2C1F3073-0FD2-4637-AEA9-9140BBCE2FB0 - PDF Flipbook

2C1F3073-0FD2-4637-AEA9-9140BBCE2FB0

124 Views
73 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


BIOLOGY

ฮอรโ์ มนพืช

(plant hormone)

เปนสารเคมีทีพืชสรา้ งขึนในปรมิ าณน้อย
มากเพือควบคุมการเจรญิ เติบโตของพืช

ออกซนิ (auxin)

เปนฮอรโ์ มนทีพืชสรา้ งขึนจากปลายยอดหรอื
ปลายราก เพือกระตุ้นใหเ้ ซลล์ขยายขนาดที
ปลายยอดออกซนิ แพรจ่ ากด้านทีมีแสงมากไป
ยังด้านทีมีแสงน้อย ดังนันด้านทีมีแสงน้อยจะมี
ออกซนิ มากกว่า เซลล์จึงขยายตัวได้มากกว่า
ปลายยอดจึงโค้งเข้าหาแสง

จบิ เบอเรลลิน (gibberellic acid)

– กระตุ้นการเจรญิ ของเซลล์ตรงข้อทําใหต้ ้นไม้สูง
–กระตุ้นการงอกของเมล็ดและตา (ทําลายการพักตัวของเมล็ด
และตา)
– เพิมการติดผล เพิมการเกิดดอกสาํ หรบั พืชวันยาว
– ชว่ ยเปลียนดอกตัวผู้ใหเ้ ปนดอกตัวเมียของพืชกระกูลแดง
– ชว่ ยยืดชอ่ ผลขององุ่น ทําใหข้ ่อใหญ่ ลูกองุ่นไม่เบียดกันมาก
– กระตุ้นพืชวันยาว เชน่ ผักกาดหอม กะหลําปลี ใหอ้ อกดอก
เรว็ ขึน

ไซโทไคนิน (cytokinin

เปนกลุ่มของสารควบคุมการเจรญิ เติบโตทีมีบทบาท
สาํ คัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและ
การเปลียนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของ
ตายอด การเจรญิ ของตาข้าง และการชราของใบ

เอทิลีน ( ethylene)

ควบคมุ กระบวนการเติบโตทีเกียวขอ้ งกับความชรา
การหลดุ รว่ งของใบ ดอก ผล และควบคมุ การเจรญิ
ของพชื เมอื อยูใ่ นสภาวะทีไมเ่ หมาะสม

ทรอพซิ มึ (tropism)

เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทางสัมพันธ์
กับทิศทางของสิงเรา้

กรดแอบไซซกิ (Abscisic acid)

เปนฮอรโ์ มนทีออกฤทธยิ ับยังการเจรญิ เติบโตของพืช ทําใหพ้ ืชทนต่อสภาวะเครยี ดต่างๆได้ดี มี
บทบาทในการเจรญิ พัฒนาของเอ็มบรโิ อ การพักตัวของเมล็ดและของตาพืช พบในพืชทีมีระบบ
ท่อลําเลียงทัวไป มอสส์ สาหรา่ ย

แนสติกมูฟเมนต์ (nastic movement)

เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทางไม่สัมพันธก์ ับทิศทางของสิงเรา้ เชน่ การหบุ บานของดอกไม้
เนืองจากการเปลียนแปลงอุณหภูมิ (thermonasty) เชน่ การบานของดอกบัวสวรรค์ บัวจีน
ทิวลิป หรอื แสงสว่าง (photonasty) เชน่ ดอกบัว ดอกกระบองเพชร หรอื การสัมผัส
(thigmonasty) เชน่ ใบกาบหอยแครง ใบหยาดนําค้าง

nutation

เปนการเคลือนไหวทีเกิดเฉพาะส่วนปลายยอดพืช ทีมีกลุ่มเซลล์เจรญิ เติบโต ไม่เท่ากัน เชน่ ต้นถัว

การเคลือนไหวหนีแรงโนม้ ถ่วงของโลก

(negative gravitropism)

ลําต้นของพืชจะเจรญิ ไปในทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลกเสมอ เมือใหล้ ําต้นพืชทอดนอนไปตาม
พืนจะเหน็ ปลายยอดชูสูงขึน ทังนีเนืองจากทางด้านล่างของลําต้นมีออกซนิ สูงกว่าด้านบนทีลําต้นและ
ปลายยอดตอบสนองต่อออกซนิ ในปรมิ าณสูง โดยเซลล์แบ่งตัวได้ดีกว่าด้านทีมีออกซนิ น้อยกว่า ทําให้
เซลล์แบ่งตัวได้มากกว่าจึงโค้งขึนหรอื หนีแรงโน้มถ่วงของโลก

spiral movement

เปนการเคลือนไหวทีปลายยอดบิดเปนเกลียวรอบแกนเพือพยุงลําต้นขณะเจรญิ เติบโต เชน่ การพัน
หลักของมะลิวัลย์ พรกิ ไทย พลู เปนต้น

พลั ไวนสั (pulvinus) การเคลือนไหวทีเกียวขอ้ งกับแรงดันเต่ง

กลุ่มเซลทีมีขนาดใหญ่ผนังเซลบาง มีความไว (turgor movement)
สูงต่อสิงเรา้ ทีมากระตุ้น อยู่ บรเิ วณโคนก้านใบ
ของพืชบางชนิด เชน่ ต้นไมยราบ เกิดจากการออสโมซสิ ของนําเข้าสู่เซลล์ทําใหเ้ ซลล์เต่งขึน แบ่งเปน
1.การเคลือนไหวเนืองจากการสัมผัส
2.การเคลือนไหวเนืองจากการเปลียนความเข้มแสง
3.การเคลือนไหวเนืองจากการเปลียนแปลงปรมิ าณนําภายในเซลล์
คุม

นเู ทชนั (nutation)

การเคลือนไหวของพืชทีปลายยอดโบกไปมา ขณะเจรญิ
เติบโตเนืองจาก สิงเรา้ ภายในของพืชเอง

การเบนเนอื งจากความโนม้ ถ่วง ( gravitropism)

เปนการตอบสนองของพืชต่อความโน้มถ่วง


Data Loading...