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ เรียนรู้ด้วยตนเองประสบ

ความสำเรจ็ ความสำเร็จ (การเปิดรับโอกาส

การเรียนรู้ การคิดริเริ่มและ

เรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้าง

แรงจูงใจ การสร้างวินัยในตนเอง

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บุรี “ระดับประถมศกึ ษา” 31

ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา จำนวน
(ชั่วโมง)

ก า ร ค ิ ด เ ช ิ ง บ ว ก ค ว า ม คิ ด

สร้างสรรค์ ความรักในการเรียน

การใฝ่รู้ใฝ่เรียน และความ

รบั ผิดชอบ)

2 การใชแ้ หล่ง 1. รู้ เข้าใจความหมาย ตระหนัก 1. ความหมาย ความสำคัญของ 3

เรยี นรู้ และเห็นความสำคัญของแหล่ง แหล่งเรียนรู้โดยทั่วไป (กลุ่ม

เรยี นรู้โดยทัว่ ไป บรกิ ารขอ้ มลู กลุม่ ศลิ ปวฒั นธรรม

ประวัติศาสตร์ กลุ่มข้อมูลท้องถ่นิ

กลุ่มสือ่ กลุ่มสนั ทนาการ)

2. อธบิ ายถึงความสำคญั ของการใช้ 2. การเขา้ ถงึ และเลือกใชแ้ หลง่

แหล่งเรียนรู้ เรียนรู้ (หอ้ งสมดุ ประชาชน

อำเภอของสถานศึกษา และ 10

ศรช.)

3. สามารถบอกและยกตัวอย่าง 3. บทบาทหน้าทีแ่ ละการบริการ

ประเภทของแหล่งเรยี นรู้ ของแหลง่ เรยี นรู้ด้านตา่ ง ๆ

4. สามารถเลือกและบอกวิธีการ 4. กฎ กตกิ า เง่อื นไขตา่ ง ๆ ใน 6

เข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ การไปขอใช้บรกิ ารแหลง่ เรยี นรู้

5. ยกตัวอย่างการใช้แหล่งเรียนรู้ 5. ทกั ษะการใชข้ อ้ มลู สารสนเทศ 3

ของตนเอง จากหอ้ งสมดุ ประชาชนที่

6. สามารถอธิบายหรือยกตัวอย่าง สอดคล้องกบั ความตอ้ งการ ความ 12

การใช้ข้อมูลสารสนเทศจาก จำเป็นเพื่อนำไปใช้ในการเรียนรู้

ห้องสมุดประชาชนที่สอดคล้องกับ ของตนเอง

ความต้องการ ความจำเป็นเพ่ือ

นำไปใช้ในการเรยี นรู้ของตนเอง

3 การจัดการ 1. รู้ เข้าใจ ความหมายความสำคัญ 1. ความหมาย ความสำคัญ 3

ความรู้ ประโยชน์หลักการของการจัดการ หลักการของการจัดการความรู้

ความรู้

2. รู้ เข้าใจกระบวนการจัดการ 2. กระบวนการจัดการความรู้ 3

ความรู้ (กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้/

ระบุความรู้/กำหนดความรู้ท่ี

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 32

ท่ี หัวเร่ือง ตัวชี้วัด เน้ือหา จำนวน
(ชวั่ โมง)

ต้องการใช้/การแสวงหาความรู้/

สร ุปองค์ควา มร ู้ ปร ับปรุ ง

ดัดแปลงให้เหมาะสมต่อการใช้

งาน/ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ในกิจการ

งานของตน/แลกเปลี่ยนความรู้/

รวมกล่มุ ปฏิบตั กิ ารตอ่ ยอดความรู้

พัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม/

สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม/จัดทำ

สารสนเทศ เผยแพรค่ วามร้)ู

3. สามารถใช้การจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้ 10

เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ด้วย ด้วยตนเอง (ระดับปัจเจก)

ตนเอง 3.1 กำหนดความรูห้ ลักทีจ่ ำเป็น

4. สามารถจัดการความรู้โดย หรอื สำคญั ต่องานหรือกจิ กรรม

กระบวนการกลุม่ 3.2 เสาะแสวงหาความรู้

5. สามารถสร้าง พัฒนาความรู้ 3.3 ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้

(นวตั กรรม) 3.4 แลกเปลี่ยนความรู้

6. สามารถใชส้ ารสนเทศเป็นเครื่อง 3.5 พัฒนาความรู้ /ยกระดั บ

มอื ในการเผยแพร่องค์ความรู้ ความรู/้ ตอ่ ยอดความรู้

3.6 สรปุ องคค์ วามรู้

3.7 จดั ทำสารสนเทศองคค์ วามรู้

ในการพฒั นาตนเอง

กระบวนการจดั การความรู้ดว้ ย

การปฏบิ ตั ิการกลมุ่ (ชุมชนนัก

ปฏิบัติหรอื ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้

:COPS)

1. รปู แบบของ COPS ทใี่ ชใ้ นการ 10

จัดการความรู้

2. การทำ COPS เพื่อจัดการ

ความรู้

2.1 บนั ทึกการเล่าเร่อื ง

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 33

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จำนวน
(ชั่วโมง)

2.2 บันทึกขุมความรู้

2.3 บนั ทกึ แกน่ ความรู้

3. บันทึก จัดเก็บ เป็นองค์ความรู้ 3

ของกลุ่ม เพื่อใช้ประโยชน์ใหผ้ ู้อน่ื

ไดเ้ รียนรตู้ อ่ ไป

การสร้างองคค์ วามรู้ พฒั นา ต่อ

ยอด ยกระดบั ความรู้

1.การใช้ความรู้และประสบการณ์ 5

ในตัวบุคคลให้เกิดประโยชน์ต่อ

กลมุ่ /หนว่ ยงาน/ชมุ ชน

2. การทำงานแบบตอ่ ยอดความรู้

3. วิธีปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ (Best

Practice)

การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่

องคค์ วามรู้

1. การถ่ายทอดความรู้ รูปแบบ

วิธีการ

2. การประสานความรู้

3. การถอดองคค์ วามรู้

4. การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

5. การจัดเก็บความรู้ของกลุ่ม/

องค์กร การสร้างคลังความรู้ การ

ประยกุ ต์ใช้ ICT

4 การคดิ เป็น 1. เข้าใจและเช่ือม่ันในความเชอื่ 1. ความเช่อื พน้ื ฐานทาง 12

พนื้ ฐานทางการศึกษาผูใ้ หญ่/ การศกึ ษาผู้ใหญ่/การศกึ ษานอก

การศกึ ษานอกระบบทเี่ ป็นพื้นฐาน ระบบ 5 ประการ

เบอ้ื งตน้ ของการเขา้ ถึงกระบวนการ 1.1 คนทกุ คนมีความแตกต่าง

คดิ เป็น กนั แต่ทุกคนต้องการความสุข

ความสขุ ของแต่ละคนจงึ แตกต่าง

กัน

หลกั สูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดับประถมศึกษา” 34

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชวี้ ัด เน้อื หา จำนวน
(ช่ัวโมง)

1.2 ความสุขของคนจะเกิดขน้ึ

กต็ ่อเมื่อมกี ารปรับตวั เองและ

สิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ขา้ หากันอย่างผสม

กลมกลืนจนเกิดความพอดี

1.3 สภาวะแวดลอ้ มในสงั คม

เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา จงึ ทำ

ใหเ้ กดิ ปัญหา เกิดความทุกข์

ความไม่สบายกาย ไมส่ บายใจอยู่

ตลอด

1.4 เมือ่ เกดิ ปัญหาหรือเกดิ

ทกุ ขก์ ็ต้องหาวธิ ีแกป้ ญั หา ซง่ึ การ

แกป้ ัญหาที่เหมาะสมต้องมีข้อมลู

ประกอบการคิด การตดั สนิ ใจ

อยา่ งน้อย 3 ประการ คอื ขอ้ มลู

ด้านวชิ าการ ข้อมลู ดา้ นตนเอง

ขอ้ มูลด้านสังคม สงิ่ แวดล้อม

1.5 เมอ่ื ได้ใชว้ ิธีแก้ปญั หาด้วย

การวเิ คราะห์ข้อมูลและไตรต่ รอง

ขอ้ มูลอยา่ งรอบคอบ ทงั้ 3 ดา้ น

จนมีความพอใจแล้วกพ็ รอ้ มทีจ่ ะ

รับผดิ ชอบการตัดสนิ ใจทเี่ กดิ

ความพอดี ความสมดุลระหวา่ ง

ชวี ติ กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งสนั ตสิ ขุ

2. รู้และเข้าใจปรชั ญา คดิ เปน็ ง่าย 2. ปรัชญาคดิ เป็น 6

ๆ สามารถอธิบาย ได้ถงึ ความหมาย 2.1 ความหมาย

และความสำคัญของการคิดเป็นท่ี 2.2 ความสำคญั

เช่อื มโยงจากความเชื่อพนื้ ฐานทาง 2.3 คำทเี่ กี่ยวข้อง

การศกึ ษาผู้ใหญ่และการศกึ ษานอก 2.4 การเชื่อมโยงความเช่ือ

ระบบ/การศึกษาตามอธั ยาศัย พืน้ ฐานทางการศึกษา

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดับประถมศึกษา” 35

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวช้วี ัด เนอื้ หา จำนวน
(ชั่วโมง)

ผใู้ หญ่/การศึกษานอก

ระบบ กับปรัชญาคิดเป็น

3. เขยี นผังกระบวนการคิด 3. กระบวนการและขั้นตอนการ 10

แกป้ ัญหา ตามแนวทางของคนคดิ แก้ปญั หาอยา่ งคนคดิ เป็น

เป็น 3.1 ทุกข์/ปัญหาที่ปรากฏ

3.2 ศึกษาสาเหตขุ องทกุ ข์

ปัญหา โดยการวเิ คราะหข์ ้อมลู ที่

เก่ยี วข้อง ทงั้ ข้อมลู วชิ าการ

ขอ้ มูลตนเอง และข้อมลู ทางสงั คม

สิ่งแวดลอ้ ม ใหร้ ูล้ กั ษณะเบอ้ื งต้น

ของข้อมูลทง้ั 3 ประการ และ

เปรยี บเทยี บความแต่กตา่ งของ

ข้อมูล ตา่ ง ๆ อย่างงา่ ย ๆ ได้

3.3 กำหนดทางเลือกในการ

ดับทุกข/์ ปัญหา และเลอื ก

แนวทางทีเ่ หมาะสม

3.4 ดำเนินการแก้ปัญหาเพ่ือ

การดับทกุ ข์

3.5 ประเมินผลการดำเนินงาน

หากมีผลเป็นทีพ่ อใจก็จะเกิดสนั ติ

สุข ถ้ายังไมพ่ อใจกจ็ ะย้อนกลับไป

พิจารณาสาเหตุทุกข์หรือปัญหา

ใหม่และแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม

อย่างพอเพียงจนพอใจกับการ

ตัดสนิ ใจของตนเอง

4. อธิบายเสนอแนวทางการ 4. กรณีตัวอย่างทห่ี ลากหลายเพ่ือ 6

แก้ปัญหาตามกระบวนการคิดเปน็ ฝ ึ ก ท ั ก ษ ะ ก า ร ค ิ ด เ ป ็ น ด ้ ว ย

จากกรณีตวั อยา่ งทกี่ ำหนดไดอ้ ย่าง กระบวนการแก้ปัญหาอย่างคน

มขี ้อมลู เพียงพอ คดิ เป็น

หลกั สูตรสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 36

ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน
(ชัว่ โมง)

5. ทำแบบฝกึ หดั การแกป้ ญั หาด้าน

กระบวนการคิดเป็นที่กำหนดให้ได้

คล่อง

5 การวจิ ยั 1. รูเ้ ขา้ ใจความหมายและตระหนกั 1. วิจัยคืออะไร ทำไมต้องรู้เรื่อง 2

อย่างง่าย ถึงความสำคญั ของการวจิ ยั การวิจัย (ความหมายและ

ความสำคัญของการวจิ ัย)

1.1 ความหมายของการวจิ ยั

1.2 ความสำคญั และประโยชน์

ของการวจิ ัย

2. วิเคราะห์และกำหนดปัญหา 2. ทำวจิ ยั อยา่ งไร 24

หรือสิ่งทอ่ี ยากรู/้ ตอ้ งการทราบ (กระบวนการและขน้ั ตอนการ

คำตอบ วิจยั )

2.1 คำถามทตี่ อ้ งการคำตอบ

คืออะไร

ปญั หาทตี่ ้องการทราบจากการ

วิจยั คอื อะไร (การระบุปัญหาการ

วิจยั )

2.2 คาดเดาคำตอบวา่ อยา่ งไร

กำหนดแนวคำตอบเบื้องต้น

(สมมตฐิ าน)

2.3 ว ิ ธ ี ก า ร ห า ค ำ ต อ บ ที่

ต้องการรู้/แหล่งคำตอบ/การ

รวบรวมคำตอบ การเก็บรวบรวม

ข้อมลู /เคร่ืองมือการวิจยั )

2.4 ตอบคำถามที่สงสัยว่า

อย่างไร(การวิเคราะห์ข้อมูล/สรปุ

ผลการวจิ ัย)

3. รู้เข้าใจกระบวนการและขน้ั ตอน 3. เขียนอย่างไร ให้คนอ่านเข้าใจ 8

การวิจัย (การเขียนรายงานการวิจัยอย่าง

งา่ ย)

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ รุ ี “ระดับประถมศึกษา” 37

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน
(ช่วั โมง)

4. ฝึกปฏิบัติการสังเกตปัญหา การ 3.1 ความเป็นมา/ความสำคัญ

ระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน การ ของเร่ืองท่ที ำวิจยั

เก็บรวบรวมข้อมูล การสรุปข้อมูล 3.2 วตั ถุประสงค์การวจิ ยั

และการเขียนรายงานการวิจยั อย่าง 3.3 ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการ

งา่ ย วจิ ัย

3.4 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง

3.5 วิธดี ำเนินการวจิ ยั

3.6 การวเิ คราะห์ข้อมูล

3.7 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ

3.8 เอกสารอ้างองิ

6 ทักษะการ 1. รู้เข้าใจความหมาย ตระหนัก 1. ความหมาย ความสำคัญ ของ 5

เรยี นรูแ้ ละ และเห็นความสำคัญ ศักยภาพหลัก ศกั ยภาพหลกั ในการพฒั นาอาชีพ

ศักยภาพ ของพน้ื ที่ 5 ศักยภาพ

หลักของ 2. อธิบายถึง องค์ประกอบของ 2. การวเิ คราะห์ศกั ยภาพหลัก 5

พืน้ ท่ใี นการ ศกั ยภาพ 5 ศักยภาพ ของพ้นื ท่ีในการพฒั นาอาชีพ

พัฒนา 2. 1 ศักยภาพของ

อาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละ

พ้นื ที่

2.2 ศักยภาพของพน้ื ทตี่ าม

ลักษณะภมู ิอากาศ

2.3 ศักยภาพของภมู ปิ ระเทศ

และทำเลทตี่ ้งั ของแตล่ ะพน้ื ที่

2.4 ศักยภาพของศิลปะ

วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ

ของแตล่ ะพ้นื ที่

2.5 ศักยภาพของทรพั ยากร

มนษุ ยใ์ นแต่ละพื้นท่ี

3. ยกตัวอย่างการใช้ศักยภาพ 5 3. ตวั อย่างอาชพี ทส่ี อดคล้องกับ 20

ศักยภาพ โดยคำนึงถึงศักยภาพแล ศักยภาพหลักของพนื้ คอื

พบรบิ มรอบ ๆ ตัวผู้เรียน

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 38

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั เนอ้ื หา จำนวน
(ชวั่ โมง)
3.1 กลุ่มอาชพี ด้านการ
เกษตรกรรม

3.2 กลมุ่ อาชีพดา้ น
อุตสาหกรรม

3.3 กลมุ่ อาชีพด้าน
พาณชิ ยกรรม

3.4 กลมุ่ อาชพี ดา้ นความคดิ
สรา้ งสรรค์

3.5 กลุ่มอาชพี ดา้ นบรหิ าร
จัดการ และการบรกิ าร

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออนิ ทร์บรุ ี “ระดับประถมศกึ ษา” 39

สาระความรพู้ ้นื ฐาน

รายวชิ าบังคับ ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐานท่ี สาระ รหสั รายวิชา รายวิชาบังคบั หน่วยกิต
ความรพู้ ื้นฐาน 3
2.1 พท 11001 ภาษาไทย 3
2.1 3
2.1 พต 11001 ภาษาอังกฤษพนื้ ฐาน 3
2.1 12
พค 11001 คณิตศาสตร์

พว 11001 วิทยาศาสตร์

รวม

รายวชิ าเลือก

รายวิชาเลือกบงั คบั

มาตรฐานที่ ระดบั ประถมศึกษา

2.2 สาระ รหสั รายวชิ า รายวิชาเลอื กบังคบั หนว่ ยกิต
2.2 ความรพู้ ื้นฐาน 2
ความรพู้ ้นื ฐาน พว 12010 การใชไ้ ฟฟ้าในชวี ิตประจำวนั 1 2
4
พว12011 วัสดศุ าสตร์ 1

รวม

หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บุรี “ระดบั ประถมศึกษา” 40

สาระความรพู้ ื้นฐาน
คำอธบิ ายรายวิชา
และรายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทรบ์ ุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 41

คำอธบิ ายรายวชิ า พท 11001 วชิ าภาษาไทย สาระความรพู้ ้ืนฐาน
จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษา

มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
การฟงั การดู
1. เหน็ ความสำคญั ของการฟังและดู
2. สามารถจับใจความ และสรุปความจากเรื่องทฟี่ ังและดู
3. มีมารยาทในการฟังและดู

การพูด
1. เหน็ ความสำคญั และลกั ษณะการพูดทด่ี ี
2. สามารถพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
3. มีมารยาทในการพดู

การอา่ น
1. เห็นความสำคัญของการอา่ น ทัง้ การอา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจ
2. สามารถอา่ นไดอ้ ย่างถูกต้อง และอ่านได้เรว็ เขา้ ใจความหมายของถ้อยคำ ข้อความเนอ้ื เรื่องท่ีอ่าน
3. มมี ารยาทในการอ่านและนิสยั รกั การอา่ น

การเขยี น
1. เห็นความสำคญั ของการเขียนและประโยชน์ของการคัดลายมอื
2. สามารถเขียนคำ คำคล้องจอง ประโยค และเขยี นบันทกึ เรือ่ งราว สอ่ื สาร เหตกุ ารณ์ ในชวี ติ ประจำวันได้
3. มีมารยาทในการเขยี นและนิสยั รักการเขยี น

หลักการใช้ภาษา
1. สามารถสะกดคำ โดยนำเสียงและรูปอักษรไทยประสมเปน็ คำอ่านและเขียนได้ถกู ตอ้ งตามหลักการใช้

ภาษา
2. สามารถใช้เครอ่ื งหมายวรรคตอนไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม
3. เขา้ ใจลกั ษณะของคำไทย คำภาษาถน่ิ และ คำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยวรรณคดี

วรรณกรรม สามารถคน้ ควา้ เร่อื งราว ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของนทิ าน นิทานพน้ื บ้าน วรรณกรรมและวรรณกรรม
ท้องถน่ิ
ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี

1. ใช้ความรู้ด้านการพดู ภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี
2. ใช้ความรดู้ ้านการเขยี นภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภออนิ ทรบ์ ุรี “ระดับประถมศึกษา” 42

ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเก่ียวกับเรือ่ งดงั ต่อไปน้ี
การฟงั การดู

หลกั การ ความสำคญั จดุ ม่งุ หมาย การสรปุ ความ และมารยาทของการฟงั และดู
การพดู

1. ความสำคญั ลกั ษณะการพูดท่ดี ี และมารยาทในการพดู การอ่าน
2. หลักการ ความสำคัญ จุดมุ่งหมายของการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง

และมารยาทของการอ่าน
การเขียน

หลักการ ความสำคัญของการเขียน การคัดลายมือ การเขียนสื่อสารในชีวิตประจำวันด้วยวิธีการเขียน
ประเภทตา่ งๆ และการกรอกแบบรายการตา่ งๆ ตลอดจนมีมารยาทในการเขียน
หลกั การใช้ภาษา

การใชเ้ สียงและรปู อักษรไทย อกั ษร 3 หมู่ การผนั วรรณยกุ ต์ ความหมายของคำ คำไทย คำภาษาถ่นิ
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การสะกดคำ พยางค์และประโยค การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน
พจนานุกรม และความหมายของสำนวน คำพงั เพย สุภาษิต คำราชาศัพท์ คำสภุ าพ
วรรณคดี และวรรณกรรม

1. ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของนิทาน นทิ านพ้ืนบา้ น และวรรณกรรมในทอ้ งถิ่น
2. ภาษาไทยกบั การประกอบอาชีพ
3. การใช้ความรดู้ า้ นการพดู การเขยี นภาษาไทยเปน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
จัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริงเป็น

รายบคุ คลหรือใชก้ ระบวนการกลมุ่ เกี่ยวกับทกั ษะการฟงั การดู การพูด การอา่ น การเขยี น และหลักการใช้ภาษา

การวดั และประเมนิ ผล
การสงั เกต การฝึกปฏิบตั ิ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินชิ้นงานในแตล่ ะกจิ กรรม

หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อำเภออินทร์บุรี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 43

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา พท 11001 วิชาภาษาไทย สาระความรูพ้ ื้นฐาน
จำนวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชว่ั โมง) ระดบั ประถมศกึ ษา

มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ
การฟงั การดู 1. เห็นความสำคญั ของการฟงั และดู

2. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเร่ืองทฟ่ี ังและดู
3. มีมารยาทในการฟงั และดู

การพดู 1. เห็นความสำคญั และลักษณะการพูดทด่ี ี
2. สามารถพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. มีมารยาทใน การพูด

การอ่าน 1. เห็นความสำคญั ของการอา่ น ทง้ั การอา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจ
2. สามารถอา่ นได้อย่างถกู ต้อง และอ่านได้เร็ว เข้าใจความหมายของถ้อยคำ ข้อความ เนือ้ เรอ่ื ง

ทอ่ี า่ น
3. มมี ารยาทในการอ่านและนิสัยรักการอา่ น

การเขยี น 1. เหน็ ความสำคญั ของ การเขยี นและประโยชนข์ องการคดั ลายมอื
2. สามารถเขียนคำ คำคล้องจอง ประโยค และเขียนบันทึกเรอื่ งราว สือ่ สาร เหตกุ ารณ์
ในชวี ติ ประจำวนั ได้
3. มีมารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการเขียน

หลักการใช้ภาษา1. สามารถสะกดคำ โดยนำเสยี งและรปู อักษรไทยประสมเปน็ คำอ่านและเขยี นไดถ้ ูกตอ้ ง
ตามหลักการใช้ภาษา

2. สามารถใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสม
3. เขา้ ใจลักษณะของคำไทย คำภาษาถนิ่ และคำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย

วรรณคดี วรรณกรรม สามารถคน้ ควา้ เรอื่ งราว ประโยชนแ์ ละคุณค่าของนิทาน นิทานพ้นื บา้ น วรรณกรรม
และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ

ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 1. ใชค้ วามร้ดู า้ นการพูดภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี
2. ใช้ความรู้ด้านการเขยี นภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชพี

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภออินทร์บรุ ี “ระดบั ประถมศกึ ษา” 44


Data Loading...