มคอ.2 บธ.บ.การบริหารและการจัดการสมัยใหม่ บางเขน ว.ชลบุรี และว.ขอนแก่น ปป.2562 อว.รับทราบ วันที่ 27 มี.ค. 63 - PDF Flipbook

มคอ.2 บธ.บ.การบริหารและการจัดการสมัยใหม่ บางเขน ว.ชลบุรี และว.ขอนแก่น ปป.2562 อว.รับทราบ วันที่ 27 มี.ค. 63

112 Views
71 Downloads
PDF 29,050,434 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รายละเอยี ด
หลักสตู รบริหารธรุ กิจบัณฑิต

สาขาวิชาการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่
(หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
มคอ.2

คณะบรหิ ารธุรกจิ
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ บางเขน วทิ ยาเขตชลบุรี

และวิทยาเขตขอนแกน่

มคอ.2 2

รายละเอยี ดของหลักสตู ร
หลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่
หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562

ชอ่ื สถาบันอดุ มศึกษา/วิทยาเขต มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม บางเขน วทิ ยาเขตชลบุรี และ วทิ ยาเขตขอนแก่น
คณะ/สาขาวชิ า คณะบรหิ ารธุรกจิ /สาขาวิชาการบริหารและการจดั การสมัยใหม่

หมวดที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป

1. ชื่อหลักสูตร : หลกั สตู รบริหารธุรกิจบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่
: Bachelor of Business Administration Program in Modern Administration and
ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ Management

2. ชือ่ ปริญญาและสาขาวชิ า
ช่อื เต็ม (ไทย) : บริหารธรุ กจิ บัณฑติ (การบริหารและการจดั การสมยั ใหม่)
ชอ่ื ย่อ (ไทย) : บธ.บ. (การบริหารและการจดั การสมัยใหม่)
ชอื่ เต็ม (องั กฤษ) : Bachelor of Business Administration (Modern Administration and
Management)
ช่ือยอ่ (องั กฤษ) : B.B.A. (Modern Administration and Management)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จำนวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลกั สูตร
128หน่วยกิต

5. รปู แบบของหลักสตู ร
5.1รปู แบบ
เป็นหลักสตู รระดบั ปริญญาตรี ประเภทปริญญาตรีทางวิชาการ

มคอ.2 3

5.2ภาษาท่ใี ช้
การจดั การเรียนการสอนเปน็ ภาษาไทยและ/หรอื ภาษาอังกฤษ และ/หรือภาษาจีน

5.3 การรับเขา้ ศึกษา
รับนกั ศกึ ษาไทย หรอื นักศกึ ษาตา่ งประเทศ

5.4 ความร่วมมอื กับสถาบนั อน่ื
เป็นหลกั สูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

5.5 การใหป้ รญิ ญาแก่ผู้สำเร็จการศกึ ษา
ให้ปรญิ ญาเพียงสาขาวชิ าเดียว

6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลักสูตร
ครัง้ ที่ 1 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 (มคอ.2) เร่ิมใช้หลกั สตู รน้ี ตง้ั แต่ปกี ารศึกษา 2562
- คณะกรรมการมาตรฐานหลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการ เม่อื วนั ท่ี 12 เดอื น พฤศจิกายน

พ.ศ. 2561 ได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงหลักสูตร โดยปรับปรุงชื่อสาขาวิชาเป็นสาขาวิชาการบริหารและการ
จัดการสมัยใหม่

- สภาวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 3 ปี
การศึกษา 2561 เมื่อวันที่ 18 ธนั วาคม 2561

- สภามหาวิทยาลัยศรีปทุมได้อนุมัติการปรับปรุงหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 8 มกราคม
2562

ครง้ั ท่ี 2 หลักสตู รเปลี่ยนแปลงอาจารย์ ฉบับ พ.ศ. 2562 (สมอ.08) โดยเรมิ่ ใช้ ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2562
- สภาวิชาการ ได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ในการประชุมครั้งท่ี 3 ปีการศึกษา 2562

เม่อื วันท่ี 17 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2562
- สภามหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม ไดอ้ นุมัตกิ ารปรับปรงุ แกไ้ ขหลักสตู ร ในการประชมุ ครง้ั ที่ 1/2563 เม่อื วนั ท่ี

14 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2563

7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สูตรท่ีมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพ และมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปกี ารศกึ ษา 2564

8. อาชพี ทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสำเร็จการศกึ ษา
(1) เจา้ หนา้ ทพี่ ฒั นาธุรกจิ
(2) เจา้ หนา้ ที่วิเคราะหแ์ ละวางแผนทางธรุ กจิ
(3) เจา้ หน้าท่บี รหิ ารโครงการ
(4) ผู้ประกอบการ

มคอ.2 4
(5) พนกั งานของรฐั /เจา้ หนา้ ทภ่ี าครัฐ

9. ชอ่ื เลขประจำตวั บตั รประชาชน ตำแหน่ง และคณุ วุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร

9.1. อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสตู ร

มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม บางเขน

ลำดบั ชอื่ /สกลุ คณุ วฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบนั ทสี่ ำเร็จการศึกษา
เลขประจำตัวบตั รประชาชน ปที ่สี ำเร็จ

1 ดร.กัลยารัตน์ ธรี ะธนชัยกุล กจ.ด., 2556 มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ

3-1302-0057X-XX-X บธ.ม. (บรหิ ารธุรกิจ), 2550 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์

บธ.บ. (บริหารธรุ กจิ ), 2542 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์

2 ดร.วุทธิชัย ลิ้มอรโุ ณทัย ปร.ด. (การจดั การ), 2559 มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

3-7099-0011X-XX-X ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การจัดการ), มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ

2550

บธ.บ. (การจดั การธุรกจิ ), 2546 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร

3 ผศ.ดร.ประเสรฐิ สทิ ธจิ ริ พฒั น์ Ph.D. (Human Resource University of Northumbria at

3-1009-0500X-XX-X Management), 2005 Newcastle, UK.

พบ.ม. (บรหิ ารงานบคุ คล), 2535 สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ศศ.บ. (บรหิ ารรฐั กิจ), 2532 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

4 ดร.มุกดาฉาย แสนเมือง D.B.A., 2016 Asian Institute of Technology,

3-6704-0011X-XX-X Thailand

บธ.ม. (บริหารธุรกจิ ), 2542 มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

บธ.บ. (บัญช)ี , 2538 มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

5 อาจารย์อรนิษฐ์ แสงทองสขุ M.B.A. (Business Administration), University of New Haven,

3-1020-0244X-XX-X 1996 U.S.A.

ร.บ. (สงั คมวทิ ยาและมนุษยวทิ ยา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2536

มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม วิทยาเขตชลบุรี

ลำดับ ชื่อ/สกลุ คุณวฒุ กิ ารศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่สี ำเรจ็ การศึกษา
เลขประจำตวั บัตรประชาชน ปที ่ีสำเร็จ
มหาวทิ ยาลยั บรู พา
1 อาจารยธ์ ันยนนั ท์ สมบูรณ์รัตนโชค บธ.ม.(การบริหารธรุ กิจ), 2556 มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ

1-1999-0014X-XX-X บธ.บ. (การจัดการธุรกจิ สมัยใหม)่ ,

2553

มคอ.2 5

ลำดับ ชอ่ื /สกุล คุณวุฒกิ ารศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเรจ็ การศกึ ษา
เลขประจำตัวบัตรประชาชน ปที ีส่ ำเร็จ

2 อาจารย์กฤษนิล เกยี รตธิ นศักดิ์ 1- บธ.ม., 2561 มหาวิทยาลยั บูรพา

2001-0034X-XX-X วท .บ.(เทคโนโลยเี พื่อการพฒั นา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ยง่ั ยนื ), 2556

3 อาจารย์นคิ ม หมหู ล้า บธ.ม. (การจดั การธุรกิจโลก), มหาวิทยาลยั บูรพา

1-5705-0012X-XX-X 2561

ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษส่ือสารธุรกิจ), มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ

2555

4 อาจารย์ฐติ ยิ า กลบสันเทยี ะ M.M. (International Business), Central Queensland

1-5299-0031X-XX-X 2015 University, Australia

บช.บ. (การบญั ช)ี , 2554 มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

5 ผศ.ดร.ปารชิ าติ คุณปลื้ม กศ.ด. (บริหารการศึกษา), 2548 มหาวิทยาลยั บรู พา

40001-200-3X-XX-X พบ.ม. (การพฒั นาทรัพยากร สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

มนุษย)์ , 2541

รป.บ. (รฐั ประศาสนศาสตร์), 2547 มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

พย.บ. (การพยาบาลและผดงุ ครรภ์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

ช้นั หนงึ่ ), 2534

มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วิทยาเขตขอนแกน่

ลำดบั ช่ือ/สกุล คณุ วุฒิการศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันทส่ี ำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตัวบตั รประชาชน ปที ่สี ำเรจ็
Johnson and Wales
1 อาจารยน์ ศิ ราวรรณ ไพบูลย์พร M.B.A. (Management), 1998 University, U.S.A.
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
พงศ์ Stamford International
University, Thailand
3-4099-0020X-XX-X ศศ.บ. (ภาษาฝร่งั เศส), 2539 สถาบนั รชั ภาคย์
Stamford International
2 อาจารย์ทวิ าพร สำเนยี งดี M.B.A. (International Business University, Thailand
มหาวิทยาลยั รามคำแหง
3-7207-0042X-XX-X Management), 2015 มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพสุวรรณภูมิ
มหาวทิ ยาลัยเซนต์จอห์น
บธ.บ. (การตลาด), 2556

3 อาจารยเ์ รวดี สขุ สราญรมย์ M.B.A. (International Business

4-4403-0000X-XX-X Management), 2015

ร.บ. (รฐั ศาสตร)์ , 2531

4 อาจารยช์ ลธิดา รกั ยทุ ธ์ บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กจิ ), 2557

3-4017-0008X-XX-X ศศ.บ. (การท่องเที่ยว), 2548

มคอ.2 6

ลำดับ ช่อื /สกลุ คุณวฒุ ิการศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบนั ทีส่ ำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตวั บตั รประชาชน ปีทสี่ ำเรจ็
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
5 อาจารย์กฤษดา อาบสุวรรณ์ บธ.ม. (บรหิ ารธุรกจิ ), 2560 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

1-3098-0014X-XX-X วศ.บ. (วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์),

2558

9.2. อาจารยป์ ระจำหลกั สูตร

มหาวิทยาลัยศรีปทมุ บางเขน

ลำดับ ช่ือ/สกุล คณุ วฒุ ิการศึกษา (สาขาวิชา)/ สถาบนั ท่ีสำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตัวบัตรประชาชน ปที ี่สำเร็จ
มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
1 ดร.กัลยารัตน์ ธรี ะธนชยั กลุ กจ.ด., 2556 มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลย
บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กจิ ), 2550 อลงกรณ์
3-1302-0057X-XX-X มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลย
บธ.บ. (บรหิ ารธรุ กจิ ), 2542 อลงกรณ์
2 ดร.วุทธิชัย ล้ิมอรุโณทัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
3-7099-0011X-XX-X ปร.ด. (การจัดการ),2559 มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ
ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การจัดการ),2550 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
3 ผศ.ดร.ประเสรฐิ สทิ ธิจิรพัฒน์ บธ.บ. (การจดั การธุรกิจ), 2546 University of Northumbria
3-1009-0500X-XX-X Ph.D. (Human Resource at Newcastle, UK.
Management), 2005 สถาบันบัณฑิตพฒั นบริหาร
4 ดร.มกุ ดาฉาย แสนเมือง พบ.ม. (บรหิ ารงานบคุ คล), 2535 ศาสตร์
3-6704-0011X-XX-X มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ศศ.บ. (บริหารรฐั กจิ ), 2532 Asian Institute of
5 อาจารย์อรนิษฐ์ แสงทองสุข D.B.A., 2016 Technology, Thailand
3-1020-0244X-XX-X มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
บธ.ม. (บริหารธรุ กจิ ), 2542 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6 ผศ.ดร.อนุพงศ์ อวริ ุทธา บธ.บ. (บัญชี), 2538 University of New Haven,
3-1017-0238X-XX-X M.B.A. (Business Administration), U.S.A.
1996 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
ร.บ. (สังคมวิทยาและมนุษยวทิ ยา),
2536 Argosy University, U.S.A.
D.B.A. (Strategic Management),
1st Class Honor, 2006

มคอ.2 7

ลำดับ ชอื่ /สกุล คณุ วฒุ ิการศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่สี ำเรจ็ การศึกษา
เลขประจำตัวบตั รประชาชน ปีท่สี ำเรจ็

M.B.A. (Marketing), 1st Class Oklahoma City University,

Honor, 2002 U.S.A.

M.B.A. (Information Technology), Oklahoma City University,

1st Class Honor, 2001 U.S.A.

บธ.บ. (การจัดการ), เกยี รตินิยมอันดับ มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย

2, 2543

7 ดร.ณฐั ธยาน์ ตรีผลา บธ.ด. (การบรหิ ารธุรกิจ), 2559 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร

3-1007-0073 X-XX-X ศศ.ม. (การบริหารองค์การ), 2542 มหาวทิ ยาลยั เกริก

บธ.บ. (การจดั การ), 2537 มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ

8 ดร.สุธินี มงคล Ph.D. (Business and Social Kingston University, UK.

3-1599-0000X-XX-X Sciences), 2019

M.Sc. (Management and Kingston University, UK.

Business Studies Research) (With

Commendation), 2010

M.Com. (International Business), University of New South

2002 Wales, Australia

บช.บ. (การบัญช)ี , 2543 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9 อาจารย์ศริ ะ สัตยไพศาล M.B.A. (Marketing and Dominican University U.S.A.

3-1002-0102X-XX-X International Business), 1998

ศ.บ. (เศรษฐศาสตรธ์ รุ กจิ ), 2554 มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช

บธ.บ. (การตลาด), 2552 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช

ทล.บ. (สารสนเทศธุรกิจ), 2549 มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า), 2533 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

10 อาจารยบ์ รนิ ดา ศัลยวุฒิ -กจ.ม.(การตลาด), 2548 มหาวิทยาลยั มหิดล

3-1101-0180 X-XX-X -บธ.บ.(การจัดการ), 2545 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

มคอ.2 8

มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ วทิ ยาเขตชลบุรี

ลำดบั ชื่อ/สกุล คุณวุฒกิ ารศึกษา/ปีทสี่ ำเรจ็ สถาบนั ทสี่ ำเรจ็ การศึกษา
เลขประจำตัวบตั รประชาชน

1 อาจารยธ์ นั ยนันท์ สมบูรณร์ ัตนโชค บธ.ม.(การบรหิ ารธุรกจิ ), 2556 มหาวทิ ยาลยั บูรพา

1-1999-0014X-XX-X บธ.บ. (การจัดการธุรกิจสมัยใหม่), 2553 มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ

2 อาจารย์กฤษนิล เกียรตธิ นศักดิ์ บธ.ม., 2561 มหาวทิ ยาลัยบรู พา

1-2001-0034X-XX-X วท .บ.(เทคโนโลยีเพ่ือการพฒั นาย่ังยืน), มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

2556

3 อาจารย์นิคม หมูหล้า บธ.ม. (การจัดการธุรกิจโลก), 2561 มหาวิทยาลยั บูรพา

1-5705-0012X-XX-X ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษสอ่ื สารธุรกจิ ), 2555 มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม

4 อาจารยฐ์ ิติยา กลบสันเทียะ M.M. (International Business), Central Queensland

1-5299-0031X-XX-X 2015 University, Australia

บช.บ. (การบัญช)ี , 2554 มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่

5 ผศ.ดร.ปารชิ าติ คณุ ปลม้ื กศ.ด. (บริหารการศึกษา), 2548 มหาวิทยาลัยบูรพา

40001-200-3X-XX-X พบ.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์), สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ าร

2541 ศาสตร์

รป.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์), 2547 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช

พย.บ. (การพยาบาลและผดุงครรภ์ มหาวิทยาลยั บูรพา

ชนั้ หนึ่ง), 2534

6 อาจารย์ธรี ุตย์ กนกธร บธ.ม.(การตลาด),2553 มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

3-2005-0034 X-XX-X บธ.บ.(การตลาด),2546 มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย

7 อาจารย์พงษ์ภิภทั ร์ ราษี บธ.ม.(การตลาด),2556 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

3-5603-0019 X-XX-X บธ.บ.(การตลาด), 2546 มหาวิทยาลัยราชภฎั เชียงราย

8 อาจารย์จีรวรรณ ลอออรรถพงศ์ บธ.ม., 2549 มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม

3-2002-0001 X-XX-X บธ.บ. (การตลาด), 2546 มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ

9 อาจารย์พลกฤษณ์ ไพรสานฑ์ บธ.ม.(บรหิ ารธรุ กจิ ), 2542 มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย

วณิชกุล บธ.บ.(การเงนิ และการธนาคาร), 2538 มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย

3-1012-0061 X-XX-X

10 อาจารยพ์ จิ ิตต์ รอยศิริกุล พบ.ม. (การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์), สถาบนั บณั ฑติ พัฒนาบริหาร

3-1009-0565 X-XX-X 2541 ศาตร์

ศ.บ. (เศรษฐศาสตร)์ , 2522 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มคอ.2 9

มหาวิทยาลัยศรปี ทุม วิทยาเขตขอนแกน่

ลำดบั ช่อื /สกลุ คณุ วฒุ กิ ารศึกษา/ปีทส่ี ำเรจ็ สถาบนั ท่สี ำเร็จการศกึ ษา
เลขประจำตัวบตั รประชาชน
Johnson and Wales
1 อาจารย์นศิ ราวรรณ ไพบูลย์พรพงศ์ M.B.A. (Management), 1998 University, U.S.A.
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
3-4099-0020X-XX-X Stamford International
University, Thailand
ศศ.บ. (ภาษาฝร่งั เศส), 2539 สถาบันรชั ภาคย์
Stamford International
2 อาจารย์ทวิ าพร สำเนียงดี M.B.A. (International Business University, Thailand
มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง
3-7207-0042X-XX-X Management), 2015 มหาวิทยาลัยกรงุ เทพสุวรรณภมู ิ
มหาวิทยาลยั เซนต์จอหน์
บธ.บ. (การตลาด), 2556 มหาวิทยาลัยขอนแกน่
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
3 อาจารย์เรวดี สขุ สราญรมย์ M.B.A. (International Business
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4-4403-0000X-XX-X Management), 2015 Assumption University,
Thailand
ร.บ. (รฐั ศาสตร์), 2531 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
มหาวิทยาลัยขอนแกน่
4 อาจารย์ชลธดิ า รักยุทธ์ บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กิจ), 2557 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
3-4017-0008X-XX-X ศศ.บ. (การท่องเทย่ี ว), 2548

5 อาจารย์กฤษดา อาบสวุ รรณ์ บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กิจ), 2560

1-3098-0014X-XX-X วศ.บ. (วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์),

2558

6 อาจารย์สถริ ทัศนวฒั น์ บธ.ม.(การตลาด),2555

1-4099-0040 X-XX-X B.B.A. (Marketing), 2552

7 อาจารย์ณัฐกานต์ สงั ขะทรพั ย์ บธ.ม.(การตลาด), 2550
3-4007-0082 X-XX-X ศ.บ.(เศรษฐศาสตร์), 2547
บธ.ม.(การตลาด), 2559
8 อาจารย์อรณิช ก่ำเกล้ียง ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษธรุ กิจ), 2556
1-4101-0022 X-XX-X

10. สถานทจ่ี ัดการเรยี นการสอน
จัดการเรียนการสอนท่ี มหาวิทยาลัยศรีปทมุ บางเขน วิทยาเขตชลบรุ ี และ วิทยาเขตขอนแกน่

11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพัฒนาท่จี ำเป็นตอ้ งนำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร
11.1 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ
สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ ทจี่ ำเป็นตอ้ งนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตรโดยคำนึงถึง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ซึ่งองค์ประกอบสำคัญที่จะช่วยผลักดัน
ให้เกิดการกา้ วทันต่อการเปลยี่ นแปลงน้นั คือ การปรับตัวและการนำเอาความรู้ความสามารถในด้านการบริหารจัดการ

มคอ.2 10

การวางแผนและการประเมินธุรกิจ การพยากรณ์ธุรกิจ การบริหารองค์กร การจัดการทางด้านกลยุทธ์ การจัดการ
ทางดา้ นนวัตกรรมความคดิ สรา้ งสรรค์ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการนำนวตั กรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการ
บริหารจดั การและพฒั นาการทำงาน อยา่ งเหมาะสมชว่ ยสนบั สนุนการดำเนนิ ธุรกจิ ในโลกปัจจบุ ัน ซ่ึงเปน็ ยคุ ดิจิทัลและ
ยคุ โลกาภวิ ตั น์ เพือ่ เกดิ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และสามารถสร้างความไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขัน ซึ่งชว่ ยให้องค์กรทาง
ธรุ กิจสามารถลดต้นทุน สนับสนุนการตัดสินใจในการลงทุนและดำเนินงาน เพ่ือสร้างโอกาสและช่องทางในการดำเนิน
ธรุ กจิ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม
สถานการณ์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมส่งผลกระทบต่อความจำเป็นในการวางแผนเพื่อ เปลี่ยนชื่อและ

ปรบั ปรุงหลกั สตู ร ดว้ ยสถานการณข์ องชีวติ ในสังคมปัจจุบนั ทต่ี ลาดแรงงานขนาดใหญ่ มีการแข่งขนั สูง ทำใหธ้ ุรกจิ มอง
หาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่หลากหลาย สามารถนำความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการ รวมถึงจริยธรรม และการ
เป็นประชาคมที่ดีต่อสังคม ดังนั้นสาขาวิชาการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คำนึงถึงการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การใช้สื่อสังคมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ทางดา้ นสงั คม ซ่งึ ปัจจุบันพบว่าสังคมยังมีปัญหา การขาดคุณธรรม จริยธรรม และการจัดการศึกษาท่ียังไม่ได้คุณภาพ
นั่นหมายถึงการบริหารจัดการทางด้านการศึกษายังมีจุดอ่อน ดังนั้นสิ่งนี้มีผลต่อชุมชนและท้องถิ่น บุคลากรในอนาคตควร
ได้รบั ความรู้ มอี งค์ประกอบโดยรวมในธุรกจิ สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดด้ ีและสามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพแวดล้อมในยุค โลกา
ภิวัตน์ไดด้ ว้ ยศีลธรรมและคุณธรรมท่ีดี

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ตอ่ การพฒั นาหลักสตู รและความเกี่ยวข้องกบั พันธกจิ ของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสตู ร
ผลกระทบจากการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและการเชื่อมโยงของร ะบบเศรษฐกิจจึงจำเป็นต้องพัฒนา

หลักสูตรทสี่ ามารถผลติ บคุ ลากรท่สี ามารถตอบสนองและกา้ วทันการเปล่ยี นแปลงตามววิ ฒั นาการ เพ่ือการอยู่รอดทาง
ธุรกิจ เพื่อหาช่องทางและโอกาสใหม่ทางธุรกิจ ดังนั้นสาขาวิชาการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ในปัจจุบนั เน้นการ
เรียนรู้ในลักษณะการบูรณาการและสหวิทยาการ ซึ่งสาขาวิชาการบริหารและการจัดการสมัยใหม่เน้นความรู้เชิง
ประยุกต์ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฎิบัติการ โดยนักศึกษาและบัณฑิตที่มีคุณภาพในอนาคตจำเป็นที่จะต้องมี
ความสามารถในการปรบั ตัวเรยี นรู้เพ่ือประยุกต์ใช้กบั องค์กรธุรกจิ ต้ังแตส่ ำรวจข้อมูล วเิ คราะห์ วางแผน การตัดสินใจ
การควบคุม เทคโนโลยี รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ และมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อเป็นการ
สอดรับกับสถานการณท์ ่ีเปลีย่ นแปลง ซ่ึงบุคลากรในอนาคตเหล่าน้จี ำเปน็ ที่จะต้องมีความรแู้ ละความพร้อมทั้งทางด้าน
การบริหารจดั การธุรกจิ และการจัดการองคภ์ าครัฐและเอกชน โดยเป็นการผสมผสานความร้นู ำไปสู่การประยุกต์ใช้ใน
องคก์ ร และวางแผนธรุ กจิ เพ่ือความสำเร็จ เพ่ิมศกั ยภาพทางการแข่งขนั โดยมุ่งเน้นคุณภาพ มีความรคู้ วามเข้าใจและมี
คณุ ธรรมจริยธรรม

12.2 ความเก่ยี วขอ้ งกับพันธกจิ ของสถาบัน
จากยุทธศาสตร์ของประเทศในการมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนก่อให้เกิดผลกระทบต่อพฤติกรรมที่

เปลี่ยนแปลงไปของสังคมไทย ความรุนแรงทางการแข่งขันทางด้านธุรกิจ และกระแสโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี

มคอ.2 11

สารสนเทศ ที่มีบทบาทต่อการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ดังนั้นบุคลากรที่มีความรู้ครอบคลุมในด้านการจัดการจึงมี
ความสำคัญ เพือ่ กอ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม โดยคำนึงถึงความรู้ทางด้านวิชาการความชำนาญทางด้านเทคโนโลยี
คุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรในการพัฒนาบุคลากรทางด้านบริหารธุรกิจที่มีความสามารถ
ทางด้านการบริหารจัดการ การคิดวิเคราะห์ การวางแผนกลยุทธ์ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ี
สอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยศรีปทุมในหัวข้อที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางด้านการผลิตบัณฑิตเพื่อรองรับ
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนและการมงุ่ สรา้ งบัณฑติ ทด่ี ีและเกง่ เพ่ือพฒั นาสงั คมและประเทศชาตติ อ่ ไป

13. หลกั สตู รนี้ มีความสัมพันธก์ ับหลักสูตรอืน่ ท่เี ปิดสอนในคณะ / สาขาวชิ า อนื่ ของสถาบ้น ดังนี้
13.1 กลุม่ วชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรน้ที ่เี ปิดสอนโดยคณะ/สาขาวิชา/หลกั สตู รอื่น
กลุ่มรายวิชาที่นักศึกษาต้องไปเรียนในคณะ/หลักสูตรสาขาวิชาอื่น ประกอบด้วย รายวิชาในหมวด
ศกึ ษาทัว่ ไป และรายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี
13.2 กลุม่ วิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปดิ สอนให้สาขาวชิ า/หลักสูตรอืน่ ตอ้ งมาเรยี น
รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้ นักศึกษาต่างคณะก็สามารถเลือกเรียนเป็นกลุ่มวิชาโทและวิชาเลือก
เสรีได้
13.3 การบรหิ ารจดั การ
(1) ประสานงานกบั คณะตา่ งๆ ท่จี ัดรายวิชาซง่ึ นักศกึ ษาในหลักสตู รนี้ต้องไปเรยี น โดยต้องมีการวางแผน

ร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้บรหิ ารและอาจารย์ผูส้ อนซึ่งอยูต่ า่ งคณะ เพื่อกำหนดเนื้อหา และกลยุทธ์การสอน
ตลอดจนการวดั ผล ประเมนิ ผล ท้งั นเี้ พ่ือให้นกั ศึกษาไดบ้ รรลุผลการเรยี นรู้ ตามหลักสูตรนี้

(2) ประสานกับคณะต้นสังกัดของนักศึกษาที่มาเรียนรายวิชาของหลักสูตรนี้ เพื่อให้ทราบถึงผลการ
เรียนรู้ของนักศึกษาว่าสอดคลอ้ งกบั หลักสตู รทีน่ ักศึกษาเหล่าน้ันเรียนหรือไม่

หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สูตร

1. ปรัชญา ความสำคญั และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุมมีจุดมุ่งหมายในการอบรมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้มีวิสัยทัศน์

กวา้ งไกลอยูใ่ นระดบั สากล มีความรคู้ วามสามารถในการดำเนนิ ธุรกิจ ภายใตป้ รชั ญาคอื การผลิตบณั ฑติ ท่มี ีความพร้อม
ในด้านองค์ความรู้ทางธุรกิจ และเสริมสร้างการเรียนรู้ในเชิงปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริงเพื่อให้แน่ใจว่า
นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงเมื่อสำเรจ็ การศึกษา ดังนั้นเป้าหมายในการผลติ บัณฑิตของหลักสตู รสาขาวิชาการ
บริหารและการจัดการสมัยใหม่คือการเพ่ิมศักยภาพด้านบริหารธรุ กิจ เพื่อให้สอดคล้องกบั ความต้องการกำลังคนด้าน
การบริหารจัดการในโลกปัจจุบัน การวิเคราะห์และการวางแผนการดำเนินงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนของ
ประเทศทก่ี ำลงั ขยายตวั รองรบั การรวมกลมุ่ ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นและการเข้าสู่ระบบเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล

มคอ.2 12

1.2 ความสำคัญ
การบริหารและการจัดการถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของการดำเนินธุรกิจแล ะเป็นรากฐานสำคัญของการ

วางแผนและพัฒนาธรุ กจิ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การขยายตวั และการเติบโตของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมท่ีเป็นหนึ่ง
ในนโยบายของทางภาครัฐท่ีได้ส่งเสริมผปู้ ระกอบการ ดงั นั้นการบรหิ ารและการจัดการธุรกิจจำเปน็ ท่จี ะต้องมีบุคลากร
ท่ีมคี วามร้ใู นการบริหารและการจดั การสมยั ใหม่ มาใชใ้ นการบริหารจัดการและพฒั นาการทำงาน ตงั้ แต่การวิเคราะห์
การวางแผน การประเมิน การพยากรณ์ทางธุรกิจ การบริหารโครงการทางธุรกิจ ตลอดจนการควบคุมทางการจดั การ
เพื่อให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ และจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี หลักสูตร
จำเป็นต้องมีการพัฒนา โดยทำการผสานและประยุกต์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ด้านนวัตกรรมการด้านการบริหาร
จัดการสำหรับการทำงานมากข้ึน อกี ทัง้ ความต้องการทางด้านบุคลากรขององค์กรภาครฐั ทเี่ พม่ิ ขน้ึ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีหลักสูตรด้านการบริหารและการจัดการสมัยใหม่เพ่ือสนับสนุนการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและการลงทุนท้ังในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชีย และการเกิดขึ้นของธุรกิจใหม่ เพื่อสนับสนุนการ
ขยายตัว หลักสูตรการบริหารและการจัดการสมัยใหม่เน้นถึงการผสมผสานระหว่างภาคทฤษฎีทางวิชาการและ
ภาคปฏิบัติ มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒทิ างด้านวชิ าการและวิชาชีพมาเป็นวทิ ยากรและอาจารย์พิเศษ และมีความร่วมมอื
กับทางหน่วยงานภาครัฐและเอกชนด้านการบริการวิชาการ เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงตาม
สถานการณป์ ัจจุบนั เพ่ือให้การเรยี นการสอนบรรลตุ ามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่มาตรฐานกำหนด

1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
(1) ผลติ บณั ฑิตที่มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับการบริหารและการจัดการสมยั ใหม่เพ่ือนำมาใช้ในการปฏิบัติ

ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชน และมีพื้นความรู้ในด้านต่างๆ อย่างเพียงพอที่จะนำไปปฏิบัติงานด้านอื่นๆ รวมท้ัง
สามารถสร้างงานดว้ ยตนเองได้

(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถพิจารณาแสวงหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการหรอื
วิชาชพี ในสาขาวชิ าการบริหารและการจดั การสมยั ใหม่

(3) ผลิตบัณฑิตที่มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหา และสามารถจัดการต่อข้อโต้แย้งทั้งในสถานการณ์ส่วน
บคุ คลและของกลมุ่ โดยแสดงออกซ่งึ ภาวะผูน้ ำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ท่ีเหมาะสมไปปฏบิ ตั ิได้

(4) ผลิตบัณฑิตที่สามารถตอบสนองความต้องการทางเศรษฐกิจที่มุ่งพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในการสร้าง
เสริมเศรษฐกจิ ของชาติใหเ้ จรญิ รุดหน้า

(5) ฝกึ หัดและอบรมบณั ฑิตให้เป็นผู้มีวินยั ความคดิ และการทำงานอยา่ งมรี ะบบเพยี บพร้อมด้วย คุณธรรม
จรยิ ธรรม

(6) เพื่อผลติ บณั ฑติ ทใ่ี หม้ ีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม

มคอ.2 13

2. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ

แผนการพัฒนา / เปลีย่ นแปลง กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน / ตวั บง่ ช้ี

1.ปรบั ปรุงหลกั สูตรใหม้ ี 1. ตดิ ตามการประเมนิ หลักสูตรอย่าง 1.1 เอกสารการปรบั ปรุงหลกั สูตร

มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน สม่ำเสมอ 1.2 รายงานผลการประเมนิ

หลกั สูตรของ สกอ. หลกั สตู ร

2. ปรับปรุงหลกั สูตรให้ทันสมัย 2. ตดิ ตามประเมินผลความต้องการของ 2.1 รายงานผลความพึงพอใจของ

สอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหน้าทาง ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง ผู้ใช้บัณฑติ

วิชาการ ความต้องการของตลาด/ กบั สาขาวชิ าการบริหารและการจดั การ 2.2 ความพึงพอใจในความรู้ความ

ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ /การเปลย่ี นแปลง สมัยใหมแ่ ละปรบั หลักสตู รให้ทนั ตอ่ การ สามารถการใชเ้ ทคโนโลยี/ทักษะ

ทางเทคโนโลยี เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี การทำงานในระดับดี

3. พัฒนาบุคลากรด้านการ 3.1 อาจารยท์ ุกคนโดยเฉพาะอาจารย์ 3.1.1 ความสามารถในการวัดและ

เรียนการสอนและการบริการ ใหมต่ อ้ งเขา้ รับการฝกึ อบรมเกยี่ วกับ ประเมินผลของหลักสตู ร

วิชาการ หลักสตู รการสอนรปู แบบต่างๆ และการ 3.1.2 ปรมิ าณงานบริการวชิ าการ

วดั ผล ประเมินผล ท้ังนี้เพ่ือให้มคี วามรู้ ต่ออาจารยใ์ นหลกั สตู ร

ความสามารถในการประเมนิ ผลตามกรอบ

มาตรฐานคณุ วฒุ ทิ ี่ผสู้ อนจะต้องสามารถ

วัดและประเมนิ ผลได้เปน็ อย่างดี

3.2 สนับสนุนอาจารยใ์ หท้ ำงานบริการ 3.2 รายงานผลประเมินความพึง

วิชาการแกอ่ งค์กรภายนอก พอใจของผูใ้ ช้บริการวิชาการ

3.3 สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารนำความรทู้ ้ังจาก 3.3 จำนวนโครงการ/กจิ กรรมที่

ภาคทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ และงานวจิ ัยไปใชจ้ รงิ เปน็ ประโยชน์ต่อชมุ ชนและความ

เพ่อื ทำประโยชน์ใหแ้ ก่ชมุ ชน บรรลผุ ลสำเร็จ

4. ปรับปรงุ วิธกี ารเรียนการสอน 4.1 สนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์มอบหมายงานใน 4.1 จำนวนรายวิชาที่ใช้งานผา่ น

แตล่ ะรายวชิ าผ่านระบบทาง ระบบ

อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Learning)

5. ปรับปรุงวิธกี ารวัดและ 5.1 วเิ คราะหข์ ้อสอบ 5.1 ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ

ประเมินผล 5.2 วิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ 5.2 ผลวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธิท์ างการ

นักศึกษา เรียนของนักศึกษา

6. ปรบั ปรุงปจั จยั สนบั สนนุ การ 6.1 สำรวจความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา 6.1 รายงานผลการสำรวจ

เรยี นการสอน และผูส้ อน

6.2 จัดหาและจัดสรรทนุ เพ่ือปรบั ปรงุ 6.2.1 จำนวนเงินทุน

ปัจจัยสนับสนนุ การเรียนการสอนให้มี 6.2.2 จำนวนเงนิ ค่าใช้จา่ ย

ความทนั สมยั และมปี ระสิทธิภาพยิ่งขน้ึ

มคอ.2 14

แผนการพัฒนา / เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน / ตัวบง่ ชี้

6.2.3 จำนวนอปุ กรณ์/กิจกรรม/

โครงการทป่ี รบั ปรงุ ปจั จยั สนับสนนุ

การเรียนการสอน

หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนินการและโครงสร้างของหลักสตู ร

1. ระบบการจัดการศกึ ษา
1.1 ระบบ
หลักสตู รนีจ้ ัดการศึกษาระบบทวภิ าค โดยหนงึ่ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาโดยมีระยะเวลา

การศึกษาไมน่ ้อยกว่า 15 ชว่ั โมงต่อหน่วยกติ และ/หรือ 15 สัปดาห์ ต่อภาคการศึกษา และอาจจัดภาคฤดรู ้อนด้วยได้ สว่ น
ข้อกำหนดต่างๆ ใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคบั มหาวิทยาลยั ศรีปทุมวา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอ้ น
มภี าคฤดูร้อนโดยมีระยะเวลาการศกึ ษาไม่น้อยกวา่ 15 ช่วั โมงตอ่ หน่วยกิต และ/หรือ 8 สปั ดาห์ ตอ่ ภาค

การศึกษา ท้ังนี้ ระยะเวลาและจำนวนหนว่ ยกิต มีสดั สว่ นเทยี บเคยี งกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สว่ นขอ้ กำหนดต่างๆ
ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วา่ ด้วยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

1.3 การเทยี บเคยี งหน่วยกิตในระบบทวภิ าค
ไมม่ ี

2. การดำเนินการหลักสตู ร

2.1 วนั – เวลาในการดำเนนิ การเรยี นการสอน

จัดการเรียนการสอนทงั้ ในและนอกเวลาราชการ

ภาคการศึกษาที่ 1 เดอื นสิงหาคม - เดือนธันวาคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนมกราคม - เดือนพฤษภาคม

ภาคฤดรู อ้ น เดือนมิถนุ ายน - เดือนกรกฎาคม

2.2 คณุ สมบตั ิของผูเ้ ข้าศึกษา

(1) การรับเข้าศึกษา

- เป็นผสู้ ำเร็จการศกึ ษาไมต่ ่ำกว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า
- เปน็ ผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูงหรอื เทียบเท่า หรืออนปุ ริญญา
- เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ หรือข้อบังคบั วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับปริญญาตรี
(2) การคดั เลอื กผู้เขา้ ศกึ ษา
- นักเรยี นท่ีเขา้ ศึกษาโดยระบบคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
- นักเรียนทม่ี หาวิทยาลัยศรปี ทมุ เปน็ ผูด้ ำเนนิ การคดั เลอื กเอง

มคอ.2 15

- โดยคณาจารย์ประจำหลักสูตรด้วยวิธีการสอบข้อเขียน และ/หรือการสอบสัมภาษณ์รวมทั้ง

พิจารณาจากผลการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนสอบโดยระบบคัดเลือกของสำนักงาน

คณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.)

2.3 ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเข้า

ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเป็นการเรียนที่มีรูปแบบแตกต่างไปจากเดิมที่

คุ้นเคย มีสังคมกว้างขึ้น ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในห้องและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นักศึกษา

ต้องสามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม นอกจากนี้คือปัญหาด้านความรู้พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และทักษะการใช้

ภาษาองั กฤษ ท้งั การเรยี นในห้องเรยี นและการศกึ ษาจากตำราเรยี นทเี่ ปน็ ภาษาอังกฤษ

2.4 กลยทุ ธใ์ นการดำเนินการเพอื่ แก้ไขปัญหา / ขอ้ จำกัดของนักศกึ ษาในข้อ 2.3

(1) กลยุทธ์ในการดำเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหานักศึกษาดา้ นการปรับตัว ทางสาขาวิชาฯ จะจดั ให้มี การ

ดแู ลอย่างใกลช้ ดิ โดยอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา และนกั ศกึ ษารุน่ พี่ พร้อมทั้งไดม้ กี ารจดั กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรที่เหมาะสมให้กับ

นักศึกษา

(2) กลยุทธใ์ นการแกไ้ ขปญั หาดา้ นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จะมีการสอนเสรมิ ทกั ษะทางด้านคณติ ศาสตร์

(3) กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาด้านพื้นฐานทางภาษาอังกฤษ จะมีการเริ่มสอดแทรกเนื้อหาที่เป็น

ภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้นตามลำดับช้นั ปีของนักศึกษา

2.5 แผนการรบั นักศึกษาและจำนวนผ้สู ำเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา 5 ปี

จำนวนนักศึกษา (คน)

จำนวน มศป. บางเขน มศป.วทิ ยาเขตชลบรุ ี มศป.วิทยาเขตขอนแกน่

นักศึกษา 2562 2563 2564 2565 2566 2562 2563 2564 2565 2566 2562 2563 2564 2565 2566

ชั้นปที ่ี 1 200 200 200 200 200 230 230 230 230 230 150 150 150 150 150

ชนั้ ปีที่ 2 190 190 190 190 220 220 220 220 140 140 140 140

ชั้นปีท่ี 3 180 180 180 210 210 210 130 130 130

ชั้นปที ี่ 4 170 170 200 200 120 120

รวม 200 390 570 740 740 230 450 660 860 860 150 290 420 540 540

คาดว่าจะจบ - - - 170 170 - - - 200 200 - - - 120 120
การศกึ ษา

มคอ.2 16

แผนการรับนักศึกษาและจำนวนผู้สำเร็จการศกึ ษาในระยะเวลา 5 ปี รวม 3 วิทยาเขต

จำนวนนักศกึ ษา (คน)

จำนวนนักศึกษา รวม

2562 2563 2564 2565 2566

ชน้ั ปที ่ี 1 580 580 580 580 580

ชนั้ ปีที่ 2 0 550 550 550 550

ชัน้ ปที ี่ 3 0 0 520 520 520

ชนั้ ปีท่ี 4 0 0 0 490 490

รวม 580 1130 1650 2140 2140

คาดวา่ จะจบการศกึ ษา 490 490

2.6 งบประมาณตามแผน
งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยต่อหัวต่อปี (สูงสุด) 69,800บาท
งบประมาณคา่ ใช้จ่ายตลอดหลักสตู ร 279,200 บาท

2.7 ระบบการศึกษา
แบบช้ันเรียน ทั้งน้ีในบางรายวชิ าอาจมีการเรียนดว้ ยสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) เพม่ิ เตมิ ได้ตามความ

เหมาะสม
2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกิตรายวชิ าและการลงทะเบียนข้ามมหาวทิ ยาลัย
เปน็ ไปตามขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยศรีปทุมว่าด้วยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี

3. หลักสตู รและอาจารย์ผสู้ อน

3.1 หลักสตู ร

3.1.1 จำนวนหน่วยกิต

ตลอดหลักสตู ร 128 หนว่ ยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลักสตู ร

(1) หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกติ

(2) หมวดวิชาเฉพาะ 92 หน่วยกิต

(2.1) วชิ าแกน 31 หน่วยกิต

(2.2) วิชาเอกบงั คบั 31 หน่วยกิต

(2.3) วิชาโท/วิชาเฉพาะ

(เลอื กเรียนวิชาโท/วิชาเฉพาะ จำนวน 2 กลมุ่ กลมุ่ ละ 15 หนว่ ยกติ )

2.3.1 วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ1 15 หนว่ ยกิต

2.3.2 วิชาโท/วชิ าเฉพาะ2 15 หน่วยกติ

(3) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกติ

มคอ.2 17

3.1.3รายวิชา
ความหมายของรหัสวิชา
รายวิชาในหลกั สูตรประกอบดว้ ย อักษรย่อ 3 ตัว และเลขรหัส 3 ตัว โดยมคี วามหมาย ดังนี้

ตัวอกั ษร MGT หมายถึง สาขาวชิ าการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ (Modern Administration
andManagement)

ตวั อักษร BUS หมายถึง รายวชิ าแกน
ตวั อกั ษร LSM หมายถึง รายวชิ าแกน
ตัวอักษร MKT หมายถึง รายวิชาแกน
ตัวอักษร ECO หมายถึง รายวิชาแกน
ตวั อักษร MGT หมายถงึ รายวชิ าเอก สาขาวิชาการบรหิ ารและการจัดการสมยั ใหม่
ตัวเลข มีความหมาย ดงั นี้

หลกั รอ้ ย หมายถงึ ช้นั ปที ีค่ วรเรียน
หลักสบิ หมายถึง กลุ่มประเภทวชิ า
หลักหน่วย หมายถงึ ลำดับวิชาในแต่ละกลมุ่

(1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 30 หน่วยกิต

เลือกจากรายวชิ าทก่ี ำหนดในหมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป มหาวิทยาลยั ศรีปทุม โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบ

จากคณะ

(2) หมวดวชิ าเฉพาะ 92 หน่วยกติ

2.1วิชาแกน 31 หนว่ ยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วชิ า ชอื่ วิชา หนว่ ยกติ
BUS111
การจดั การและการเปล่ยี นผ่านทางธุรกิจ 3(3-0-6)
BUS199
(Management and Business Transformation)
BUS204
เปดิ โลกทศั น์สเู่ ส้นทางอาชพี ทางด้านบรหิ ารธรุ กิจ 1(0-2-1)
BUS226
BUS238 (Open Up Career Path in Business Administration)

การจัดการขอ้ มลู สารสนเทศทางธุรกจิ 3(3-0-6)

(Business Information Management)

กฎหมายธรุ กจิ และภาษีอากร 3(3-0-6)

(Business Law and Taxation)

ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารทางธุรกจิ 3(3-0-6)

(English for Business Communication)

มคอ.2 18
หน่วยกติ
รหัสวชิ า ช่อื วิชา 3(3-0-6)
BUS311 บัญชแี ละการเงินสำหรบั ธุรกจิ 3(3-0-6)
BUS331 (Accounting and Finance for Business) 3(3-0-6)
BUS402 การเปน็ ผู้ประกอบการ
ECO113 (Entrepreneurship) 3(3-0-6)
LSM205 การจัดการเชงิ กลยทุ ธ์และแผนธุรกจิ
MKT210 (Strategic Management and Business Plan) 3(3-0-6)
หลกั เศรษฐศาสตร์
(Principles of Economics) 3(3-0-6)
การจดั การโลจิสตกิ ส์และโซ่อุปทาน
(Logistics and Supply Chain Management)
หลักการตลาด
(Principles of Marketing)

2.2วิชาเอกบังคบั 31 หนว่ ยกติ

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วิชา ช่อื วิชา หน่วยกิต
MGT357
MGT370 การจดั การสภาพแวดล้อมทางธุรกจิ 3(3-0-6)
MGT386
MGT387 (Business Environment Management)
MGT388
MGT389 นวัตกรรมและการพัฒนาแนวคดิ ธรุ กจิ 3(3-0-6)
MGT390
MGT423 (Innovation and Developing Business Idea)

การจัดการความเสย่ี งแบบบูรณาการ 3(3-0-6)

(Integrated Risk Management)

การจัดการทรัพยากรมนุษยใ์ นยุคดิจิทัล 3(3-0-6)

(Managing Human Resource in Digital Era)

ศาสตรแ์ ละศิลป์ในการส่ือสารทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Art and Science in Business Communication)

การจัดการโครงการอยา่ งมอื อาชพี 3(3-0-6)

(Professional Project Management)

กลยุทธก์ ารตัดสินใจทางธุรกจิ 3(3-0-6)

(Decision-Making Strategies in Business)

สมั มนาทางการบริหารและการจดั การสมัยใหม่ 3(3-0-6)

(Modern Administration and Management)

มคอ.2 19

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หน่วยกติ

MGT498 เตรียมสหกจิ ศึกษาการจดั การ 1(0-2-1)

(Management Pre-Co-operative Education)

MGT499 สหกิจศกึ ษาการจดั การ 6(0-40-0)

(Management Co-operative Education)

หมายเหตุ: นักศกึ ษาท่ีไม่สามารถเรยี นรายวชิ า MGT499 สหกิจศึกษาการจัดการได้ ให้เรยี นรายวิชาตอ่ ไปน้ี โดย

ได้รับอนุมตั ิจากคณะ

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
WIL331
WIL361 การบูรณาการการเรยี นกบั การทำงาน 1 3(0-20-0)
WIL431
WIL461 (Work integrated Learning 1)
WIL462
MGT496 การบูรณาการการเรียนกับการทำงาน 3 6(0-40-0)
MGT497
(Work integrated Learning 3)

การบรู ณาการการเรียนกับการทำงาน 2 3(0-20-0)

(Work integrated Learning 2)

การบรู ณาการการเรยี นกบั การทาํ งาน 4 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 4)

การบูรณาการการเรยี นกบั การทำงาน 5 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 5)

หวั ขอ้ พเิ ศษทางการบรหิ ารและการจัดการสมยั ใหม่ 1 3(3-0-6)

(Special Issues in Modern Administration and Management1)

หวั ขอ้ พิเศษทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ 2 3(3-0-6)

(Special Issues in Modern Administration and Managementt 2)

2.3 วิชาโท/วิชาเฉพาะ

(เลือกเรียนวิชาโท/วิชาเฉพาะ จำนวน 2 กลุ่ม กลมุ่ ละ 15 หน่วยกติ )

2.3.1 วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ1 15 หนว่ ยกติ

2.3.2 วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ2 15 หนว่ ยกิต

นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาจากวิชาโท/วิชาเฉพาะ หรือวิชาเอก/วิชาชีพ หรือวิชาแกน/วิชาชีพ

พื้นฐาน ของหลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยศรีปทุม จำนวน 2 กลุ่ม ทั้งนี้ต้องได้รับความ

เหน็ ชอบจากคณะ

(3) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต

มคอ.2 20

นักศึกษาเลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยศรีปทุมทั้งหลักสูตร
ภาษาไทยและหลกั สตู รนานาชาติ ท้ังน้ีต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ

วชิ าโทสำหรับนกั ศกึ ษาหลกั สูตรอน่ื ใหเ้ ลอื กเรียนจากรายวชิ าต่อไปน้ี

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)

รหสั วชิ า ชอื่ วิชา หน่วยกติ

MGT376 การสร้างสรรคแ์ ละพฒั นานวัตกรรมทางธรุ กจิ 3(3-0-6)

(Creativity and Innovation Development for Business)

MGT377 การออกแบบการบริการทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Service Designin Business)

MGT387 การจดั การทรัพยากรมนุษยใ์ นยคุ ดจิ ทิ ัล 3(3-0-6)

(Managing Human Resource in Digital Era)

MGT388 ศาสตร์และศลิ ป์ในการสื่อสารทางธุรกจิ 3(3-0-6)

(Art and Science in Business Communication)

MGT396 การเรยี นร้ผู า่ นประสบการณ์ทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Learning through Experiences in Business)

มคอ.2 21
4.1.3 แสดงแผนการศกึ ษา

ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
BUS111 การจัดการและการเปลี่ยนผา่ นทางธุรกจิ 3(3-0-6)
………… กลมุ่ สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 2
………… กลมุ่ สาขาวิชามนษุ ย์ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 7
………… กลมุ่ สาขาวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 6

รวม 18 หน่วยกติ

ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่2

รหสั วิชา ชื่อวิชา หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
3(3-0-6)
LSM205 การจดั การโลจิสตกิ ส์และโซ่อุปทาน 3(3-0-6)
3(3-0-6)
BUS204 การจัดการขอ้ มูลสารสนเทศทางธุรกิจ 4
2
ECO113 หลกั เศรษฐศาสตร์ 2

………… กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร รวม17 หน่วยกติ

………… กล่มุ สาขาวิชามนุษย์ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

………… กลุ่มสาขาวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์

ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น

รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
3(3-0-6)
MKT210 หลักการตลาด 2

………… กลมุ่ สาขาวชิ าภาษาและการส่ือสาร รวม 5 หน่วยกติ

รวมหน่วยกิตปที ี่ 1 40 หนว่ ยกิต
รวมหน่วยกิตสะสม 40 หน่วยกติ

มคอ.2 22

ปีที่ 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
BUS199 เปดิ โลกทศั นส์ ู่เสน้ ทางอาชีพทางด้านบรหิ ารธรุ กิจ 1(0-2-1)
BUS226 กฎหมายธุรกิจและภาษีอากร 3(3-0-6)
MGT357 การจดั การสภาพแวดลอ้ มทางธุรกิจ 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ (1) 3(3-0-6)
………… วิชาเลอื กเสรี (1) 3(3-0-6)
………… กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร 2

รวม 15 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหสั วชิ า ช่ือวิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
BUS238 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารทางธุรกจิ 3(3-0-6)
BUS311 บญั ชีและการเงนิ สำหรับธรุ กจิ 3(3-0-6)
MGT370 นวัตกรรมและการพัฒนาแนวคิดทางธรุ กิจ 3(3-0-6)
………… วิชาโท/วชิ าเฉพาะ(2) 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วิชาเฉพาะ (3) 3(3-0-6)
………… วิชาเลอื กเสรี (2) 3(3-0-6)

รวม 18 หนว่ ยกติ

รวมหน่วยกิตปีท่ี 2 33 หน่วยกติ
รวมหน่วยกิตสะสม 73 หน่วยกติ

มคอ.2 23
ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาท่ี 1

รหสั วชิ า ชือ่ วิชา หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
MGT386 การจดั การความเสีย่ งแบบบรู ณาการ 3(3-0-6)
MGT387 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยคุ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วิชาเฉพาะ (4) 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ (5) 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วิชาเฉพาะ (6) 3(3-0-6)
………… กลุม่ สาขาวชิ าภาษาและการสอื่ สาร 2
………… กลมุ่ สาขาวิชามนุษยศ์ าสตร์และสังคมศาสตร์ 1

รวม 18 หน่วยกติ

ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
BUS331 การเปน็ ผ้ปู ระกอบการ 3(3-0-6)
BUS402 การจัดการเชงิ กลยุทธ์และแผนธุรกจิ 3(3-0-6)
MGT389 การจัดการโครงการอย่างมืออาชีพ 3(3-0-6)
………… วิชาโท/วิชาเฉพาะ (7) 3(3-0-6)
………… วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ (8) 3(3-0-6)

รวม 15 หน่วยกิต

รวมหน่วยกติ ปีท่ี 3 33 หนว่ ยกติ
รวมหน่วยกติ สะสม 106 หน่วยกติ

มคอ.2 24
ปที ี่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 1

รหสั วิชา ช่อื วิชา หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง)
1(0-2-1)
MGT498 เตรียมสหกจิ ศกึ ษาการจัดการ 3(3-0-6)
3(3-0-6)
MGT390 กลยุทธก์ ารตัดสินใจทางธุรกิจ 3(3-0-6)
3(3-0-6)
MGT388 ศาสตร์และศิลป์ในการสื่อสารทางธุรกิจ 3(3-0-6)

MGT423 สมั มนาทางการบริหารและการจัดการสมยั ใหม่ รวม 16 หน่วยกิต

………… วิชาโท/วชิ าเฉพาะ (9)

………… วชิ าโท/วชิ าเฉพาะ (10)

ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
6(0-40-0)
MGT499 สหกจิ ศึกษาการบรหิ ารและการจดั การสมัยใหม่
รวม 6 หน่วยกิต

หมายเหตุ : นกั ศกึ ษาที่ไมส่ ามารถเรียนวชิ า MGT4990 สหกิจศกึ ษาการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่ได้ ให้เรยี น

รายวชิ าวิชาต่อไปน้ี โดยไดร้ บั อนมุ ัติจากคณะ

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนว่ ยกิต

WIL331 การบรู ณาการการเรียนกบั การทำงาน 1 3(0-20-0)

(Work integrated Learning 1)

WIL361 การบรู ณาการการเรียนกับการทำงาน 3 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 3)

WIL431 การบรู ณาการการเรยี นกบั การทำงาน 2 3(0-20-0)

(Work integrated Learning 2)

WIL461 การบรู ณาการการเรยี นกบั การทํางาน 4 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 4)

WIL462 การบูรณาการการเรียนกบั การทำงาน 5 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 5)

MGT496 หวั ขอ้ พเิ ศษทางการบริหารและการจัดการสมยั ใหม่ 1 3(3-0-6)

(Special Issues in Modern Administration and Management1)

มคอ.2 25

รหัสวิชา ชือ่ วิชา หน่วยกติ
MGT497 หัวข้อพิเศษทางการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่2 3(3-0-6)
(Special Issues in Modern Administration and Management 2)

รวมหน่วยกติ ปีท่ี 4 22 หน่วยกติ
รวมหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกติ

3.1.5 คำอธบิ ายรายวิชา 92 หนว่ ยกติ
หมวดวชิ าเฉพาะ 31 หนว่ ยกติ
วชิ าแกน

BUS111 การจัดการและการเปลี่ยนผา่ นทางธรุ กิจ 3(3-0-6)

(Management and Business Transformation)

การจัดองค์การที่เน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลางและร่วมสร้างคุณค่าให้ลูกค้า ภาวะผู้นำเพื่อการเปลี่ยน

ผ่านธุรกิจ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การติดต่อสื่อสารธุรกิจ การควบคุมการดำเนินงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล

วิวัฒนาการการจัดการธุรกิจ การจัดการการเปลี่ยนแปลง การปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจและกระบวนการทำงานด้วย

ดิจิทัล แนวทางการปรับเปลี่ยนธุรกิจ การสร้างคุณค่าทางธุรกิจ รูปแบบธุรกิจในยุคดิจิทัลที่เน้นบริการ ลักษณะของ

การเปลีย่ นผ่านทางธรุ กจิ ผลกระทบของการเปลี่ยนผา่ นธุรกิจตอ่ อตุ สาหกรรม ตวั อย่างและกรณีศกึ ษาธุรกิจสมยั ใหม่

BUS199 เปดิ โลกทศั น์สู่เส้นทางอาชพี ทางด้านบริหารธุรกจิ 1(0-2-1)

(Open Up Career Path in Business Administration)

แนวโน้มอาชพี กบั ความต้องการของตลาด โอกาสและแนวทางการประกอบอาชีพ การเตรียมตัวก้าว

สูอ้ าชีพ ความเปน็ มอื อาชีพตามคณุ ลักษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงค์ จรรยาบรรณวิชาชีพ

BUS204 การจัดการข้อมลู สารสนเทศทางธุรกิจ 3(3-0-6)
(Business Information Management)
ข้อมูลและสารสนเทศทางธรุ กิจ ระบบสารสนเทศในองค์การธุรกิจ การบริหารฐานข้อมูล แหล่งที่มา

ของข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงธุรกิจ การแก้ปัญหา และการดำเนินงานทาง
ธุรกิจ การวิเคราะห์เชิงคาดการณ์ วิทยาการข้อมูล เพื่อกำหนดหน่วยวัด สำหรับคาดการณ์ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้
การใช้ขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื บริหารห่วงโซ่คุณค่าสมัยใหม่ การใช้ขอ้ มูลเพ่ือเพิ่มมลู คา่ สินคา้ และบริการ

มคอ.2 26

BUS226 กฎหมายธุรกจิ และภาษีอากร 3(3-0-6)

(Business Law and Taxation)

การจัดตั้งนิติบุคคล การทำนิติกรรมและสัญญาที่จำเป็นสำหรับธุรกิจ กฎหมายแรงงาน กฎหมาย

ประกันสังคม กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า กฎหมายธุรกิจดิจิทัล พรบ.

คอมพิวเตอร์ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล การคำนวณ การยื่น

แบบผ่านระบบออนไลน์ การใช้โปรแกรมคำนวณภาษี ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจดิจิทัล ภาษีธุรกิจ

เฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษศี ลุ กากร ภาษีสรรพสามิตและภาษบี ำรุงท้องที่ ประเดน็ ภาษที ีส่ ัมพันธ์กับรายการค้าระหว่าง

ประเทศ

BUS238 ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สารทางธรุ กจิ 3(3-0-6)

(English for Business Communication)

การฟงั และการอ่านสื่อทางธุรกิจ การสนทนาในเชงิ ธรุ กจิ การอ่านงานเขียนเชงิ ธุรกจิ และเศรษฐกิจ

จากสอ่ื สิ่งพิมพ์ และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ การอา่ นข้อมูลจากสถิติ ตาราง ภาพและแผนภูมิ การจับประเดน็ สำคญั รูปแบบ

การเขียนทางธรุ กิจ วฒั นธรรมและธรรมเนียมปฏบิ ัติในการสือ่ สารทางธรุ กิจ การเตรียมข้อมลู เพ่ือการแสดงความ

คดิ เห็น วธิ กี ารและขน้ั ตอนในการนำเสนอ

BUS311 บญั ชแี ละการเงนิ สำหรับธรุ กจิ 3(3-0-6)

(Accounting and Finance for Business)

การบัญชีและความสำคญั ของข้อมูลทางบญั ชใี นการบริหารธรุ กิจ วงจรการบญั ชีและแนวคดิ การ

บนั ทกึ บญั ชี งบการเงนิ การอ่านและการวเิ คราะห์งบการเงิน การวางแผนกำไรโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหวา่ งตน้ ทุน

ปรมิ าณ และกำไร ความเสีย่ งและอัตราผลตอบแทน มลู ค่าของเงนิ ตามเวลา ตลาดการเงินและสถาบนั การเงินสนิ ทรัพย์

ทางการเงิน การจดั หาเงินทุน ต้นทุนของเงนิ ทนุ โครงสรา้ งเงินทุนทเ่ี หมาะสม การจดั การเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น การวางแผน

ทางการเงิน การลงทนุ ในสินทรัพย์ระยะยาว นโยบายเงินปันผลและนวัตกรรมทางการเงิน

BUS331 การเปน็ ผปู้ ระกอบการ 3(3-0-6)

(Enterpreneurship)

การมองหาโอกาสทางธุรกิจ รูปแบบการเป็นเจ้าของธุรกิจ การจัดตั้งธุรกิจ ผู้ร่วมลงทุน แหล่งทุน

การทำการตลาด การทำบัญชี การบริหารเงิน การจัดการความเสี่ยง การเติบโตของธุรกิจ การปรับใช้เทคโนโลยี

สำหรบั ธุรกิจ ทรัพยส์ ินทางปัญญา ปรัชญาและจริยธรรมของผปู้ ระกอบการ การออกจากธุรกิจ

มคอ.2 27

BUS402 การจัดการเชิงกลยทุ ธแ์ ละแผนธรุ กจิ 3(3-0-6)

(Strategic Management and Business Plan)

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม โอกาส และข้อจำกัดของอุตสาหกรรม ความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน

การกำหนดประเภทของกลยุทธ์ แนวคิดการร่วมสร้างคุณค่าและเน้นแก้ปัญหาให้ลูกค้า การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ การ

ประเมินกลยุทธ์ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์องค์กร ความร่วมมือกับพันธมิตรธุรกิจและการแบ่งปันการใช้ทรัพยากร

กลยุทธ์ที่เปลี่ยนจากการแข่งขันมาเป็นการร่วมมือกัน การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบธุรกิจ จัดทำและ

นำเสนอแผนธรุ กิจ การจัดทำ Business Model Canvas และ Lean Canvas

ECO113 หลกั เศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6)

(Principles of Economics)

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ การวิเคราะห์อุปสงค์และอปุ ทานทางธรุ กิจ การผลติ และต้นทนุ การผลิต

ทางธุรกจิ รายรับ กำไร และจุดคุ้มทุนทางธุรกจิ โครงสร้างทางการตลาด ตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์ ตลาดแข่งขันไมส่ มบรู ณ์

ทฤษฎเี กมทางธรุ กจิ รายได้ประชาชาติ ดลุ บัญชีเดินสะพดั การแก้ไขดุลการชำระเงินขาดดุล นโยบายการเงินและการ

คลงั ทใี่ ช้ในการแก้ไขภาวะเงนิ เฟอ้ และภาวะเงนิ ฝดื ระบบเงินอิเล็กทรอนกิ ส์ ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงคา่ เงนิ ตรา

หรืออัตราแลกเปลยี่ นต่อการคา้ ระหวา่ งประเทศ การศึกษากรณที ่ีสง่ ผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของไทย

LSM205 การจัดการโลจิสติกส์และโซอ่ ปุ ทาน 3(3-0-6)

(Logistics and Supply Chain Management)

บทบาทโลจสิ ตกิ ส์และโซ่อุปทานต่อพลวัตโลกท่เี ปลยี่ นแปลง การจัดการการไหลทางกายภาพ ข้อมูล

และการเงิน องค์ประกอบและกิจกรรมโลจิสติกส์ การจัดซื้อและจัดหา การจัดสินค้าคงคลังแล ะคลังสินค้า

กระบวนการผลิต การบรรจุและบรรจุภัณฑ์ การขนส่งและการกระจายสินค้า เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการ

จัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่มุ่งเน้นบริการลูกค้าในลักษณะมองเห็นการเคลื่อนไหวของสินค้าและโปร่งใส

หลักการและแนวคิดการจัดการโซ่อุปทานแบบลีนการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อม การจัดการโซ่ความเย็น การ

จดั การความรว่ มมอื ในโซ่อปุ ทาน

MKT210 หลกั การตลาด 3(3-0-6)

(Principles of Marketing)

แนวคดิ พ้ืนฐานและหน้าท่ีทางการตลาด สภาพแวดลอ้ มทางการตลาด เมกะเทรนด์ ระบบขอ้ มลู ทาง

การตลาด การวิจัยการตลาด ข้อมูลขนาดใหญ่ เส้นทางผู้บริโภค ตัวตนของลูกค้า พฤติกรรมผู้บริโภค ความแตกต่าง

ระหว่างการตลาดที่เน้นตัวสินค้ากับการตลาดที่เน้นการบริการและการสร้างคุณค่าให้ลูกค้า การแบ่งส่วนตลาด การ

เลือกตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การบริหารผลิตภัณฑ์ การตั้งราคา ช่องทางการจัดจำหน่ายและการ

กระจายสินค้า การสื่อสารทางการตลาด ความแตกต่างในเชิงการตลาดระหว่างการมุ่งปิดการขาย กับการสร้าง

ความสัมพนั ธก์ บั ลกู ค้า จุดสัมผัสของลกู คา้ จริยธรรมทางการตลาด

มคอ.2 28

วชิ าเอกบังคับ 31 หนว่ ยกิต

MGT357 การจดั การสภาพแวดล้อมทางธรุ กิจ 3(3-0-6)

(Business Environment Management)

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทั้งสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ แนวโน้ม

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจในอนาคต เครื่องมือวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ผบู้ ริโภคอันสืบ่ เน่ืองมาจากเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล แพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพื่อการแข่งขันในเวทีโลกของธรุ กิจ การวางแผนและการจัดการ

การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวการดำเนินธุรกิจให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้การดำเนินธุรกิจมี

ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

MGT370 นวตั กรรมและการพัฒนาแนวคิดธุรกิจ 3(3-0-6)

(Innovation and Developing Business Idea)

การสร้างสรรค์และนวัตกรรมธุรกิจ นวัตกรรมบริการ นวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ นวัตกรรมทางกระบวนการ

ความเชื่อมโยงระหว่างนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการใหม่ในยุคดิจิทัล การวิเคราะห์โอกาสในการประกอบธุรกิจ การ

สร้างอัตลักษณ์สำหรับธรุ กิจ การทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ หลักการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจ ขั้นตอนการพัฒนา

ธุรกจิ ใหม่ การสรา้ งและบริหารเครือขา่ ยพนั ธมติ รเพ่อื การพัฒนาธรุ กจิ นวัตกรรม การนำนวตั กรรมออกสตู่ ลาดเพื่อการพาณชิ ย์

MGT386 การจัดการความเส่ียงแบบบูรณาการ 3(3-0-6)

(Integrated Risk Management)

การจัดระดับความเสี่ยงทางธุรกิจ รูปแบบของการจัดการความเสี่ยง เครื่องมือในการวัดความเสี่ยงทางธุรกิจ

การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางธุรกิจและองค์กร แนวทางการบริหารเพือ่ ลดความเสี่ยงทางธุรกิจ กลยุทธ์การตัดสินใจภายใต้สภาวะ

เสี่ยง ตัวแบบทางสถิติสำหรับการประเมินผลการดำเนินงานทางธุรกจิ การจัดการความขัดแย้งในองค์กร วิเคราะห์ผลกระทบอนั

เกดิ จากการบริหารความเส่ยี งท่ีมีต่อธรุ กิจและต่อระบบเศรษฐกิจ การจดั ทำแผนการบรหิ ารความเสี่ยงขององค์กร

MGT387 การจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ในยคุ ดิจิทลั 3(3-0-6)

(Managing Human Resource in Digital Era)

บทบาทและทักษะของผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร การจัดการความหลากหลายของทรัพยากรมนุษย์

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการ

จดั การทรัพยากรมนุษย์ ภาวะผู้นำในยคุ ดจิ ิทลั การพฒั นาสมรรถนะของทรพั ยากรมนุษย์เพื่อความได้เปรยี บทางการแข่งขัน การ

แรงงานสมั พนั ธ์

มคอ.2 29

MGT388 ศาสตร์และศิลปใ์ นการส่ือสารทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Art and Science in Business Communication)

กระบวนการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร รูปแบบการสื่อสารภายใน

องค์กร ทักษะการนำเสนอ ทักษะการเขียนเชิงธุรกิจ นวัตกรรมการสื่อสาร การเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารทางธุรกิจด้วย

เทคโนโลยี การสื่อสารผ่านสื่อสังคม รูปแบบการเจรจาต่อรอง กระบวนการเจรจาต่อรอง การสร้างความน่าเชื่อถือและ

ไวว้ างใจกับคู่เจรจา การวิเคราะห์ลักษณะพฤติกรรมของคเู่ จรจา กลยุทธ์เจรจาต่อรอง การสร้างบรรยากาศและทัศนคติที่ดี

ในการเจรจาต่อรอง การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ การปดิ การเจรจา และการสรุปข้อตกลงในการเจรจา

MGT389 การจัดการโครงการอยา่ งมืออาชพี 3(3-0-6)

(Professional Project Management)

แนวคิดการเพิ่มผลผลิตกับการบริหารโครงการ ความหมายและความสำคัญของโครงการ

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งกลยทุ ธ์ขององคก์ รและวงจรโครงการ การวางแผนงานโครงการ การจัดสรรทรพั ยากรในโครงการ

การจัดการด้านคุณภาพของโครงการ การพยากรณ์และการจัดทำงบประมาณของโครงการ นวัตกรรมทางการจัดการ

โครงการ การบริหารความเสี่ยงในการดำเนินงานของโครงการ การวัดประสิทธิผลและความก้าวหน้าการดำเนิน

โครงการ การตดิ ตามตรวจสอบและควบคมุ โครงการ และการปดิ โครงการ

MGT390 กลยทุ ธก์ ารตดั สนิ ใจทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Decision-Making Strategies in Business)

ความหมาย ความสำคัญ และรูปแบบของความคิดเชิงกลยุทธ์ การพัฒนาแนวคิดเชิงกลยุทธ์ การประยุกต์

ความคิดเชิงกลยุทธ์ในทางปฎิบัติ ทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหา รูปแบบการตัดสินในทางธุรกิจ องค์ประกอบและ

กระบวนการในการตัดสินใจทางธุรกิจ การบริหารและการจัดการสมัยใหม่ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ

กระบวนการการบรหิ ารเชิงกลยุทธ์ เทคนิคการสรา้ งแผนทางเลือกกลยุทธ์ กลยทุ ธ์ในการแข่งขันทางธุรกิจ กลยุทธ์การสร้างความ

ไดเ้ ปรียบทางการแข่งขันอยา่ งยั่งยนื

MGT423 สมั มนาทางการบรหิ ารและการจัดการสมยั ใหม่ 3(3-0-6)

(Modern Administration and Management)

การประยุกต์ใช้เทคนิคและนำการบรหิ ารและการจดั การสมัยใหมม่ าใชใ้ นการดำเนินงาน ของหนว่ ย

งานภาครัฐและเอกชนในประเทศและต่างประเทศ ประเด็นเรง่ ด่วน (Hot issues) ปญั หาและประเด็นปจั จุบนั ดา้ นการ

จัดการ กรณีศกึ ษา ประสบการณ์ การศึกษาผลงานวจิ ัยทางการจดั การ วิเคราะห์ปญั หาทางการจดั การ อภปิ รายแสดง

ความคิดเหน็ สรปุ ผลการวเิ คราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์

มคอ.2 30

MGT498 เตรยี มสหกิจศึกษาการจัดการ 1(0-2-1)

(Modern Administration and Management Pre-Co-operative Education)

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบ

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ความรู้พื้นฐาน เทคนิคและการเตรียมความพร้อมสำหรับการปฏิบตั ิงานในสถาน

ประกอบการ วิธีการทำโครงงานและรายงานสหกิจศกึ ษาทีเ่ ก่ียวข้องกบั วิชาชีพทางการจัดการและการบรหิ ารธุรกิจ

MGT499 สหกจิ ศึกษาการจดั การ 6(0-40-0)

(Modern Administration and Management Co-operative Education)

การปฏบิ ัตงิ านที่เก่ียวข้องกับวชิ าชีพณสถานประกอบการการทำโครงงานหรือรายงานท่ีเก่ียวข้องกับ

วชิ าชพี ซ่ึงมีประโยชน์ท้ังต่อนักศึกษาและสถานประกอบการการจดั การและการวางแผนวจิ ารณญาณและการตัดสินใจ

การแก้ไขปัญหาวัฒนธรรมองค์การการทำงานเป็นทีมมนษุ ยสมั พันธบ์ ุคลิกภาพและการวางตัวทักษะการสื่อสารความ

รับผดิ ชอบคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

WIL331 การบูรณาการการเรยี นกับการทำงาน 1 3(0-20-0)

(Work integrated Learning 1)

การปฏบิ ัตงิ านทเี่ กี่ยวขอ้ งกับวชิ าชีพ การทำโครงงานหรือรายงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับวิชาชพี ซ่ึงมปี ระโยชน์

ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ การจัดการและการวางแผน วิจารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา

วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะการสื่อสาร ความรับผิดชอบ

คณุ ธรรมและจริยธรรม

WIL361 การบรู ณาการการเรยี นกบั การทำงาน 3 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 3)

การปฏิบัตงิ านที่เกย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชพี การทำโครงงานหรือรายงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั วชิ าชีพซ่ึงมีประโยชน์

ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ การจัดการและการวางแผน วิจารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา

วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะการสื่อสาร ความรับผิดชอบ

คุณธรรมและจรยิ ธรรม

WIL431 การบรู ณาการการเรยี นกับการทำงาน 2 3(0-20-0)

(Work integrated Learning 2)

การปฏบิ ัตงิ านทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับวชิ าชีพ การทำโครงงานหรือรายงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับวชิ าชีพซึ่งมปี ระโยชน์

ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ การจัดการและการวางแผน วิจารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา

วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะการสื่อสาร ความรับผิดชอบ

คุณธรรมและจรยิ ธรรม

มคอ.2 31

WIL461 การบรู ณาการการเรยี นกบั การทำงาน 4 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 4)

การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ การทำโครงงานหรือรายงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพซึ่งมี

ประโยชน์ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการการจัดการและการวางแผนวิจารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ไข

ปัญหา วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะการสื่อสาร ความ

รบั ผิดชอบ คุณธรรมและจรยิ ธรรม

WIL462 การบูรณาการการเรียนกับการทำงาน 5 6(0-40-0)

(Work integrated Learning 5)

การปฏิบัติงานทเี่ กีย่ วข้องกับวชิ าชีพ การทำโครงงานหรือรายงานที่เก่ียวข้องกับวิชาชพี ซงึ่ มีประโยชนท์ ้ังต่อนักศึกษาและ

สถานประกอบการ การจัดการและการวางแผน วจิ ารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา วฒั นธรรมองค์การ การ

ทำงานเปน็ ทีม มนุษย์สมั พนั ธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะการสื่อสาร ความรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม

MGT496 หัวข้อพเิ ศษทางการบริหารและการจดั การสมัยใหม่ 1 3(3-0-6)

(Special Issues in Modern Administration and Management 1)

หัวขอ้ พเิ ศษทางการบรหิ ารและการจัดการสมัยใหม่ ท่ีใช้ในการพัฒนาการทำงานใหส้ อดคล้องกับโลกปัจจุบัน

โดยใช้การบรรยาย และการอภิปรายกรณีศึกษา รวมทั้งทำการคน้ ควา้ รายบคุ คล เพื่อใหเ้ ข้าใจในประเดน็ ปัญหาปจั จุบันทางการ

จัดการ เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะในการแกป้ ัญหา ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญทางการจดั การ

MGT497 หวั ข้อพิเศษทางการบรหิ ารและการจดั การสมยั ใหม่ 2 3(3-0-6)

(Special Issues in Modern Administration and Management 2)

หัวขอ้ พิเศษทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ ท่ีใช้ในการพัฒนาการทำงานให้สอดคล้องกับโลกปัจจุบัน

โดยใช้การบรรยาย และการอภิปรายกรณีศึกษา รวมทั้งทำการค้นคว้ารายบุคคล เพื่อให้เข้าใจในประเด็นปัญหาปัจจุบนั ทางการ

จดั การ เพื่อเพม่ิ พนู ทักษะในการแก้ปัญหา ทีเ่ กี่ยวข้องกับสาระสำคญั ทางการจัดการ

วิชาโทสำหรับนกั ศกึ ษาหลักสตู รอนื่ 15 หนว่ ยกติ

MGT376 การสรา้ งสรรค์และพัฒนานวัตกรรมทางธรุ กิจ 3(3-0-6)

(Creativity and Innovation Development for Business)

ความคิดสร้างสรรค์ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวคิดนวัตกรรมทางธุรกิจ ประเภทและรูปแบบของ

นวัตกรรม กระบวนการสร้างนวัตกรรม กระบวนการพัฒนานวตั กรรม กลยทุ ธก์ ารจัดการนวัตกรรม การนำนวัตกรรม

ออกสู่ตลาดเพอ่ื การพาณชิ ย์ ข้อจำกัดการพฒั นานวตั กรรมทางธรุ กิจ การเติบโตทางธรุ กจิ ด้วยนวตั กรรม

มคอ.2 32

MGT377 การออกแบบการบริการทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Service Design in Business)

แนวความคิดการบริการ ลักษณะเฉพาะของบริการ การออกแบบกระบวนการใหบ้ ริการ ต้งั แตก่ ารสำรวจ

และเก็บข้อมูล (Exploration) การวเิ คราะห์ข้อมูล การระบถุ ึงปัญหาภายในระบบงานบริการท่สี ่งผลระทบต่อพฤติกรรมการ

ใช้บริการของผู้ใช้ การนำผลวิเคราะห์มาใช้สร้างสรรค์งานบริการและนวัตกรรมการบริการ การสร้างแนวคิดการบริการที่

เชือ่ มตอ่ กับงานบริการได้ในทุกจุดปะทะ และการนำแนวคิดไปทดสอบและปฏบิ ัติจริงงาน และการบริหารดำเนนิ การกิจการ

บรกิ ารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

MGT387 การจัดการทรัพยากรมนษุ ยใ์ นยคุ ดิจิทัล 3(3-0-6)

(Managing Human Resource in Digital Era)

บทบาทและทกั ษะของผู้บริหารทรพั ยากรมนุษยใ์ นองค์กร การจดั การความหลากหลายของทรัพยากรมนุษย์

การจัดการทรัพยากรมนษุ ยภ์ ายใต้สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นแปลง เทคโนโลยีทใี่ ชใ้ นการจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ กระบวนการ

จัดการทรพั ยากรมนุษย์ ภาวะผนู้ ำในยุคดจิ ทิ ัล การพฒั นาสมรรถนะของทรัพยากรมนษุ ยเ์ พ่ือความได้เปรยี บทางการแข่งขนั การ

แรงงานสมั พันธ์

MGT388 ศาสตร์และศิลปใ์ นการส่ือสารทางธรุ กิจ 3(3-0-6)

(Art and Science in Business Communication)

กระบวนการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร รูปแบบการสื่อสารภายใน

องคก์ าร ทักษะการนำเสนอ ทกั ษะการเขียนเชิงธุรกิจ นวตั กรรมการส่ือสาร การเพิม่ ประสิทธิภาพการส่ือสารทางธุรกิจด้วย

เทคโนโลยี การสื่อสารผ่านสื่อสังคม รูปแบบการเจรจาต่อรอง กระบวนการเจรจาต่อรอง การสร้างความน่าเชื่อถือและ

ไวว้ างใจกับคู่เจรจา การวิเคราะหล์ ักษณะพฤติกรรมของคเู่ จรจา กลยทุ ธเ์ จรจาต่อรอง การสร้างบรรยากาศและทัศนคติที่ดี

ในการเจรจาต่อรอง การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ การปิดการเจรจา และการสรปุ ข้อตกลงในการเจรจา

MGT396 การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ทางธุรกิจ 3(3-0-6)

(Learning through Experiences in Business)

การวิเคราะห์กรณศี ึกษาต่างๆ ที่เก่ียวข้องกบั เสน้ ทางสู่ความสำหรับของนักบรหิ ารจัดการรนุ่ ใหม่ เริ่ม

ต้ังแต่จุดผันเปล่ยี นจากลูกจ้างเปน็ นักบริหารจัดการ การมองหาโอกาสทางธรุ กจิ ลักษณะและความคิดของผนู้ กั บรหิ าร

จดั การ ความสำคัญของแผนธรุ กจิ และการใช้แผนธุรกิจให้เกิดประโยชน์ ความสำคญั ของแผนการตลาดและการใช้แผนการ

ตลาดใหเ้ กิดประโยชน์ ลกั ษณะวิธแี ก้ปัญหาเมื่อเจออุปสรรค และ องคป์ ระกอบแห่งความสำเร็จของนักบรหิ ารจดั การทาง

ธรุ กิจ

มคอ.2 33

3.2 ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหนง่ และคณุ วุฒิของอาจารย์
3.2.1 อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน

ลำดบั ที่ ชื่อ-สกุล/เลขประจำตัวบัตร คณุ วฒุ ิ สาขาวชิ าเอก ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

1 ดร.กัลยารัตน์ ธรี ะธนชัยกุล กจ.ด. - - 24 24 24 24
3-1302-0057X-XX-X
บธ.ม. บรหิ ารธรุ กิจ

บธ.บ. บรหิ ารธุรกจิ

2 ดร.วทุ ธิชัย ลิ้มอรุโณทยั ปร.ด. การจัดการ - 24 24 24 24
3-70990-011X-XX-X
ศ.ม. เศรษฐศาสตรก์ าร

จัดการ

บธ.บ. การจัดการธรุ กิจ

3 ดร.ประเสริฐ สทิ ธิจิรพัฒน์ Ph.D. Human Resource ผศ. 18 18 18 18
3-1009-0500X-XX-X
Management

พบ.ม. บรหิ ารงานบคุ คล

ศศ.บ. บริหารรัฐกจิ

4 ดร.มกุ ดาฉาย แสนเมอื ง D.B.A. - - 18 18 18 18
3-6704-0011X-XX-X
บธ.ม. บริหารธุรกจิ
5 อาจารย์อรนิษฐ์ แสงทองสุข
3-1020-0244X-XX-X บธ.บ. บัญชี

M.B.A. Business - 18 18 18 18

Administration

ร.บ. สงั คมวิทยาและ

มนษุ ยวิทยา

มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม วทิ ยาเขตชลบุรี

ลำดับท่ี ชอ่ื -สกุล/เลขประจำตัวบัตร คณุ วฒุ ิ สาขาวิชาเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ตอ่ ปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

1 อาจารยธ์ ันยนันท์ สมบรู ณร์ ตั บธ.ม. การบรหิ ารธรุ กิจ - 24 24 24 24
นโชค บธ.บ. การจัดการธุรกจิ
1-1999-0014X-XX-X
สมัยใหม่

มคอ.2 34

ลำดับท่ี ช่ือ-สกุล/เลขประจำตวั บัตร คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วิชาการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

2 อาจารยก์ ฤษนิล เกยี รตธิ นศักดิ์ บธ.ม. - - 24 24 24 24
1-2001-0034X-XX-X
วท.บ. เทคโนโลยีเพอื่ การ

พฒั นายัง่ ยืน

3 อาจารยน์ คิ ม หมูหลา้ บธ.ม. การจัดการธรุ กจิ โลก - 24 24 24 24
1-5705-0012X-XX-X
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษสอื่ สาร

ธรุ กจิ

4 อาจารยฐ์ ติ ิยา กลบสันเทียะ M.M. International - 24 24 24 24
1-5299-0031X-XX-X
Business

บช.บ. การบัญชี

5 ดร.ปาริชาติ คุณปล้ืม กศ.ด. บรหิ ารการศึกษา ผศ. 18 18 18 18
40001-200-3X-XX-X
พบ.ม. การพฒั นาทรพั ยากร

มนุษย์

รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร์

พย.บ. การพยาบาลและ

ผดุงครรภ์ชน้ั หน่งึ

มหาวิทยาลัยศรปี ทุม วิทยาเขตขอนแก่น

ลำดบั ท่ี ชอื่ -สกุล/เลขประจำตัวบตั ร คณุ วุฒิ สาขาวิชาเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา
Management
ภาษาฝรง่ั เศส 2562 2563 2564 2565
International
1 อาจารย์นศิ ราวรรณ ไพบูลย์พรพงศ์ M.B.A. Business - 24 24 24 24
Management
3-4099-0020X-XX-X ศศ.บ. การตลาด
International
2 อาจารย์ทวิ าพร สำเนียงดี M.B.A. Business - 24 24 24 24
Management
3-7207-0042X-XX-X รฐั ศาสตร์

3 อาจารย์ เรวดี สุขสราญรมย์ บธ.บ. - 24 24 24 24
4-4403-0000X-XX-X M.B.A.

ร.บ.

มคอ.2 35

ลำดับท่ี ช่อื -สกุล/เลขประจำตัวบตั ร คุณวฒุ ิ สาขาวชิ าเอก ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา
บธ.ม. บรหิ ารธรุ กิจ
ศศ.บ. การทอ่ งเท่ยี ว 2562 2563 2564 2565
บธ.ม. บริหารธุรกิจ
4 อาจารย์ชลธิดา รกั ยทุ ธ์ วศ.บ. วศิ วกรรม - 18 18 18 18
3-4017-0008X-XX-X คอมพิวเตอร์
- 24 24 24 24
5 อาจารย์กฤษดา อาบสุวรรณ์
1-3098-0014X-XX-X

3.2.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร

มหาวิทยาลัยศรปี ทุม บางเขน

ลำดบั ท่ี ชือ่ -สกุล/เลขประจำตัวบตั ร คุณวุฒิ สาขาวชิ าเอก ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

1 ดร.กลั ยารัตน์ ธรี ะธนชัยกลุ กจ.ด. - - 24 24 24 24
3-1302-0057X-XX-X
บธ.ม. บรหิ ารธุรกิจ

บธ.บ. บริหารธรุ กิจ

2 ดร. วุทธชิ ัย ลม้ิ อรโุ ณทัย ปร.ด. การจดั การ - 24 24 24 24
3-70990-011X-XX-X
ศ.ม. เศรษฐศาสตร์การ

จัดการ

บธ.บ. การจดั การธรุ กิจ

3 ดร.ประเสรฐิ สทิ ธิจิรพฒั น์ Ph.D. Human Resource ผศ. 18 18 18 18
3-1009-0500X-XX-X
Management

พบ.ม. บรหิ ารงานบุคคล

ศศ.บ. บรหิ ารรฐั กิจ

4 ดร.มุกดาฉาย แสนเมอื ง D.B.A. - - 18 18 18 18
3-6704-0011X-XX-X
บธ.ม. บรหิ ารธรุ กจิ
5 อาจารยอ์ รนิษฐ์ แสงทองสุข
3-1020-0244X-XX-X บธ.บ. บัญชี

M.B.A. Business - 18 18 18 18

Administration

ร.บ. สงั คมวิทยาและ

มนุษยวิทยา

มคอ.2 36

ลำดบั ท่ี ชื่อ-สกุล/เลขประจำตัวบัตร คณุ วุฒิ สาขาวิชาเอก ตำแหนง่ ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วิชาการ การศึกษา
D.B.A. Strategic
Management 2562 2563 2564 2565

6 ดร.อนุพงศ์ อวิรุทธา M.B.A. Marketing ผ.ศ. 18 18 18 18
3-1017-0238X-XX-X M.B.A. Information

Technology
บธ.บ. การจดั การ

7 ดร.ณัฐธยาน์ ตรีผลา บธ.ด. การบริหารธรุ กิจ - 18 18 18 18
3-1007-0073 X-XX-X ศศ.ม. การบรหิ ารองค์การ - 18 18 18 18
บธ.บ. การจดั การ
8 อาจารย์สธุ นิ ี มงคล Ph.D. Business and - 18 18 18 18
3-1599-0000X-XX-X - 18 18 18 18
Social Sciences
9 อาจารย์ศริ ะ สตั ยไพศาล M.Sc. Management and
3-1002-0102X-XX-X
Business Studies
10 อาจารยบ์ รินดา ศลั ยวุฒิ Research (With
3-1101-0180 X-XX-X Commendation),
2010
M.Com. International
Business
บช.บ. การบญั ชี
M.B.A. Marketing and
International
Business
ศ.บ. เศรษฐศาสตรธ์ รุ กจิ
บธ.บ. การตลาด
ทล.บ. สารสนเทศธรุ กิจ
วศ.บ. วศิ วกรรมไฟฟ้า
กจ.ม การตลาด
บธ.บ การจดั การ

มคอ.2 37

มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม วทิ ยาเขตชลบุรี

ลำดับที่ ชื่อ-สกุล/เลขประจำตัวบัตร คุณวฒุ ิ สาขาวชิ าเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

1 อาจารย์ธันยนันท์ สมบูรณร์ ตั บธ.ม. การบรหิ ารธรุ กจิ - 2562 2563 2564 2565
- 24 24 24 24
นโชค บธ.บ. การจัดการธุรกจิ -
- 24 24 24 24
1-1999-0014X-XX-X สมัยใหม่ ผศ.
24 24 24 24
2 อาจารยก์ ฤษนลิ เกียรติธนศกั ด์ิ 1- บธ.ม. - -
- 24 24 24 24
2001-0034X-XX-X วท.บ. เทคโนโลยีเพื่อการ -
- 18 18 18 18
พัฒนายง่ั ยนื
- 18 18 18 18
3 อาจารยน์ ิคม หมูหล้า บธ.ม. การจัดการธรุ กจิ โลก 24 24 24 24
18 18 18 18
1-5705-0012X-XX-X ศศ.บ. ภาษาองั กฤษส่อื สาร 24 24 24 24

ธุรกิจ 18 18 18 18

4 อาจารย์ฐิติยา กลบสันเทียะ M.M. International

1-5299-0031X-XX-X Business

บช.บ. การบัญชี

5 ดร.ปารชิ าติ คุณปลืม้ กศ.ด. บรหิ ารการศึกษา

40001-200-3X-XX-X พบ.ม. การพฒั นาทรัพยากร

มนษุ ย์

รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร์

พย.บ. การพยาบาลและผดงุ

ครรภช์ น้ั หน่ึง

6. อาจารย์ธรี ุต กนกธร บธ.บ. การตลาด

บธ.ม. การตลาด

7. อาจารย์พงษภ์ ิภทั ร์ ราษี บธ.ม. การตลาด

บธ.บ. การตลาด

8. อาจารย์จีรวรรณ ลอออรรถ บธ.ม. -

พงศ์ บธ.บ. การตลาด

9. อาจารย์พลกฤษณ์ ไพรสานฑ์ บธ.ม. การบริหารธุรกจิ

วณิชกุล บธ.บ. การเงินและการ

ธนาคาร

10. อาจารย์พิจติ ต์ รอยศริ ิกุล พบ.ม. การพัฒนาทรพั ยากร

มนษุ ย์

ศ.บ. เศรษฐศาสตร์

มคอ.2 38

มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแกน่

ลำดับท่ี ชื่อ-สกุล/เลขประจำตัวบตั ร คุณวุฒิ สาขาวชิ าเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

1 อาจารยน์ ศิ ราวรรณ ไพบลู ย์พร M.B.A. Management - 2562 2563 2564 2565
พงศ์ ศศ.บ. ภาษาฝรัง่ เศส 24 24 24 24
3-4099-0020X-XX-X
M.B.A. International - 24 24 24 24
2 อาจารย์ทวิ าพร สำเนยี งดี Business
3-7207-0042X-XX-X Management - 24 24 24 24

3 อาจารย์ เรวดี สุขสราญรมย์ บธ.บ. การตลาด - 18 18 18 18
4-4403-0000X-XX-X M.B.A. International - 24 24 24 24

4 อาจารยช์ ลธิดา รกั ยุทธ์ Business - 24 24 24 24
3-4017-0008X-XX-X Management - 24 24 24 24
ร.บ. รฐั ศาสตร์ - 24 24 24 24
5 อาจารย์กฤษดา อาบสุวรรณ์ บธ.ม. บรหิ ารธุรกจิ
1-3098-0014X-XX-X ศศ.บ. การทอ่ งเทยี่ ว
บธ.ม. บรหิ ารธุรกิจ
6. อาจารย์สถิร ทัศนวัฒน์ วศ.บ. วศิ วกรรม
1-4099-0040 X-XX-X คอมพวิ เตอร์
บธ.ม. การตลาด
7. อาจารยณ์ ัฐกานต์ สังขะทรพั ย์ B.B.A. Marketing
3-4007-0082 X-XX-X บธ.ม. การตลาด
ศ.บ. เศรษฐศาสตร์
8 อาจารยอ์ รณิช ก่ำเกลี้ยง บธ.ม. การตลาด
1-4101-0022 X-XX-X ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ
ธรุ กิจ

4. องคป์ ระกอบเกยี่ วกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรอื สหกจิ ศึกษา)
จากผลการประเมินความพึงพอใจจากผ้ใู ช้บณั ฑติ มคี วามต้องการให้บัณฑิตมปี ระสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ

ทำงานจริงดังน้ันในหลกั สตู รจึงมีรายวชิ าประสบการณภ์ าคสนาม เพือ่ ฝกึ ให้นกั ศึกษารูจ้ ักการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียน
มา มาใช้กับสภาพการทำงานจริง และเพือ่ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มในทุกๆดา้ น ก่อนออกไปทำงานจรงิ

มคอ.2 39

4.1 ผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม
ความคาดหวงั ในผลการเรยี นรปู้ ระสบการณภ์ าคสนามของนกั ศึกษา มีดังน้ี
(1) ทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการตลอดจนมีความเข้าใจในหลักการ ความจำเป็นในการ

เรียนรูท้ ฤษฎีมากยิ่งขน้ึ
(2) บูรณาการความรู้ท่เี รยี นมาเพ่ือนำไปปฏบิ ัตงิ านจริงได้อย่างเหมาะสม
(3) มมี นษุ ยสัมพนั ธ์และสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ื่นได้ดี
(4) มีระเบียบวินัยตรงเวลาและเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กรตลอดจนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถาน

ประกอบการได้
(5) มคี วามกล้าในการแสดงออก และนำความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ปใช้ประโยชนใ์ นงานได้

4.2 ช่วงเวลา
ภาคการศกึ ษาที่ 2 ของชน้ั ปีท่ี 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
จดั เตม็ เวลาใน 1 ภาคการศกึ ษา

5. ข้อกำหนดเกยี่ วกบั การทำโครงงานหรอื งานวิจัย
ไมม่ ี

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรแู้ ละกลยทุ ธ์การสอนและการประเมินผล

1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนกั ศกึ ษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนกั ศกึ ษา

1. มคี ุณธรรม จริยธรรม ทำหนา้ ท่ีเป็นพลเมืองที่ดี สอดแทรกคุณลักษณะเหล่านี้ในเนื้อหาของรายวชิ าท่ี

มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมด้วยความ เกีย่ วข้องกบั จรยิ ธรรมทางธุรกิจ

ซื่อสตั ย์ทัง้ ในทางวิชาการและในวิชาชีพ

2. มีความรู้พื้นฐานที่ดีในการบริหาร งานด้าน มีการมอบหมายงานและแนะนำกรณีศึกษาเพื่อสรา้ งความ

อุตสาหกรรมบริการทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เขา้ ใจความสัมพันธข์ องภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ

มคี วามสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ให้เข้ากับ

สถานการณ์การทำงานจริงและใช้อย่างเหมาะสม

เพอ่ื การศกึ ษาตอ่

3. มีความใฝ่รู้ ต้องการความรู้ที่ทันสมัยและมี มกี ารใหท้ ำรายงานของตนเองและส่งเสริมใหเ้ รียนรู้และ

ความสามารถในการพัฒนาตวั เองเพื่อการเติบโตบ ศึกษาความรใู้ หม่ ๆ

ท้งั ในอาชพี ของตนเองและการพัฒนาของสังคม

มคอ.2 40

คุณลกั ษณะพเิ ศษ กลยทุ ธห์ รือกจิ กรรมของนักศกึ ษา

4. มีความสามารถในการคัดเลือกและดำเนินการ ใหม้ ีการแก้ไขปญั หาหรือการกำหนดใหท้ ำโครงการ

ด้วยวิธีที่ดีที่สุดในการแก้ ปัญหาที่เป็นระบบและ

ถกู ต้อง

5. มีความสามารถในการทำงานร่วม กับผู้อื่นได้ดี ทำโครงการหรือรายงานกลมุ่

ทำงานเป็นทีมได้ดแี ละสามารถจดั การตวั เองได้

6. รู้วิธีการดำเนินการเพื่อค้นหา ข้อมูลอย่างมี มอบหมายงานโดยให้มีการใช้อินเทอรเ์ น็ตเพ่ือค้นหาข้อมูล

ประสิทธิภาพและมีความ สามารถในการสื่อสาร ทต่ี ้องการและนำเสนอในช้นั เรียน

อยา่ งชัดเจน

2.1 การพัฒนาผลการเรียนรู้หมวดศกึ ษาทั่วไป
2.1.1 ด้านคณุ ธรรม
(1) มคี ารวะธรรม ซอื่ สัตยส์ ุจรติ และกตัญญู
(2) มวี ินัย มคี วามรบั ผิดชอบ มคี วามตรงต่อเวลา ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบและข้อบังคบั ขององค์กรและ

สงั คม
(3) มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอ่ ตนเอง สังคม และสิง่ แวดล้อม
(4) มีความใฝ่รู้และใฝเ่ รียน
(5) เคารพและช่นื ชมงานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิน่ และสากล

2.1.2 ด้านความรู้
(1) มคี วามรอบรู้ อยา่ งกวา้ งขวาง ติดตามความก้าวหนา้ กา้ วทันการเปลีย่ นแปลง
(2) มีความสามารถในการเชื่อมโยงและบรู ณาการศาสตร์ไปใช้ในการดำเนินชีวติ
(3) ตระหนักถงึ งานวจิ ัยในปัจจุบันทเ่ี กยี่ วข้องกับชีวติ และสังคม
(4) มคี วามร้แู ละสามารถประยุกต์ใชค้ วามรูท้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พื่อการพฒั นาอย่างยั่งยื

2.1.3 ดา้ นทักษะทางปัญญา
(1) สามารถในการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ
(2) สามารถคน้ หาข้อเท็จจรงิ ทำความเข้าใจ ประเมนิ ข้อมลู จากหลกั ฐานได้ และนำข้อสรุปมาใช้
(3) สามารถศกึ ษาวเิ คราะหป์ ัญหาทซ่ี บั ซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขท่ีสร้างสรรค์

2.1.4 ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
(1) สามารถปรบั ตัวทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ทัง้ ในฐานะผูน้ ำและสมาชิกกลุ่ม
(2) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
(3) เปน็ แบบอย่างท่ีดีต่อผู้อื่น มภี าวะผู้นำและผตู้ ามทด่ี ี
(4) เคารพในคณุ ค่าและศกั ด์ิศรขี องความเปน็ มนุษย์
(5) สามารถนำทกั ษะดา้ นพลานามัยและสุขศกึ ษามาใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ได้อยา่ งสมบรู ณ์

มคอ.2 41

2.1.5 ทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) มคี วามรู้พืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมาย การวเิ คราะห์

สถานการณ์ และการแนะนำประเดน็ การแก้ไขปัญหาทเ่ี ก่ยี วขอ้ งอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์
(2) สามารถสรุปประเดน็ และสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน และเลือกใชร้ ูปแบบการนำเสนอได้

เหมาะสมท้งั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
(3) สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการติดตอ่ ส่ือสาร การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ และ

สงั เคราะหข์ ้อมูลได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

2.2 การพฒั นาผลการเรียนรตู้ ามหลักสูตร
2.2.1 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
2.2.1.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
นักศึกษาต้องสามารถจัดการปัญหา มีคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพเพื่อให้สามารถดำเนิน

ชวี ติ รว่ มกับผอู้ ื่นในสงั คมอย่างราบรน่ื และเปน็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม โดยใชด้ ุลยพินจิ และค่านิยม อาจารย์ที่สอน
ในแตล่ ะวิชาตอ้ งพยายามสอดแทรกเร่ืองท่เี ก่ียวกับส่ิงต่อไปน้ี เพ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
ไปพรอ้ มกับวิทยาการตา่ งๆ ทศ่ี ึกษารวมทง้ั อาจารย์ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมอยา่ งนอ้ ยตามทรี่ ะบุไว้

(1) ตระหนกั ในคุณค่าและคุณธรรม จรยิ ธรรม การเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต
(2) มวี นิ ยั ตรงตอ่ เวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) มีภาวะความเป็นผนู้ ำและผู้ตาม สามารถทำงานเปน็ ทีมและสามารถแก้ไขขอ้ ขดั แยง้ และ
ลำดับความสำคัญ
(4) เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื รวมท้ังเคารพในคุณค่าและศักด์ิศรีของความ
เปน็ มนุษย์
(5) เคารพกฎระเบยี บและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(6) มจี รรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชพี
2.2.1.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรียนรดู้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
กำหนดให้มวี ฒั นธรรมองค์กร เพ่ือเป็นการปลกู ฝงั ใหน้ กั ศึกษามีระเบียบวินยั โดยเน้นการเข้าช้ัน
เรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของสถาบันฯนักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการ
ทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกให้รู้หน้าทีข่ องการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการ
ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม
จริยธรรมในการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่อง
นกั ศึกษาทีท่ ำดี ทำประโยชน์แกส่ ่วนรวม เสียสละ
2.2.1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
(1) ประเมนิ จากการตรงเวลาของนกั ศึกษาในการเข้าชัน้ เรยี น การส่งงานตามกำหนดระยะ
เวลาทมี่ อบหมาย และการรว่ มกิจกรรม

มคอ.2 42

(2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรยี งของนักศึกษาในการเข้ารว่ มกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
(4) ประเมนิ จากความรับผดิ ชอบในหน้าท่ีทไี่ ด้รับมอบหมาย

2.2.2 ดา้ นความรู้
2.2.2.1 ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้

นักศึกษาต้องมีความรู้ และความเข้าใจในองค์ความรู้ต่างๆ ในสาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศอย่าง
กว้างขวางและเป็นธรรม และความรู้ที่เกี่ยวกับสาขาวชิ าที่ศึกษานั้นต้องเปน็ สิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพ
และช่วยพัฒนาสังคม ตระหนักถึงงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองคค์ วามรู้ ดังนั้นมาตรฐานความรู้
ตอ้ งครอบคลมุ ส่ิงต่อไปน้ี

(1) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ หลกั การและทฤษฎที สี่ ำคญั ในเนอ้ื หาของสาขาวิชา
(2) มีความเช่ยี วชาญในการใชค้ อมพิวเตอร์ซอฟต์แวรต์ า่ งๆท่ีเก่ียวข้อง เพอ่ื การสร้างสรรค์ผลงานท่ีมี
คณุ ภาพ
(3) สามารถวิเคราะหป์ ัญหา เข้าใจและอธิบายถึงภาพรวมการทำงาน รวมทงั้ การประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะ และการใชเ้ ทคโนโลยี ทเี่ หมาะสมกับการแกไ้ ขปญั หา
(4) มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศเพื่อให้เล็งเห็น และเท่าทันกับการ
เปลย่ี นแปลงขององค์ความรู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
(5) สามารถบรู ณาการความร้ใู นสาขาวชิ าธุรกจิ ระหวา่ งประเทศกับความรู้ในศาสตร์อืน่ ๆ ได้อยา่ งดี

2.2.2.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติใน
สภาพแวดล้อมจริง เช่น การวิเคราะห์กรณีศึกษา การจัดการโครงการ การเขียนแผนธุรกิจ ที่เหมาะสมต่อการ
เปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยี ทัง้ นใี้ ห้เปน็ ไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเน้ือหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้
ควรจัดให้มกี ารเรยี นรจู้ ากสถานการณ์จริงโดยการศกึ ษาดูงานหรือเชิญผเู้ ช่ยี วชาญที่มปี ระสบการณต์ รงมาเป็นวิทยากร
พิเศษเฉพาะเรอื่ งตลอดจนฝกึ ปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ
2.2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นความรู้
ประเมนิ จากผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและการปฏิบตั ขิ องนักศกึ ษา ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบยอ่ ย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรยี น
(3) รายงานที่ประเมินจากนักศึกษาจดั ทำ
(4) ประเมนิ จากแผนธุรกิจหรือโครงการทน่ี ำเสนอ
(5)ประเมินจากการนำเสนอรายงานในช้ันเรยี น
(6) ประเมนิ จากวชิ าสหกจิ ศึกษา

มคอ.2 43

2.2.3 ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
2.2.3.1 ผลการเรียนร้ดู ้านทักษะทางปญั ญา

นกั ศกึ ษาต้องสามารถค้นหาข้อเทจ็ จรงิ ทำความเข้าใจ สามารถประเมนิ และใช้ขอ้ มลู ในการแก้ปัญหา
ด้วยตนเอง พัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับ
การพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษา ในขณะที่สอน
นักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทัง้ แนวคดิ
ดว้ ยตนเอง ไม่สอนในลักษณะทอ่ งจำ นกั ศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆจากการสอนเพอื่ ใหเ้ กิดทกั ษะทางปัญญาดังน้ี

(1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ เพื่อสามารถวางแผนการทำงานและแก้ปัญหา
เฉพาะหนา้ ไดอ้ ยา่ งดี

(2) สามารถสืบค้น ตีความ และใช้ความรู้ทางทฤษฎี เพื่อการคิดวิเคราะห์และนำมาใช้ในทาง
ปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

(3) สามารถรวบรวม ศกึ ษา วเิ คราะห์ และสรุปประเด็นปญั หาทางธุรกจิ
(4) สามารถประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทกั ษะทางดา้ นวิชาชพี กับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
2.2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพฒั นาการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะทางปัญญา
การสอนโดยใช้กรณีศึกษา ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม ในงานวิชาที่ต้องการฝึกฝนให้นักศึกษา มี
ทักษะทางปญั ญาตลอดจน การอภปิ รายกลุม่ ในประเดน็ ท่สี ำคัญๆ ทันสถานการณ์ และให้นักศึกษามีโอกาสปฏบิ ตั จิ ริง
2.2.3.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญานี้สามารถทำได้โดยการออก
ข้อสอบ ท่ีให้นกั ศึกษาแก้ปญั หา อธบิ ายแนวคดิ ของการแก้ปัญหา และวธิ ีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ท่ีเรียน
มา หลีกเล่ียงข้อสอบที่เปน็ การเลือกคำตอบท่ีถูกมาคำตอบเดยี วจากกลุ่มคำตอบที่ใหม้ าไม่ควรมคี ำถามเกีย่ วกับนิยาม
ตา่ งๆ
(2) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการ
นำเสนอรายงานในช้ันเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรอื สัมภาษณ์ เปน็ ตน้

2.2.4 ด้านทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ
2.2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ

นักศกึ ษาต้องออกไปประกอบอาชีพซ่ึงสว่ นใหญ่ต้องเกีย่ วข้องกับคนท่ีไม่ร้จู ักมาก่อน คนท่ีมาจากสถาบันอ่ืนๆ
และคนท่ีจะมาเปน็ ผู้บังคับบญั ชา หรอื คนท่จี ะมาอยู่ใต้บงั คับบญั ชา ความสามารถทจ่ี ะปรบั ตัวให้เขา้ กับกลุ่มคนต่างๆ
เป็นเรื่องจำเป็นอยา่ งย่งิ ดงั น้นั อาจารยต์ ้องสอดแทรกวธิ ีการที่เก่ียวข้องกบั คุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนใี้ ห้นักศึกษาระหว่าง
ที่สอนในรายวชิ าต่างๆ

(1) สามารถส่ือสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทง้ั ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

(2) สามารถให้ความชว่ ยเหลอื และอำนวยความสะดวกในการแกป้ ัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่ม
ทงั้ ในบทบาทของผูน้ ำ หรอื ในบทบาทของผรู้ ่วมทมี ทำงาน

มคอ.2 44

(3) สามารถใชอ้ งคค์ วามรใู้ นศาสตรท์ ี่ศึกษามาชี้นำสังคมในประเดน็ ทเ่ี หมาะสม
(4) มคี วามรบั ผดิ ชอบในการกระทำของตนเองและรับผดิ ชอบงานในกลุ่ม
(5) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมท้ัง
แสดงจุดยนื อย่างพอเหมาะทงั้ ของตนเองและของกลมุ่
(6) มีความรับผดิ ชอบการพฒั นาการเรยี นรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง
2.2.4.2 กลยทุ ธ์การสอนที่ใช้ในการพฒั นาการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคล
และความรับผิดชอบ
ใช้การสอนท่ีมีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
ทั้งในสาขาวิชาเดียวกันหรือต่างหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์
โดยมีความคาดหวงั ในผลการเรียนรูด้ า้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้

(1) สามารถทำงานกบั ผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบตอ่ งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
(3) สามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองค์กรที่ไปปฏบิ ัติงานได้เปน็ อยา่ งดี
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ท่ดี ีกบั ผ้รู ่วมงานในองค์กรและกบั บคุ คลทวั่ ไป
(5) มภี าวะผู้นำ
2.2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผดิ ชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
และสังเกตจากพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกในการร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมลู ท่ีได้

2.2.5 ดา้ นทกั ษะในการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.5.1 ผลการเรยี นร้ดู ้านทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
นักศึกษาต้องมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นต่ำ

ดงั น้ี
(1) มีทักษะสามารถประยุกต์ความรู้ทางด้านความคิด และการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อนำมา

สร้างสรรค์ผลงานทดี่ ีขน้ึ
(2) สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดง

สถติ ประยกุ ตต์ อ่ ปญั หาทีเ่ กย่ี วขอ้ งอยา่ งสร้างสรรค์
(3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ

นำเสนออยา่ งเหมาะสม
(4) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสอ่ื สารอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
2.2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

มคอ.2 45

กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสารนี้อาจทำ
ได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา วิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหา และให้นำเสนอแนวคิด
ของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ต่อนักศึกษาในชั้นเรียน อาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่าง
อาจารยแ์ ละกล่มุ นักศึกษา

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์
เสมือนจริงและภายใต้สถานการณ์จริงในการดำเนินธุรกิจ และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการ
ประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์

2.2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และ
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใชท้ ฤษฎี การเลอื กใช้เคร่ืองมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกยี่ วข้อง มาพฒั นาธรุ กิจ

(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย สื่อสารถึงแนวความคิดการดำเนินธุรกิจ ข้อจำกัด
เหตุผลในการเลือกใช้ระบบการจัดการ และเทคโนโลยี กรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน ความครบถ้วน
ชดั เจนตรงประเด็น

3. พัฒนาผลการเรียนรู้
3.1 ผลการพัฒนาการเรยี นรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1. PLO1 มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมในการดำเนนิ ชวี ิต บนพน้ื ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. PLO2 ตระหนกั และสำนึกในความเปน็ ไทย
3. PLO3 มคี วามรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศนก์ วา้ งไกล เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผ้อู ่ืน สังคม
ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
4. PLO4 มีทกั ษะการแสวงหาความรตู้ ลอดชวี ติ เพ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
5. PLO5 มที กั ษะการคิดแบบองคร์ วม
6. PLO6 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ เป็นพลเมืองที่มีคุณคา่ ของสงั คมไทยและสงั คมโลก
7. PLO7 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรูเ้ ทา่ ทนั
8. PLO8 ใชภ้ าษาในการสอื่ สารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.2 ผลการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร (PLO ของหลักสูตร)
1. PLO1 บูรณาการความรู้ดา้ นการจดั การเขา้ กับศาสตร์อื่นๆ ได้อย่างมืออาชีพเพือ่ ตอบสนองโลกแห่งการ
เปลีย่ นแปลง
2. PLO2 แสดงออกถงึ ความเป็นผนู้ ำท่ีกา้ วทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงในโลกธรุ กิจ
3. PLO3 แสดงออกถึงการดำเนินธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาล มีความรับผิดชอบต่อสังคม และมี
จริยธรรมบนสงั คมออนไลน์

มคอ.2 46

3.3 ผลการเรยี นรู้ยอ่ ยของหลกั สตู ร (sub PLO ของหลกั สูตร)
1. PLO1 บูรณาการความรู้ด้านการจัดการเข้ากับศาสตร์อื่นๆ ได้อย่างมืออาชีพเพื่อตอบสนองโลกแห่งการ
เปลย่ี นแปลง
1.1 PLO1Sub1 : วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจและเข้าใจเนื้อหาสาระสำคัญของการ
จดั การธรุ กจิ
1.2 PLO1Sub2 : วเิ คราะหน์ วตั กรรมใหม่ ๆ ท่ีใช้ในการบริหารจดั การธรุ กจิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
1.3 PLO1Sub3 : วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาการจัดการในธุรกิจได้อย่างทันสมัยก้าวทันต่อการ
เปลยี่ นแปลง
1.4 PLO1Sub4 : ประเมนิ โครงการของธุรกจิ ไดอ้ ย่างมืออาชีพ
2. PLO2 แสดงออกถงึ ความเปน็ ผ้นู ำทกี่ า้ วทันตอ่ การเปล่ียนแปลงในโลกธุรกิจ
2.1 PLO2Sub1 : เข้าใจและผสมผสานศาสตร์การจดั การด้านกำลังคนในยุคดจิ ทิ ลั
2.2 PLO2Sub2 : แสดงออกถึงทักษะด้านการสื่อสารและเจรจาต่อรองทางธุรกิจได้อย่างมีปะสิทธิ
ภาพ
2.3 PLO2Sub3 : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ส่งผลต่อบทบาทความเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาทาง
ธุรกิจทัง้ เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.4 PLO2Sub4 : สรา้ งแผนการจัดการโครงการไดอ้ ย่างมอื อาชีพ
3. PLO3 แสดงออกถึงการดำเนนิ ธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภบิ าล มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม และมจี รยิ ธรรม
3.1 PLO3Sub1 : รู้ด้านจริยธรรม หลักธรรมาภิบาล และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ในการดำเนิน
ธรุ กจิ อยา่ งถกู ต้อง
3.2 PLO3Sub2 : อธิบายถงึ ความสำคัญของข้อกำหนดดา้ นจริยธรรม หลกั ธรรมาภบิ าล และมีความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมในการดำเนนิ ธรุ กิจธุรกจิ
3.3 PLO3Sub3 : แสดงออกถึงความตระหนักในความสำคัญของข้อกำหนดด้านจริยธรรม หลัก
ธรรมาภิบาล และมคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคมในกิจกรรมทางธรุ กิจอยา่ งเหมาะสม

[

มคอ.2 47

3.4 แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบต่อผลการเรยี นรู้หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป
• ความรบั ผิดชอบหลกั  ความรบั ผิดชอบรอง

หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการ
ปญั ญา บคุ คลและความรับผดิ ชอบ วิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข

(1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (5) การสอ่ื สารและ
•••o o •o o o o o o o o o• เทคโนโลยสี ารสนเทศ
PLO 1. มีคุณธรรมจรยิ ธรรมในการ • (1) (2) (3)
ดำเนินชวี ิต บนพืน้ ฐานปรชั ญา •o o

เศรษฐกิจพอเพยี ง o• o
oo o
PLO 2. ตระหนกั และสำนึกในความเปน็ • o•o•oooo•ooooo•o
ไทย o o••• o•o o o o•o •o• •• •

PLO 3. มคี วามรอบรู้อย่างกวา้ งขวาง มี o •• •
oo o
โลกทศั น์กว้างไกล เข้าใจและเห็นคุณค่า

ของตนเอง ผู้อ่นื สงั คม ศิลปวฒั นธรรม

และธรรมชาติ

PLO 4. มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ o •o•o•o•••••o•ooo

ตลอดชีวิต เพ่อื พฒั นาตนเองอย่าง ••ooo•oo•••ooooo
o•ooooooooo•oo•o
ตอ่ เนือ่ ง

PLO 5. มที กั ษะการคดิ แบบองคร์ วม o

PLO 6. มจี ิตอาสาและสำนึกสาธารณะ o

เปน็ พลเมอื งที่มคี ณุ ค่าของสงั คมไทยและ

สงั คมโลก

มคอ.2 48

5. ทักษะการ

1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง วิเคราะห์เชงิ ตวั เลข
ปญั ญา
หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป บุคคลและความรับผดิ ชอบ การส่ือสารและ

PLO 7. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ
รู้เทา่ ทัน
PLO 8. ใชภ้ าษาในการส่อื สารอยา่ งมี (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3)
ประสทิ ธภิ าพ
o••oo•oo•oooooooo•o •

ooooo••o•ooo•ooooo• •

มคอ.2 49

3.5 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบตอ่ ผลการเรยี นรขู้ องหลักสูตร
• ความรบั ผดิ ชอบหลัก  ความรับผดิ ชอบรอง

Knowledge ID 1. คณุ ธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะความ 5. ทักษะการ

Program Learning Outcome 1 2 3 4 56 1 23 4 ปญั ญา สัมพันธร์ ะหว่างบุคคล วเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข
PLO1 บรู ณาการความรดู้ า้ นการจดั การ oo • • •o
เขา้ กบั ศาสตร์อ่นื ๆ ไดอ้ ย่างมืออาชีพเพ่ือ •oo และความรับผิดชอบ การสื่อสารและ
ตอบสนองโลกแห่งการเปลยี่ นแปลง o ••o •
PLO2 แสดงออกถึงความเป็นผูน้ ำที่กา้ ว ••o o o• •• เทคโนโลยี
ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงในโลกธุรกจิ
PLO3 แสดงออกถึงการดำเนินธรุ กิจ สารสนเทศ
ภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล มีความ
รบั ผิดชอบต่อสังคม และมีจริยธรรม 512341234561 234

o o••o o • ••oo

o•o o•o••o o •o

••o •oo• • •

มคอ.2 50

3.6 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบต่อผลการเรียนรจู้ ากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)

• ความรบั ผิดชอบหลกั o ความรับผิดชอบรอง

1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะความสัมพนั ธ์ 5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ปญั ญา ระหวา่ งบุคคล ตวั เลข การส่อื สาร
และเทคโนโลยี
รายวชิ า และความรบั ผิดชอบ สาร สนเทศ
123 4
1 2 345612345123412345 6
ooo•
วชิ าแกน • o oooo•ooooo•oo•oooo o
BUS111 การจัดการและการเปล่ยี นผ่านทางธรุ กิจ •o
BUS199 เปิดโลกทัศน์สู่เสน้ ทางอาชีพทางดา้ น o• o o o•o•o o• oo
บริหารธรุ กจิ o o•
BUS204 การจดั การขอ้ มูลสารสนเทศทางธุรกจิ o •oo• ooo•o •o •oo o
BUS226 กฎหมายธรุ กจิ และภาษอี ากร oo•
• o oooo• ooo•o ooo• • oo
BUS238ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สารทางธรุ กิจ
BUS311 บญั ชีและการเงนิ สำหรบั ธรุ กิจ • o oooooo •o•o o•oooo •o
BUS331 การเปน็ ผู้ประกอบการ oo• o
BUS402 การจดั การเชงิ กลยทุ ธ์และแผนธรุ กจิ o o ooo••oo o•oo oo•o o •oo
ECO113 หลักเศรษฐศาสตร์ • oo
LSM205 การจัดการโลจิสตกิ ส์และโซอ่ ุปทาน •o o o • o• • o •o

MKT210 หลักการตลาด o o • oo• oooo•oo o•ooo o

• o oooo•oooo•o ooo•

o• • o oo• • oo

• oo •ooo •o •ooo


Data Loading...