หลักภาษาไทย ป.5 - PDF Flipbook

เรียนรู้หลักภาษาไทย ป.5

120 Views
106 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


เร่อื ง คำภำษำต่ำงประเทศท่ใี ช้ในภำษำไทย

ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๕

โดย..ครรู ุ่งนภำ โถดอก

เรอื่ ง คำภำษำตำ่ งประเทศทใี่ ชใ้ นภำษำไทย

คำไทยแท้
ลักษณะของคำไทยแท้

คำไทยแท้ คือ คำภำษำไทยที่ใช้มำก่อนที่จะรับคำภำษำต่ำงประเทศเข้ำมำใช้ มีลกั ษณะ ดงั นี้
๑. มักเป็นคำโดด หรือคำพยำงคเ์ ดยี ว มีควำมหมำยสมบูรณใ์ นตัว
๒. มีตวั สะกดตรงตำมมำตรำ
๓. มกี ำรใชเ้ สียงวรรณยกุ ตเ์ พือ่ บอกควำมหมำยทตี่ ำ่ งกัน
๔. ใช้คำลักษณนำม
๕. ไม่มคี ำควบกล้ำและตัวกำรันต์
๖. ไม่นิยมใชพ้ ยญั ชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ ยกเว้นบำงคำ เชน่ ฆ่ำ ฆอ้ ง

ระฆัง เฆีย่ น เฌอ เฒ่ำ ณ ธ เธอ ศอก ศึก
๗. มีกรซำ้ คำเพ่ือให้ควำมหมำยแตกต่ำงกัน เชน่ ดำ ๆ หมำยถงึ ดำเป็นบำงสว่ น
๘. คำท่ีใชส้ ระใอไม้ม้วน ๒๐ คำ และคำที่ใช้สระไอไม้มลำยบำงคำ เช่น ไว ไฟ ไป

เกร็ดควรรู้
สระใอไม้มว้ น ๒๐ คำ คอื ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใหญ่ ใด ใต้ ใน ใบ ใบ้ ใฝ่ สะใภ้ ใย ใส ใส่ ให้

ใหม่ หลงใหล

คำทย่ี ืมมำจำกภำษำตำ่ งประเทศ

ภำษำไทยนำคำภำษำตำ่ งประเทศเข้ำมำใช้ เนอ่ื งจำกกำรตดิ ตอ่ กับประเทศอื่น ๆ ทำให้เรำได้รับอิทธพิ ล
ทำงด้ำนภำษำของประเทศเหล่ำน้ันเข้ำมำดว้ ย

เกร็ดควรรู้
ภำษำ คือ เครื่องมอื ส่อื สำรท่ใี ช้ติดตอ่ ระหวำ่ งกนั ภำษำจึงมีกำรถำ่ ยยมื กนั

เรำยืมคำภำษำต่ำงประเทศเข้ำมำใชห้ ลำยภำษำ เช่น บำลีและสันสกฤต เขมร จนี องั กฤษ ชวำ มลำยู
เปอรเ์ ซยี ญ่ปี ุน่ แตใ่ นระดบั ช้ันนี้จะศกึ ษำเพียง ๔ ภำษำ ได้แก่

๑. ภำษำบำลีและสนั สกฤต
เป็นภำษำทม่ี ำจำกทำงอนิ เดีย ใช้ในคมั ภีรท์ ำงพระพุทธศำสนำและศำสนำฮนิ ดู เม่ือศำสนำเหล่ำนเ้ี ผย
แผ่เข้ำมำในประเทศไทย เรำจึงรบั ภำษำบำลีและสนั สกฤตมำใช้ ส่วนมำกจงึ เปน็ คำเกยี่ วกับศำสนำและ
วรรณกรรม มีหลักสังเกต ดังนี้

๑. มีหลำยพยำงค์
๒. ตัวสะกดไมต่ รงตำมมำตรำ
๓. มีกำรใช้ตวั กำรนั ต์
๔. ประสมด้วยพยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฒ ณ ธ ภ ฤ ศ ษ ฬ
๕. บำงคำมีตวั สะกด ๒ ตวั แต่ออกเสียงเพยี งตัวเดยี ว

๒. ภำษำเขมร
นยิ มนำมำใชเ้ ป็นคำรำชำศพั ทแ์ ละใชใ้ นวรรณคดี มหี ลกั สังเกต ดังน้ี

๑. มกั ใช้ จ ญ ร ล เปน็ ตวั สะกด
๒. มกั เป็นคำควบกล้ำหรืออกั ษรนำ
๓. มกั เปน็ คำแผลง

๓. ภำษำจนี
นิยมนำมำใช้เปน็ ช่อื อำหำรและเคร่อื งมอื เครื่องใช้ตำ่ ง ๆ มีหลกั สงั เกต ดังน้ี

๑. มักเป็นคำโดด หรอื คำพยำงคเ์ ดียว
๒. ใช้เสียงวรรณยกุ ต์บอกควำมหมำยที่ต่ำงกัน

เกร็ดควรรู้

ภำษำจีนมเี สยี งสูงตำ่ ของวรรณยกุ ตเ์ หมอื นเสียงดนตรี จึงไดช้ ื่อว่ำภำษำดนตรี

๔. ภำษำอังกฤษ
เป็นภำษำสำกลในกำรตดิ ตอ่ สอ่ื สำร ส่วนมำกเปน็ คำศพั ทเ์ กย่ี วกบั ควำมเจริญกำ้ วหน้ำและเทคโนโลยี มี
หลักสงั เกต ดังน้ี

๑. ส่วนมำกไมน่ ิยมใสร่ ปู วรรณยกุ ต์ ยกเวน้ บำงคำ เช่น แท็กซ่ี กุก๊ แตเ่ ม่ืออำ่ นต้องออกเสยี ง
วรรณยกุ ต์ให้คลำ้ ยคำเดิม เช่น เว็บไซต์ อ่ำนวำ่ เว็บ-ไซ้

๒. บำงคำมกี ำรคิดศัพท์บญั ญัติขน้ึ ใช้ แตไ่ มน่ ยิ มจงึ เรยี กคำนั้นทับศัพท์ เช่น ฟรี คอมพวิ เตอร์ ลิฟต์
๓. สว่ นใหญ่ใชเ้ สียงตัวสะกดตรงตำมมำตรำของไทย
๔. มคี ำทใี่ ช้ ค ซ ต ฟ ล ส เป็นตวั สะกด เช่น เทคนิค กำ๊ ซ ยรี ำฟ ฟุตบอล แก๊ส


Data Loading...