เอกสารประกอบการเรียน บทที่ 2 การสร้างเสริมสุขภาพ 3 อ 2 ส โดยประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย อ ศุลีกร - PDF Flipbook

เอกสารประกอบการเรียน บทที่ 2 การสร้างเสริมสุขภาพ 3 อ 2 ส โดยประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย อ ศุลีกร

102 Views
45 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


1

เอกสารประกอบการสอน
วชิ า 803201 การดูแลสขุ ภาพดว ยภมู ปิ ญ ญาไทย (Thai wisdom and traditional health care)

เรอ่ื ง การสรางเสรมิ สุขภาพ 3 อ 2 ส โดยประยุกตใชภ ูมปิ ญญาไทย
อาจารยศ ลุ ีกร ศวิ เสน

หวั ขอเรยี นรู
1. แนวคิดการดแู ลสขุ ภาพ
2. ความสำคญั ของภมู ิปญญาไทย
3. การดูแลสขุ ภาพตามหลกั 3 อ. 2 ส.
4. การประยุกตใชภูมิปญญาไทยในการสง เสริมสขุ ภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.

วัตถปุ ระสงคการเรียนรู
1. บอกความหมายการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส
2. อธบิ ายแนวทางการสรา งเสรมิ สุขภาพตามหลกั 3 อ 2 ส ได
3. ยกตัวอยางกิจกรรมการสรางเสริมสขุ ภาพตามหลัก 3 อ 2 ส โดยประยกุ ตใชภ มู ปิ ญญาไทยได

1. แนวคิดการดแู ลสขุ ภาพ
แนวคิดหรือหลักการที่ใชในการดูแลสุขภาพ มีทั้งหลักวิชาการทางการแพทยสาธารณสุข แนวปฏิบัติ

ตามหลักธรรมนามัย และ การดูแลสุขภาพตามธาตุทั้ง 4 ไมวาจะเปนความรูทางดานใด สามารถนำมาใชเปน
แนวทางในการวางแผน การใหความรู คำแนะนำ วิธีปฏิบัติสำหรับการดูแลสุขภาพตามลักษณะของ
กลมุ เปาหมายหรอื ตามภาวะสขุ ภาพของบุคคลน้ันได ซง่ึ ในเอกสารประกอบการเรียนนี้ ผสู อนไดนำแนวคดิ หรือ
หลกั การดูแลสุขภาพทใี่ ชใ นงานบรกิ ารดา นการรักษาพยาบาลที่จำเปน ตอการศกึ ษาเรียนรูข องนักศกึ ษา ดังนี้

1). หลักการดูแลสขุ ภาพ 4 ดาน หรือ 4 มิติ ไดแ ก
- การสงเสรมิ สขุ ภาพ คือ การดูแลบุคคลใหม ีสขุ ภาพดี สำหรบั ผูม สี ุขภาพดอี ยูแลว สง เสริมใหคง
ความแขง็ แรงไว รวมถึงการสรา งเสริมภูมคิ ุมกนั รางกาย เชน การใหวัคซีน
- การปองกันโรค เปนการปองกันโรคในผูที่ความเสี่ยง ลักษณะที่มาของความเสี่ยง เชน ดาน
พฤติกรรมสุขภาพที่พบบอย ไดแก การกิน การชอบกินรสจัด อาหารมัน อาหารทอด การไมออก
กำลังกาย การดื่มสุรา สูบบุหร่ี หรือ อาจเปนความเสี่ยงตามวัยในผูท่ีมีอายุสูงขึน้ จากภาวะเสือ่ ม
ของอวัยวะตางๆในรางกาย ความเสี่ยงตอการเกิดโรคจากสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสม ซึ่ง
สิ่งแวดลอมนจ้ี ะรวมถึงท้ังทบี่ า น ท่ีทำงาน และสถานที่ท่ีเก่ยี วขอ งกับการดำรงชีวติ
- การรักษา กระทำในผูที่มีความเจ็บปวยเกิดขึ้น การสนับสนุนการรักษาที่ตอเนื่องและถูกตอง
ตามหลักทางการแพทยห รือหลักทางวทิ ยาศาสตร

2

- การฟนฟูสุขภาพ เปนการฟนฟูรางกายเพื่อใหคืนความแข็งแรงใหสุขภาพดีดังเดิม หรือ การ
ฟนฟูเพื่อปองการภาวะแทรกซอน ปองกันการความพิการ แกไขความบกพรองเพื่อใหบุคคลน้ัน
สามารถกลับมาดำรงชีวติ ใหเ ปนปกตไิ ดมากทีส่ ดุ
2). การดูแลสุขภาพแบบองครวม (Holistic care) การดูแลสุขภาพองครวมในระดับบุคคลเปน
ความสมดุลกลมกลืนระหวางรางกาย จิตใจ สังคมและสิ่งแวดลอม เปนวิถีของการมีสุขภาพที่ดีที่จะสงผลถึง
สขุ ภาพองคร วมในระดับครอบครวั ชมุ ชน และสังคม สขุ ภาพองคร วมมีองคป ระกอบ 4 มิติ ดงั น้ี
1. มิติทางกาย (Physical dimension) เปนมิติทางรางกายที่สมบูรณแข็งแรง ปราศจากโรคหรือ
ความเจ็บปวย มีปจจัยองคประกอบทั้งดานอาหาร สิ่งแวดลอม ที่อยูอาศัย และปจจัยเกื้อหนุนทางเศรษฐกจิ ท่ี
เพียงพอท่จี ะสง เสรมิ ใหม ีภาวะสุขภาพที่ดี
2. มิติทางจติ ใจ (Psychological dimension) เปนมิตทิ ่ีบคุ คลมีสภาวะทางจิตใจท่ีแจมใสปลอดโปรง
ไมม ีความกังวล มคี วามสขุ มเี มตตา และลดความเหน็ แกตัว
3. มิติทางสังคม (Social dimension) เปนความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชน โดยชุมชน
สามารถใหการดูแลชวยเหลือซึ่งกันและกัน สังคมมีความเปนอยูทีเ่ อื้ออาทร เสมอภาค มีความยุติธรรม และมี
ระบบบรกิ ารท่ีดแี ละท่วั ถึง
4. มิติทางจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) เปนความผาสุกที่เกิดจากจิตสัมผัสกับสิ่งท่ีบุคคลยึด
มั่นและเคารพสูงสุด ทำใหเกิดความหวังความเชื่อมั่นศรัทธา มีการปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามดวยความเมตตากรุณา
ไมเห็นแกตัว มีความเสียสละ และยินดีในการที่ไดมองเห็นความสุข หรือความสำเร็จของบุคคลอื่น ทั้งนี้ สุข
ภาวะทางจติ วิญญาณจะเกดิ ขึน้ เมือ่ บุคคลมคี วามหลุดพน จากตวั เอง (self-transcendence)
มิติสุขภาพองครวมทั้ง 4 มิติถือเปนสุขภาวะท่ีมีความสัมพันธเชื่อมโยงกัน โดยสุขภาวะทางจิต
วญิ ญาณจะเปนมติ ิที่สำคัญทบี่ รู ณาการความเปน องครวมของกาย จิต และสังคม
3). การแพทยแผนไทย เปนศาสตรทางการแพทยแขนงหนึง่ เปนการดูแลสุขภาพแบบองครวม องค
ความรูที่ใชเปนองคความรูที่สั่งสมกันมาแตในอดีต รวมกับการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปจจุบัน โดยสวนใหญ
ศาสตรการแพทยแ ผนไทย มกั นำมาใชในดา นสรางเสริมสขุ ภาพ ปองกันโรคหรือการฟน ฟู
4). การดูแลสุขภาพดวย “ธรรมานามัย” คือ การนำเอาหลักธรรมานามัยผสมผสานดานการแพทย
แผนไทยในการดูแลสุขภาพ ทำใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ศาสตราจารย นายแพทย อวย เกตุสิงห เปนผูคิดคน
และวางปรัชญาการดูแลสุขภาพดวยหลักธรรมานามัย คำวา“ธรรมานามัย” มาจาก 2 คำ ไดแก คำวา
“ธรรมะ” กบั คำวา “อนามัย” ธรรมะ คือ ธรรมชาติ และสว นอนามยั คอื การมีสุขภาพกายท่ดี ี
ดังน้นั “ธรรมานามยั ” หมายถึง Healthy by natural method หรือการมีสขุ ภาพดดี ว ยวถิ ีธรรมชาติ

2. ความสำคัญของภูมิปญญาไทย
1. สรางความภาคภูมิใจและเกียรติภูมิแกคนไทย แสดงถึงความสามารถของคนไทยในอดีตที่ปรากฏ

ในประวัตศิ าสตร และพัฒนาสืบเน่ืองมาจนถึงปจจบุ ัน เปนท่ยี อมรับของคนในประเทศ และชาวตางชาติ ไมวา
จะเปน วัฒนธรรมดานอาหารการกนิ ภาษา วรรณกรรมไทย

3

2. การสรางชาติใหเปนปกแผน มาตั้งแตสมัยสุโขทัย พอขุนรามคำแหงมหาราช การปกครอง
ประชาชนแบบพอ ปกครองลูก การทำยุทธหัตถีจนชนะขา ศึกดวยภูมปิ ญญาของกษัตรยิ  ทำใหส ามารถประกาศ
อสิ รภาพชนะขา ศกึ ศัตรไู ด

3. การสรา งความสมดุลระหวางมนุษยกับธรรมชาตไิ ดอยางยัง่ ยนื การยอมรบั และใหความสำคัญ เชน
เคารพส่งิ ศักด์ิสิทธ์ิ ทรพั ยากรธรรมชาติ การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตใิ หอ ยคู กู บั ทอ งถนิ่

4. การปรับวิถีชีวิตของคนไทยใหเหมาะสมไดตามยุคสมัย เชน การเกษตรแบบผสมผสาน สามารถ
ฟน ฟูธรรมชาตใิ หอ ุดมสมบรู ณเ พือ่ ทดแทนสภาพเดิมที่ถกู ทำลายไป

5. การประยุกตหลักธรรมคำสอนทางศาสนา ทั้งศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม ในการดำรงชวี ติ ไดอยาง
เหมาะสม ความเอื้อเฟอ เผือ่ แผ มคี วามอดทน ใหอ ภัยแกผ ูสำนกึ ผดิ ใชช ีวิตอยา งเรยี บงาย

ตัวอยางภูมิปญญา ภูมิปญญาทองถิ่นดานสิ่งแวดลอม ไดแก การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ ม เชน การเคารพแมนำ้ หรอื พระแมคงคา

3. การดแู ลสขุ ภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
3 อ. 2 ส. คือ หลักปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มุงหวังใหผูปฏิบัติมีภาวะสุขภาพดี

หรอื อยูกบั โรคอยา งเปน สุข ความหมายหรือแนวคดิ แตล ะองคป ระกอบของ 3 อ. 2 ส. มดี งั น้ี
3 อ. ประกอบดว ย
อ. ท่ี 1 คือ อาหาร พื้นฐานความรู คือ เรื่องอาหาร 5 หมู อาหารแลกเปลี่ยนที่ใหคุณคาทาง

โภชนาการหรือพลงั งานเทาๆ กัน การกำหนดอาหารใหเ หมาะสมกับเพศและวัย รวมถึงอาหารท่ีจำเพาะในผูท่ี
มโี รคประจำตวั ซึ่งจะถกู จำกัดในเร่ืองของชนดิ และปรมิ าณอาหารเพื่อควบคุมโรค หรือ สรปุ ไดวาเปน การเลือก
ชนิดและปรมิ าณอาหารใหเ หมาะสมกับวยั เหมาะสมกับภาวะสขุ ภาพและโรคทเ่ี ปนอยู

ตัวอยางคำแนะนำท่ัวไป เชน การรบั ประทานอาหารที่สะอาดปรุงสกุ ใหมทุกครั้ง รบั ประทาน
อาหารทมี่ คี วามหลากหลาย มีผกั และผลไมทุกมื้อ หลีกเลย่ี งอาหารรสจดั และไขมันสูง ลา งมือกอนรับประทาน
อาหารทุกครั้ง เลอื กซื้ออาหารสดสะอาด และลา งทำความสะอาดกอนนำมาปรุงอาหารทุกครงั้

อ. ท่ี 2 คือ ออกกำลงั กาย การเลือกประเภทการออกกำลังกายใหเหมาะสมกับวัยและวัตถุประสงค
เนื่องจากแตละคนอาจมีขอจำกัดดานสุขภาพ เชน ผูสูงอายุที่มีภาวะกระดูกพรุนหรือตองระวังการเคลื่อน
บริเวณขอตอ

ตัวอยางวัตถุประสงคของการออกกำลังกาย เชน การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง
ของกลา มเนอื้ การออกกำลังกายเพ่ือปองกนั ภาวะแทรกซอ นของโรค การชะลอขอ เสื่อม การปอ งกนั ขอยึดติด

อ. ท่ี 3 คือ อารมณ การบริหารจัดการดานอารมณ หรือความเครียด ใหเหมาะสมกับสถานการณ
การ มเี วลาพกั ผอ นฟน ฟูสขุ ภาพ เปนการดแู ลเกยี่ วกบั สุขภาพจิตของบุคคล เนื่องจากภาวะสขุ ภาพจิตสงผลตอ
สขุ ภาพกายได

2 ส. ประกอบดวย การงดสูบบุหรี่ และงดดื่มสุรา การเลือกปฏิบัติพฤติกรรมที่ชวยให ลด ละ เลิก
การใชส ารเสพติด

4

การปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. เปนวิธีการที่ปฏิบัติไดโดยทั่วไป ใชไดกับทุกเพศ ทุกวัย และทุก
สถานการณ ทั้งในดานสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสุขภาพ ความแตกตางอยูที่สาระความรู
แนวทางปฏบิ ัตทิ ส่ี อดแทรกเขาไปในแตล ะองคประกอบ เพอ่ื ใหมีความเหมาะสมกับบคุ คลหรือกลุมเปาหมาย

ตัวอยา งการใหความรู เรื่องความสำคญั ของการนำหลัก 3 อ 2 ส ไปใชในการดูแลสขุ ภาพ
การดูแลสุขภาพของวัยทำงาน ดวยหลัก 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ และ 2 ส. ไมสูบ

บุหร่ี ไมดื่มสุรา จะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิด 5 โรคเรื้อรัง ไดแก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคหวั ใจ โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคมะเร็ง

วัยทำงานควรรับประทานอาหาร ใหตรงเวลา มีความหลากหลายครบ 5 หมู ลดหวาน มัน เค็ม งด
อาหารทอดหรือผัด เพิ่มผัก ผลไม ในแตละวัน โดยเฉพาะมื้อเชาเปนมื้อสำคัญ ถาเลี่ยงมื้อนี้ไปรางกายจะเกิด
ภาวะขาดนำ้ ตาลสงผลใหสมองไมปลอดโปรง เกดิ ความวิตกกังวล ใจสนั่ ออ นเพลีย หงดุ หงดิ โมโหงาย รวมท้ัง
งดกินจุบจิบระหวางการทำงาน นอกจากน้ี ควรออกกำลังกายวันละ 30 - 60 นาที อยางนอย 5 วัน ตอ
สปั ดาห เพือ่ ลดนำ้ หนักและรอบพงุ และควรทำกิจกรรมเคล่ือนไหวในท่ที ำงาน

ตัวอยางนี้เปนการอธิบายใหความรูและแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับวัยทำงาน ซึ่งในทางปฏิบัติการ
ดูแลรายบุคคลหรือครอบครวั จะมกี ารออกแบบกิจกรรมใหเ หมาะสมกบั ชวี ิตประจำวนั หรือวถิ ีการดำเนินชีวิต
ใหสามารถทำไดจริง ไมเพิ่มภาระหรือคาใชจาย ทำไดงาย สงเสริมดานการทำงานใหดียิ่งขึ้น หรือ เพื่อการมี
สุขภาพท่ดี ีไมมโี รคภยั

ตัวอยางส่อื ความรู 3 อ 2 ส

5

4. การประยุกตใชภ มู ปิ ญญาไทยในการสงเสริมสุขภาพตามหลกั 3 อ. 2 ส.
การประยุกต หมายถึง การนำบางสิ่งมาใชประโยชน โดยปรับใชอยางเหมาะสมกับสภาวะที่

เฉพาะเจาะจง
การนำความรภู ูมิปญ ญาไทยไปประยุกตใช คอื การปรบั ใชใหเหมาะสมกับสถานการณตางๆ ท่ีมีความ

แตกตางกัน ซึ่งความแตกตางที่เกิดขึ้นนั้น อาจขึ้นอยูกับบริบทพื้นท่ี บุคคล หรือลักษณะการดำรงชีวิตของ
ชมุ ชนหรือสงั คมนั้นๆ

การประยุกตตองมีการออกแบบ คิด พิจารณา เลือกใชใหเหมาะกับความตองการของผูใช เชน การ
สงเสริมสุขภาพในคนท่ีมสี ุขภาพดี ไมเ จบ็ ปว ย แตเปาหมายเพอ่ื คงความแข็งแรงของสขุ ภาพกาย สุขภาพใจ

การประยุกตเพื่อสงเสริมสุขภาพในคนกลุมเสี่ยง เสี่ยงตอการเกิดโรคหรือความเจ็บปวย โรคที่เสี่ยง
เกิดขึ้นตามพฤติกรรมสุขภาพ ไดแก การรับประทานอาหาร การพักผอน การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่หรือ
ดื่มสุรา ปญหาสุขภาพตามวัย ตามความเสื่อม หรือ ปองกันโรคระบาด โดยเสริมภูมิคุมกัน เชน สถานการณ
โรคระบาดโควิด โรคไขหวัดตามฤดูกาล เปนตน จากนั้นจัดหมวดหมูสาระความรูที่สามารถอธิบายใหเขากับ
องคป ระกอบใน 3 อ. 2 ส.

แนวทางการคิดพิจารณาเพื่อเริ่มเตรียมงานการประยุกตความรู การพิจารณาเริ่มตนไดจากดานที่
ตนเองสนใจ

1. องคค วามรู เรมิ่ ตนจากความรดู า นภูมิปญญาไทยที่มอี ยูตามหวั ขอ ในรายวชิ านี้ ซงึ่ ประกอบไปดว ย
1). สรรพคุณของสมุนไพรและยาสมุนไพร ที่มีอยูหลายชนิด หลายสรรพคุณ ทั้งหางายและ

หายาก บางอยางมีใชอ ยใู นชีวติ ประจำวนั หรอื มีอยใู นครวั เรือน นำคณุ ประโยชนมาจดั กลุมเลือกใชใหเหมาะสม
กับปญหาสขุ ภาพแตละบคุ คล

2). ประโยชนแ ละวธิ ีการปฏิบัติ การนวดไทย การอบ ประคบ การออกกำลงั กาย ษดี ัดตน
นอกจากวิธกี ารปฏบิ ัติและประโยชนแลว ตองมีการแนะนำเร่ืองขอจำกัดหรือขอระวัง อนั ตรายทอี่ าจเกิดขึน้ ได

2. กลุมเปาหมายที่สนใจ การประยุกตใชกับกลุมประชากรที่สนใจ เพศ วัย เปนจุดเริ่มตนที่นำมา
พิจารณาวาประชากรกลุม น้ีมีมักจะมปี ญหาสขุ ภาพเรื่องใด เชน ผูหญิงวยั รนุ มีปญ หาดา นผวิ พรรณ วัยสูงอายุมี
การรับประทานอาหารไมเหมาะสม กลุมวัยรุนเพศชายสูบบุหรี่และดื่มสุรา หรือ ความเจ็บปวยที่เกิดขึ้นจาก
การทำงานในวยั แรงงาน หลงั จากนัน้ จึงไปคนควา หาความรูเร่ืองภูมิปญ ญาไทยที่คาดวา จะสามารถแกไขปญหา
นไ้ี ด นำมาพัฒนา ออกแบบ ปรบั ปรงุ หรอื ประยุกตใหเ หมาะสมกบั ประชากรทีต่ อ งการ

3. ปญหาหรือสถานการณดา นสขุ ภาพ เชน สถานการณโควิดระบาด โรคประจำตัวภูมิแพท ี่พบมาก
ข้ึนในวัยเด็ก โรคไขห วัดใหญ โรคไขเลือดออกท่จี ะพบจำนวนผูปวยสูงขนึ้ ตามฤดูกาล นำความรูดานภูมิปญญา
ไทยมาประยุกตใช เพอ่ื เสรมิ สรา งภูมิคุมกัน เพิม่ ความแข็งแรงของรางกาย การลด กำจดั พาหะหรือสัตวนำโรค
ดงั นัน้ สาระความรทู ่ปี ระยุกตใ ชจะมีความจำเพาะตอโรคมากขน้ึ ตอเหตุการณม ากขึน้

6

การออกแบบสอื่ และกิจกรรมเพ่อื การสือ่ สารสขุ ภาพ
สื่อกิจกรรม หมายถึง สื่อที่ผลิตขึ้นโดยมีลักษณะเฉพาะเพื่อใชในงานหรือโครงการโดยมีวัตถุประสงค

เพือ่ ใหเกิดการเรยี นรู และการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม
วัตถุประสงคการสรางสรรคสื่อกิจกรรม เพื่อใหกลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ การตระหนักรู

การเปล่ียนทศั นคตแิ ละพฤติกรรมตามวัตถุประสงคข องผูส งสาร
ความสำคญั ของการสรางสรรคสอื่ กิจกรรม
1. ทำใหเกิดความนาสนใจ การออกแบบสารทั้งคำพูด การเขียน สัญลักษณ การใชภาษาให
ผสมผสาน อยา งเหมาะสมกับกลุมเปาหมายจะทำใหสารเกดิ ความนาสนใจ
2. ทำใหเกิดความรู ความเขาใจ การออกแบบสารเปนความสำคัญขั้นตนกอน คือ ทำให
กลมุ เปาหมายมคี วามรู มคี วามเขาใจและทำใหเกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม
3. ทำใหเกิดการตระหนัก การออกแบบสารที่ดีจะทำใหกลุมเปาหมายตระหนักถึงประเด็น
ของการพัฒนาและจะนำไปสูการเปล่ียนแปลงทัศนคติได
5. ทำใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมหรอื การปฏบิ ตั ใิ นดา นทผ่ี ูจ ัดทำตองการ

การนำความรูใ นรายวิชาการดแู ลสุขภาพดวยภูมิปญญาไทยมาประยกุ ตใ ชใ นการสรา งสอ่ื สาธารณะ
ความรูหรือหัวขอสาระในรายวิชาท่ีกำหนดขึน้ เปนความรูพื้นฐานที่ปจจุบันมีการนำมาใชในการดูแล

สุขภาพ ทั้งในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน เปาหมายเพื่อสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาโรคและฟนฟู
สขุ ภาพของผทู ี่เจ็บปว ย

นักศึกษาสามารถนำความรูที่เรียนมา เลือกสาระหรือประเด็นที่สนใจ สามารถคนควาเพ่ิมเติมไดดวย
ตนเอง ตามหัวขอที่ผูสอนกำหนดให นำมาออกแบบหรือประยุกต โดยการนำเสนอผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ใน
รูปแบบตางๆ เชน หนงั สือออนไลน วดี ิโอ การตนู รปู แบบของส่อื พจิ ารณาใหเ หมาะสมกับเปาหมายของตนเอง
เชน วัยสูงอายุใชรูปภาพขนาดใหญมากกวาเปนตัวหนังสือ เปนตน โดยการนำเสนอสาระความรูทางวิชาการ
ตองมีการอางอิงแหลงท่ีมาขององคความรูน้ันเสมอ เพื่อใหเกิดความนาเชือ่ ถือแกผูทีไ่ ดรับความรูและสามารถ
ตรวจสอบความถูกตอ งได

เอกสารอา งองิ
กรมการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก.(2550). แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการแพทยแผนไทย ในสถาน

บรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ. โรงพิมพองคการสงเคราะหท หารผา นศึก จาก
http://www.ppho.go.th/webppho/dl_strat/F20181107091857.pdf
กองสขุ ศกึ ษา. (2561). ความรสู ุขภาพ 3 อ. 2 ส. เคล็ดลบั สุขภาพดีของวัยทำงาน สืบคนเมือ่ 1 มีนาคม 2564
จาก http://www.hed.go.th/information/file/177

7

กองสนับสนุนสขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ .(2556). คูมือ อสม.
นักจดั การสุขภาพชมุ ชน สืบคน เม่อื 15 มกราคม 2564 จาก
http://phc.moph.go.th/www_hss/data_center/ifm_mod/nw/osm25356.doc

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2556). การออกแบบสื่อและกิจกรรมเพื่อการสื่อสารสุขภาพ สืบคนเมือ่
1 ม ี น า ค ม 2564 . จ า ก http://kmops.moph.go.th/index.php/km-test/2012-09-19-04-22-
17/163-2013-03-19-07-46-47.

สกุ รี กาเดร. (2561). การดแู ลสขุ ภาพดว ยหลักธรรมานามัย สืบคน เม่อื 7 เมษายน 2564 จาก
https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=1352

ประภัสสร ทองยนิ ด.ี (2558). ภมู ิปญญาไทย : องคความรูท่มี คี ณุ คาและประโยชนต อ สงั คมไทย สบื คนเม่ือ
15 มกราคม 2564 จาก https://www.stou.ac.th


Data Loading...