มคอ.2 ปร.ด.การบัญชี มศป.ปป.2563 อว.รับทราบวันที่ 15-04-63 - PDF Flipbook

มคอ.2 ปร.ด.การบัญชี มศป.ปป.2563 อว.รับทราบวันที่ 15-04-63

121 Views
109 Downloads
PDF 29,647,716 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รายละเอียด
หลกั สตู รปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ

สาขาวชิ าการบญั ชี
(หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563)

มคอ.2

คณะบญั ชี
มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม

มคอ.2 1

รายละเอียดของหลกั สตู ร
หลกั สตู รปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาการบญั ชี
หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

ชอื่ สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ
คณะ/สาขาวชิ า คณะบญั ชี สาขาวชิ าการบัญชี

หมวดท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป

1. ชอ่ื หลักสูตร : หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาการบัญชี
ภาษาไทย : Doctor of Philosophy Program in Accountancy
ภาษาองั กฤษ

2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา
ชื่อเตม็ (ไทย) : ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ (การบัญช)ี
ชื่อยอ่ (ไทย) : ปร.ด. (การบัญช)ี
ชอ่ื เต็ม (อังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Accountancy)
ช่ือยอ่ (อังกฤษ) : Ph.D. (Accountancy)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จำนวนหนว่ ยกติ ทีเ่ รยี นตลอดหลกั สูตร
48 หนว่ ยกติ

5. รปู แบบของหลกั สตู ร
5.1 รปู แบบ
เป็นหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาเอก
5.2 ภาษาทใ่ี ช้
การเรียนการสอนใช้เป็นภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ และ/หรือภาษาจนี
5.3 การรับเข้าศกึ ษา
รบั นักศึกษาไทยหรือนักศึกษาตา่ งประเทศ

มคอ.2 2

5.4 ความรว่ มมอื กบั สถาบันอนื่
เปน็ หลกั สูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

5.5 การให้ปรญิ ญาแก่ผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษา
ใหป้ ริญญาเพยี งสาขาวชิ าเดียว

6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลกั สูตร
หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2563 เร่ิมใช้หลักสูตรนี้ ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2563
- คณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี ได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุง

หลักสตู ร เมื่อวันที่ 13 เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2562
- สภาวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม ครั้งท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 เมื่อ

วันท่ี 17 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2562
- สภามหาวิทยาลัยศรีปทุมได้อนุมัติการปรับปรุงหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 14 เดือน

มกราคม พ.ศ. 2563

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลกั สตู รที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะไดร้ ับการเผยแพรว่ ่าเป็นหลกั สูตรทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.

2552 ปีการศึกษา 2565

8. อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลงั สำเร็จการศกึ ษา
8.1 ผบู้ รหิ ารระดับสงู ขององคก์ ร
8.2 ผ้ปู ระกอบกิจการตนเอง อาทิ เจา้ ของสำนักงานบญั ชี เจ้าของธุรกจิ
8.3 ที่ปรึกษา อาทิ ทปี่ รึกษาทางด้านการบัญชีและการเงนิ ด้านการภาษีอากร และดา้ นธรุ กิจ
8.4 อาจารยผ์ ูส้ อนในสถาบนั การศึกษาระดบั อดุ มศึกษาทง้ั ภาครฐั และเอกชน

มคอ.2 3

9. ชือ่ เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหนง่ และคณุ วุฒิการศึกษาของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร

9.1 อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร

ลำดับ ชอ่ื -สกุล/ คณุ วุฒกิ ารศึกษา กลมุ่ วิชา สถาบันท่สี ำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตวั บัตรประชาชน (สาขาวิชา)/ปีท่ีสำเรจ็

1 ดร.มนตรี ช่วยชู บช.ด. (การบญั ช)ี , 2540 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

3-1020-01158x-xx-x บช.ม.(การบัญช)ี , 2526 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

บธ.บ. (การบัญชี), 2520 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

2 ผศ.ดร.ฐติ าภรณ์ สินจรูญศักด์ิ ปร.ด. (การบญั ช)ี , 2552 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

3-9106-0002x-xx-x M.B.A (International Stamford International

Business University, Thailand

Management), 2014

บธ.ม., 2542 การบญั ชี มหาวิทยาลัยศรปี ทุม

บธ.บ. (การบัญชี), 2540 มหาวิทยาลยั เกริก

3 ดร.ประเวศ เพญ็ วุฒิกลุ ปร.ด. (การบัญชี), 2556 มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง

3-1021-0148x-xx-x บธ.ม. (การบัญชแี ละ มหาวทิ ยาลยั สยาม

ธุรกจิ ระหว่างประเทศ),

2547

น.บ. (นติ ิศาสตร์), 2531 มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช

บธ.บ. (การบญั ชี), 2522 มหาวิทยาลยั รามคำแหง

มคอ.2 4

9.2 อาจารย์ประจำหลกั สูตร

ลำดับ ชือ่ -สกุล/ คณุ วฒุ ิการศึกษา กลมุ่ วิชา สถาบนั ท่ีสำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตวั บตั รประชาชน (สาขาวิชา)
/ปีทสี่ ำเรจ็

1 ดร.มนตรี ช่วยชู บช.ด. (การบัญชี), 2540 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

3-1020-01158x-xx-x บช.ม.(การบัญช)ี , 2526 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

บธ.บ. (การบญั ชี), 2520 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

2 ผศ.ดร.ฐติ าภรณ์ สินจรูญศักด์ิ ปร.ด. (การบญั ช)ี , 2552 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

3-9106-0002x-xx-x M.B.A (International Stamford International

Business Management), University, Thailand

2014

บธ.ม., 2542 การบญั ชี มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ

บธ.บ. (การบญั ชี), 2540 มหาวิทยาลัยเกรกิ

3 ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒกิ ุล ปร.ด. (การบญั ช)ี , 2556 มหาวิทยาลยั รามคำแหง

3-1021-0148x-xx-x บธ.ม. (การบัญชีและธุรกิจ มหาวิทยาลยั สยาม

ระหว่างประเทศ), 2547

น.บ. (นติ ิศาสตร์), 2531 มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช

บธ.บ. (การบญั ชี), 2522 มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง

4 ดร.กนกศกั ดิ์ สุขวฒั นาสินทิ ธิ์ ปร.ด. (การจดั การบญั ช)ี , มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนดุสติ

3-7208-0002x-xx-x 2554

บธ.ม., 2546 การบัญชี มหาวทิ ยาลัยบูรพา

บริหาร

บช.บ.(การบญั ชี), 2539 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

5 ดร.สรุ ยี ์ โบษกรนัฏ ปร.ด. (การบัญชี), 2554 มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง

3-1016-0073x-xx-x รอ.ม., 2547 สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์

บช.บ.(เกียรตินยิ มด)ี (การ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บญั ชี), 2517

6 รศ.กัลยาภรณ์ ปานมะเริง พบ.ม. (บริหารธุรกิจ), 2526 สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

3-1000-5022x-xx-x บช.บ. (การบัญชี), 2516 มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ

7 ดร.เบญจพร โมกขะเวส -บธ.ด. (การจดั การ), 2562 มหาวิทยาลัยชินวัตร

3-8001-0155x-xx-x -บธ.ม., 2549 การบัญชี มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ

-บธ.บ. (การบัญชี), 2547 มหาวทิ ยาลยั เกริก

มคอ.2 5

10. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน
จดั การเรยี นการสอนที่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาที่จำเปน็ ตอ้ งนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
การพัฒนาประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐- ๒๕๖๔) มี

การปฏิรูปประเทศเพื่อแกป้ ัญหาพื้นฐานหลายดา้ นท่ีสั่งสมมานานทา่ มกลางสถานการณ์โลกทีเ่ ปล่ียนแปลงรวดเร็วและ
เชื่อมโยงกันใกล้ชิดมากขึ้น การแข่งขันด้านเศรษฐกิจจะเข้มข้นมากขึ้น สังคมโลกมีความเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น
เป็นสภาพไร้พรมแดน การพัฒนาเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกระทบชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมและ
การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมาก ขณะที่ประเทศไทยมีข้อจำกัดของปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์เกือบทุก
ด้านและจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาที่ชัดเจนขึ้น ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ นับเป็นจังหวะเวลาที่ท้าทายอย่าง
มากที่ประเทศไทยต้องปรับตัวขนานใหญ่ โดยจะต้องเร่งพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และ
นวัตกรรมให้เป็นปัจจัยหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศไทยท่ามกลางการแข่งขันในโลกทีร่ นุ แรงขึ้นมากแต่ประเทศไทยมขี ้อจำกัดหลายด้าน อาทิ คุณภาพคนไทยยงั
ต่ำ แรงงานส่วนใหญ่มีปัญหาทั้งในเรื่ององค์ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ สังคมขาดคุณภาพและมีความเหลื่อมล้ำสูงท่ี
เป็นอุปสรรคต่อการยกระดับศักยภาพการพัฒนาโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงวัยส่งผลให้ขาดแคลนแรงงาน
จำนวนประชากรวยั แรงงานลดลงตั้งแตป่ ี ๒๕๕๘ และโครงสรา้ งประชากรจะเขา้ สสู่ ังคมสูงวยั อย่างสมบูรณ์ ภายในสิ้น
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมลดลงอย่างรวดเร็ว ซ่ึงเป็นทง้ั ต้นทุนในเชิงเศรษฐกิจ
และผลกระทบร้ายแรงต่อคุณภาพชีวิตประชาชน ในขณะที่การบริหารจัดการภาครัฐยังด้อยประสิทธิภาพ ขาดความ
โปรง่ ใส จงึ ส่งผลใหก้ ารผลกั ดัน ขบั เคลือ่ นการพัฒนาไมเ่ กดิ ผลสัมฤทธิ์

ดังนั้น นักบัญชีจำเป็นต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับศาสตร์และศิลป์ในด้านบริหารและการจัดการบัญชีเปน็ อย่าง
ดีจงึ จะสามารถนำพาองคก์ รไปสู่ความสำเร็จ การศกึ ษาในระดับบัณฑิตศึกษาจะสามารถส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรอบรู้
และสร้างองค์ความรู้เฉพาะด้านที่เน้นคุณภาพระดับมาตรฐานสากลโดย ประยุกต์ความรู้ใหม่ด้านบัญชีมาใช้ในกา ร
บริหารองค์กรพร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนำเสนอแนวคิด และวิพากษ์วิจารณ์เชิงวิชาการ เพื่อให้เกิดการพัฒ นาเชิง
บูรณาการทย่ี ง่ั ยืนในองคก์ ร

11.2 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและซับซ้อน ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ

การศึกษา โดยเฉพาะในส่วนของการเปิดเสรีทางด้านการค้าและการบริการด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม นอกจากนี้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการมีเครือข่ายสังคม (Social Network) สื่อสังคม (Social Media) มาตรการทาง
การค้าที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโลกร้อน สิทธิมนุษยชนและหลักธรรมาภิบาล ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสังคมและ
วัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างย่งิ ดา้ นการเรยี นการสอนในระดับอุดมศกึ ษา การบรหิ ารจัดการด้านบัญชีต้องอาศัยความรู้
ความชำนาญ ประสบการณ์ของผู้บริหาร ทั้งจากทฤษฎีและการปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเฉพาะด้าน

มคอ.2 6

และมีความเป็นสากลมากย่งิ ขึ้น ดังนั้น จงึ มีความจำเป็นท่ีต้องมีการเตรยี มความพร้อม เพื่อเปน็ ผู้บริหารมืออาชีพและ
สามารถขบั เคลื่อนองคก์ รให้ประสบความสำเร็จและพัฒนาประเทศใหย้ ง่ั ยืน

12. ผลกระทบจาก ขอ้ 11 ต่อการพัฒนาหลักสตู รและความเกี่ยวข้องกับพนั ธกิจของสถาบนั

12.1 การพฒั นาหลักสตู ร
คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างนักวิชาการ และนัก

ปฏิบัติด้านการบัญชีที่มีทักษะในการวิจัย การคิด การปฏิบัติ การแก้ปัญหา และการนำเสนอ ที่มีความเป็นมืออาชีพ
และมีคณุ ธรรม เพอื่ ผลิตผลงานวิจยั เชิงวชิ าการ และปฏบิ ตั กิ ารที่มีคุณภาพก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในด้านบัญชีให้กับ
ภาคธุรกิจและประเทศ ปัจจุบันคณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีการเตรียมพร้อมด้านการจัดหาอาจารย์ที่มีความ
เชี่ยวชาญในการเรียนการสอน กระบวนการค้นคว้าวิจัย ครุภัณฑ์และอุปกรณ์เครื่องมือ รวมถึงปัจจัยสนับสนุนการ
ค้นคว้าวิจัยและการจัดการองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับการจัดการเรียนการสอนและการ
ศึกษาวิจัยได้อยา่ งดเี ยยี่ ม จึงมคี วามประสงค์จะเปดิ การสอนในหลกั สตู รปรชั ญาดุษฏีบณั ฑติ สาขาวิชาการบญั ชี

12.2 ความเกีย่ วขอ้ งกับพันธกิจของสถาบนั
ด้วยพันธกิจของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ต้องการพัฒนาสถาบันไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการโดยพัฒนา

โครงสร้างการศึกษา ตลอดจนความตระหนักถึงความสำคัญในการค้นคว้าวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ใหม่ และผลิต
ดษุ ฏบี ัญฑิตท่มี คี วามรู้ความเชย่ี วชาญระดับสูงในสาขาวิชาการบญั ชี เพื่อผลิตงานวิจยั เชงิ บูรณาการทีม่ ีคุณภาพสูงและ
สามารถนำไปประยุกตใ์ ห้เปน็ ประโยชน์ต่อหนว่ ยงานต่าง ๆ ของประเทศ พร้อมช่วยแกป้ ญั หาการขาดแคลนทรัพยากร
บุคคลในสาขาวิชานี้ มหาวิทยาลัยศรีปทุมจึงเล็งเห็นความสำคัญอย่างยิ่งในการเปิดการสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฏี
บัณฑิต สาขาวชิ าการบัญชี

13. หลักสตู รนี้ มีความสัมพันธก์ บั หลกั สตู รอื่น ทเ่ี ปิดสอนในคณะ/สาขาวชิ า อนื่ ของสถาบัน ดงั น้ี
13.1. กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสตู รนี้ทีเ่ ปดิ สอนโดยคณะ/สาขาวชิ า/หลกั สตู รอน่ื
ไม่มี
13.2. กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลกั สตู รทเ่ี ปิดสอนให้สาขาวชิ า/หลักสูตรอนื่ ตอ้ งมาเรยี น
ไม่มี
13.3. การบริหารจดั การ
ผู้อำนวยการและผู้ช่วยผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารจัดการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ
บญั ชี ในด้านเนื้อหาสาระของหลกั สตู ร การจดั การเรยี นการสอน การจดั ตารางเรียนและตารางสอบ ใหส้ อดคลอ้ ง
กบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร

มคอ.2 7
หมวดท่ี 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสตู ร

1. ปรัชญา ความสำคญั และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฏบี ณั ฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการบูรณาการ

องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารบัญชี เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีทักษะในการวิจัย การคิด การปฏิบัติ และการ
แก้ปัญหาในด้านบัญชีอย่างมืออาชพี และมีคุณธรรม เพื่อให้เป็นนักวิชาการและผู้นำระดับสูงในการเปล่ียนแปลง และ
พัฒนาระบบบญั ชีขององคก์ รและประเทศ

1.2 ความสำคัญ
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี เป็นหลักสูตรที่มีความพร้อมและสามารถผลิตและพัฒนา

นกั บัญชยี ุคใหม่ที่ตอบสนองความต้องการในการปฏริ ูปการศึกษาที่มุ่งเน้นใหค้ นไทยไดเ้ รียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
และสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ตลอดจนเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น (ASEAN Economic Community: AEC)

1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้

เป็นผู้บรหิ ารทางด้านบัญชี นกั วิชาการดา้ นบัญชี และนกั วจิ ยั ท่มี คี ุณลกั ษณะ ดังนี้
1) มีความเป็นผู้นำ ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการนำความรู้ด้าน

บญั ชีไปประยุกตใ์ ชใ้ นการทำงานอยา่ งมืออาชีพ
2) มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ในเชิงลึกใน

ระดับประเทศและนานาชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือช่วยบริหารจัดการบัญชีให้เกิด
ประสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพสงู สุด

3) มีวิสัยทัศน์กว้างไกลในการบริหารบัญชีให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่
เปลย่ี นแปลงในปัจจุบัน

4) มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพบัญชี และสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
จดั การด้านบัญชีจนทำให้องคก์ รมีผลดำเนนิ งานบรรลุตามเป้าหมาย

5) มีความรู้และทักษะในการทำวิจัยในหัวข้อเกี่ยวกับการบัญชี การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรม
ทางด้านการบัญชี ตลอดจนสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรและหน่วยงานที่
รบั ผิดชอบได้

มคอ.2 8

2. แผนพฒั นาปรับปรุง

แผนการพฒั นา / เปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน / ตัวบ่งชี้

1. ปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหม้ ีมาตรฐานตาม 1. ติดตามประเมินหลกั สูตรอย่าง 1.1 เอกสารปรับปรุงหลักสูตร

เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รของ อว. สม่ำเสมอ 1.2 รายงานผลการประเมนิ หลักสูตร

2. ปรับปรุงหลักสตู รให้ทนั สมยั 2. ตดิ ตามประเมนิ ผลความต้องการของ 2.1 รายงานผลความพึงพอใจของ

สอดคล้องกบั ความกา้ วหน้าทางวชิ าการ ผใู้ ชบ้ ัณฑิต และปรบั หลักสูตรใหท้ ันตอ่ ผ้ใู ชบ้ ณั ฑติ

ความต้องการของผ้ใู ช้บณั ฑิต/การ การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม 2.2 ความพึงพอใจในความรู้ ความ

เปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และ และวฒั นธรรม สามารถ และคุณลกั ษณะอืน่ ๆ ตาม

วัฒนธรรม เกณฑ์มาตรฐานของคุรสุ ภา

3. พัฒนาบคุ ลากรดา้ นการเรียนการ 3.1 อาจารย์ทกุ คนโดยเฉพาะอาจารย์ 3.1.1 ความสามารถในการวดั และ

สอนและการบรกิ ารวิชาการ ใหมต่ อ้ งเข้ารับการฝกึ อบรมเกยี่ วกับ ประเมนิ ผลของหลักสูตร

หลกั สตู รการสอนรูปแบบ ต่าง ๆ และ 3.1.2 ปรมิ าณงานบริการวชิ าการต่อ

การวดั ผล ประเมินผล ทงั้ น้เี พื่อใหม้ ี อาจารย์ในหลักสูตร

ความรู้ ความสามารถในการประเมนิ ผล

ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒทิ ่ีผูส้ อน

จะตอ้ งสามารถวัดและประเมินผล

ได้เป็นอย่างดี

3.2 สนบั สนุนอาจารยใ์ หท้ ำงานบริการ 3.2 รายงานผลประเมนิ ความ

วิชาการแกอ่ งค์กรภายนอก พงึ พอใจของผู้ใช้บริการวิชาการ

3.3 ส่งเสรมิ ให้มีการนำความรทู้ ง้ั จาก 3.3 จำนวนโครงการ/กิจกรรมท่เี ปน็

ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ และงานวจิ ยั ไปใช้ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนและความบรรลุผล

จริงเพอ่ื ทำประโยชนใ์ ห้แกช่ มุ ชน สำเรจ็

4. ปรบั ปรงุ วธิ กี ารเรียนการสอน 4.1 สนับสนนุ ใหอ้ าจารยม์ อบหมายงาน 4.1 จำนวนรายวิชาที่ใช้งานผา่ น

ในแตล่ ะรายวิชาผ่านระบบทาง ระบบ

อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Learning)

5. ปรับปรงุ วิธกี ารวัดและประเมินผล 5.1 วเิ คราะห์ข้อสอบ 5.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อสอบ

5.2 วิเคราะหผ์ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 5.2 ผลวิเคราะหผ์ ลสัมฤทธิท์ างการ

ของนักศึกษา เรียนของนักศึกษา

6. ปรบั ปรงุ ปจั จยั สนับสนุนการเรยี น 6.1 สำรวจความต้องการของนกั ศึกษา 6.1 รายงานผลการสำรวจ

การสอน และผ้สู อน

6.2 จดั หาและจดั สรรทุนเพ่ือปรับปรงุ 6.2.1 จำนวนเงนิ ทนุ

ปจั จัยสนับสนุนการเรียนการสอนใหม้ ี 6.2.2 จำนวนเงนิ ค่าใช้จา่ ย

ความทันสมัยและมปี ระสิทธิภาพย่งิ ข้ึน

มคอ.2 กลยทุ ธ์ 9
แผนการพฒั นา / เปล่ยี นแปลง
หลกั ฐาน / ตวั บง่ ชี้
6.2.3 จำนวนอปุ กรณ์/กิจกรรม/
โครงการที่ปรบั ปรุงปจั จัยสนับสนุน
การเรยี นการสอน

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดำเนินการ และโครงสรา้ งของหลักสตู ร

1. ระบบการจดั การศกึ ษา
1.1 ระบบ
หลกั สูตรนจี้ ัดการศึกษาระบบทวภิ าค โดยหนงึ่ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาโดยมีระยะเวลาการศึกษา

ไมน่ ้อยกวา่ 15 ชั่วโมงต่อหน่วยกิต และ/หรือ 15 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา และอาจจัดภาคฤดรู ้อนด้วยได้ ส่วนข้อกำหนด
ตา่ ง ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลยั ศรปี ทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

1.2 การจัดการศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น
มีภาคฤดูร้อนด้วย โดยมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อหน่วยกิต และ/หรือ 8 สัปดาห์ ต่อภาค

การศึกษา ทั้งนี้ ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต มีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ ส่วนข้อกำหนดต่างๆ
ใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยศรีปทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา

1.3 การเทยี บเคียงหนว่ ยกิตในระบบทวภิ าค
ไมม่ ี

2. การดำเนนิ การหลกั สูตร

2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรยี นการสอน

ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสิงหาคม - เดอื นธนั วาคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นมกราคม - เดือนพฤษภาคม

ภาคฤดรู อ้ น เดอื นมิถนุ ายน - เดอื นกรกฎาคม

2.2 คณุ สมบตั ิของผ้เู ขา้ ศึกษา
ผู้สำเร็จการศกึ ษาปริญญาโทบญั ชหี รือเทยี บเทา่
เป็นผู้สำเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาโทบัญชีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาทงั้ ภายในหรือต่างประเทศท่ี

ไดร้ บั การรับรองวทิ ยฐานะแล้ว และเปน็ ผูม้ ผี ลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ในระดับปริญญาโทไมน่ ้อยกวา่ 3.25 หรือ
เป็นผทู้ ีม่ ีประสบการณ์การทำงานท่เี กยี่ วข้องกบั สาขาวิชาการบญั ชอี ยา่ งน้อย 5 ปี และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้
ตามเกณฑท์ ่ีคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด

ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยผู้เข้าศึกษาอาจจะต้องศึกษาวิชาปรับ
พืน้ ฐานทางการบญั ชเี พ่ิมเติม

มคอ.2 10

ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาในสาขาวชิ าอนื่ ทเ่ี ก่ยี วข้อง

เป็นผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาโทในสาขาวชิ าอ่ืนท่เี กีย่ วข้องสัมพนั ธ์กันจากสถาบันการศึกษาท้งั ภายใน

หรือตา่ งประเทศท่ไี ดร้ บั การรับรองวิทยฐานะแลว้ และเปน็ ผู้มผี ลการเรียนคะแนนเฉล่ยี สะสมในระดับปริญญาโทไม่

นอ้ ยกวา่ 3.25 และเปน็ ผทู้ ม่ี ีประสบการณ์การทำงานที่เก่ียวข้องกบั สาขาวชิ าการบญั ชีอย่างน้อย 5 ปี และมีผลการ

สอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด

ทง้ั น้ี ขึน้ อยู่กบั ดุลยพนิ จิ ของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รฯ โดยผ้เู ขา้ ศกึ ษาจะต้องศึกษาวิชาปรับพนื้ ฐาน

ทางการบัญชเี พิม่ เติม

การคดั เลือกผ้เู ข้าศึกษา

เปน็ ไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยศรปี ทุมวา่ ด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา

2.3 ปญั หาของนักศกึ ษาแรกเข้า

ปัญหาสำหรับผู้ศึกษาตอ่ ในระดับบัณฑิตศึกษา มีความรู้พ้ืนฐานทางดา้ นวิจัยและภาษาอังกฤษน้อย

2.4 กลยุทธ์ในการดำเนนิ การเพอ่ื แก้ไขปญั หา/ข้อจำกดั ของนักศึกษาในขอ้ 2.3

หลกั สตู รจดั ใหม้ ีการเรียนเสริมโดยไม่นับหนว่ ยกติ สำหรบั ผ้ศู ึกษาทมี่ ีพนื้ ฐานทางดา้ นวิจยั น้อย

2.5 แผนการรบั นกั ศึกษาและจำนวนผูส้ ำเร็จการศึกษาในระยะเวลา 5 ปี

จำนวนนักศึกษาทั้งหมด (คน) จำนวนนักศกึ ษาทั้งหมด (คน)

จำนวนนักศึกษา แผน 1 แบบ 1.1 แผน 2 แบบ 2.1

2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567

ชั้นปที ี่ 1 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

ชน้ั ปีท่ี 2 - 9999 - 9999

ชั้นปที ี่ 3 - -888- -888

รวม 10 19 27 27 27 10 19 27 27 27

คาดว่าจะจบการศึกษา - - 5 7 8 - - 5 7 8

2.6 งบประมาณตามรายรับ
งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยต่อหัวต่อปี (สงู สดุ ) 227,400 บาท
งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลกั สตู ร 682,000 บาท

2.7 ระบบการศึกษา
แบบชนั้ เรียน ทั้งน้ีในบางรายวิชาอาจมีการเรียนด้วยส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) เพิ่มเติมได้ตามความ

เหมาะสม
2.8 การเทียบโอนหน่วยกติ รายวชิ าและการลงทะเบียนข้ามมหาวิทยาลยั
เปน็ ไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยศรีปทุม วา่ ด้วยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา

มคอ.2 11

3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จำนวนหน่วยกิต

ตลอดหลักสูตร ไมน่ อ้ ยกว่า 48 หนว่ ยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร

รายละเอยี ดในแต่ละแผนการศกึ ษา มดี งั นี้

โครงสร้างหลักสตู ร จำนวนหน่วยกติ

แผน 1 แบบ 1.1 แผน 2 แบบ 2.1

*หมวดวิชาเสริมพนื้ ฐาน (ไมน่ ับหนว่ ยกติ ) (ไม่นบั หนว่ ยกติ )

หมวดวชิ าบงั คับ - 3 หนว่ ยกติ

หมวดวิชาเลอื ก - 9 หนว่ ยกิต

วทิ ยานพิ นธ์ 48 หนว่ ยกิต 36 หนว่ ยกิต

รวม 48 หน่วยกิต 48 หน่วยกิต

หมายเหตุ: *รายวิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ที่คณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรมีมติให้เรียนรายวิชาเสริมพื้นฐานเพิ่มเติมจะต้องลงทะเบียนและมีผลการเรียนไม่ต่ำกว่า S
(Satisfactory)

3.1.3 รายวชิ า
ความหมายของรหัสวชิ า

รหัสวชิ า รายวิชาในหลักสตู รประกอบด้วย อกั ษรย่อ 3 ตัว และเลขรหัส 3 ตวั โดยมีความหมาย
ดังน้ี

ACT xxx หมายถึง ช่อื สาขาวิชาบญั ชี (Accountancy)
ตวั เลข มีความหมาย ดงั นี้

หลกั รอ้ ย หมายถงึ ช้ันปีที่ควรเรียน
หลกั สบิ หมายถึง กล่มุ ประเภทวชิ า
หลกั หนว่ ย หมายถึง ลำดบั วิชาในแต่ละกลุ่ม

มคอ.2 12

รายวชิ า

หมวดวชิ าเสริมพ้ืนฐาน (Remedial Course) (ไม่นบั หนว่ ยกิต)

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

รหสั วิชา ช่ือวิชา หนว่ ยกิต

ACT602 การอ่าน เขียน และนำเสนอทางวชิ าการระดับนานาชาติ NC

(International Academic Reading, Writing and

Presentation)

ACT603 การบัญชรี ่วมสมยั NC

(Contemporary Accounting)

ACT606 สถติ ขิ ั้นสูงเพ่ือการวจิ ัย NC

(Advanced Statistics for Research)

หมวดวิชาบังคบั (Required Course) (3 หน่วยกิต)

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)

รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกติ

ACT710 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางการบญั ชขี ั้นสงู 3(3-0-9)

(Advanced Research Methodology in Accounting)

หมวดวิชาเลือก (Elective Course) (9 หนว่ ยกิต)

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หน่วยกิต

ACT720 สัมมนาการวจิ ยั การบัญชกี ารเงนิ และการบัญชีบริหาร 3(3-0-9)

(Seminar in Financial Accounting and Managerial

Accounting Research)

ACT721 สมั มนาการวจิ ยั การสอบบัญชีและการตรวจสอบภายใน 3(3-0-9)

(Seminar in Auditing and Internal Auditing Research)

ACT722 สัมมนาการวิจัยการวางระบบบัญชแี ละระบบสารสนเทศ 3(3-0-9)

ทางการบัญชี

(Seminar in Accounting System Design and

Accounting Information System Research)

ACT723 สมั มนาการวจิ ัยการภาษอี ากร 3(3-0-9)

(Seminar in Taxation Research)

มคอ.2 13

รหัสวิชา ช่อื วิชา หนว่ ยกิต
ACT724 สมั มนาการวจิ ัยการกำกับดแู ลกจิ การ 3(3-0-9)
(Seminar in Corporate Governance Research)
ACT725 สมั มนาหัวข้อพเิ ศษในการวิจยั ทางการบญั ชี 3(3-0-9)
(Seminar in Special Topics of Accounting Research)

หมวดอนื่ ๆ (Others)

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง)

รหสั วิชา ช่อื วิชา หนว่ ยกิต

QEA700 การสอบวัดคุณสมบัติข้อเขยี น NC

(Written Qualifying Examination)

QEA701 การสอบวัดคุณสมบตั ิปากเปล่า NC

(Oral Qualifying Examination)

ACT898 วิทยานพิ นธ์ 48

(Thesis)

ACT899 วิทยานิพนธ์ 36

(Thesis)

มคอ.2 14

3.1.4 แสดงแผนการศึกษา หนว่ ยกิต แผน 2 แบบ 2.1 หน่วยกติ
แผน 1 แบบ 1.1 NC ชอื่ วิชา
NC วชิ าเสรมิ พ้ืนฐาน NC
ชื่อวิชา NC ACT602 การอ่าน เขยี น และนำเสนอทาง NC
วชิ าเสรมิ พนื้ ฐาน NC วชิ าการระดับนานาชาติ NC
ACT602 การอา่ น เขียน และนำเสนอทาง NC ACT603 การบญั ชรี ่วมสมัย
วิชาการระดับนานาชาติ 6 ACT606 สถิติขน้ั สูงเพ่ือการวิจยั 3(3-0-9)
ACT603 การบัญชีรว่ มสมยั ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
ACT606 สถติ ขิ ั้นสงู เพื่อการวิจัย 6 ACT710 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางการบญั ชีขน้ั 3(3-0-9)
ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 สูง 3(3-0-9)
QEA700 การสอบวัดคุณสมบัตขิ ้อเขยี น 6 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3(3-0-9)
QEA701 การสอบวัดคณุ สมบัตปิ ากเปลา่ 6 ACTXXX วชิ าเลือก
ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 6 ACTXXX วิชาเลือก NC
ACT898 วิทยานิพนธ์ 6 ACTXXX วิชาเลอื ก NC
6 ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน
ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน 6 QEA700 การสอบวดั คณุ สมบตั ขิ อ้ เขยี น 6
ACT898 วทิ ยานพิ นธ์ QEA701 การสอบวดั คุณสมบตั ปิ ากเปล่า
ปี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 6
ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ACT899 วทิ ยานิพนธ์
ACT898 วิทยานิพนธ์ ปี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 6
ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 ACT899 วทิ ยานิพนธ์
ACT898 วิทยานพิ นธ์ ปี 2 ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน 6
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น ACT899 วิทยานิพนธ์
ACT898 วทิ ยานพิ นธ์ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 6
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ACT899 วทิ ยานพิ นธ์
ACT898 วิทยานิพนธ์ ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 2 6
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ACT899 วทิ ยานพิ นธ์
ACT898 วิทยานพิ นธ์ ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น
ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน ACT899 วิทยานิพนธ์
ACT898 วทิ ยานิพนธ์

มคอ.2 15

3.1.5 คำอธบิ ายรายวิชา

ACT602 การอา่ น เขียน และนำเสนอทางวิชาการระดบั นานาชาติ NC

(International Academic Reading, Writing and Presentation)

หลักการ เทคนิคการอ่าน การเขียนวิทยานิพนธ์ งานวิจัย ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ และการ

นำเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ ทักษะการวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานทางวิชาการ ขั้นตอนในการ

นำเสนอผลงาน ประเด็นที่กำลังเป็นที่สนใจ กรณีศึกษาในการอ่าน เขียน และนำเสนอผลงานวิชาการจากหนังสือ

งานวิจยั วารสารทางวชิ าการระดบั นานาชาติ รวมทงั้ จรรยาบรรณและจรยิ ธรรมทางวชิ าการ

ACT603 การบญั ชีรว่ มสมัย NC

(Contemporary Accounting)

ประเด็นร่วมสมัยเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีทางการบัญชีการเงิน การบัญชีบริหาร การสอบบัญชีและ

การตรวจสอบภายใน ระบบสารสนเทศทางการบัญชี การรายงานทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูล ปัญหาและแนว

ปฏิบัติทางการบญั ชี ศึกษาจากกรณศี ึกษา บทความวชิ าการ ผลงานวิจัยทางการบญั ชีในประเด็นปัจจุบัน

ACT606 สถติ ิขั้นสูงเพื่อการวิจัย NC

(Advanced Statistics for Research)

แนวคดิ หลกั การ กระบวนการ ประโยชน์ การประยกุ ต์ใช้ ข้อจำกัดในการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ

และการวิจัยเชิงคณุ ภาพ การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตวั แปร การใช้ตัวแปรหุ่น การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การ

วิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติกส์ การ

วิเคราะห์ปัจจัย การวิเคราะห์จำแนกประเภท การวิเคราะห์ดิสคริมิแนนต์ การวิเคราะห์กลุ่มระดับการวัดหลายมิติ

การเปรียบเทียบการทดสอบที่ใช้พารามิเตอร์และไม่ใช้พารามิเตอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยสมการโครงสรา้ ง และการ

ประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู ในการวเิ คราะหว์ ิจยั ทางการบัญชี

ACT710 ระเบียบวธิ วี จิ ยั ทางการบัญชีขัน้ สงู 3(3-0-9)

(Advanced Research Methodology in Accounting)

ความสำคัญของการวิจัย ประเภทของการวิจัย การกำหนดชื่อเรื่อง การกำหนดตัวแปร การ

ตั้งสมมติฐาน การเลือกเครื่องมอื ในการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการรวบรวมข้อมูล การประมวลผล

การวเิ คราะห์ข้อมลู การอภปิ รายผลการวิจัย การเขียนรายงาน การเสนอรายงาน จรรยาบรรณของนกั วิจัย ฐานข้อมลู

สำหรับการวิจยั ทางการบญั ชี และการเผยแพร่ผลงานวิจัย

มคอ.2 16

ACT720 สมั มนาการวจิ ัยการบัญชีการเงนิ และการบญั ชีบริหาร 3(3-0-9)

(Seminar in Financial Accounting and Managerial Accounting Research)

วิเคราะห์ทฤษฎี พฒั นาการ การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยการบัญชกี ารเงินและการบญั ชีบริหาร

กรณีศึกษางานวิจยั การบญั ชีการเงินและการบัญชีบรหิ ารในอดีต ปัจจุบนั และอนาคต ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ

การวเิ คราะห์ อภิปรายงานวิจยั การบัญชีการเงนิ และการบญั ชบี รหิ าร การจดั ทำงานวจิ ัยการบัญชีการเงินและการบัญชี

บริหาร และการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย

ACT721 สมั มนาการวิจัยการสอบบัญชีและการตรวจสอบภายใน 3(3-0-9)

(Seminar in Auditing and Internal Auditing Research)

วิเคราะห์ทฤษฎี พัฒนาการ การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยการสอบบัญชีและการตรวจสอบ

ภายในกรณีศึกษางานวิจัยการสอบบัญชีและการตรวจสอบภายในในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งในประเทศและ

ตา่ งประเทศ การวิเคราะห์ อภิปรายงานวิจยั การสอบบัญชแี ละการตรวจสอบภายใน การจัดทำงานวิจัยการสอบบัญชี

และการตรวจสอบภายใน และการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั

ACT722 สมั มนาการวิจัยการวางระบบบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบญั ชี 3(3-0-9)
(Seminar in Accounting System Design and Accounting Information System
Research)
วิเคราะห์ทฤษฎี พัฒนาการ การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยการวางระบบบัญชีและระบบ

สารสนเทศทางการบัญชี กรณีศึกษางานวิจัยการวางระบบบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชีในอดีต ปัจจุบัน
และอนาคต ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การวิเคราะห์ อภิปรายงานวิจัยการวางระบบบัญชีและระบบสารสนเทศ
ทางการบญั ชี การจดั ทำงานวจิ ัยการวางระบบบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี และการเผยแพร่ผลงานวิจัย

ACT723 สัมมนาการวจิ ยั การภาษีอากร 3(3-0-9)

(Seminar in Taxation Research)

วิเคราะห์ทฤษฎี พฒั นาการ การทบทวนวรรณกรรม งานวจิ ยั การภาษีอากร กรณศี ึกษางานวจิ ยั การ

ภาษอี ากร ในอดตี ปจั จุบัน และอนาคต ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ การวเิ คราะห์ อภิปรายงานวิจยั การภาษีอากร

การจัดทำงานวิจยั การภาษอี ากร และการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั

ACT724 สมั มนาการวิจยั การกำกับดแู ลกจิ การ 3(3-0-9)

(Seminar in Corporate Governance Research)

วิเคราะห์ทฤษฎี พัฒนาการ การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยการกำกับดูแลกิจการ กรณีศึกษา

งานวิจัยการกำกับดูแลกิจการ ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การวิเคราะห์ อภิปราย

งานวจิ ยั การกำกบั ดูแลกจิ การ การจดั ทำงานวจิ ยั การกำกบั ดแู ลกจิ การ และการเผยแพร่ผลงานวิจัย

มคอ.2 17

ACT725 สัมมนาหวั ข้อพิเศษในการวิจยั ทางการบญั ชี 3(3-0-9)

(Seminar in Special Topics of Accounting Research)

วิเคราะห์ทฤษฎี พัฒนาการ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การ

วิเคราะห์ อภิปราย งานวจิ ยั การบัญชสี ่ิงแวดล้อม งานวจิ ยั การบัญชภี าษีอากร งานวจิ ัยการบัญชสี หกรณ์ งานวิจัยการ

บัญชีโรงแรม งานวิจัยการบัญชีระหว่างประเทศ งานวิจัยต้นทุน งานวิจัยการบัญชีนิติเวช งานวิจัยการรวมธุรกิจ

งานวิจยั การบญั ชคี รวั เรือน งานวจิ ัยการบญั ชรี ว่ มสมัย การจัดทำงานวิจัย และการเผยแพร่ผลงานวิจยั

QEA700 การสอบวัดคุณสมบัติข้อเขียน NC

(Written Qualifying Examination)

เป็นการสอบวัดความรู้โดยใช้ข้อสอบข้อเขียนซึ่งครอบคลุมรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ (Required

Courses) ที่ได้ศึกษามาแล้ว รวมทั้งทักษะเชิงวิเคราะห์ และศักยภาพในการทำงานวิจัยโดยอิสระ เพื่อแสดงถึง

ศักยภาพและความพร้อมของผู้ที่จะศึกษาในระดับปริญญาดุษฎบี ัณฑติ

QEA701 การสอบวัดคณุ สมบัตปิ ากเปลา่ NC

(Oral Qualifying Examination)

เป็นการสอบวัดความรู้ ทกั ษะความสามารถในการวเิ คราะห์ ศักยภาพในการวิจยั โดยให้นำเสนอและ

ตอบคำถามเชิงลกึ เกีย่ วกับหัวข้อวิจัยต่อคณะกรรมการซ่งึ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวฒุ จิ ากภายในและภายนอก

ACT898 วทิ ยานพิ นธ์ 48 หนว่ ยกติ

(Thesis)

นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ตนสนใจในสาขาวิชา การเขียน หลักการและเหตุผล การเขียนวัตถุประสงค์

ปัญหาการวิจัย ข้อสมมุติฐาน การเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการทำวิจัย การวิเคราะห์ ตลอดจนสรุป

ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ทั้งนี้หัวข้อเรื่องจะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนทำวิทยานิพนธ์

และผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วม

กลั่นกรอง (Peer Review) กอ่ นการตีพมิ พ์ และเปน็ ทีย่ อมรับในสาขาวชิ านัน้

หมายเหตุ : สำหรับแบบ 1 (1.1)

ACT899 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกติ

(Thesis)

นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ตนสนใจในสาขาวิชาเพื่อจัดทำวิทยานิพนธ์อย่างเป็นระบบ และถูกต้องตาม

หลักวิทยาการวิจยั โดยศึกษาการเขียนหลักการและเหตุผล การเขยี นวตั ถุประสงค์ ปญั หาการวจิ ยั ข้อสมมุติฐาน การ

เชอื่ มโยงระหว่างองค์ประกอบตา่ งๆ ในการทำวจิ ยั การวิเคราะห์ ตลอดจนสรปุ ผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ โดยหวั ข้อ

วิทยานิพนธจ์ ะต้องได้รับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งนี้วิทยานิพนธจ์ ะต้องสะท้อนถึงความลุ่มลึกขององค์

ความรู้ทสี่ ามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงวิชาการหรือการประยุกต์ใช้ และผลงานจะต้องได้รบั การตีพิมพ์เผยแพร่ใน

มคอ.2 18

วารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นและมีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer
Review)
หมายเหตุ : สำหรบั แบบ 2 (2.1)

3.2 ชอ่ื สกุล เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหน่งและคณุ วฒุ ิของอาจารย์
3.2.1 อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร

ช่ือ-สกุล/ คุณวฒุ ิ สาขาวชิ าเอก กลุ่ม ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ลำดบั เลขประจำตวั บัตร วิชา วชิ าการ การศึกษา

ประชาชน 2563 2564 2565 2566

1 ดร.มนตรี ชว่ ยชู บช.ด. การบญั ชี - 18 18 18 18

3-1020-01158x-xx-x บช.ม. การบัญชี

บธ.บ. การบัญชี

2 ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์ ปร.ด. การบญั ชี ผศ. 18 18 18 18

3-9106-0002x-xx-x M.B.A. International

Business

Management

บธ.ม. การ

บญั ชี

บธ.บ. การบญั ชี

3 ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒกิ ุล ปร.ด. การบัญชี - 18 18 18 18

3-1021-0148x-xx-x บธ.ม. การบัญชแี ละ

ธุรกจิ ระหว่าง

ประเทศ

น.บ. นติ ิศาสตร์

บธ.บ. การบัญชี

มคอ.2 19

3.2.2 อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร

ลำดับ ช่ือ-สกุล/ คุณวฒุ ิ สาขาวิชาเอก กลุ่ม ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ท่ี เลขประจำตัวบตั ร วชิ า วิชาการ การศึกษา

ประชาชน 2563 2564 2565 2566

1 ดร.มนตรี ช่วยชู บช.ด. การบญั ชี - 18 18 18 18

3-1020-01158x-xx-x บช.ม. การบัญชี

บธ.บ. การบัญชี

2 ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรญู ศักด์ิ ปร.ด. การบญั ชี ผศ. 18 18 18 18

3-9106-0002x-xx-x M.B.A. International

Business

Management

บธ.ม. การ

บธ.บ. บญั ชี
ปร.ด.
บธ.ม. การบัญชี

3 ดร.ประเวศ เพญ็ วุฒกิ ุล การบัญชี - 18 18 18 18
3-1021-0148x-xx-x
การบัญชีและ

ธุรกจิ ระหว่าง

ประเทศ

น.บ. นติ ิศาสตร์
บธ.บ.
ปร.ด. การบัญชี
บธ.ม.
4 ดร.กนกศักดิ์ การจัดการบัญชี - 18 18 18 18
สุขวฒั นาสินิทธ์ิ บช.บ.
3-7208-0002x-xx-x ปร.ด. การ
รอ.ม.
5 ดร.สุรยี ์ โบษกรนฏั บช.บ. บัญชี
3-1016-0073x-xx-x (เกียรติ
นิยมดี) บริหาร
6 อาจารย์กัลยาภรณ์ พบ.ม.
ปานมะเริง บช.บ. การบญั ชี
3-1000-5022x-xx-x
การบญั ชี - 18 18 18 18

การบญั ชี

บริหารธุรกิจ รศ. 18 18 18 18
การบญั ชี

มคอ.2 20

ลำดับ ชอ่ื -สกุล/ คณุ วฒุ ิ สาขาวิชาเอก กลุ่ม ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ท่ี เลขประจำตัวบัตร วชิ า วชิ าการ การศึกษา

ประชาชน 2563 2564 2565 2566

7 ดร.เบญจพร โมกขะเวส บธ.ด. การจดั การ - 18 18 18 18

3-8001-0155x-xx-x บธ.ม. การ

บัญชี

บธ.บ. การบัญชี

4. องคป์ ระกอบเกย่ี วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา)
ไม่มี

5. ขอ้ กำหนดเก่ียวกบั การทำโครงงานหรืองานวิจัย
ข้อกำหนดเฉพาะที่เก่ียวกับการทำวิทยานพิ นธ์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลยั ศรีปทุมว่าด้วยการศกึ ษา

ระดับบัณฑติ ศึกษา
5.1 คำอธบิ ายโดยย่อ
การทำวิจัยวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการบัญชี โดยให้มีการเสนอเค้าโครงการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม และ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเรียบเรียงผลการวิจัยและการเสนอผลการวิจัยในรูป
บทความตพี ิมพ์ ในวารสารหรือเผยแพร่ในการประชุมวิชาการระดบั ชาติหรือนานาชาติ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
1.2.5 มคี วามรู้และทักษะดา้ นการบญั ชี
5.2.2 มีทกั ษะการทำงานดา้ นการวจิ ยั เก่ยี วกบั การบัญชี
5.2.3 มีการพัฒนาด้านทัศนคติ และคุณธรรมของนักศึกษาด้านการวิจัยซึ่งจะส่งผลให้เกิดคุณธรรม

จริยธรรมดา้ นการบริหาร
5.2.4 นักศึกษาผ่านการสอบวิทยานิพนธ์ โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีปทุม

ว่าดว้ ยการศึกษาในระดบั บัณฑติ ศกึ ษา
5.3 ช่วงเวลา
ปกี ารศกึ ษาที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เปน็ ต้นไป
5.4 จำนวนหน่วยกิต
48 หน่วยกิต
5.5 การเตรียมการ
การให้ข้อมูลกรอบของวิทยานิพนธ์และให้นักศึกษาเสนอหัวข้อที่สนใจ โดยมีการให้คำปรึกษา แนะนำ

และชี้ประเด็นที่กำลังเป็นที่สนใจของสังคม หรือประเด็นที่เป็นประโยชน์ในการเสนอแนะด้านการบัญชี จากนั้น
นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาทำงานร่วมกันในการศึกษาวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือ
ตดิ ตามความก้าวหน้าตามข้อกำหนดเปน็ ระยะ ๆ เพ่ือให้การทำวทิ ยานิพนธ์ ทำไดเ้ สร็จตามระยะเวลา

มคอ.2 21

5.6 กระบวนการประเมนิ ผล
กระบวนการประเมินผลงานการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา มีการสอบหรือประเมิน เค้าโครงการวิจัย

การประเมินความก้าวหน้าทุกภาคการศึกษา การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ การประเมินผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
วิทยานิพนธ์ ตามขอ้ กำหนดของคณะบญั ชี มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม

หมวดที่ 4 ผลการเรยี นร้แู ละกลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล

1. การพฒั นาคุณลกั ษณะพิเศษของนกั ศึกษา กลยทุ ธ์หรือกจิ กรรมของนักศึกษา
คุณลักษณะพเิ ศษ ส่งเสริมทักษะการฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยการ
ใช้ตำราภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนและใช้ภาษาอังกฤษ
1.ความสามารถด้านการใช้ภาษาองั กฤษ ในการเขียนและนำเสนอผลงานวจิ ัย
ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวน การเรียนรู้
2. ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และปฏิบัติงาน เช่น การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การใช้บริการ
ห้องสมดุ ผ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ ทัว่ ประเทศ
3. ด้านภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบ และการมวี นิ ยั มกี ารสร้างภาวะความเป็นผูน้ ำในการปฏิบัตงิ านหรือการทำวิจัย
ร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานหรือส่งงาน
4. ดา้ นบุคลิกภาพ และมีกตกิ าในการสรา้ งวนิ ัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงตาม
เวลา
5. ด้านจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ มีการสอดแทรกเรื่องการแต่งกาย การเข้าสังคม การมีมนุษย
6. ดา้ นศักยภาพในการปฏิบตั ิงานจริง สัมพันธ์ที่ดี การเจรจาสื่อสาร และการวางตัวในการทำงาน
ร่วมกับบุคคลอื่นในระหว่างการเรียนรู้ ทั้งทางภาคทฤษฎีและ
[[ การทำการวิจยั
มีการให้ความรู้ถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และข้อ
กฎหมายตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การปฏิบตั ิงานในสาขาวชิ าชพี
การเรียนการสอนมุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเชิง
ลกึ สามารถผลติ งานวิจัยท่ีมีประโยชน์และนำไปประยุกต์ใช้งาน
ได้จริงในเชงิ ปฏิบตั ิ

มคอ.2 22

2. การพฒั นาผลการเรียนร้ใู นแตล่ ะด้าน
2.1 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
2.1.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม มีความตระหนักในคุณค่าของการดำเนินภารกิจที่ส่งผลต่อการ

พัฒนาคุณภาพชีวิต การทำประโยชน์ การป้องกันและการแก้ไขปัญหา และการดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อยา่ งราบร่ืน โดยมคี ณุ สมบัติสรปุ พอสังเขปดงั นี้

(1) มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจรติ สามารถจัดการปัญหาทางคณุ ธรรม จริยธรรมท่ี
ซับซ้อนเชงิ วชิ าการหรอื วชิ าชพี โดยคำนึงถงึ ความถกู ต้องและความรู้สึกของผอู้ นื่

(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของ
องคก์ รและสังคม

(3) ปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณวชิ าชีพและระเบยี บข้อบังคบั ต่าง ๆ ขององค์กรอยา่ งเคร่งครัด
(4)มีความคิดริเริม่ ในการยกปญั หาทางจรรยาบรรณท่มี ีอยู่ เพอ่ื การทบทวนและแก้ไขในทางท่ีถูกต้อง
และเหมาะสม
(5) สามารถใช้การวนิ จิ ฉยั ทางดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการจดั การกบั ขอ้ โต้แยง้ และปัญหาตา่ ง ๆ ท่ี
มผี ลกระทบทั้งต่อตนเองและองค์กร
(6) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ใน
สภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชนท่ีกวา้ งขวางข้นึ
2.1.2 กลยุทธก์ ารสอนทใ่ี ชพ้ ัฒนาการเรียนร้ดู ้านคุณธรรม จริยธรรม
ปลูกฝังให้นักศึกษามรี ะเบยี บวินัยในตนเอง ฝึกฝนภาวะความเปน็ ผู้นำ ผู้ตาม รวมถึงการเคารพสทิ ธิ
และการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นในการปฏิบัติงานเป็นทีมและการทำงานวิจัย มีการสอดแทรกความรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรม ในการเรียนการสอน ทั้งในด้านการดำรงชีวิตอยู่ในสังคม และการประกอบวิชาชีพ โดยเน้นในเรื่อง
จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพเป็นสำคัญ รวมทั้งมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ทางการศึกษาทั้งทาง
ทฤษฎี ทางปฏบิ ัติ และจากการทำวจิ ยั ในการป้องกันและการแก้ไขปัญหาในสังคม ท้งั ในระดับชุมชน ท้องถิ่น และใน
ระดบั ทส่ี ูงขึน้
2.1.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม
มีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งระหว่างกำลังศึกษา และภายหลังสำเร็จ
การศึกษา ด้วยวิธีการตา่ ง ๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การใช้แบบสอบถาม แบบประเมิน และ
แบบวดั ผล โดยประเมนิ จากหลาย ๆ ดา้ น ดงั น้ี
- ประเมนิ จากการมวี ินยั ในการเรียน การตรงตอ่ เวลา
- ประเมินจากความรับผดิ ชอบในการทำงาน การปฏิบัติงานเป็นทีม การทำงานวิจัย หรอื การเข้าร่วม
กจิ กรรมในการใช้องคค์ วามรู้ทางการศึกษาเพอ่ื ทำประโยชน์ตอ่ สังคม
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ และจรรยาบรรณในการทำงานวิจัย การเขียนบทความวิชาการ และใน
การสอบ
- ผเู้ รียนประเมินตนเอง และประเมนิ โดยเพือ่ นและอาจารย์ โดยใช้แบบประเมินและแบบวัดผล

มคอ.2 23

- ภายหลังสำเร็จการศกึ ษา ให้ดุษฎีบณั ฑิตประเมินตนเอง ประเมนิ จากผู้ใช้ดษุ ฎีบัณฑิตหรือนายจ้าง
โดยใช้แบบสอบถาม และ/หรือการสมั ภาษณ์

2.2 ด้านความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
นักศึกษามีความรู้และเชี่ยวชาญทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษา

นั้นต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคมดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมส่ิง
ต่อไปนี้

(1) มีความรูแ้ ละความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาบัญชี ตลอดจนหลักการและ
ทฤษฎีทส่ี ำคญั และนำมาประยุกต์ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ทางวิชาการหรือการปฏบิ ัติในวิชาชพี

(2) มีความเข้าใจทฤษฎีในสาขาวิชา การวิจัย และการปฏิบัติทางวิชาชีพในแขนงวิชาเฉพาะต่าง ๆ
อย่างลกึ ซึ้งในระดบั แนวหน้า

(3) มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อ
การปฏิบัติในงาน

(4) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สะสมองค์ความร้จู ากงานวจิ ัยเพือ่ เชือ่ มโยงกับ
การบรหิ ารบญั ชี การป้องกันและการแกไ้ ขปัญหาในสังคมวิชาการหรือสังคมแหง่ ความรู้ ในระดับท่ีสงู ข้ึน

(5) มีความแข็งแกร่งทางวิชาการ และมีความสามารถที่จะพึ่งตนเองได้ในอนาคต มีศักยภาพในการ
บรกิ ารวิชาการทเ่ี ชื่อมโยงกับการบญั ชี

(6) มคี วามรแู้ ละเข้าใจในระเบยี บข้อบังคับทมี่ ีใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมในระดบั ชาติและนานาชาติ ท่ีมี
ผลกระทบตอ่ สาขาวชิ าชีพทง้ั เหตผุ ลและการเปลย่ี นแปลงที่อาจเกดิ ขึ้นได้ในอนาคต

(7) เป็นนกั วจิ ัยที่มีคุณภาพ มีผลงานทางวชิ าการทไ่ี ด้รบั การยอมรับในระดบั สากล
2.2.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นความรู้

เป็นการจดั การเรยี นรโู้ ดยผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง และมุง่ เนน้ ใหน้ ักศึกษามีความรคู้ วามเข้าใจศาสตร์ใน
เชิงลึก ผสมผสานให้นำไปสู่วิธีการดำเนินการที่เป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยใช้วิธีการเรียนการสอนในหลากหลาย
รูปแบบ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง การ
เรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้จากสถานการณ์จริง มีการเรียนรู้ทั้งในชั้นเรียน การทำวิจัย
และการนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการทำประโยชน์ต่อชุมชน ทอ้ งถน่ิ และในระดับทสี่ ูงข้นึ รวมถึงการทำวิทยานิพนธ์
และส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพึง่ ตนเองได้ มีอิสระในการแสวงหาความรูโ้ ดยไม่ยึดติดกับการรับข้อมูลจากผู้สอนเพียง
วิธีเดียว เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้เกิดการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจด้วยตนเอง เช่น ให้มีการนำเสนองาน
การรว่ มแสดงความคดิ เหน็ การตอบคำถาม เพื่อสนบั สนุนให้นกั ศกึ ษาคิดเป็นและมีนิสัยใฝ่รู้

2.2.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรูด้ า้ นความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาให้ครอบคลุมในทุกด้าน นักศึกษา

จะถูกประเมินในแต่ละรายวิชาที่เรียนโดยการทดสอบย่อย การสอบปลายภาค รวมถึงการประเมินในด้านที่เกี่ยวข้อง
กับการทำวิทยานิพนธ์ การนำเสนอผลงาน การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ การสอบประมวลความรู้ การสอบ
วดั คุณสมบัติ การวางแผน การทำวิทยานพิ นธ์ การนำเสนอวทิ ยานพิ นธ์ และการสอบวทิ ยานิพนธ์

มคอ.2 24

2.3 ด้านทกั ษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะทางปญั ญา
นักศึกษามีวิจารณญาณในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ โดยใช้องค์ความรู้ทาง

วิชาชีพที่เรียนมาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เทคโนโลยี นวัตกรรม และประสบการณ์จริง มาบูรณาการใช้ในการ
แก้ไขปัญหา การเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และเป็น
ประโยชนท์ ้ังต่อตนเองและสังคม ดังนี้

(1) สามารถใชค้ วามรูท้ างทฤษฎีและปฏบิ ัติในการคดิ วิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ และจดั การบริบทใหม่
ทางวชิ าการและวชิ าชพี ในการพฒั นาและสร้างสรรคเ์ พือ่ ตอบสนองประเดน็ ปัญหาทางด้านบัญชอี ย่างเหมาะสม

(2) สามารถสบื คน้ ข้อมูลผลงานวิจัย ส่ิงตีพมิ พ์ทางวิชาการ หรือรายงานทางวชิ าชีพ จากแหล่งข้อมูล
ท่หี ลากหลาย สงั เคราะห์ และนำไปใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาความคิดใหม่ ๆ โดยการบูรณาการแนวคิดต่าง ๆ ทั้งจาก
ภายในและภายนอกสาขาวชิ า

(3) สามารถประยุกตใ์ ชก้ ระบวนการทางสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การวจิ ัย นวตั กรรม และสามารถ
ประยุกตใ์ ช้องค์ความรู้ ไปสกู่ ระบวนการปฏิบตั ิ ไดอ้ ย่างเหมาะสมและสรา้ งสรรค์

(4) สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจดำเนินการหรือแก้ไขปัญหาได้ ในสถานการณ์ที่มีข้อมูล
ประกอบไม่เพียงพอ

(5) สามารถออกแบบและดำเนินการโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนท่ี
เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ปรับปรุงแนวปฏิบัติในการบริหารงานด้านบัญชี ได้อย่างมีนัยสำคัญและสามารถ
ผลิตผลงานทางวชิ าการและงานวิจยั ในระดับชาติ และนานาชาติ

2.3.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทีใ่ ชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
ใช้หลกั การสอนท่ีเน้นให้ผู้เรยี นได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหา มคี วามสามารถในการเรียนรู้

ด้วยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์
ทางด้านต่างๆ กับสถานการณ์จริง โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษามีความ
พร้อมในการปรับตัวได้ และสามารถแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตได้อย่างเหมาะสม อาจารย์ผู้สอนในแต่ละ
รายวชิ าอาจตงั้ ปญั หาปลายเปิดหรือโจทยใ์ หว้ เิ คราะหห์ าเหตุผล หรอื หาคำตอบ โดยใหน้ ักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วย
ตนเอง โดยยดึ หลักการของเหตแุ ละผลหรือทฤษฎีที่สามารถอ้างองิ ได้

2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะทางปญั ญา
ประเมินทักษะทางปัญญา ได้จากการแสดงออกทางการกระบวนการคิด และการแก้ไขปัญหา ผล

การปฏิบัติงาน ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู้ การเขียนบทความวิชาการ การทำวิทยานิพนธ์ การนำเสนอผลงาน
การอธิบาย การตอบคำถาม การโตต้ อบสอ่ื สารกับผอู้ นื่

มคอ.2 25

2.4 ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรูด้ ้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ
นกั ศึกษามีปฏสิ มั พนั ธ์อย่างสรา้ งสรรค์ สามารถปรับตวั ให้เข้ากับกลุม่ คนตา่ ง ๆ ได้ มีความเคารพและ

ยอมรบั ความแตกต่างระหว่างบุคคลและสงั คม สามารถวางตวั ได้อย่างเหมาะสมท้ังกับผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้บังคับ
บัญชา สามารถแสดงออกซึ่งความสามารถในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของ
ผู้นำและผู้ตามได้ กล้าแสดงออกและมีความคิดริเริ่มในการแสดงประเด็นใหม่ ๆ ในการทำงานหรือแก้ไขสถานการณ์
โดยการนำความรทู้ ่เี รยี นมาคดิ วเิ คราะห์และประยกุ ต์ใชอ้ ย่างเป็นระบบ มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าท่ี เรยี นร้แู ละ
พัฒนาตนเอง วิชาชพี และสังคมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังนี้

(1) มีระเบยี บวนิ ัย มคี วามรบั ผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ทั้งต่อหน้าที่ องค์กร วิชาชีพ และ
สังคม

(2) สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเอง
และองคก์ รไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

(3) มคี วามรบั ผิดชอบในการพฒั นาความรูข้ องตนเอง องคก์ ร วิชาชีพ และสงั คม และมีความสามารถ
สูงในการแสดงความเห็นทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความ
ซบั ซอ้ นสูงมากดว้ ยตนเอง และเปล่ยี นแปลงสงั คมในประเด็นท่ีเหมาะสม

(4) สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ
และมีปฏสิ มั พันธอ์ ย่างสรา้ งสรรค์กับผูร้ ว่ มงานและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี

(5) แสดงภาวะการเปน็ ผนู้ ำทีโ่ ดดเด่นในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีม และภาวะการเปน็ ผตู้ ามใน
ทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม และสามารถแก้ไข
ข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ

(6) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อ
สงั คม

2.4.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาการเรยี นร้ดู า้ นทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและ
ความรับผดิ ชอบ

เน้นการเรียนการสอนที่เน้นทักษะในการเรียนรู้และการปฏิบัติงานเป็นทีม การแสดงออกถึงภาวะ
ความเป็นผูน้ ำและผู้ตามที่ดี การมีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดีกับผู้รว่ มงาน การวางตัวทีเ่ หมาะสมต่อกาลเทศะ การทำกิจกรรม
เพื่อสังคม การประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา และความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย

2.4.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในหลาย ๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรมการเรียน

การสอน เช่น พฤติกรรมความสนใจ ตั้งใจเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง การแสดงบทบาทภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี
ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย การทำวิทยานิพนธ์
การนำเสนอผลงาน และการรว่ มทำกจิ กรรมเพื่อสงั คม

มคอ.2 26

2.5 ด้านทกั ษะในการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรียนรูด้ ้านทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ในการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ใน
การเรียนการสอน การปฏิบัติงาน และการทำงานวิจัยได้ สามารถเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี
และรจู้ ักนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อสังคม มีทักษะในการสื่อสารทง้ั การพูด ฟงั อ่าน และเขียน ทั้ง
เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี และมีทักษะในการนำเสนอผลงาน โดยจัดทำงานนำเสนอและเลือกใช้
ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม ดังน้ี

(1) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา
เชือ่ มโยงประเด็นปัญหาท่ีสำคัญและซับซ้อน และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้าน
การบริหารบัญชี ไดเ้ ปน็ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

(2) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสทิ ธภิ าพ

(3) สามารถส่ือสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพทั้งการพดู การอา่ น การฟัง
การเขียน และการนำเสนอ และสื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนทั่วไปได้
อย่างเหมาะสม

(4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำวิจัย การนำเสนอรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือ
โครงการค้นคว้าที่สำคัญ ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ รวมถึงการตีพิมพ์ผ่านสื่อทางวิชาการและ
วชิ าชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

2.5.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้ในการพัฒนาการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร
และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะต้องส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึก
ทักษะทั้งด้านการวิเคราะห์ นกั ศึกษาจะไดร้ บั มอบหมายให้ทำแบบฝึกหดั หรอื โจทยว์ ิจยั อย่างตอ่ เนือ่ ง โดยมีโอกาสได้
วิเคราะห์ปญั หาจากโจทย์ที่ง่ายและเพิ่มความซับซ้อนขึ้นเป็นลำดับ การเรียนในทกุ วชิ าโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงวชิ าสมั มนา
นักศึกษาจะได้ฝึกทักษะการสื่อสารทุกด้าน ตัวอย่างเช่น การนำเสนอผลลัพธ์จากโจทย์ที่ได้รับมอบหมายหรือการ
นำเสนอความก้าวหนา้ ของงานวจิ ัย โดยเบ้ืองต้นจะเปน็ การนำเสนอหนา้ ชั้นเรียน และหากงานวิจยั มีความก้าวหน้าใน
ระดับที่น่าพอใจ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะมอบหมายให้นักศึกษาได้นำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทาง
วิชาการต่อไป นอกจากนี้นักศึกษาจะได้ฝึกการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการค้นคว้าวิจัย การ
นำเสนอผลงานในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับอาจารย์
หรือนกั ศึกษาต่างสถาบันทมี่ ีความสนใจในการทำวิจยั ในด้านเดยี วกัน

2.5.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนองานโดยใช้แบบประเมินทักษะในด้าน
ต่างๆ การทดสอบความรู้และเทคนคิ การวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใชโ้ จทย์ทสี่ มมุติข้ึน หรือแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจริงใน

มคอ.2 27

ธุรกิจ รวมถึงการแก้ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับงานวจิ ัยของนักศึกษา ทั้งนี้จะทำการประเมินตั้งแต่เริม่ ต้นจนถงึ ขั้นตอนการ
เขยี นรายงาน และการนำเสนอผลงาน

3. ผลการพัฒนาผลการเรียนรู้
3.1 ผลการพัฒนาการเรยี นรูต้ ามหลักสตู ร (PLO)
1. PLO1 พัฒนาการใช้องค์ความรูแ้ ละกลยทุ ธใ์ นศาสตรด์ ้านบัญชเี พ่ือเชื่อมโยงธรุ กจิ
2. PLO2 ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่อื งานด้านบญั ชีให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด
3. PLO3 พฒั นาศาสตรด์ า้ นบัญชีในงานวจิ ัยในภาคธุรกจิ
4. PLO4 แสดงถึงความมจี รยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ

3.2 ผลการพฒั นาการเรียนรูย้ ่อยของหลกั สูตร (SubPLO)
1. PLO1 พัฒนาการใช้องค์ความรแู้ ละกลยุทธ์ในศาสตรด์ ้านบัญชีเพื่อเช่อื มโยงธรุ กิจ
PLO1 Sub1 : สามารถอธิบายและนำองค์ความรู้และกลยุทธ์ในศาสตร์ด้านบัญชีเพื่อเชื่อมโยง

ธรุ กิจได้
PLO1 Sub2 : สามารถนำองค์ความรู้และกลยุทธ์ในศาสตร์ด้านบัญชีเพื่อเชื่อมโยงธุรกิจมา

ประยกุ ตใ์ ช้ได้
PLO1 Sub3 : สามารถนำองค์ความรู้และกลยทุ ธ์ในศาสตร์ด้านบัญชีเพื่อเช่ือมโยงธรุ กิจมาพัฒนา

ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทต่าง ๆ ได้
2. PLO2 ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ พอื่ งานด้านบญั ชใี ห้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
PLO2 Sub1 : สามารถเขา้ ใจเทคโนโลยสี มัยใหม่เพือ่ งานด้านบัญชี
PLO2 Sub2 : สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยีสมัยใหมเ่ พือ่ งานด้านบญั ชีให้ภาคธรุ กิจ
PLO2 Sub3 : สามารถประยุกตเ์ ทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ พือ่ งานดา้ นบญั ชใี ห้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
PLO2 Sub4 : สามารถเชื่อมโยงการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ต่าง ๆ เพื่องานด้านบัญชีให้เกิด

ประโยชน์สูงสดุ
3. PLO3 พฒั นาศาสตร์ด้านบัญชใี นงานวจิ ัยในภาคธุรกิจ
PLO3 Sub1 : สามารถเขา้ ใจและอธบิ ายศาสตรด์ า้ นบัญชีในงานวจิ ยั
PLO3 Sub2 : สามารถแสดงรปู แบบศาสตรด์ ้านบัญชีในงานวิจยั
PLO3 Sub3 : สามารถประยุกตศ์ าสตร์ดา้ นบัญชีในงานวิจยั เพ่ือสรา้ งองค์ความรใู้ หม่
PLO3 Sub4 : สามารถเช่อื มโยงและพัฒนาศาสตร์ดา้ นบญั ชีในงานวิจัยเพื่อนำไปใช้ในภาคธุรกจิ
4. PLO4 แสดงถึงความมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชพี
PLO4 Sub1 : ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
PLO4 Sub2 : สามารถวเิ คราะห์ปัญหาด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
PLO4 Sub3 : สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านบัญชีอย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการ

ประกอบอาชพี
PLO4 Sub4 : สามารถเปน็ แบบอย่างของความจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ

มคอ.2 28

3.3 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนร้ตู ามหลกั สตู ร
• ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผิดชอบรอง

Knowledge ID 1. คุณธรรมจรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทกั ษะความ 5. ทักษะการ

สัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคล วิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข

และความรับผิดชอบ การส่อื สารและ

เทคโนโลยี

สารสนเทศ

Program Learning Outcome 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4

PLO1 พัฒนาการใช้องค์ความรู้และ o o • o o • • o o • o o o • o o • o • o o o o • o • o o
ก ล ย ุ ท ธ ์ ใ น ศ า ส ต ร ์ ด ้ า น บ ั ญ ช ี เ พ่ื อ

เช่ือมโยงธรุ กิจ

PLO2 ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ • o o • o o o • • o o • • o o • o o o • o o • o o o o •
เพ่อื งานดา้ นบัญชีให้เกิดประโยชน์

สงู สุด

PLO3 พัฒนาศาสตรด์ า้ นบัญชใี น o o•o o o o • • o o o o o • o o o o o o • o o o o • o
งานวิจยั ในภาคธุรกจิ

PLO4 แสดงถงึ ความมีจริยธรรมและ o • o o • o o • o o • • o • • o o • o o • o o o • • o o
จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ

มคอ.2 29

3.3 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลกั สตู รสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)
• ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรบั ผิดชอบรอง

5. ด้านทักษะ

4. ด้านทกั ษะ การวิเคราะห์

รายวิชา 1.ดา้ นคณุ ธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ด้านทักษะทาง ความสมั พันธ์ระหวา่ ง เชิงตวั เลข การ
จริยธรรม ปัญญา บคุ คลและความ สอื่ สาร และการ

รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ

1234561234567123451234561234

ACT602 การอา่ น เขยี น และนำเสนอทางวิชาการ    •        •      •     •    • 

ระดบั นานาชาติ

ACT603 การบัญชรี ่วมสมยั •••••

ACT606 สถิติขน้ั สงู เพ่ือการวิจยั •••••

ACT710 ระเบยี บวธิ วี ิจัยทางการบญั ชีขนั้ สูง •• • • •••• •
ACT720 สมั มนาการวิจัยการบญั ชกี ารเงินและการ
•• • •  •• •• •

บญั ชีบริหาร

ACT721 สัมมนาการวจิ ยั การสอบบัญชแี ละการ •• • •  •• •• •

ตรวจสอบภายใน

ACT722 สมั มนาการวิจยั การวางระบบบญั ชีและระบบ     •   •  •     •   •    • •  • •  

สารสนเทศทางการบัญชี

มคอ.2 30

รายวชิ า 1.ดา้ นคุณธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ด้านทกั ษะทาง 4. ด้านทกั ษะ 5. ด้านทกั ษะ
จริยธรรม ปัญญา ความสมั พันธ์ระหว่าง การวเิ คราะห์
ACT723 สมั มนาการวิจยั การภาษอี ากร เชิงตัวเลข การ
ACT724 สัมมนาการวจิ ัยการกำกบั ดูแลกจิ การ บคุ คลและความ สื่อสาร และการ
ACT725 สัมมนาหัวข้อพิเศษในการวจิ ัยทางการบัญชี รับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี
QEA700 การสอบวดั คุณสมบัตขิ ้อเขียน สารสนเทศ
QEA701 การสอบวดั คณุ สมบัติปากเปลา่
ACT898 วิทยานิพนธ์ 1234561234567123451234561234
ACT899 วิทยานพิ นธ์
•• • •  •• •• •

 •• • •  •• •• •

•• • •  •• •• •

••••••••

•••••••

•••••••••••••••••••

•••••••••••••••••••

มคอ.2 31

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมินผลนกั ศกึ ษา

1. กฎระเบียบหรือหลกั เกณฑ์ในการให้ระดบั คะแนน (เกรด)
เปน็ ไปตามขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยศรีปทุมว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา (ภาคผนวก ค)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศกึ ษา
การกำหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดขึ้นเพื่อแสดงหลักฐานยืนยันหรือ

สนับสนุนว่านักศึกษาและดุษฎีบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้าน เป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน
มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าการบญั ชี เปน็ อยา่ งนอ้ ย

2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรูข้ ณะนกั ศึกษายังไมส่ ำเร็จการศกึ ษา
การทวนสอบในทุกรายวิชา ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การสัมมนา การทำวิทยานิพนธ์ จะต้อง

สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยใหเ้ ป็นความรับผดิ ชอบของอาจารยผ์ ู้สอนในการออกข้อสอบ
หรือกำหนดกลไกและกระบวนการสอบ และมีการประเมินแผนการสอนสัมพันธ์กับการประเมินข้อสอบ การ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนจากผลการสอบ โดยคณะกรรมการประจำหลักสูตร และ/หรือ
คณะกรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิท้ังจากภายในและภายนอกสถาบนั รวมถึงการประเมินอาจารย์ และการประเมนิ ผล
การเรียนการสอนโดยนักศึกษาเอง ส่วนการทวนสอบในระดับหลักสูตร ให้มีระบบประกันคุณภาพภายในของ
สาขาวิชา ระบบประกันคุณภาพภายในระดับคณะ และระบบประกันคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย เพื่อ
ดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรแู้ ละรายงานผล

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา เน้นการทำวิจัยสัมฤทธิผลของ

การประกอบอาชีพ โดยทำการวิจัยอย่างต่อเนื่อง แล้วนำผลที่ได้มาเป็นข้อมูลในการประเมินคุณภาพของ
หลักสูตร การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน โดยมีหัวข้อการทวนสอบมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ ดงั ต่อไปน้ี

(1) สภาวะการไดง้ านทำหรือศึกษาต่อของดุษฎีบัณฑิต ประเมนิ จากการไดง้ านทำหรอื ศึกษาต่อตรงตาม
สาขาหรือในสาขาทีเ่ ก่ยี วข้อง และระยะเวลาในการหางาน โดยทำการประเมนิ จากดุษฎีบัณฑิตแต่ละรุ่นท่ีสำเร็จ
การศกึ ษา

(2) ตำแหนง่ งานและความก้าวหน้าในสายงานของดุษฎีบัณฑิต
(3) ความพงึ พอใจของดุษฎีบัณฑิต ตอ่ ความรู้ความสามารถท่ีได้เรยี นร้จู ากหลักสตู ร ที่ใชใ้ นการประกอบ
อาชพี หรอื ศกึ ษาต่อ พรอ้ มกบั เปิดโอกาสใหม้ ีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรงุ หลักสตู รใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้
(4) เพื่อสังคมความพึงพอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อ
สงิ่ ท่ีคาดหวังหรือตอ้ งการจากหลกั สูตรในการนำไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการ

มคอ.2 32

(5) ความเหน็ และข้อเสนอแนะจากอาจารย์พเิ ศษและผูท้ รงคุณวฒุ ิภายนอกต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษา
ของดุษฎีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการปรับปรุงหลักสูตร ให้มี
ความเหมาะสมกับสถานการณท์ างการศึกษา ภาคอุตสาหกรรมและสังคมในปัจจบุ ันมากยง่ิ ขนึ้

(6) ผลงานของนักศกึ ษาและดษุ ฎีบณั ฑิตที่สามารถวดั เป็นรปู ธรรมได้ เชน่
- จำนวนผลงานวิจัยท่ีเผยแพร่
- จำนวนบทความวิชาการที่เผยแพร่
- จำนวนกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและประเทศชาติ
- จำนวนกิจกรรมอาสาสมคั รในองค์กรที่ทำประโยชน์

3. เกณฑก์ ารสำเรจ็ การศกึ ษาของหลกั สูตร
แบบ 1 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำ

วิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่สถาบัน
อดุ มศึกษานน้ั แต่งตัง้ ซงึ่ จะตอ้ งประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวุฒจิ ากภายในและภายนอกสถาบนั และต้องเปน็ ระบบเปิด
ให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่าง
น้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ อย่างน้อย
2 เร่อื ง ท้งั น้ี ขน้ึ อยู่กับดลุ ยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลักสตู รฯ

แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำ
กว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผา่ นการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดย
คณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอก
สถาบนั และต้องเป็นระบบเปิดใหผ้ สู้ นใจเข้ารับฟงั ไดส้ ำหรับผลงานวิทยานิพนธห์ รือสว่ นหน่ึงของวิทยานิพนธ์ต้อง
ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตาม
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการ ทง้ั น้ี ขึน้ อย่กู ับดลุ ยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รฯ

มคอ.2 33
หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์

1. การเตรยี มการสำหรบั อาจารยใ์ หม่
มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะและ

หลกั สูตรที่สอน โดยสาระประกอบด้วย
- บทบาทหน้าทข่ี องอาจารยใ์ นพันธกจิ ของมหาวทิ ยาลัย
- สิทธผิ ลประโยชน์ของอาจารย์ และกฎระเบยี บต่าง ๆ
- หลักสูตร การจดั การเรยี นการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ ของหลกั สตู รสาขาวชิ า
- บทบาทและหนา้ ที่ของการเป็นอาจารย์ท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธท์ ี่ดีและมอี าจารยท์ ี่มปี ระสบการณ์เป็น

อาจารย์พี่เลี้ยง โดยมีหน้าที่ให้คำแนะนำและการปรึกษาเพื่อเรียนรู้และปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ใน
สาขาวิชาฯ ตลอดจนการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ มีการนิเทศการสอนทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ทิ ี่
ต้องสอน และมีการประเมนิ และติดตามความกา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั ิงานของอาจารย์ใหม่

2. การพัฒนาความรแู้ ละทักษะใหแ้ กค่ ณาจารย์
2.1 การพฒั นาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
(1) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ดา้ นวชิ าการ ในกรณีการเรียนรู้แบบ

บูรณาการ เพอ่ื สง่ เสริมการสอนและการวจิ ยั อยา่ งต่อเนื่องทัง้ อาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับสนุนด้าน
การศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศ
และ/ หรือต่างประเทศ การลาเพ่ือเพ่ิมพูนความรแู้ ละประสบการณ์

(2) การเพิ่มพนู ทักษะการจัดการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผลให้ทนั สมัย
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชพี ดา้ นอื่น ๆ

(1) การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชมุ ชนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการพัฒนาความรแู้ ละคุณธรรม
(2) มกี ารกระตุ้นอาจารย์พฒั นาผลงานทางวชิ าการสายตรงในสาขาวิชา
(3) ส่งเสริมการทำวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่ การพัฒนาการเรียนการสอน และการพัฒนาเชี่ยวชาญใน
สาขาวชิ าชพี

มคอ.2 34
หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สูตร

1. การกำกับมาตรฐาน
1) มีการบริหารจัดการหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ประกาศใช้และเป็นไปตาม

กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ตลอดระยะเวลาท่มี ีการจัดการเรียนการสอนในหลกั สตู ร
2) มีการพัฒนาและการประเมินหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด (มคอ.7) และนำข้อมูลที่ได้ไป

ปรับปรุงพัฒนาหลกั สตู รเป็นระยะ ๆ อยา่ งน้อยทกุ 5 ปี
3) มีการดำเนินงานตามตวั บง่ ช้ีผลการดำเนนิ งานของหลกั สูตร ดังนี้
3.1) กำหนดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน

ตดิ ตามและทบทวนการดำเนนิ งานหลักสูตร
3.2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ
3.3) มรี ายละเอยี ดของรายวชิ า และ/หรอื รายละเอียดของประสบการณภ์ าคสนาม ตามแบบ มคอ.

3 และ/หรอื มคอ.4 อยา่ งนอ้ ยก่อนการเปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษาให้ครบทุกวชิ า
3.4) มีการรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและ/หรือรายงานผลการดำเนินการของ

ประสบการณภ์ าคสนาม ตามแบบ มคอ. 5 และ/หรือ มคอ. 6 ภายใน 30 วนั หลังจากสนิ้ สดุ ภาคการศึกษาที่เปิด
สอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า

3.5) มกี ารจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ การของหลกั สูตรตามแบบมคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปี
การศึกษา
2. บณั ฑิต

จัดให้มีระบบกลไกในกระบวนการเรียนการสอนที่เอื้อให้บัณฑิตเกิดการเรียนรู้และมีคุณภาพตาม
มาตรฐานของผลการเรียนรู้ โดยมีการติดตามคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหง่ ชาตหิ รอื มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นอกจากนัน้ มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุนนักศึกษาในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย/
วิชาการทมี่ คี ุณภาพ และได้รบั การตีพิมพ์ เผยแพร่
3. นกั ศึกษา

1) มีกระบวนการรับนักศึกษาที่เหมาะสม โดยมีการกำหนดคุณสมบัติของนักศึกษาและเกณฑ์การ
คดั เลือกไวช้ ัดเจน

2) มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศกึ ษาให้แก่นักศกึ ษา เพ่ือให้นักศกึ ษามคี วามพร้อมในการเรียน การ
ปรบั ตวั และสามารถสำเร็จการศึกษา ได้ตามระยะเวลาของหลกั สูตร

3) มีการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ ความสามารถ และศักยภาพแก่
นักศกึ ษา

มคอ.2 35

4) มีกลไกการกำกับดูแลนักศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษา โดยการกำหนดอาจารยที่ปรึกษาดูแลให้
คำแนะนำและให้คำปรึกษาทางวิชาการ ตลอดจนกำกับดูแลความก้าวหน้าในการศึกษารายวิชา การค้นคว้า
อิสระ และวทิ ยานพิ นธ์

5) มีระบบสารสนเทศที่นักศึกษาสามารถตรวจสอบข้อมูลการเรียน สถานภาพของนักศึกษา เพื่อเป็น
ข้อมลู สำหรับการวางแผนการเรยี น

6) มีการสำรวจข้อมูลการคงอยขู่ องนกั ศึกษา อตั ราการสำเรจ็ การศกึ ษา เพื่อประเมนิ ผลการดำเนินงาน
7) มรี ะบบการจัดการข้อรอ้ งเรยี นของนักศึกษาท่ีมีประสทิ ธิภาพ
4. อาจารย์
1) มกี ลไกการรบั อาจารยใ์ หมท่ ีส่ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ของมหาวทิ ยาลยั
2) มีระบบการบริหาร และระบบการสง่ เสริมและพัฒนาอาจารย์ท่เี หมาะสม และสอดคลอ้ งกับวิสัยทัศน์
และนโยบายของมหาวิทยาลยั และแนวทางของหลักสตู ร
3) มีระบบการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ เพื่อให้อาจารย์มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา และมี
ความกา้ วหนา้ ในการผลติ ผลงานทางวิชาการอยา่ งต่อเนอ่ื ง
4) มกี ารสำรวจข้อมูลอาจารย์ การคงอยูข่ องอาจารย์ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ในการดำเนินงานในสว่ นท่ีเกีย่ วข้อง
5. หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู้ รียน
1) มีกระบวนการออกแบบ/ปรับปรุงหลักสูตร และรายวิชาให้มีความทันสมัย และได้มาตรฐานตาม
เกณฑว์ ชิ าการ/วิชาชพี สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
2) มีการวางแผนการเปดิ รายวชิ าในแต่ละภาคการศกึ ษาให้สอดคล้องตามแผนการเรียน เพอ่ื ให้นักศึกษา
สามารถสำเรจ็ การศึกษาได้ตามระยะเวลาของหลักสตู ร
3) มีการกำหนดอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ
และมกี ารกำกับ ตดิ ตาม รวมท้งั มกี ารตรวจสอบการจดั ทำรายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ.3 มคอ.4)
4) มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชา ประจำภาคการศึกษา ด้วยวิธีการประเมินท่ี
หลากหลาย และจัดทำรายงานผลการจดั การเรียนการสอน (มคอ.5 และ/หรือ มคอ.6 และ มคอ.7)
6. สิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้
มีการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทั้งความพร้อมทางกายภาพ ทางด้านอุปกรณ์
เทคโนโลยแี ละด้านสิ่งอำนวยความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา อาทิเช่น มีการจัดซ้ือ
ตำรา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ์ และวัสดุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ ต่อการ
จัดการเรียนการสอน รวมทั้งมีระบบสารสนเทศ เช่น ระบบการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลผลงานทางวิชาการ
ออนไลนท์ ่ีสง่ เสริมใหน้ ักศกึ ษาสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมูลทีจ่ ำเป็นต่อการเรยี นรู้ เปน็ ตน้

มคอ.2 36

7. ตัวบ่งชผ้ี ลการดำเนนิ งาน (Key Performance Indicators)

ตวั บ่งชผี้ ลการดำเนนิ งาน ปีท1่ี ปที ี่ 2 ปที ่ี 3 ปีท่ี 4 ปีที่ 5
✓✓✓✓
(1) ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 มสี ่วนร่วมในการประชุม ✓ ✓✓✓✓
✓✓✓✓
เพ่ือวางแผน ตดิ ตามและทบทวนการดำเนินการของหลักสตู ร
✓✓✓✓
(2) มรี ายละเอยี ดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2 ทีส่ อดคล้องกบั กรอบ ✓ ✓✓✓✓
✓✓✓✓
มาตรฐานคุณวุฒิแหง่ ชาติ
✓✓✓✓
(3) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม ✓
✓✓✓✓
(ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.3 อย่างนอ้ ยก่อนการเปิดสอนในแตล่ ะภาค ✓✓✓✓
✓✓✓✓
การศกึ ษาให้ครบทุกรายวิชา
✓✓ ✓
(4) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของรายวชิ า ตามแบบ มคอ.5 และ 6 ✓ ✓✓

ภายใน 30 วัน หลังสนิ้ สุดภาคการศึกษาทเี่ ปิดสอนให้ครบทุกรายวชิ า

(5) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน ✓

60 วนั หลังส้ินสุดปีการศกึ ษา

(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นร้ทู ี่ ✓

กำหนดใน มคอ.3 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาทเี่ ปิดสอนในแตล่ ะปี

การศึกษา

(7) มีการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรอื

ประเมินผลการเรยี นรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานท่ีรายงานใน

มคอ.7 ปีท่ีแล้ว

(8) อาจารย์ใหม่ทุกคน (ถ้ามี) ได้รบั การปฐมนเิ ทศหรือแนะนำด้านการ ✓

เรยี นการสอน

(9) อาจารย์ประจำหลักสูตรได้รับการพัฒนาทางวชิ าการ และ/ หรือ วชิ าชีพ ✓

อย่างน้อยปลี ะ 1 คร้ัง

(10) บคุ ลากรสนบั สนุนการเรียนการสอน (ถ้าม)ี ได้รับการพัฒนาทาง ✓

วชิ าการ และ/หรือ วชิ าชพี อย่างน้อยรอ้ ยละ 50 ต่อปี

(11) ระดับความพงึ พอใจของนักศกึ ษาปีสดุ ทา้ ย/บัณฑิตใหม่ต่อคุณภาพ

หลกั สตู ร เฉล่ยี ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0

(12) ระดบั ความพงึ พอใจของผู้ใช้บณั ฑิตทีม่ ีตอ่ บัณฑิตใหมเ่ ฉลีย่ ไม่น้อย

กวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

ผลการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง 2 ปีการศึกษา เพื่อติดตาม
การดำเนนิ ตาม TQF ตอ่ ไป ทง้ั น้ี เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดำเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่างน้อยร้อยละ
80 ของตัวบง่ ช้ีผลการดำเนนิ งานท่ีระบุไว้ในแต่ละปี

มคอ.2 37
หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดำเนนิ การของหลักสูตร

ควรคำนึงถึงประเด็นต่างๆ ในหมวด 1-7 และเชื่อมโยงสู่การประเมินการจัดการเรียนการสอนใน
ประเด็นสำคัญๆ ที่สะท้อนถึงคุณภาพของบัณฑิตที่คาดหวังโดยประเด็นเหล่านี้จะถูกนำมาใช้ในการประเมิน
คุณภาพและมาตรฐานของหลักสูตรเพื่อรับรองมาตรฐาน

1. การประเมนิ ประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมนิ กลยุทธก์ ารสอน
กระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการประเมินและปรับปรงุ ยุทธศาสตรท์ ่ีวางแผนไวเ้ พื่อพฒั นาการเรยี นการสอนน้ัน

พจิ ารณาจากตวั ผ้เู รยี น โดยอาจารย์ผสู้ อนจะต้องประเมนิ ผูเ้ รียนในทุก ๆ หัวขอ้ วา่ มคี วามเขา้ ใจหรือไม่ โดยอาจ
ประเมินจากการทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปรายโต้ตอบจากนักศึกษา การตอบ
คำถามของนักศึกษาในชั้นเรียน ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว ก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องตน้
ได้ว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ หากวิธีการที่ใช้ไม่สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยน วิธี
สอน การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียนจะสามารถช้ีได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ในเนื้อหาท่ไี ด้
สอนไป หากพบว่ามปี ัญหาก็จะตอ้ งมกี ารดำเนนิ การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอนในโอกาสต่อไป

1.2 การประเมนิ ทักษะของอาจารยใ์ นการใชแ้ ผนกลยทุ ธ์การสอน
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรง

ตอ่ เวลา การช้แี จงเปา้ หมาย วัตถปุ ระสงค์รายวิชา ชีแ้ จงเกณฑก์ ารประเมินผลรายวิชา และการใชส้ ่อื การสอนใน
ทกุ รายวชิ า

2. การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม
2.1 ประเมนิ จากนักศกึ ษาและศิษยเ์ กา่
ดำเนินการประเมินจากนักศึกษา โดยติดตามจากผลการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจารยส์ ามารถประเมินผล

การทำงานได้ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการจนถึงขั้นตอนการนำเสนอเป็นรายบุคคล และสำหรับศิษย์เก่านั้นจะ
ประเมนิ โดยใชแ้ บบสอบถามหรืออาจจะจัดประชมุ ศิษย์เกา่ ตามโอกาสท่เี หมาะสม

2.2 ประเมินจากนายจ้างหรือสถานประกอบการ
ดำเนินการโดยการสัมภาษณ์ผู้ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาจากสถานประกอบการ/หน่วยงานราชการ/

สถานศกึ ษาต่างๆ หรอื ใชว้ ธิ ีการส่งแบบสอบถาม
2.3 ประเมนิ โดยผทู้ รงคณุ วุฒหิ รอื ทปี่ รกึ ษา
ดำเนินการโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรือจากข้อมูลในรายงานผลการดำเนินงานหลักสูตร

หรอื จากรายงานของการประเมนิ ผลการประกนั คุณภาพภายใน

มคอ.2 38

3. การประเมินผลการดำเนนิ งานตามท่ีกำหนดในรายละเอียดหลักสตู ร
ประเมินผลการดำเนินงานของหลักสูตรตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในหมวด 7 ข้อ 7 โดย

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน หรือ คณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตร ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง อัน
ประกอบดว้ ย ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายนอกในสาขาวชิ าจำนวน 2-3 คน และ คณบดี รวมทง้ั ผู้อำนวยการหลักสตู ร

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ
จากการรวบรวมข้อมลู การประเมินทั้งหมด จะทำให้ทราบปัญหาของการบริหารหลักสตู รทงั้ ในภาพรวม

และในแต่ละรายวชิ า กรณีทพ่ี บปญั หาของรายวิชากส็ ามารถทจ่ี ะดำเนินการปรบั ปรงุ รายวชิ านั้น ๆ ได้ทันที ซ่ึงก็
จะเป็นการปรับปรุงย่อย ในการปรับปรุงย่อยนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาที่พบปัญหา สำหรับการปรับปรุง
หลักสูตรทั้งฉบับนั้น จะกระทำทุก 5 ปี ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทนั สมัยและสอดคล้องกบั ความต้องการของ
ผู้ใชม้ หาบัณฑติ อยู่เสมอ

เอกสารแนบ
1. ภาคผนวก ก ข้อมูลเกี่ยวกับตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์

ประจำหลักสูตร
2. ภาคผนวก ข ตารางเปรยี บเทียบการปรบั ปรงุ หลกั สูตร
3. ภาคผนวก ค ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั ศรปี ทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา
4. ภาคผนวก ง คำสง่ั แต่งต้ังกรรมการมาตรฐานหลกั สูตร
5. ภาคผนวก จ การพิจารณาของกรรมการมาตรฐานหลักสตู ร

มคอ.2 39

ภาคผนวก ก

ข้อมลู เก่ียวกับตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการบญั ชี

ลำดบั ช่ือ-นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน

หลกั สูตรน้ี หลกั สูตรอ่ืน

1. ดร.มนตรี ช่วยชู บทความวิจยั ACT721 สมั มนาการ ACT632 สมั มนาการ

3-1020-0115x-xx-x - มนตรี ชว่ ยชู เจตรมั ภา พรหมทะสาร และทพิ ยส์ ุดา ทาสดี ำ. (2562). ปัจจัยใน วจิ ัยการสอบบญั ชแี ละ สอบบัญชีและบรกิ าร

อาจารย์ การปฏิบัติงานทมี่ ตี อ่ คณุ ภาพงานสอบบญั ชขี องผูส้ อบบัญชรี บั อนุญาตในประเทศ การตรวจสอบภายใน ให้ความเช่ือมนั่ เชงิ

สาขาวชิ าการบัญชี ไทย. รายงานสบื เนื่อง (Proceedings) การประชมุ วิชาการระดับชาติและ วชิ าชพี

- บช.ด. (การบัญชี) จฬุ าลงกรณ์ ระดบั นานาชาติ เบญจมติ รวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ ครั้งที่

มหาวิทยาลยั , 2540 9/2562, มหาวทิ ยาลยั นอรท์ กรงุ เทพ, วันที่ 28 พฤษภาคม 2562, หน้า 202-

- บช.ม. (การบัญชี) จุฬาลงกรณ์ 209.

มหาวทิ ยาลยั , 2526 - มนตรี ชว่ ยชู ณัฐธยาน์ อธริ ัฐจริ ชัย และมตั ธมิ า กรงเต้น. (2561). ผลกระทบ

- บธ.บ. (การบัญช)ี มหาวิทยาลัย ของระบบการควบคมุ ภายในที่มตี ่อความเสย่ี งด้านเครดิตของธนาคาร พาณชิ ยท์ ่ี

เทคโนโลยรี าชมงคล, 2520 จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย. รายงานสบื เนอื่ ง
- ผู้สอบบัญชรี บั อนญุ าต (Proceedings) การประชุมทางวชิ าการระดับชาติ สาขาบรหิ ารธรุ กิจและการ
- ผสู้ อบบัญชสี หกรณ์ บัญชี ครัง้ ที่ 6, มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย, วนั ท่ี 2 มิถนุ ายน 2561, หน้า 243-
- ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ 254.

- ใบอนญุ าตทนายความ

มคอ.2 40

ลำดับ ชอ่ื -นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
ดร.มนตรี ช่วยชู (ตอ่ )
บทความวิจัย(ตอ่ ) หลักสูตรน้ี หลกั สูตรอน่ื
- มนตรี ช่วยชู อทิรา โสตโยม และสุนนั ทา สภุ พล. (2561). แนวทางการจัดวาง
ระบบการควบคมุ ภายในและการประเมินผลการควบคมุ ภายใน มาตรฐานการ
ตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน ของสว่ นราชการ
ท่ีสง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็ การเป็นองคก์ รท่ีมคี วามเป็นเลิศ ในการบริหารจดั การด้าน
การเงินการคลงั . รายงานสืบเนอ่ื ง (Proceedings) การประชมุ ทางวิชาการ
ระดับชาติ สาขาบริหารธุรกจิ และการบัญชี คร้งั ที่ 6, มหาวิทยาลยั หอการคา้
ไทย, วันท่ี 2 มถิ นุ ายน 2561, หน้า 1083-1091.
- วีรยุทธ สุขมาก ทองเพ็ชร จนั ทะนวิ งศ์ รนกร สุภจนิ ต์ ชัยสรรค์ รงั คะภูติและ
มนตรี ช่วยช.ู (2560). ผลกระทบของการสงั เกตเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชพี ทนี่ ตี ่อ
คณุ ภาพงานสอบบญั ชขี องผสู้ อบบญั ชีสหกรณใ์ นประเทศไทย. รายงานสบื เนื่อง
(Proceedings) การประชมุ ทางวชิ าการระดับชาติ สาขาบรหิ ารธุรกิจและการ
บญั ชี ครงั้ ท่ี 5, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, วนั ท่ี 2-28 พฤษภาคม 2560, หนา้
1520-1529.
- พรรณทพิ ย์ อย่างกล่ัน วลิดา พลาลำ สมชาย เลิศสกลุ ศรี สอนไช สิลาเพด็ และ
มนตรี ช่วยชู. (2560). ผลกระทบของระบบการควบคมุ ภายในตอ่ ความเสี่ยงดา้ น
สนิ เชอื่ ของธนาคารท่จี ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทย. รายงาน
สบื เน่อื ง (Proceedings) การประชุมทางวชิ าการระดับชาติ สาขา
บรหิ ารธรุ กิจและการบญั ชี ครงั้ ที่ 5, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, วันที่ 2-28
พฤษภาคม 2560, หน้า 1713-1723.

มคอ.2 41

ลำดับ ชอ่ื -นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
ดร.มนตรี ชว่ ยชู (ต่อ)
บทความวิจยั (ต่อ) หลกั สูตรน้ี หลักสูตรอืน่
- Athira Sodyom, Titaporn Sincharoonsak, Amara Tirasriwat,
Phassawan Suntraruk and Montree Chuaychoo. (2018). Knowledge of
Oprerations for Government Accounting, Professional Skills, and
Operating Standards Affecting Financial Report Quality of Thai
Government. Proceeding of the 6th International Conference on
Social Science and Management, Hokkaido Japan, on 1-4 May 2018,
p. 311-320.

มคอ.2 42

ลำดบั ชือ่ -นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน

2. ดร.ฐติ าภรณ์ สนิ จรญู ศักดิ์ หลักสูตรน้ี หลกั สตู รอื่น
3-9106-0002x-xx-x
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ บทความวิจัย ACT710 ระเบยี บวธิ ี ACT511 ระเบยี บวิธี
สาขาวชิ าการบญั ชี
- ปร.ด. (การบัญช)ี มหาวิทยาลยั - ภัทรา เตชะธนเศรษฐ์ ฐิตาภรณ์ สนิ จรูญศักดิ์ อมรา ติรศรีวฒั น์ และภาสวรรณ วจิ ัยทางการบญั ชขี น้ั วิจยั ทางการบัญชี
รามคำแหง, 2552
- M.B.A (International สุนทรารกั ษ.์ (2560). ปัจจัยทมี่ ผี ลตอ่ สมรรถนะของผูป้ ระกอบวชิ าชีพบัญชีในเขต สงู
Business Management)
Stamford International กรงุ เทพมหานคร และปรมิ ณฑล. วารสารมหาวทิ ยาลัยคริสเตียน, ปที ่ี 23 ฉบับท่ี
University Thailand, 2014
- บธ.ม. (กลมุ่ วชิ าการบัญชี) 1 มกราคม-มนี าคม 2560, หน้า 81-91.
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม, 2542
- บธ.บ. (การบัญช)ี มหาวทิ ยาลยั - ปฐมชยั กรเลศิ และฐติ าภรณ์ สินจรญู ศกั ด์ิ. (2559). ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
เกริก, 2540
อตั ราสว่ นวเิ คราะห์นโยบายทางการเงนิ กบั การจัดการกำไร : กรณีศกึ ษากลมุ่

อุตสาหกรรมประเภทสนิ คา้ อปุ โภคและบริโภคในบรษิ ทั จดทะเบียนในตลาด

หลักทรพั ย์แห่งประเทศไทย. วารสารมหาวทิ ยาลยั พายัพ, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2

กรกฎาคม-ธนั วาคม 2559, หน้า 165-183.

มคอ.2 43

ลำดับ ช่อื -นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรญู ศักด์ิ (ตอ่ )
บทความวิจยั (ตอ่ ) หลักสูตรนี้ หลกั สตู รอื่น
- อุราภรณ์ รกั มติ ร ฐิตาภรณ์ สนิ จรูญศกั ด์ิ และกนกศักดิ์ สุขวฒั นาสินทิ ธิ์.
(2559). ผลกระทบดา้ นโครงสรา้ งเงนิ ทนุ ทมี่ ีผลตอ่ การจัดการกำไรและส่งผลไป
ยงั ราคาตามบัญชขี องหลักทรัพย์:กรณศี กึ ษากจิ การในหมวดพลังงานและ
สาธารณปู โภคท่จี ดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย.
วารสารวิชาการศรปี ทมุ ชลบรุ ี, ปีท่ี 12 ฉบับท่ี 3 มกราคม-มนี าคม 2559, หน้า
25-32.
- Titaporn Sincharoonsak and Isara Nakavisute. (2019). Cloud
Technology On Accounting. Proceeding of ISERD 161st
International Conference Singapore, On 2-3 May 2019, Singapore,
p. 10-15.
- Onsima Phurahonga, Titaporn Sincharoonsaka, Amara Tirasriwat,
Phassawan Suntraruke and Kanoksak Sukwatanasinit (2019). The
Impact of Artificial Intelligence on the Effects of Seven Accounting
Professional Quotients. Proceedings of the Universal Academic
Cluster International Spring Conferences, 10-12 April 2019, Japan,
p. 193 – 208.

มคอ.2 44

ลำดับ ช่อื -นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรญู ศกั ด์ิ (ต่อ)
บทความวิจัย(ตอ่ ) หลกั สูตรน้ี หลักสูตรอื่น
- Titaporn Sincharoonsak. (2018). The Impact of the Disclosure in the
Annual Report on the Decisions of Investors of Listed Companies in
the Stock Exchange of Thailand. PSAKU International Journal of
Interdisciplinary Research. Volume 7 N0.1 (January-June 2018), p.
141-160.
- Nattaya Atiratjirachai Titaporn Sincharoonsak Amara Tirasriwat
Phassawan Suntraruk and Kalyaporn Pan-Ma-Rerng. (2018). The
Knowledge and Understanding of Accountants towards Exposure
Drafts on Financial Reporting Standard 15: Revenue from contracts
with Customers Proceeding of the 6th International Conference on
Social Science and Management, Hokkaido Japan, May 1-4 2018, p.
290-304.
- Mattima Krongten Titaporn Sincharoonsaka Amara Tirasriwatb
Phassawan Suntrarukc and Phichet Sophaphonga. (2018). The Effect
of Financial Ratios towards the Value of Market Capital in Listed
Firms of the Stock Exchange of Thailand. Proceeding of the 6th
International Conference on Social Science and Management,
Hokkaido Japan, May 1-4 2018, p. 281-289.

มคอ.2 45

ลำดบั ช่ือ-นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรูญศกั ด์ิ (ต่อ)
บทความวจิ ยั (ต่อ) หลกั สตู รน้ี หลกั สูตรอน่ื
- Sunanta Supapon Titaporn Sincharoonsak Amara Tirasriwat
Phassawan Suntraruk and Kanoksak Sukwatanasinit. (2018). The
Relationship between Earnings Quality and Operating Performance
of Listed Firms in the Stock Exchange of Thailand : Pre and Post
Adoption of IAS19 : Employee Benefits. Proceeding of the 6th
International Conference on Social Science and Management,
Hokkaido Japan, May 1-4 2018, p. 321-331.
- Athira Sodyom Titaporn Sincharoonsak Amara Tirasriwat
Phassawan Suntraruk and Montree Chuaychoo. (2018). Knowledge of
Oprerations for Government Accounting, Professional Skills, and
Operating Standards Affecting Financial Report Quality of Thai
Government. . Proceeding of the 6th International Conference on
Social Science and Management, Hokkaido Japan, May 1-4 2018, p.
311-320.

มคอ.2 46

ลำดับ ช่อื -นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน

3. ดร.ประเวศ เพ็ญวฒุ กิ ุล หลกั สตู รนี้ หลักสตู รอื่น
3-1021-01488-42-0
อาจารย์ บทความวจิ ยั ACT725 สมั มนา ACT524 นโยบาย
สาขาวชิ าการบัญชี
-ปร.ด. (การบญั ชี) มหาวทิ ยาลยั - สุพจน์ ปานนอ้ ย เจตรัมภา พรหมทะสาร สุรยี ์ โบษกรนัฏ และประเวศ หัวขอ้ พเิ ศษในการวจิ ยั และการวางแผนภาษี
รามคำแหง, 2556
-บธ.ม. (การบัญชีและธรุ กจิ เพ็ญวุฒกิ ลุ . (2562). ปัจจัยในการปฏิบตั ิงานที่มผี ลตอ่ คณุ ภาพรายงานทางการเงิน ทางการบญั ชี อากร
ระหวา่ งประเทศ) มหาวทิ ยาลัย
สยาม, 2547 ของนกั บัญชใี นเขตกรงุ เทพมหานคร. รายงานสบื เน่ือง (Proceedings) การ
-น.บ. (นิตศิ าสตร์)
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, ประชุมวชิ าการระดบั ชาตวิ ิทยาการจัดการสัมพนั ธ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
2531
-บธ.บ. (การบญั ชี) มหาวทิ ยาลยั อดุ รธานี คร้งั ท่ี 5, มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี, วนั ท่ี 27 มิถุนายน 2562, หน้า
รามคำแหง, 2522
133-140.

- ณฐั ธยาน์ อธริ ัฐจริ ชยั มัตธิมา กรงเต้น สรุ ยี ์ โบษกรนฏั และประเวศ เพ็ญวฒุ ิ

กุล. (2561). ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ราคาหลักทรพั ย์ของบริษทั จดทะเบียนในตลาด

หลกั ทรพั ย์ เอ็ม เอ ไอ. รายงานสบื เน่อื ง (Proceedings) การประชมุ ทาง

วิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกจิ และการบัญชี มหาวทิ ยาลยั หอการคา้

ไทย ครัง้ ที่ 6, มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย, วนั ที่ 2 มถิ ุนายน 2561, หน้า 255-

265.

มคอ.2 47

ลำดับ ชอ่ื -นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
ดร.ประเวศ เพญ็ วุฒกิ ลุ (ต่อ)
บทความวจิ ยั (ตอ่ ) หลักสตู รน้ี หลักสูตรอื่น
- อทริ า โสตโยม สุนนทั า สุภพล สรุ ยี ์ โบษกรนัฏ และประเวศ เพ็ญวฒุ กิ ลุ .
(2561). คุณลกั ษณะผู้ทำบัญชหี น่วยงานของรัฐที่ส่งผลตอ่ คณุ ภาพรายงาน
การเงนิ หนว่ ยงานของรัฐ. รายงานสืบเนอื่ ง (Proceedings) การประชุมทาง
วชิ าการระดบั ชาติ สาขาบรหิ ารธุรกิจและการบญั ชี มหาวทิ ยาลัยหอการค้า
ไทย คร้ังท่ี 6, มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย, วนั ที่ 2 มถิ ุนายน 2561, หนา้ 1092-
1100.
- ชัยสรรค์ รังคะภตู ิ รนกร สภุ จนิ ต์ ทองเพช็ ร จนั ทะนวิ งศ์ วีรยทุ ธ สขุ มาก สุรยี ์
โบษกรนัฏ และประเวศ เพ็ญวฒุ กิ ลุ . (2560). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประสทิ ธภิ าพ
ของระบบสารสนเทศทางการบญั ชีกับผลการดำเนนิ งานทางการเงินและไมใ่ ชท่ าง
การเงนิ ของบริษัทอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพยแ์ ละก่อสรา้ งทจ่ี ดทะเบยี นในตลาด
หลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย. รายงานสบื เนอ่ื ง (Proceedings) การประชมุ ทาง
วชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธรุ กิจและการบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ครง้ั ท่ี 5, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, วันที่ 2-28 พฤษภาคม 2560, หน้า. 329-
338.
-ประเวศ เพญ็ วฒุ กิ ลุ . (2559). การประเมินสมรรถนะของผู้วางแผนภาษธี รุ กจิ
พฒั นาอสังหาริมทรพั ย์ท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทยเพอื่ ใชใ้ น
การออกแบบหลกั สตู ร. รายงานสืบเนื่อง (Proceedings) การประชุมวชิ าการ
ระดับชาติ มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม, วนั ที่ 21 ธนั วาคม 2559, หน้า 1017-1028.

มคอ.2 48

ลำดับ ชอ่ื -นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
ดร.ประเวศ เพญ็ วุฒกิ ุล (ต่อ)
บทความวจิ ยั (ต่อ) หลักสตู รน้ี หลกั สูตรอื่น
- Onsima Phurahong Suree Bosakoranut and Pravas Penvutikul.
(2019). Factors Affecting the Development of Accounting Information
System. Proceedings of the Universal Academic Cluster
International Spring Conferences, 10-12 April 2019 Japan, p. 209 –
223.

มคอ.2 49

ภาคผนวก ก

ข้อมลู เกย่ี วกบั ตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการบัญชี

ลำดับ ชอ่ื -นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน

หลกั สตู รนี้ หลักสูตรอ่นื

1. ดร.มนตรี ชว่ ยชู บทความวจิ ัย ACT721 สมั มนาการ ACT632 สมั มนาการ

3-1020-0115x-xx-x - มนตรี ชว่ ยชู เจตรมั ภา พรหมทะสาร และทพิ ยส์ ุดา ทาสดี ำ. (2562). ปจั จัยใน วจิ ัยการสอบบัญชีและ สอบบญั ชีและบรกิ าร

อาจารย์ การปฏบิ ัตงิ านท่มี ตี ่อคุณภาพงานสอบบญั ชขี องผ้สู อบบัญชรี บั อนุญาตในประเทศ การตรวจสอบภายใน ใหค้ วามเช่ือมนั่ เชงิ

สาขาวชิ าการบัญชี ไทย. รายงานสบื เนอื่ ง (Proceedings) การประชมุ วชิ าการระดับชาติและ วชิ าชพี

- บช.ด. (การบัญชี) จฬุ าลงกรณ์ ระดับนานาชาติ เบญจมติ รวิชาการ มหาวิทยาลยั นอร์ทกรงุ เทพ ครั้งที่

มหาวิทยาลยั , 2540 9/2562, มหาวทิ ยาลัยนอรท์ กรุงเทพ, วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2562, หนา้ 202-

- บช.ม. (การบญั ชี) จุฬาลงกรณ์ 209.

มหาวิทยาลยั , 2526 - มนตรี ชว่ ยชู ณัฐธยาน์ อธริ ัฐจริ ชยั และมัตธมิ า กรงเต้น. (2561). ผลกระทบ

- บธ.บ. (การบัญชี) มหาวทิ ยาลยั ของระบบการควบคมุ ภายในที่มตี ่อความเสี่ยงดา้ นเครดิตของธนาคาร พาณชิ ยท์ ี่

เทคโนโลยีราชมงคล, 2520 จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย. รายงานสืบเน่อื ง
- ผสู้ อบบญั ชีรบั อนุญาต (Proceedings) การประชมุ ทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบรหิ ารธรุ กิจและการ
- ผ้สู อบบัญชีสหกรณ์ บญั ชี คร้งั ที่ 6, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, วันท่ี 2 มิถนุ ายน 2561, หน้า 243-
- ผู้ตรวจสอบกจิ การสหกรณ์ 254.

- ใบอนญุ าตทนายความ


Data Loading...