แผนวิทยาการคำนวณ ม2 ภาคเรียนที่ 1 ปี2565 - PDF Flipbook

แผนวิทยาการคำนวณ ม2 ภาคเรียนที่ 1 ปี2565

111 Views
25 Downloads
PDF 4,687,587 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการออกแบบอัลกอริทีมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบในชีวิตจริง การ ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python, java และ c อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิในการเผยแพร่ผลงาน โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการเรียนรู้แบบใช้ โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิดเผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ใน การสร้างโครงงานได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การนำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรู้เท่าทันและ รับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการมีความสามารถในการแก้ปัญหาและมี ทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว.4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบในชีวิตจริง ว.4.2 ม.2/2 ออกกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา ว.4.2 ม.2/3 อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น ว.4.2 ม.2/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการเผยแพร่ ผลงาน รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด

กำหนดการสอน วิชา ว22201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง สัปดาห์ ที่

วัน/เดือน/ปี

แผน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

เรื่อง/สาระสำคัญ

1 2 3 4 5 6

17 พ.ค. 2565 24 พ.ค. 2565 31 พ.ค.2565 7 มิ.ย. 2565 14 มิ.ย. 2565 21 มิ.ย. 2565

1 2 3 4 5 6

7

28 มิ.ย. 2565

7

8 9 10 11 12 13 14 15 16

5 ก.ค. 2565 12 ก.ค. 2565 19 ก.ค. 2565 26 ก.ค. 2565 2 ส.ค. 2565 9 ส.ค. 2565 16 ส.ค. 2565 23 ส.ค. 2565 30 ส.ค. 2565

8 9 10 11 12 13 14 15 16

17

6 ก.ย. 2565

17

18

13 ก.ย. 2565

18

แนวคิดเชิงคำนวณ รู้จักอัลกอริทึม การแยกส่วนประกอบ การหารูปแบบ การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ แก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม Flowgorithm การออกแบบขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรม การติดตั้งโปรแกรมไพทอน การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ตัวแปรภาษาไพทอน การใช้คำสั่ง print และ input การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วย คำสั่ง rage และ for ฟังก์ชั่นจากไลบรามีมาตรฐาน (stardard Library) นักออกแบบระบบ

19

20 ก.ย. 2565

19

รู้จักไมโครบิต

20

27 ก.ย. 2565

20

ระบบอัตโนมัติด้วยไมโครบิต

มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/1

เวลา (ชม.) 2 2 2 2 2 2

มฐ. ว4.2 ม.2/1

2

มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2

2 2 2 2 2 2 2 2 2

มฐ. ว4.2 ม.2/2

2

มฐ. ว4.2 ม.2/2 , ม.2/3 ,ม,4 มฐ. ว4.2 ม.2/2 , ม.2/3 ,ม,4 มฐ. ว4.2 ม.2/2 , ม.2/3 ,ม,4

2 2 2

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ภาระงานและสัดส่วนคะแนนปริมาณ รหัสวิชา ว22201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1 ลำดับที่ 1 2 3 4

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด มฐ. ว4.2 ม.2/1 มฐ. ว4.2 ม.2/2 มฐ. ว4.2 ม.2/2

แนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วย ภาษาไพทอน การแก้ปัญหาด้วย มฐ. ว4.2 ม.2/2 Micro :bit ม.2/3,ม.2/4 รวมหน่วยการเรียนรู้ คะแนนประเมินผลกลางภาค คะแนนประเมินผลปลายภาค รวมคะแนนประเมินผล

เวลา

คะแนน

ภาระงาน/ชิ้นงาน/กิจกรรม

4 10 20

5 10 30

ใบงาน ใบงาน ปฏิบัติชิ้นงานในโปรแกรม

6

15

ปฏิบัติชิ้นงานในโปรแกรม

40

60

40

10 30 100

โครงสร้างรายวิชา รหัสวิชา ว22201 รายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1.0 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 40 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ลำดับ หน่วยการ มฐ.การ สาระสำคัญ ชั่วโมง คะแนน ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ 1 แนวคิดเชิง มฐ. ว4.2 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิง 4 10 คำนวณ ม.2/1 คำนวณ ตัวอย่างปัญหา เช่น การวาดรูปเชิงเรขาคณิต การ เข้าแถวตามลำดับความสูงให้ เร็วที่สุด จัดเรียงเสื้อให้หาได้ ง่ายที่สุด 2 การ มฐ. ว4.2 รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ 10 15 แก้ปัญหา ม.2/2 ใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แก้ปัญหาหรือเพิ่มมูลค่าให้กับ บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์ 3 ภาษาไพ มฐ. ว4.2 1. การออกแบบและเขียน 20 20 ทอน ม.2/2 โปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ 2. การออกแบบและเขียน โปรแกรมที่มีการใช้ฟังก์ชั่น 3. การออกแบบอัลกอริทึมเพื่อ แก้ปัญหา อาจใช้แนวคิดเชิง คำนวณในการออกแบบเพื่อให้ การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพ 4. การแก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียน โปรแกรม เช่น python 4 Micro :bit มฐ. ว4.2 1. ความเป็นมาของบอร์ด และ 6 15 ม.2/2,ม.2/3 ส่วนประกอบของบอร์ด ม.2/4 micro:bit

ลำดับ ที่

หน่วยการ เรียนรู้

มฐ.การ เรียนรู้

สาระสำคัญ

2. ทำความรู้จักกับโปรแกรม madecode เริ่มต้นการสร้าง โปรเจ็คใหม่การเขียนโค้ดและ การเชื่อมต่ออุปกรณ์โมบาย 3. ทำความรู้จักกับเช็นเซอร์ ตรวจจับความเร่ง เริ่มต้นการ เขียนโปรแกรมและประยุกต์ใช้ งานในชีวิตประจำวัน 4. รู้จักเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ และการประยุกต์การเขียน โปรแกรมเพื่อมาประยุกต์ใช้งาน 5. เขียนโปแกรมการใช้งานปุ่ม ในบอร์ด และมานำประยุกต์ สร้างเกมที่ควบคุมด้วยปุ่ม รวมตลอดภาคเรียน

ชั่วโมง

40

คะแนน

100

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ ชื่อแผน แนวคิดเชิงคำนวณ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 2.2 ตัวอย่างปัญหา เช่น การวาดรูปเชิงเรขาคณิต การเข้าแถวตามลำดับความสูงให้เร็วที่สุดจัดเรียง เสื้อให้หาได้ง่ายที่สุด 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่พบ ในชีวิตจริงได้ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ซึ่งประกอบไปด้วยการแบ่งปัญหาใหญ่เป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบอัลกอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แม่นยำ

ซึ่งเรียกว่า อัลกอริทึม ทักษะการใช้แนวคิดเชิงคำนวณจึงสำคัญต่อการแก้ปัญหา ช่วยให้สามารถสื่อสารแนวคิด กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยพัฒนาพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยแนวคิดเชิง คำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (decomposition) การ พิจารณารูปแบบ (pattern recognition) การคิดเชิงนามธรรม (abstraction) และการออกแบบอัลกอริทึม (algorithm) 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนยกตัวอย่างปัญหาในชีวิตประจำวัน แล้วให้ผู้เรียนตั้งคำถามย่อยเพื่อนำไปสู่วิธีการหาคำตอบลงใน บัตรช่วยกันคิดคำถามย่อย ตัวอย่างคำถามเช่น ถ้าผู้เรียนต้องการเดินทางจากบ้านไปสถานที่ที่ไม่รู้จัก นักเรียน จะเดินทางอย่างไร แนวคำตอบ (ต้องการไปสถานที่ใด,เดินทางโดยวิธีการใด,เส้นทางเป็นอย่างไร,สถานที่ที่อยู่ระหว่างทางมีอะไรบ้าง, สถานที่นั้นมีลักษณะอย่างไร) 2. ขั้นสอน 1. ผู้สอนตั้งคำถามให้ผู้เรียนอธิบายขั้นตอนที่ผู้เรียนตอบคำถามว่าเป็นกระบวนการให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ตอบคำถามที่ได้ตั้งไว้ เช่น ต้องการไปสถานที่ใด เดินทางโดยวิธีการใด เส้นทางเป็นอย่างไร สถานที่ที่อยู่ระหว่าง ทางมีอะไรบ้าง แนวคำตอบ (หอสมุดประจำจังหวัด , ปั่นจักรยาน , ปันจักรยานไปทางตลาด เมื่อผ่านตลาดให้เลี้ยว ขวาที่แยกไฟแดงแรกแล้วตรงไป 500 เมตร เลี้ยวซ้าย จากนั้นตรงไปอีก 200 เมตร , มีตลาด ร้านขนม วัด ) 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ช่วยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาแล้วตั้งคำถามย่อยเพื่อ นำไปสู่วิธีในการหาคำตอบ โดยอาจให้ผู้เรียนเป็นผู้กำหนดสถานการณ์หรือผู้สอนเตรียมไว้ให้ผู้เรียนเป็นผู้เลือก สถานการณ์ที่สนใจ แล้วให้ผู้เรียนนำเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณ์ลงในบัตรช่วยกันคิดคำถามย่อย 3. ผู้สอนแนะนำว่าวิธีการการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสามารถทำได้โดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณซึ่ง นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไป 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหา หัวข้อ 1.1 เรื่องการแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย 1.2 เรื่องการพิจารณารูปแบบ 1.3 เรื่องการคิดเชิงนามธรรม 1.4 เรื่องการออกแบบอัลกอริทึม 5. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนขั้นตอนหลักในข้อที่ 4 ใหม่ให้เป็นศูนย์การค้าของกลุ่ม โดยให้ใช้ขั้นตอน

ย่อยเดิม หลังจากนั้นส่งขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อยให้เพื่อนกลุ่มอื่นวาดลงในกระดาษกราฟ เมื่อวาดเสร็จแล้วให้ นำกลับกลุ่มเดิมเพื่อดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง 6. ผู้สอนสุ่มกลุ่มผู้เรียนให้นำเสนอคำตอบในแต่ละข้อ และผลจากการตรวจสอบความถูกต้อง 3. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมเรื่อง การวาดแบบแปลนอาคาร 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหา หัวข้อ 1.1 เรื่องการแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย 1.2 เรื่องการพิจารณารูปแบบ 1.3 เรื่องการคิดเชิงนามธรรม 1.4 เรื่องการออกแบบอัลกอริทึมจากหนังสือเรียน 2. นักเรียนพิจารณาภาพจำลองของโครงการศูนย์การค้า IPST โดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อนำไปเขียนแบบ แปลนโครงการอย่างง่ายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขให้ใช้รูปเรขาคณิตที่ออกแบบครั้งเดียวแล้วใช้ได้ ทั้งโครงการ โดยตารางแต่ละช่องมีขนาด 10 หน่วย

2.1 แบบปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย ปัญหาย่อยที่ 1 ปัญหาย่อยที่ 2 ปัญหาย่อยที่ 3 ปัญหาย่อยที่ 4 ปัญหาย่อยที่ 5 ปัญหาย่อยที่ 6 2.2 การพิจารณารูปแบบ ปัญหาย่อยที่ 1 คำตอบ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ......................... ปัญหาย่อยที่ 2 คำตอบ........................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ปัญหาย่อยที่ 3 คำตอบ........................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ปัญหาย่อยที่ 4 คำตอบ........................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ปัญหาย่อยที่ 5 คำตอบ........................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ปัญหาย่อยที่ 6 คำตอบ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ........................... รูปแบบโครงสร้างอาคารในโครงการ มีจุดร่วมกันดังนี้ ตัวอาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา (มี /ไม่มี)......................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซ้าย เป็นจุดเริ่มต้นในการวางตัวอาคาร 2.3 การคิดเชิงนามธรรม ชื่ออาคาร..................................................................................................................................................................... ตัวอาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา......................................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซ้าย.............................................................................................................................................................. ชื่ออาคาร..................................................................................................................................................................... ตัวอาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา......................................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซ้าย.............................................................................................................................................................. ชื่ออาคาร..................................................................................................................................................................... ตัวอาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา......................................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซ้าย.............................................................................................................................................................. ชื่ออาคาร..................................................................................................................................................................... ตัวอาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา......................................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซ้าย..............................................................................................................................................................

แนวการตอบใบกิจกรรม วาดแบบแปลนอาคาร 1. แตละกลุมศึกษาตัวอยางที่ 1.1-1.5 จากหนังสือเรียน 2. พิจารณาภาพจําลองของโครงการศูนยการคา IPST โดยใชแนวคิดเชิงคํานวณเพื่อนําไปเขียนแบบแปลน โครงการอยางงายดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมีเงื่อนไขใหใชรูปเรขาคณิตที่ออกแบบครั้งเดียวแลวใชทั้ง โครงการ

2.1 แบงปญหาใหญเปนปญหายอย [แนวการตอบ] - ในภาพมีอาคารกี่หลัง - ขั้นตอนในการวาดอาคาร I Shopping Mall เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด ขั้นตอนในการวาดอาคาร P IT Center เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด - ขั้นตอนในการวาดอาคาร S Salon เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด - ขั้นตอนในการวาดอาคาร T Sport Center เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด 2.2 การพิจารณารูปแบบ [แนวการตอบ] ปญหายอยที่ 1 ในภาพมีอาคารกี่หลัง

คําตอบ 4 หลัง ปญหายอยที่ 2 ขั้นตอนในการวาดอาคาร I Shopping Mall เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด คําตอบ อาคาร I Shopping Mall ตัวอาคารวาดดวยรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีเทา ขนาดดานละ 40 หนวย ตั้งอยูบนมุมลางซายที่พิกัด (0,0) ดานบนสี่เหลี่ยมวาดหลังคาดวยรูปสามเหลี่ยมดานเทาสี เขียวขนาดดานละ 40 หนวย ปญหายอยที่ 3 ขั้นตอนในการวาดอาคาร P IT Center เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด คําตอบ อาคาร P IT Center ตัวอาคารวาดดวยรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีฟา ขนาดดานละ 20 หนวย ตั้ง อยูบนมุมลางซาย อยูที่ (50,10) ไมมี หลังคา ปญหายอยที่ 4 ขั้นตอนในการวาดอาคาร S Salon เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด คําตอบ อาคาร S Salon ตัวอาคารวาดดวยรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีฟา ขนาดดานละ 20 หนวย ตั้งอยู บนมุมลางซาย อยูที่ (60,40) ไมมี หลังคา ปญหายอยที่ 5 ขั้นตอนในการวาดอาคาร T Sport Center เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด คําตอบ อาคาร T Sport Center มี ตัวอาคารวาดดวยรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีนํ้าเงิน ขนาดดานละ 30 หนวย ตั้งอยูบนมุมลางซายอยูที่ (80,0) ดานบนสี่เหลี่ยมวาดหลังคาดวยรูปสามเหลี่ยมดานเทาสี เหลืองขนาดดานละ 30 หนวย รูปแบบโครงสรางอาคารภายในโครงการ มีจุดรวมกัน ดังนี้ ตัวอาคาร เปนรูปสีเหลี่ยมจตุรัส หลังคา เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทาวางบนตัวอาคาร (มี/ไมมี) มุมลางซาย จุดเริ่มตนในการวางตัวอาคาร 2.3 การคิดเชิงนามธรรม [แนวการตอบ] อาคาร I Shopping Mall ตัวอาคาร ขนาด 40 หนวย สีเทา

หลังคา ขนาด 40 หนวย สีเขียว จุดมุมลางซาย อยูที่ (0,0) อาคาร P IT Center ตัวอาคาร ขนาด 20 หนวย สีฟา หลังคา ไมมี จุดมุมลางซาย อยูที่ (50,10) อาคาร S Salon ตัวอาคาร ขนาด 20 หนวย สีฟา หลังคา ไมมี จุดมุมลางซาย อยูที่ (60,40) อาคาร T Sport Center ตัวอาคาร ขนาด 30 หนวย สีนํ้าเงิน หลังคา ขนาด 30 หนวย สีเหลือง จุดมุมลางซาย อยูที่ (80,0)

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ ชื่อแผน รู้จักอัลกอริทึม สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 2.2 ตัวอย่างปัญหา เช่น การเข้าแถวตามลำดับความสูงให้เร็วที่สุด จัดเรียงเสื้อผ้าให้หาได้ง่ายที่สุด 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่พบ ในชีวิตจริงได้ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ซึ่งประกอบไปด้วยการแบ่งปัญหาใหญ่เป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบอัลกอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แม่นยำ

ซึ่งเรียกว่า อัลกอริทึม ทักษะการใช้แนวคิดเชิงคำนวณจึงสำคัญต่อการแก้ปัญหา ช่วยให้สามารถสื่อสารแนวคิด กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยพัฒนาพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย แนวคิดเชิงคำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (decomposition) การพิจารณารูปแบบ (pattern recognition) การคิดเชิงนามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอัลกอริทึม (algorithm) 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 3-4 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนยกตัวอย่างปัญหาในชีวิตประจำวัน แล้วให้ผู้เรียนตั้งคำถามย่อยเพื่อนำไปสู่วิธีการหาคำตอบ ตัวอย่างคำถาม 2. ขั้นสอน 1. ผู้สอนยกตัวอย่างปัญหาการจัดเรียงหนังสือตามลำดับความสูง โดยให้ผู้เรียนลองคิดวิธีการจัดเรียง หนังสือ หลังจากนั้นสุ่มผู้เรียนออกมา 2 คน โดยให้คนที่ 1 บอกวิธีจัดเรียงหนังสือให้คนที่ 2 ปฏิบัติตาม โดยคน ที่ 2 จะจำลองตัวเองเป็นหุ่นยนต์ซึ่งจะปฏิบัติตามคำสั่งและไม่สามารถคิดเองได้แล้วให้ผู้เรียนในห้องร่วมกัน อภิปรายว่าวิธีการเรียงหนังสือของเพื่อนคนที่ 1 เป็นอย่างไรบ้าง เช่น คำสั่งชัดเจนหรือไม่ สามารถนำไปปฏิบัติ ตามได้หรือไม่ มีคำสั่งใดที่ซ้ำกันหรือไม่ 2. ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 3. ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างที่ 1.6 แล้วร่วมกันอภิปรายว่าแตกต่างจากวิธีการที่นักเรียนคิดก่อนหน้านี้ หรือไม่ อย่างไร หลังจากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกันระดมสมองต่อว่าหากนักเรียนจะสอนน้องจัดเรียงหนังสือที่มี วิธีการที่แตกต่างจากตัวอย่าง จะออกแบบอัลกอริทึมอย่างไร และเขียนคำตอบลงในใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สอน น้องจัดหนังสือ แล้วให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเตรียมแสดงบทบาทสมมติตามอัลกอริทึมสอนน้องจัดหนังสือ 4. ผู้สอนสุ่มทุกกลุ่มนำเสนอบทบาทสมมติ 5. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายถึงข้อดีและข้อเสียในการเรียงหนังสือของแต่ละกลุ่ม 4. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint

9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมเรื่อง สอนน้องจัดหนังสือ 1. ศึกษาตัวอย่างที่ 1.6 จากหนังสือเรียน 2. ร่วมกันคิดและออกแบบวิธีการสอนน้องจัดหนังสือแบบอื่น ๆ โดยมีวิธีการดังนี้ 2.1 รูปแบบการจัดเรียง (เช่น เรียงความสูงจากน้อยไปมาก มากไปน้อย เรียงตามสี เรียงตามความหนา ของหนังสือ เรียงตามชื่อหนังสือ) คือ................................................................................................................... 2.2 อัลกอริทึมในการจัดเรียง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................ ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา ชื่อแผน การแยกส่วนประกอบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 2.2 ตัวอย่างปัญหา เช่น การวาดรูปเชิงเรขาคณิต การเข้าแถวตามลำดับความสูงให้เร็วที่สุด จัดเรียง เสื้อให้หาได้ง่ายที่สุด 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่พบ ในชีวิตจริงได้ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ซึ่งประกอบไปด้วยการแบ่งปัญหาใหญ่เป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การแยกส่วนประกอบ การคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบอัลกอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แม่นยำ

ซึ่งเรียกว่า อัลกอริทึม ทักษะการใช้แนวคิดเชิงคำนวณจึงสำคัญต่อการแก้ปัญหา ช่วยให้สามารถสื่อสารแนวคิด กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยพัฒนาพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย แนวคิดเชิงคำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (decomposition) การพิจารณารูปแบบ (pattern recognition) การคิดเชิงนามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอัลกอริทึม (algorithm) 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 5-6 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูนำรูปจักรยานมาให้นักเรียนทุกคนพิจารณา แล้วให้ทุกคนช่วยกันแยกส่วนประกอบของจักรยาน ว่ามีอะไรบ้าง และละส่วนมีหน้าที่อย่างไร 2. ครูช่วยนักเรียนในการพิจารณาส่วนประกอบย่อย และแนะนำเพิ่มเติม 3. ครูแสดงให้เห็นว่าสิ่งของทุกอย่างมีองค์ประกอบย่อยเสมอ แม้กระทั่งปัญหาที่นักเรียนต้อง แก้ปัญหานนั้นก็จะมีปัญหาย่อย ๆ ให้นักเรียนพิจารณา ดังนั้นการแก้ปัญหาที่สำคัญคือการมองปัญหาย่อยให้ออก แล้วแก้ไขจากปัญหาย่อยไปยังปัญหาที่ใหญ่ขึ้น 2. ขั้นสอน 1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละไม่เกิน 5 คน และแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องการแยกส่วนประกอบย่อย 2. ครูกำหนดปัญหาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกส่วนประกอบย่อย ดังนี้ 1. รถยนต์ 2. เครื่องบิน 3. เรือ 4. มอเตอร์ไซค์ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ที่ได้รับ 4. แต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปแนวคิดและผลการวิเคราะห์องค์ประกอบที่กลุ่มได้รับ ในประเด็นเกี่ยวกับ สิ่งที่ ต่างและสิ่งที่เหมือนกันองค์ประกอบนั้น 5. นักเรียนร่วมกันทำใบงานและบันทึกหน้าที่สำคัญขององค์ประกอบแต่ละส่วน 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ว่ามีอุปกรณ์หรือสิ่งที่มีลักษณะองค์ประกอบคล้ายกับสถานการณ์ที่ นักเรียนได้รับ 7. นักเรียนสอบถามปัญหาเพิ่มเติมกับครูผู้สอน เกี่ยวกับการแยกองค์ประกอบ 8. แต่ละกลุ่มสรุปและสังเคราะห์ความรู้และเขียนองค์ประกอบลงในใบกิจกรรม 9. นักเรียนในกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและตรวจสอบองค์ความรู้ของตนเอง เปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่างของแต่ละองค์ประกอบ

10. นักเรียนตรวจสอบใบกิจกรรมที่ทำอีกครั้ง 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปคำตอบและเขียนคำตอบลงในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ 12. สมาชิกกลุ่มร่วมกันประเมินคำตอบและตรวจสอบคำตอบที่ค้นพบอีกครั้ง 13. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอองค์ประกอบของสถานการณ์ที่ได้รับ 14. เพื่อนและครูร่วมกันสอบถามกลุ่มที่นำเสนอในประเด็นที่สงสัย 15. เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเสร็จ ครูสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการแยกองค์ประกอบของปัญหา ให้ นักเรียนทุกคนฟังอีกครั้ง 3. ขั้นสรุป 1. ครูสรุปหลักการและประโยชน์ของการแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา พร้อมกับอธิบายสรุป 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย และตอบปัญหาให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้ง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมที่ 1 สมาชิกกลุ่ม

1............................................................................................................................ ................. 2............................................................................................................................................. 3............................................................................................................................. ................ 4............................................................................................................................................. 5............................................................................................................................. ................ 1. ปัญหาได้รับ / นำเสนอ............................................................................................................................... ส่วนประกอบ

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา ชื่อแผน การหารูปแบบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 2.2 ตัวอย่างปัญหา เช่น การวาดรูปเชิงเรขาคณิต การเข้าแถวตามลำดับความสูงให้เร็วที่สุด จัดเรียง เสื้อให้หาได้ง่ายที่สุด 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่พบ ในชีวิตจริงได้ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ซึ่งประกอบไปด้วยการแบ่งปัญหาใหญ่เป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การแยกส่วนประกอบ การคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบอัลกอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แม่นยำ

ซึ่งเรียกว่า อัลกอริทึม ทักษะการใช้แนวคิดเชิงคำนวณจึงสำคัญต่อการแก้ปัญหา ช่วยให้สามารถสื่อสารแนวคิด กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยพัฒนาพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย แนวคิดเชิงคำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (decomposition) การพิจารณารูปแบบ (pattern recognition) การคิดเชิงนามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอัลกอริทึม (algorithm) 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 7-8 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนยกตัวอย่างปัญหาในชีวิตประจำวัน แล้วให้ผู้เรียนตั้งคำถามย่อยเพื่อนำไปสู่วิธีการหาคำตอบ ตัวอย่างคำถาม 2. ขั้นสอน 1. ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างที่ 1.7 จากหนังสือเรียน แล้วผู้สอนทดสอบโดยการสั่งให้ผู้เรียนเต้นตามคำสั่ง เช่น มาร์ชขวา มาร์ชซ้าย ขยับซ้ายขวา ขยับขวาซ้าย มาร์ชขวา 2 รอบ มาร์ชซ้าย 2 รอบ มาร์ชซ้ายและ มาร์ชขวา 2 รอบ 2. ผู้เรียนเลือกเพลงที่ชอบ หลังจากนั้นศึกษาท่าเต้นจากมิวสิควิดีโอ แล้วทำใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สอนเพื่อนเต้น 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนอัลกอริทึมท่าเต้นจากใบกิจกรรมที่ 1 แล้วให้แต่ละกลุ่ม ออกมาเต้นตามอัลกอริทึมที่ได้รับจากเพื่อนกลุ่มอื่น อาจให้ออกมาทีละ 2-5 กลุ่มพร้อมกันโดยให้กลุ่มเจ้าของ อัลกอริทึมสังเกตและตรวจสอบว่าเพื่อนเต้นได้ตามที่ออกแบบหรือไม่ ถ้าไม่ได้ให้ปรับแก้อัลกอริทึมจนกว่าเพื่อน จะสามารถปฏิบัติตามได้ถูกต้อง ผู้สอนอาจเปิดเพลงเพื่อเป็นการให้จังหวะผู้เรียนระหว่างการเต้น 4. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม 5. ผู้สอนถามผู้เรียนว่ามีวิธีการเลือกเสื้อผ้าในการแต่งตัวอย่างไร แล้วมีปัญหาหรือไม่ และทราบหรือไม่ ว่าแต่ละวันจะแต่งตัวอย่างไร 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบกิจกรรมที่ 2 แต่งตัว โดยตัวอย่างข้อมูลในตารางเป็นดังนี้ เสื้อ

เสื้อเชิ้ต เสื้อยืดคอกลม เสื้อกันหนาว เสื้อยืดคอวี

กางเกง/กระโปรง

รองเท้า

หมวก

7. ผู้สอนสุ่มผู้เรียนออกมานำเสนอ วิธีการจากใบกิจกรรมที่ 4 หน้าชั้นเรียน 8. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม 9. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบ 3. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุป 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมที่ 1 1. ศึกษาตัวอย่างที่ 1.7 เต้นตามจังหวะจากหนังสือเรียน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกเพลงที่กลุ่มต้องการ แล้วศึกษาคลิปวีดิโอที่มีท่าเต้นประกอบเพลงที่กลุ่มเลือก คือ............................................................................................................................................................................... 3. เลือกท่าเต้นออกมาจากคลิปวิดีโอ อย่างน้อย 3 ท่า แล้วตั้งชื่อ ท่าเต้นที่ 1 ชื่อ วิธีเต้น..................................................................................................................... ..................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ท่าเต้นที่ 2 ชื่อ วิธีเต้น..................................................................................................................... ..................................................... .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... ท่าเต้นที่ 3 ชื่อ วิธีเต้น..................................................................................................................... ..................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ .... 4. ออกแบบอัลกอริทึมให้เพื่อนเต้นตาม โดยใช้ท่าเต้นทุกท่าจากข้อ 3 มาประกอบกัน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติตาม แล้วอภิปรายภายในกลุ่ม พร้อมทั้งเขียนคำตอบลงในช่องว่าง 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างเครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อ กางเกง/ กระโปรง หมวก รองเท้า หรืออื่น ๆ ที่นักเรียน มีหรือสมมติ โดยเขียนประเภทเครื่องแต่งกายที่หัวตาราง แล้วเขียนรายละเอียดลงในคอลัมน์ประเภทของหัว ตาราง ประเภทที่นักเรียน กำหนด รายละเอียด

2. เขียนอัลกอริทึมในการเลือกเครื่องแต่งกายเพื่อไปเที่ยวกับเพื่อน ให้เข้ากับสภาพอากาศที่อาจมมีอากาศ ร้อนหนาวหรือฝนตก ได้ดังนี้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา ชื่อแผน การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ ตัวดำเนินการบูลีนเป็นตัวดำเนินการสำหรับตรวจสอบเงื่อนไข ตัวดำเนินการประเภทนี้จะใช้กระทำกับตัว ถูกดำเนินการที่เป็นนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ หรือข้อมูลบูลีน ตัวดำเนินการประเภทนี้ได้แก่ AND OR และ NOT โดย NOT จะกระทำกับตัวถูกดำเนินการตัวเดียว ส่วนตัวดำเนินการตัวอื่น ๆ จะกระทำกับตัวถูก ดำเนินการสองตัว การวนซ้ำด้วยคำสั่ง while เหมาะกับการวนซ้ำที่ไม่ทราบจำนวนรอบที่แน่นอน ใช้การ ตรวจสอบเงื่อนไข ก่อนเริ่มทำงานวนซ้ำไปจนกว่าเงื่อนไขเป็นเท็จ หรือยกเลิกการวนซ้ำด้วยคำสั่ง break การ เขียนโปรแกรมที่มีหลายทางเลือกอาจใช้คำสั่ง if-else ซ้อนกัน (nested if) จนครบทางเลือกที่ถูกออกแบบไว้ นอกจากนี้ในภาษาไพทอนมีคำสั่ง if-elif-else ซึ่งจะช่วยให้สะดวกขึ้น 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บอกวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนได้อย่างมีนประสิทธิภาพ(K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาโดยใช้ while และ if-elif-else (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ 2. การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch , Python , Java , C 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 9-10 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหาการคิดค่าโดยสารจากหนังสือเรียน แล้วให้ผู้เรียนช่วยกันตั้งคำถาม ย่อยเพื่อนำไปสู่วิธีการในการหาคำตอบ หลังจากนั้นให้ช่วยกันตอบคำถามย่อยที่ผู้เรียนตั้งขึ้น 2. ขั้นสอน 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาแนวทางการหาคำตอบจากปัญหาการคิดค่าโดยสารในหนังสือเรียนแล้วถาม ผู้เรียนว่ามีส่วนใดที่มีการตัดสินใจและมีการใช้ตัวดำเนินการที่ผู้เรียนไม่รู้จัก หลังจากนั้นเชื่อมโยงสู่การทำงานแบบ มีทางเลือกรูปแบบต่าง ๆ และยกตัวอย่างหากมีสถานการณ์ที่มีหลายเงื่อนไข ให้ผู้เรียนลองคิดอัลกอริทึมในการ ตรวจสอบเงื่อนไขแล้วสมมติข้อมูลเข้าและบอกข้อมูลออกหรือผลลัพธ์ที่ได้ เช่น สถานการณ์ ถ้าวันนี้ฝนตกและสัปดาห์หน้ามีการสอบ จะอยู่บ้านอ่านหนังสือ ไม่เช่นนั้น จะรวมกลุ่มไปช่วย เก็บขยะที่สถานที่ท่องเที่ยวใกล้บ้าน แนวคำตอบ ถ้าวันนี้ฝนตกและสัปดาห์หน้ามีการสอบ จะอยู่บ้านอ่านหนังสือ ไม่เช่นนั้นรวมกลุ่มเพื่อไปช่วย เก็บขยะที่สถานที่ท่องเที่ยวใกล้บ้าน ข้อมูลเข้า วันนี้ฝนไม่ตก และสัปดาห์หน้าไม่มีการสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ รวมกลุ่มเพื่อไปช่วยเก็บขยะที่สถานที่ท่องเที่ยวใกล้บ้าน สถานการณ์อื่น ๆ เช่น - ถ้ามีเงินมากกว่า 100 บาท และมีขนมหวานที่ชอบ จะซื้อข้าวแกงและขนมหวานไม่เช่นนั้นจะซื้อ ข้าวแกงอย่างเดียว - ถ้าห่อข้าวกับไข่เจียวไปโรงเรียนและโรงอาหารมีก๋วยเตี๋ยวขาย จะกินข้าวที่ห่อมาและซื้อเกาเหลาเพิ่ม แต่ถ้าไม่ได้ห่อข้าวมา จะซื้อข้าวผัด 2. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา หัวข้อ เรื่อง ตัวดำเนินการบูลินในหนังสือเรียนและทดลองทำตัวอย่างที่ 2.2 และ 2.3 สุ่มผู้เรียนตอบคำถามชวนคิด แล้วให้ผู้เรียนทำใบกิจกรรมที่ 1 จริงหรือไม่ใช่หรือเปล่า หลังจากนั้น ผู้สอนสุ่มผู้เรียนนำเสนอคำตอบ 3. ผู้สอนแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แล้วให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทำใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องลองคิดจาก

สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 1 และสถานการณ์ที่ 2 4. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันตรวจโดยนำข้อมูลทดสอบที่เตรียมไว้ ทดสอบกับโปรแกรมของเพื่อนกลุ่ม อื่นหลังจากนั้นผู้สอนสอบถามผลการตรวจสอบของทุกกลุ่ม แล้วให้ผู้เรียนนำเสนอสาเหตุและวิธีแก้ไขในกรณีที่ โปรแกรมแสดงผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง 5. ผู้สอนทบทวนคำสั่งวนซ้ำที่เคยเรียนไปแล้ว ซึ่งเป็นการวนซ้ำโดยระบุจำนวนรอบในการทำงานและ ถ้าผู้เรียนต้องการทำงานแบบวนซ้ำโดยไม่ต้องระบุจำนวนรอบจะทำอย่างไร ให้ผู้เรียนยกตัวอย่างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่มีการทำงานแบบวนซ้ำที่ไม่สามารถระบุจำนวนรอบได้ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์ เช่น ยืนรอที่ป้าย รถจนกว่ารถประจำทางสายที่ต้องการจะมาถึง แล้วให้ขึ้นรถ หลังจากนั้นให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 2.3 การวนซ้ำด้วย คำสั่ง while แล้วทดลองทำตามตัวอย่างที่ 2.4 จากหนังสือเรียน 6. ให้ผู้เรียนทำใบกิจกรรมที่ 2 สถานการณ์ที่ 3 และสถานการณ์ที่ 4 แล้วผู้สอนสุ่มผู้เรียนนำเสนอ คำตอบและวิธีการแก้ปัญหา 3. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุป 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมที่ 1 จริงหรือไม่ใช่หรือเปล่า ชื่อ-สกุล......................................................................................................................... .....เลขที่ .............ห้อง.......... 1. ศึกษาเนื้อหาหัวข้อ 2.2 เรื่อง ตัวดำเนินการบูลิน จากหนังสือเรียน แล้วทดลองทำตามตัวอย่างที่ 2.2 และ 2.3 2. ให้นักเรียนพิจารณาโปรแกรมแต่ละข้อว่ามีผลลัพธ์เป็นค่าใด แล้วเขียนเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ถูกต้อง ข้อ โปรแกรม ผลลัพธ์ จริง เท็จ 2.1 a=1 b=2 print(a==b) 2.2 a=1 b=2 print(a!=b) 2.3 a=2 b=2 print(a>=b) 2.4 a=2 b=2 print(ab or c>b) 2.6 a=3 b=5 c=7 print(a>b and c>b) 2.7 a=3 b=5 c=7 print(ab) 2.8 a=3 b=5 c=7 print(bb or c>a)

ข้อ 2.9

2.10

โปรแกรม a=3 b=5 c=7 print(ab and c==a) a=11 b=15 c=17 print(ab and a!=b

จริง

ผลลัพธ์

เท็จ

ใบกิจกรรมที่ 2

สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ-สกุล...........................................เลขที่............2.ชื่อ-สกุล............................................เลขที่........... 3. ชื่อ-สกุล...........................................เลขที่............4.ชื่อ-สกุล............................................เลขที่........... พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ แล้วดำเนินการเขียนโปรแกรมตามขั้นตอนการแก้ปัญหาสถานการณ์ที่ 1 ถ้า ด.ช. บิวต้องการซื้อเมาส์ไร้สาย แต่ถ้าราคาแพงเกินกว่า 100 บาทจะเลือกซื้อเมาส์มีสาย 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 1) ข้อมูลเข้า คือ......................................................................................................................................................... 2) ข้อมูลออก คือ.......................................................................................................................... ............................ 3) วิธีการตรวจสอบความถูกต้อง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. การวางแผนการแก้ปัญหา (รหัสลำลองหรือผังงาน)

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา ชื่อแผน แก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม Flowgorithm สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพื่อให้การแก้ไขปัญหามี ประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟแวร์ที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมเช่นScratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขียนโปรแกรมทางเลือกและคำสั่ง วนซ้ำตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมาการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่ โปรแกรม 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ อัลกอรึทึม(K) 3.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรม Flowgorithm(K) 3.3 สามารถเขียนผังงาน (flowchart) โดยใช้โปรแกรม Flowgorithm ได้(P) 3.4 เห็นคุณค่าของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. การออกแบบและเขียนโปรแกรม Flowgorithm 2. การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Flowgorithm 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 11-12 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามดังต่อไปนี้ว่า “มีใครตอบได้ว่า อัลกอรึทึม คืออะไร?” ตัวอย่าง คำตอบ : กระบวนการแก้ปัญหาที่อธิบายเป็นขั้นตอน 2. ขั้นสอน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการออกแบบอัลกอรึทึม เรื่อง อัลกอรึทึม 2. ครูผู้สอนสอนวิธีการให้นักเรียนลงโปรแกรม Flowgorithm ดังนี้ ให้นักเรียน Download โปรแกรมที่ http://www.flowgorithm.org/download/

3. ทำการติดตั้งโปรแกรมโดยดับเบิ้ลคลิปที่ setup.exe

4. กดปุ่ม Next ตามภาพ พอติดตั้งสาเร็จให้กดปุ่ม Close

5. ครูผู้สอนอธิบายวิธีการใช้งานโปรแกรม Flowgorithm 6. หน้าจอโปรแกรม Flowgorithm เริ่มต้นจะสร้างจุด Main และ End ให้โดยอัตโนมัติ

7. ครูผู้สอนให้นักเรียนทดสอบการเขียนผังงาน โปรแกรมหาผลบวกของตัวเลขสองจำนวนเริ่มคลิกที่ ปลายลูกศรสีแดง จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

8. สร้าง Declare แล้วทาการดับเบิ้ลคลิกที่กล่อง Declare จะปรากฏหน้าต่างตามภาพ ให้ใส่ค่า a ใน ช่อง Variable Names เลือก Type เป็น Integer (ตัวเลขจานวนเต็ม) ครูผู้สอน *อธิบายเพิ่ม ชนิดของข้อมูล (Type) Integer = จานวนเต็ม (ตัวอย่าง 0, 1, 2, 3) Real = จานวนจริง (ตัวอย่าง 0.1, 5.2, 6.3, 5.5) String = อักขระ (ตัวอย่าง ชื่อ นามสกุล ที่อยู่) Boolean = จริง เท็จ

9. ครูผู้สอนให้นักเรียนสร้างกล่อง Declare เพิ่ม โดยกาหนดเป็นค่า b และ result ตามภาพ

10. สร้าง Input เพื่อรับค่า a และ b จากผู้ใช้

11. สร้าง Assign เพื่อคานวณ โดยช่อง Variable ให้กรอก result ช่อง Expression ให้กรอก a + b

12. สร้าง Output เพื่อแสดงการคานวณ โดยใช้ Code ดังนี้ "ผลบวกของตัวเลข "& a &" และ "& b &" คือ "& result

13. ทำกำรรันโปรแกรมโดยกดปุ่ ม

ที่แถบเมนู และทดสอบกำรกรอกข้อมูล และแสดงผลลัพธ์

10. ให้ผู้เรียนทำใบกิจกรรม เรื่อง การออกแบบอัลกอรึทึม โดยการเขียนผังงานแล้วผู้สอนสุ่มผู้เรียน นำเสนอคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา 3. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุป 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมเรื่อง อัลกอริทึม จงออกแบบอัลกอริทึม โดยการเขียนผังงาน (flowchart) ดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมตัดเกรด โดยให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลคะแนนรวมที่ได้ แล้วให้ระบบตรวจสอบว่า ถ้า คะแนนมากกว่า 80 ได้ เกรด 4 เป็นต้น 2. โปรแกรมคานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลตามสูตรของการหาพื้นที่ แล้วแสดงผลลัพธ์

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................ 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา ชื่อแผน การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่ พบในชีวิตจริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของการออกแบบขั้นตอนการทำงานแต่ละแบบได้ถูกต้อง (K) 2. ออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติได้ถูกต้อง (P) 3. ออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลองได้ถูกต้อง (P) 4. ออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงานได้ถูกต้อง (P) 5. สนใจใฝ่เรียนรู้ในการศึกษาและนำไปใช้ในชีวิตได้ (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. สาระการเรียนรู้ 1. การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ 2. การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch , Python , Java , C 4. การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาอาจใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบ เพื่อให้การ แก้ปัญหามีประสิทธิภาพ 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 13-14 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python เพื่อวัดความรู้เดิมของนักเรียนก่อนเข้าสู่กิจกรรม 2. ครูถามคำถามประจำหัวข้อว่า“นักเรียนคิดว่าการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม มีความสำคัญอย่างไรต่อการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์” (แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ครูผู้สอน เช่น ทำให้สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์) 2. ขั้นสอน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อค้นหาลักษณะของการออกแบบขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรมจากอินเทอร์เน็ตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง 2. จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มมานำเสนอเกี่ยวกับลักษณะของการออกแบบขั้นตอน การทำงานของโปรแกรม พร้อมอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน 3. นักเรียนศึกษาและสังเกตการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมทั้ง 3 ลักษณะ 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเพิ่มขึ้นว่า“การออกแบบลำดับขั้นตอนการทำงาน ของโปรแกรม สามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1) การออกแบบลำดับขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ เป็นการบรรยาย ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้ภาษามนุษย์ที่เข้าใจง่าย เพื่ออธิบายลำดับ ขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดับการทำงานก่อนหลัง 2) การออกแบบลำดับขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง เป็นรูปแบบภาษาที่มี โครงสร้างที่ชัดเจนและกระชับ เพื่อใช้อธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 3) การออกแบบลำดับขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน เป็นการใช้แผนภาพ สัญลักษณ์เพื่อแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม”

5. ครูยกตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติตามหนังสือเรียนเพื่ออธิบายลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดับการทำงานก่อน-หลังจากตัวอย่างต้องการคำนวณหาพื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขั้นตอนการทำงานดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6

เริ่มการทำงาน นำเข้าข้อมูลความกว้างของรูปสี่เหลี่ยม นำเข้าข้อมูลความยาวของรูปสี่เหลี่ยม คำนวณพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม = ความกว้าง x ความยาว แสดงผลพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม จบการทำงาน

6. ครูยกตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลองตามหนังสือเรียนเพื่ออธิบาย ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ จากตัวอย่างต้องการคำนวณ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สามารถเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ได้ดังนี้

START INPUT width INPUT length COMPUTE area = width * length OUTPUT area STOP

1. ครูยกตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงานตามหนังสือเรียน เพื่อแสดงลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้แผนภาพสัญลักษณ์ จากตัวอย่างต้องการคำนวณหา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขั้นตอนการทำงานดังนี้

START

width

length

area = width * length

area

STOP

8. นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ 9. นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง 10. นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน 3. ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมว่า“การออกแบบ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นการออกแบบลำดับขั้นตอนก่อนนำไปเขียน โปรแกรมจริง ส่งผลให้การเขียน โปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น และเกิดข้อผิดพลาดน้อยเนื่องจาก เป็นการเขียนอย่างเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานตาม โปรแกรมการทำงานก่อน – หลัง” 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ คำชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ เพื่อคำนวณหาพื้นที่ ของรูปสามเหลี่ยม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง คำชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง เพื่อคำนวณหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน คำชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน เพื่อคำนวณหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม START

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................. 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การติดตั้งโปรแกรมไพทอน สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของภาษาไพทอน (K) 2. การติดตั้งโปรแกรมสำหรับภาษาไพทอน(P) 3. สนใจใฝ่เรียนรู้ในการศึกษาและนำไปใช้ในชีวิตได้ (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ ภาษาไพทอนเป็นภาษาระดับสูงที่เหมาะแก่การฝึกเขียนโปรแกรมสำหรับผู้เริ่มต้น เนื่องจากมีโครงสร้าง ภาษาที่ไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการเรียนรู้ และสามารถต่อยอดเพื่อพัฒนาชิ้นงานอื่น ๆ ได้ เช่น การสร้างเกม

การสร้างแอปพลิเคชัน และยังมีส่วนที่รวบรวมฟังก์ชันย่อยต่าง ๆ ให้เรียกใช้งานจำนวนมาก โดยภาษา ไพธอนใช้ตัวแปลภาษาอินเทอร์พรีเตอร์ ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม และการแก้ไขคำสั่ง 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 15-16 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้สอนทบทวนเรื่องภาษาคอมพิวเตอร์ว่ามีอะไรบ้าง และให้นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับภาษา ไพทอน แล้วตอบคำถาม ดังนี้ 2. โปรแกรมภาษาไพทอนมีข้อดีอย่างไรสำหรับผู้เริ่มฝึกเขียนโปรแกรม (ตัวอย่างคำตอบ เพราะโครงสร้างภาษาไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการเรียนรู้ และสามารถต่อยอดเพื่อพัฒนา ชิ้นงานอื่น ๆ ได้ เช่น สร้างเกม สร้างแอปพลิเคชัน และยังมีส่วนที่รวบรวมกระบวนการและฟังก์ชันย่อยให้เรียกใช้ งานจำนวนมาก จึงทำให้ง่ายต่อการฝึกเขียนโปรแกรม) 3. ภาษาไพทอนใช้ตัวแปลภาษาประเภทใด (อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)) 4. นักเรียนยกตัวอย่าง IDE ของภาษาไพธอน (ตัวอย่างคำตอบ NetBeans, Eclipse, PyScripter, Thonny, PythonWin, PyCharm, Python IDLE) 2. ขั้นสอน 1. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คนที่มีประสบการณ์ ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการติดตั้งอินเทอร์พรีเตอร์ภาษาไพธอน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 ไปที่หน้าเว็บไซต์ https://www.python.org/downloads/ เพื่อดาวน์โหลดโปรแกรม ติดตั้งอินเทอร์พรีเตอร์ภาษาไพธอน โดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

เลือก Downloads Python 3.7.0

2.2

ดับเบิลคลิกเมาส์ที่ตัวติดตั้งอินเทอร์พรีเตอร์ python-3.7.0 ดับเบิลคลิกเมาส์ที่นี่

2.3

คลิกเมาส์ที่คำสั่ง

เพื่อเริ่มการติดตั้ง

คลิกเมาส์ที่ Install Now

2.4 รอดำเนินการติดตั้ง

2.5 ติดตั้งสำเร็จ คลิกเมาส์ที่ปุ่ม

3. นักเรียนตอบคำถามหลังการติดตั้งอินเทอร์พรีเตอร์ภาษาไพทอนต่อไปนี้ อินเทอร์พรีเตอร์ติดตั้งเพื่อจุดประสงค์ใด (ตัวอย่างคำตอบ ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ทำให้คอมพิวเตอร์เข้าใจคำสั่งของ ผู้เขียนโปรแกรม โดยจะแปลทีละบรรทัดและทำงานตามคำสั่งทันที แล้วจึงอ่านบรรทัดต่อไป) 4. นักเรียนปฏิบัติการติดตั้งโปรแกรม PyCharm สำหรับใช้งาน IDE ภาษาไพธอน โดยปฏิบัติ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 4.1 ไปที่หน้าเว็บไซต์ https://jetbrains.com/pycharm/download/ เพื่อดาวน์โหลดโปรแกรม ติดตั้ง PyCharm

ลิงค์ URL โปรแกรมติดตั้ง PyCharm

4.2 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม การดาวน์โหลดจนเสร็จสิ้น

โปรแกรมติดตั้ง PyCharm Community Edition แล้วรอ

เลือก DOWNLOAD

4.3 ดับเบิลคลิกเมาส์ที่โปรแกรมติดตั้ง pycharm-community-2018.2.2

โปรแกรมติดตั้ง PyCharm-community-2018.2.2

4.4 โปรแกรมจะแสดงหน้าจอต้อนรับดังภาพ จากนั้นคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

คลิกเมาส์ที่ปุ่ม

4.5 โปรแกรมสอบถามตำแหน่งติดตั้งของโปรแกรมดังภาพ จากนั้นเลือกตำแหน่งที่ต้องการติดตั้ง แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

เลือกตาแหน่งที่ตอ้ งการติดตั้งโปรแกรม แล้วคลิก เมาส์ที่ปุ่ม Next >

4.6 โปรแกรมจะสอบถามการสร้าง icon บนหน้าจอ desktop ดังภาพ โดยเลือกประเภทที่ต้องการที่ จะใช้ คือ ประเภท 64-bit Launcher จากนั้นทำเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างหน้า 64-bit Launcher แล้วคลิก เมาส์ที่ปุ่ม

เลือก 64-bit launcher แล้วเลือกคาสั่ง Next >

4.7 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม

เพื่อเริ่มการติดตั้ง จะปรากฏหน้าจอติดตั้งโปรแกรม ดังภาพ

เลือกคาสั่ง Installing

4.8 เมื่อโปรแกรมทำการติดตั้งเสร็จแล้วจะแสดงหน้าจอดังภาพ จากนั้นคลิกเมาส์ที่ปุ่ม เป็นการเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม PyCharm

เลือกที่ปุ่ม Finish

5. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามหลังการปฏิบัติการติดตั้งโปรแกรม PyCharm สำหรับใช้เป็น IDE ภาษาไพทอนต่อไปนี้ - หากการลงโปรแกรมไม่สมบูรณ์ นักเรียนจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ถอนการติดตั้ง และลงโปรแกรมใหม่อีกครั้ง) 6. นักเรียนปฏิบัติการใช้งานโปรแกรม PyCharm เบื้องต้น โดยปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 6.1 หลังจากคลิกเมาส์ที่ปุ่ม แล้ว จะปรากฏไอคอนโปรแกรม PyCharm บนหน้า desktop จากนั้นดับเบิลคลิกเมาส์เข้าใช้โปรแกรม

6.2 หลังจากเข้าโปรแกรมจะปรากฏหน้าจอดังภาพ จากนั้นคลิกเมาส์เลือกหน้าคำสั่ง Do not import settings แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

1) เลือก Do not import settings

2) คลิกเมาส์ที่ปุ่ม OK

6.3 อ่านทำความเข้าใจข้อตกลงของโปรแกรม แล้วคลิกเมาส์เลือกที่ปุ่ม จะปรากฏหน้าจอที่กำลังรอการประมวลผล ดังภาพ

คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Accept

6.4 เริ่มใช้งานคลิกเมาส์ที่

คลิกเมาส์เลือกที่ + Create New Project

จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ

6.5 เริ่มสร้างโพรเจกต์ โดยคลิกเมาส์เลือก File เลือก New Project… จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ 1) เลือกที่เมนู File 2) เลือก New Project…

6.6 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม เพื่อกำหนดตำแหน่งที่จะบันทึกโพรเจกต์ จากภาพเก็บโพรเจกต์ ไว้ที่ C:\Users\VICHA01\PythonProgram ดังภาพ แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

2) เลือกตาแหน่งที่จดั เก็บไฟล์

1) เลือก PythonProgram

3) คลิกเมาส์เลือกที่ปมุ่ OK

6.7 หากมีข้อความเตือน Interpreter field is empty ให้ทำการเลือกอินเทอร์พรีเตอร์ดังภาพ เสร็จแล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

1) เลือกอินเทอร์พรี เตอร์

2) เลือก Create

6.8 เริ่มสร้างไฟล์งาน คลิกเมาส์เลือกที่ File เลือก New จะปรากฏหน้าจอดังภาพ แล้วเลือก ชนิดไฟล์ Python File 1) เลือกที่เมนู File

2) เลือก New…

3) เลือก Python File

6.9 ตั้งชื่อไฟล์งาน แล้วคลิกเมาส์เลือกที่ปุ่ม โปรแกรม ดังภาพ

จะปรากฏหน้าจอเขียนคำสั่ง

a. ทดสอบการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนด้วยคำสั่ง print (“test”) จากนั้นให้คลิกเมาส์ ขวาเลือกที่เมนู Run ‘Test’ ดังภาพ

เลือก Run ‘Test Program’

6.11 โปรแกรมจะแสดงผลลัพธ์ของการรันโปรแกรมในส่วนแสดงผลลัพธ์ ดังภาพ

1) ส่วนโครงสร้าง

2) ส่วนเขียนโปรแกรม

โพรเจกต์และไฟล์

3) ส่วนแสดงผลลัพธ์

7. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามหลังปฏิบัติการใช้งานโปรแกรม PyCharm เบื้องต้นต่อไปนี้ - ถ้านักเรียนทดสอบโปรแกรมแล้วเกิดปัญหาโปรแกรมไม่แสดงข้อมูลที่นักเรียนเขียน จะมีวิธีการตรวจสอบอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ตรวจสอบคำสั่งและไวยากรณ์ในส่วนเขียนโปรแกรมทีละบรรทัด โดยเริ่ม ตรวจสอบจากบรรทัดบนสุดลงมาบรรทัดล่างสุดเพื่อหาความผิดพลาด เมื่อพบจุดผิดพลาดให้ทำการแก้ไขจนได้ผล ลัพธ์ที่ถูกต้อง) 3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ ภาษาไพทอนเป็นภาษาระดับสูงที่เหมาะแก่การฝึก เขียนโปรแกรมสำหรับผู้เริ่มต้น เนื่องจากมีโครงสร้างภาษาที่ไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการเรียนรู้ และสามารถต่อยอดเพื่อ พัฒนาชิ้นงานอื่น ๆ ได้ เช่น การสร้างเกม การสร้างแอปพลิเคชัน และยังมีส่วนที่รวบรวมฟังก์ชันย่อยต่าง ๆ ให้ เรียกใช้งานจำนวนมาก โดยภาษาไพทอนใช้ตัวแปลภาษาอินเทอร์พรีเตอร์ ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการตรวจสอบ ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและการแก้ไขคำสั่ง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้น (K) 2. เขียนโปรแกรมภาษาภาษาไพทอนเบื้องต้น(P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้น (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้นควรศึกษาการเขียนคำอธิบายที่ใช้อธิบายการทำงานของ โปรแกรม ควรศึกษาชนิดข้อมูล ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวนทศนิยม ตรรกะ และควรศึกษาตัวแปรที่ใช้ในการจัดเก็บ

ข้อมูลไว้ใช้ในการประมวลผล จึงทำให้การเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเป็นไปอย่างถูกต้อง 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 17-18 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูให้นักเรียนทบทวนเนื้อหาในคาบที่ผ่านมา 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาการเขียนคำอธิบาย ชนิดข้อมูล และตัวแปรของการเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอน 2. ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คนที่มี ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมและคำอธิบายในภาษาไพธอน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.1 เขียนคำอธิบายโดยใช้เครื่องหมายชาร์ป (#) นำหน้าข้อความเพื่อบอกให้อินเทอร์พรีเตอร์ ข้ามข้อความหลังเครื่องหมาย (#) ดังภาพ

ดังภาพ

1.2 เขียนคำอธิบายโดยใช้เครื่องหมาย Double Quote 3 คู่ ครอบส่วนที่ต้องการคอมเมนต์

2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามหลังปฏิบัติการเขียนโปรแกรม และคำอธิบายในภาษาไพทอนต่อไปนี้ - ทำไมจึงต้องเขียนคำอธิบาย (ตัวอย่างคำตอบ ทำให้ผู้ที่ศึกษาโปรแกรมต่อในภายหลังสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น หรือใช้ข้าม คำสั่งบรรทัดใดบรรทัดหนึ่ง)

3. นักเรียนร่วมกันศึกษาชนิดข้อมูล (Data type) และตอบคำถาม ต่อไปนี้ - ชนิดข้อมูลทั้งหมดในภาษาไพทอนประกอบด้วยอะไรบ้าง (ข้อมูลแบบจับคู่ ตัวเลข ตรรกะ ข้อมูลแบบเรียงลำดับ ชุดข้อมูล) - ข้อมูลชนิดตัวเลขมีอะไรบ้าง (จำนวนเต็ม ทศนิยม และจำนวนเชิงซ้อน) - ข้อมูลชนิดตรรกะประกอบด้วยอะไรบ้าง (จริง เท็จ) 4. นักเรียนร่วมกันศึกษาจำนวนเต็ม (Integer) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน 5. นักเรียนร่วมกันเขียนโปรแกรมจำนวนเต็ม (Integer) ดังตัวอย่าง

6. นักเรียนร่วมกันเขียนโปรแกรมจำนวนเต็ม โดยแปลงจำนวนในเลขฐานสิบเป็นเลขฐานอื่น ๆ ด้วยการใช้ คำสั่ง bin ( ), oct ( ), hex ( ) ดังตัวอย่าง

4. นักเรียนร่วมกันเขียนโปรแกรมจำนวนทศนิยม (Floating-Point Numbers) ดังตัวอย่าง

8. นักเรียนร่วมกันศึกษาตรรกะ (Boolean) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน 9. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเกี่ยวกับตัวแปรต่อไปนี้ • ทำไมการเขียนโปรแกรมจึงต้องมีตัวแปร (ตัวอย่างคำตอบ เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลไว้ใช้ในการประมวลผลขั้นต่อไป) 10. นักเรียนร่วมกันศึกษาตัวแปร (Variable) และการกำหนดชื่อตัวแปรในภาษาไพธอน 11. นักเรียนแต่ละคู่ออกมาเขียนคำสั่งงานในภาษาไพธอนลงในตารางบนกระดาน ดังตัวอย่าง และตอบคำถาม



คำสั่งงานในภาษาไพธอนคืออะไร (ตัวอย่างคำตอบ เป็นคำเฉพาะที่กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ในตัวภาษาโดยเฉพาะ ผู้เขียนโปรแกรม ไม่สามารถนำมาใช้เป็นชื่อหรือใช้เป็นตัวแปรได้) 12. นักเรียนร่วมกันศึกษาการประกาศตัวแปร (Variable Declaration) และทดลองปฏิบัติ เขียนโปรแกรม ดังตัวอย่าง

13. นักเรียนร่วมกันศึกษาสตริง (string) และทดลองปฏิบัติการเขียนโปรแกรมโดยให้แสดงผลลัพธ์ เป็นชื่อ นามสกุล ที่อยู่ของตนเอง ดังตัวอย่าง

3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้นควร ศึกษาการเขียนคำอธิบายที่ใช้อธิบายการทำงานของโปรแกรม ควรศึกษาชนิดข้อมูล ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวน ทศนิยม ตรรกะ และควรศึกษาตัวแปรที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลไว้ใช้ในการประมวลผล จึงทำให้การเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอนเป็นไปอย่างถูกต้อง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป

2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................. 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน ตัวแปรภาษาไพทอน สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของตัวแปรได้ถูกต้อง (K) 2. สามารถตั้งชื่อตัวแปรตามกฎการตั้งชื่อได้ถูกต้อง(P) 3. เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญของการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาไพทอน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมในภาษาไพทอนนั้น จะต้องใช้ตัวแปรมาช่วยในการเก็บข้อมูลต่างๆ โดยตัวแปร เปรียบเสมือนภาชนะที่ใช้เก็บข้อมูล และข้อมูลเหล่านั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการของ ผู้เขียน

7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 19-20 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 2. ครูถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า“จากการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ที่ได้เรียนมาแล้ว นักเรียนคิดว่าสามารถนำไปเขียนในโปรแกรมอะไรบ้างที่นักเรียนรู้จัก” (แนวตอบ : นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ครูผู้สอน เช่น โปรแกรม Scratch โปรแกรม Python เป็นต้น) 3. ครูวาดรูปคอมพิวเตอร์ลงบนกระดานหน้าชั้นเรียน และถามคำถามประจำหัวข้อกับนักเรียนว่า “ถ้าเปรียบคอมพิวเตอร์เป็นร่างกายมนุษย์ จะเปรียบหน่วยประมวลผลกลางกับอวัยวะใด” (แนวตอบ : นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบที่ถูกต้อง คือ สมอง) 4. ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนว่า“การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในภาษาไพทอน เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงการประยุกต์ใช้งานในระดับสูง เนื่องจากเป็นภาษาที่มีโครงสร้างและ ไวยากรณ์ค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ดังนั้น จึงต้องใช้หน่วยประมวลผลกลางในการ คิดคำนวณค่อนข้างมากกว่าจะเขียนโปรแกรมได้สำเร็จ” 2. ขั้นสอน 1. ครูถามนักเรียนว่า“ถ้านักเรียนต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาค่าข้อมูลต่าง ๆ นั้น นักเรียนรู้ หรือไม่ว่าข้อมูลที่เรานำมาใช้ในการคำนวณ จะถูกเก็บไว้ที่ส่วนใดในโปรแกรม” (แนวตอบ : ข้อมูลที่นำมาใช้ในโปรแกรมนั้นจะถูกเก็บไว้ในตัวแปร) 2. นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรในภาษาไพทอนและการตั้งชื่อตัวแปรในภาษาไพทอน จากอินเทอร์เน็ตทีเ่ ครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง 3. ครูอธิบายถึงการตั้งชื่อตัวแปรที่ดีในโปรแกรมภาษาไพทอน ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ Camel Case เป็นรูปแบบการตั้งชื่อที่มีการใช้ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่สลับกันไป เช่น calculateGrade , computerScore เป็นต้น และแบบ Snake Case เป็นรูปแบบการตั้งชื่อ ตัวแปรที่แยกคำ ด้วยเครื่องหมายขีดเส้นใต้ (Underscore) “_” เช่น calculate_grade , computer_score เป็นต้น 4. ครูอธิบายถึงวิธีการสร้างและกำหนดค่าให้กับตัวแปรว่า“โปรแกรมภาษาไพทอนมีการสร้างและ กำหนดค่าให้กับตัวแปรที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่น เนื่องจากภาษาไพทอนเป็นภาษาประเภท Dynamicallytyped Language หมายถึง ภาษาที่มีการสร้างตัวแปร โดยไม่ต้องมีการกำหนดชนิดของตัวแปร ชนิดของตัวแปร จะถูกกำหนดด้วยข้อมูลที่เก็บไว้ใน ตัวแปรโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะต่างจากโปรแกรมอื่นที่จะต้องกำหนดชนิดของตัว แปรก่อน จากนั้นจึงจะทำการกำหนดค่าให้ตัวแปรได้ สำหรับรูปแบบการสร้างและกำหนดค่าตัวแปร” ดังนี้ ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร หรือนิพจน์ หรือตัวแปรอื่นๆ

5. ครูอธิบายถึงชนิดข้อมูลของตัวแปร ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม ตัวเลขจำนวนจริง และข้อมูลที่เป็นอักขระหรือข้อความที่มักจะถูกใช้งานบ่อยจากหนังสือเรียน 6. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับชนิดข้อมูลของตัวแปรว่า“ชนิดของข้อมูลพื้นฐานในภาษาไพทอนแบ่ง ออกเป็น 5 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่ number, string, list, tuple และ dictionary ซึ่งเป็นตัวแปรทั่ว ๆ ไป แต่ภาษาไพ ทอนยอมให้มีตัวแปร list, tuple, dictionary ที่ผสมกันได้เรียกว่าชนิด complex” 7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น 8. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่อง ตัวแปรในภาษาไพทอน โดยให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้โดย ละเอียด 3. ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการใช้งานตัวแปรในโปรแกรมภาษาไพทอนว่า“ตัวแปรคือ สัญลักษณ์ในลักษณะคำภาษาอังกฤษที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้เขียน โดยตั้ง ชื่อตัวแปรตามกฎของโปรแกรมภาษาไพทอน เช่น ชื่อตัวแปรจะต้องประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรือ เครื่องหมาย “_” ชื่อตัวแปรห้ามมีอักขระพิเศษ เป็นต้น” 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบงานที่ 2.2.1 เรื่อง ตัวแปรในภาษาไพทอน คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้โดยละเอียด 1. ให้นักเรียนตั้งชื่อตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลต่อไปนี้ลงในช่องตารางด้านขวา ให้ถูกต้องตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร ข้อมูล

ชื่อนักเรียน คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ชื่อโรงเรียน น้ำหนักของนักเรียน เกรดวิชาภาษาอังกฤษ

การตั้งชื่อตัวแปร

2. ให้นักเรียนพิจารณาการตั้งชื่อตัวแปรต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด จากนั้นให้ตอบลงในช่องตารางด้านขวา การตั้งชื่อตัวแปร

1name score_computer student name price# surname name+lastname str midterm_thai_score final-social-score mySalary

การพิจารณา

ใบงานที่ 2.2.1 เรื่อง ตัวแปรในภาษาไพทอน คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้โดยละเอียด 1. ให้นักเรียนตั้งชื่อตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลต่อไปนี้ลงในช่องตารางด้านขวา ให้ถูกต้องตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร ข้อมูล

ชื่อนักเรียน คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ชื่อโรงเรียน น้ำหนักของนักเรียน เกรดวิชาภาษาอังกฤษ

name thai_score schoolName weight english_grade

การตั้งชื่อตัวแปร

2. ให้นักเรียนพิจารณาการตั้งชื่อตัวแปรต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด จากนั้นให้ตอบลงในช่องตารางด้านขวา การตั้งชื่อตัวแปร

1name score_computer student name price# surname name+lastname str midterm_thai_score final-social-score mySalary

ผิด ถูก ผิด ผิด ถูก ผิด ผิด ถูก ผิด ถูก

การพิจารณา

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การใช้คำสั่ง Print และ Input สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการใช้คำสั่ง print และ input (K) 2. เขียนโปรแกรมภาษาไพธอนด้วยคำสั่ง print และ input (P) 3. เห็นความสำคัญของคำสั่ง print และ input(A) 4. เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญของการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาไพทอน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนสามารถแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพด้วยคำสั่ง print ( ) โดยข้อมูลที่

ต้องการแสดงผล ได้แก่ ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ หรือข้อความ และการรับข้อมูลเข้าด้วยคำสั่ง input ( ) เป็นการ รับคำสั่งข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ด 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 21-22 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับตัวแปรภาษาไพทอน 2. ขั้นสอน 1. นักเรียนร่วมกันศึกษาการแสดงผลออกทางหน้าจอด้วยคำสั่ง print ( ) และทดลองปฏิบัติ เขียนโปรแกรม ดังตัวอย่าง ตัวอย่างที่ 1

ตัวอย่างที่ 2

ตัวอย่างที่ 3

2. นักเรียนร่วมกันเขียนโปรแกรมให้แสดงผลออกทางหน้าจอด้วยคำสั่ง print ( ) โดยแสดงผลลัพธ์เป็น ชื่อ นามสกุล อายุ ส่วนสูง น้ำหนัก ตัวอักขระตัวแรกในชื่อเล่น และผลบวกสองจำนวน และต้องมีการประกาศตัว แปร ดังตัวอย่าง

3. นักเรียนร่วมกันศึกษาการรับข้อมูลเข้าด้วยคำสั่ง input ( ) และทดลองปฏิบัติการเขียนโปรแกรม โดยแสดงชื่อและอายุของตนเอง ดังตัวอย่าง

4. นักเรียนตอบคำถามหลังการปฏิบัติเขียนโปรแกรมต่อไปนี้ - ถ้าต้องการแสดงข้อความออกทางจอภาพจะใช้สัญลักษณ์ใดครอบข้อความ (ใช้สัญลักษณ์ “ ” หรือ ‘ ’) - คำสั่ง input ในภาษาไพธอนหมายถึงอะไร (ตัวอย่างคำตอบ เป็นคำสั่งรับข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ด) 5. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน สามารถแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพด้วยคำสั่ง print ( ) โดยข้อมูลที่ต้องการแสดงผล ได้แก่ ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ หรือข้อความ และการรับข้อมูลเข้าด้วย input ( ) เป็น การรับคำสั่งข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ด 6. นักเรียนออกมานำเสนอการเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่ง print และ input หน้าชั้นเรียนเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้กัน 3. ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการใช้งานตัวแปรในโปรแกรมภาษาไพทอนเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้ เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงานที่มีแบบแผน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมแบบลำดับ (K) 2. เขียนโปรแกรมแบบลำดับในการแก้ปัญหา (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมแบบลำดับ(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ (Sequence Control Statement) เป็นลักษณะการเขียนคำสั่งให้ โปรแกรมทำงานตามลำดับ จากคำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 2 คำสั่งที่ 3 ไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคำสั่ง โดยไม่มีการตัดสินใจ

หรือการทำซ้ำมาเกี่ยวข้อง 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 23-24 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับการใช้คำสั่ง Print และ input 2. ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนสังเกตผังงานการเขียนโปรแกรมรูปแบบต่าง ๆ ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม start

start False

เงื่อนไข

คาสั่งที่ 2

True คาสั่ง 1

คาสั่งที่ 1

คาสั่ง 2

คาสัง่ ที่ 3

start เงื่อนไข True

False

คาสัง่

end end ภาพที่ 1

end ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

นักเรียนคิดว่าผังงานใดเป็นผังงานการเขียนโปรแกรมแบบลำดับ - (ภาพที่ 2) - การเขียนโปรแกรมแบบลำดับมีลักษณะอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ มีลักษณะการเขียนคำสั่งให้โปรแกรมทำงานตามลำดับ จากคำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 2 คำสั่งที่ 3 ไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคำสั่ง โดยไม่มีการตัดสินใจหรือการทำซ้ำมาเกี่ยวข้อง) 2. นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบลำดับ จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. นักเรียนร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับนิพจน์ (Expression) แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ - total = (num1 + num2 + num3)/3 มีตัวถูกดำเนินการและตัวดำเนินการกี่ตัว อะไรบ้าง

(มีตัวถูกดำเนินการ 5 ตัว คือ total, num1, num2, num3 และ 3 สำหรับตัวดำเนินการ ได้แก่ เครื่องหมาย + และ /) - sum = A + B - C * D / E มีตัวถูกดำเนินการและตัวดำเนินการกี่ตัว อะไรบ้าง (มีตัวถูกดำเนินการ 6 ตัว sum, A, B, C, D, E สำหรับตัวดำเนินการ ได้แก่ เครื่องหมาย +, -, * และ /) 4. นักเรียนร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) และลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ - เครื่องหมาย * ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง (การคูณ (Multiplication) ตัวอย่าง 5 * 5 = 25) - เครื่องหมาย / ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง (การหาร (Division) ตัวอย่าง 20 / 4 = 5) - เครื่องหมาย // ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง (การหารปัดเศษ (Floor Division) ตัวอย่าง 25 // 8 = 3) - เครื่องหมาย % ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง (การหารเอาเฉพาะเศษ (Modulo) ตัวอย่าง 9 % 2 = 1) - เครื่องหมาย ** ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง (การยกกำลัง (Exponent) ตัวอย่าง 9 * * 3 = 729) - จากสมการ 4 + 7 * 5 เท่ากับเท่าไร (39) - จากสมการ 4 / 2 + 9*3 เท่ากับเท่าไร (29) 5. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวงจรการพัฒนาโปรแกรม ดังนี้ การเขียนโปรแกรมแบบลำดับเป็นการเขียนโปรแกรมที่มีคำสั่งไม่ซับซ้อน โดยการทำงานของ คำสั่งจะทำเป็นขั้นตอน โดยไม่มีการตัดสินใจหรือการทำซ้ำ นิยมใช้ในการคำนวณเพื่อหาคำตอบ ดังนั้น จึงต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับนิพจน์ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการทาง คณิตศาสตร์ 6. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คน ที่มีประสบการณ์ ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขโดยใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่าง

7. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานการคำนวณหาพื้นที่วงกลมต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม start OUTPUT “Enter radius:” INPUT radius area = 22/7 * radius ** 2

OUTPUT “Area =” , area end

• ถ้าข้อมูลในตัวแปร radius = 7 จะได้ผลลัพธ์เท่าใด (154.0) • ขั้นตอนใดเป็นการประมวลผล (area = 22 / 7 * radius ** 2) 8. นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่วงกลม ดังตัวอย่าง

3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ (Sequence Control Statement) เป็นลักษณะการเขียนคำสั่งให้โปรแกรมทำงานตามลำดับ จากคำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 2 คำสั่งที่ 3 ไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคำสั่ง โดยไม่มีการตัดสินใจหรือการทำซ้ำมาเกี่ยวข้อง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน

2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะ (K) 2. เขียนโปรแกรมตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะ (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรม(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกจะมีโครงสร้างที่กำหนดทิศทางการทำงาน ซึ่งจะต้องตัดสินใจ ด้วยเงื่อนไข ในการกำหนดเงื่อนไข นักเรียนจะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการเปรียบเทียบ

การดำเนินการตรรกะ และลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการให้แม่นยำ เพื่อให้สามารถออกแบบขั้นตอน วิธีและเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกได้อย่างถูกต้อง 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 25-26 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนทบทวนเนื้อหาในคาบที่ผ่านมา เรื่อง การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ 2. ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสังเกตแผนภาพรูปแบบโครงสร้างแบบทางเลือก แล้วตอบคำถามต่อไปนี้

start start เงื่อนไข True คาสั่ง

end

start False

เงื่อนไข True คาสั่ง 1

เงื่อนไข 1 False คาสั่ง 1 True คาสัง่ 1

end end

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

- ภาพใดเป็นผังงานแบบทางเลือกทางเดียว (ภาพที่ 1) - ภาพใดเป็นผังงานแบบทางเลือกสองทาง (ภาพที่ 2) - ภาพใดเป็นผังงานแบบทางเลือกหลายทาง (ภาพที่ 3) - การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกคืออะไร

False

ภาพที่ 3

False เงื่อนไข 2 True คาสั่ง 2 คาสัง่ 3

(ตัวอย่างคำตอบ เป็นลักษณะการเขียนคำสั่งโปรแกรมให้ตัดสินใจเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ตาม เงื่อนไขที่กำหนด) - รูปแบบโครงสร้างโปรแกรมแบบทางเลือกแต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ จำนวนของเงื่อนไขและคำสั่งแตกต่างกัน) 2. นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันศึกษาตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Relational Operator) และตัวดำเนินการ ตรรกะ (Logical Operator) จากนัน้ บอกผลลัพธ์จากการทำคำสั่งต่อไปนี้ ถ้าคำสั่งใดถูกต้องให้เติม True แต่ถ้าคำสั่งใดผิดให้เติม False บนกระดาน ดังนี้ 3.1 กำหนดให้ toys = 10 toys = = 1 ผลลัพธ์ False toys > 1 ผลลัพธ์ True boys < 1 ผลลัพธ์ False toys ! = 1 ผลลัพธ์ True toys < = 10 ผลลัพธ์ True toys = = 9 or toys = = 10 ผลลัพธ์ True toys = = 9 and toys == 10 ผลลัพธ์ False 3.2 กำหนดให้ x = 3, y = 11 x ! = y ผลลัพธ์ True x = = y ผลลัพธ์ False x > = y ผลลัพธ์ False x < = y ผลลัพธ์ True x < y ผลลัพธ์ True x > y ผลลัพธ์ False 4. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะ ดังนี้ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะเป็นตัวที่นำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่า boolean ได้แก่ จริง (True) หรือเท็จ (False) ตัวดำเนินการประเภทนี้มักใช้ในการกำหนดเงื่อนไข 5. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คนที่มีประสบการณ์ ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ดังตัวอย่าง

6. นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับตัวดำเนินการตรรกะ ดังตัวอย่าง

7. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกจะมี โครงสร้างที่กำหนดทิศทางการทำงาน ซึ่งจะต้องตัดสินใจด้วยเงื่อนไข ในการกำหนดเงื่อนไข นักเรียนจะต้องทำ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการเปรียบเทียบ การดำเนินการตรรกะ และลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการให้ แม่นยำ เพื่อให้สามารถออกแบบขั้นตอนวิธีและเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกได้อย่างถูกต้อง 8. นักเรียนร่วมกันนำเสนอโปรแกรมตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะ โดยเปลี่ยน ข้อมูลของตัวแปรและร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงานที่มีแบบแผน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปแกรมแบบทางเลือก สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก (K) 2. เขียนโปรแกรมแบบทางเลือก (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรม(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก (Decision Control Statement) เป็นลักษณะการเขียนคำสั่ง

โปรแกรมตัดสินใจเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีรูปแบบโครงสร้างแบบทางเลือก 4 ประเภท ได้แก่ แบบทางเลือกทางเดียว แบบทางเลือกสองทาง แบบทางเลือกหลายทาง และแบบทางเลือก เชิงซ้อน 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 27-28 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่ผ่านมาเกี่ยวกับโครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ 2. ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนว่า“โครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำ เป็นลักษณะการทำงาน ของโปรแกรมที่มีกระบวนการทำงานที่จะต้องมีการตัดสินใจหรือต้องมีการพิสูจน์ ตรวจสอบผ่านเงื่อนไขใด ๆ 3. ครูสุ่มถามนักเรียน“นักเรียนรู้หรือไม่ว่าการทำงานแบบเลือกทำมีการทำงานอย่างไร” 2. ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันสังเกตภาพวงกลม แล้วตอบคำถามต่อไปนี้

r

- จากภาพคืออะไร (วงกลม) - r หมายถึงอะไร (r หมายถึง รัศมีวงกลม ย่อมาจาก radius) - สูตรการคำนวณหาพื้นที่วงกลมคืออะไร (สูตรการหาพื้นที่วงกลม = r2) - จากภาพสามารถคำนวณหาอะไรได้บ้าง (พื้นที่วงกลม เส้นรอบวงกลม ปริมาตรทรงกลม) - สูตรการคำนวณหาเส้นรอบวงกลมคืออะไร (สูตรเส้นรอบวงกลม = 2r) 2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก ดังนี้ - นักเรียนเคยเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกหรือไม่ (เคย/ไม่เคย) - การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกแตกต่างกับการเขียนโปรแกรมแบบลำดับอย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกจะมีการกำหนดทิศทางการทำงาน ซึ่งจะต้องตัดสินใจ

ด้วยเงื่อนไข ส่วนการเขียนโปรแกรมแบบลำดับจะทำงานทีละคำสั่งโดยไม่มีการตัดสินใจด้วยเงื่อนไข) - นักเรียนยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้คำสั่งแบบทางเลือก 3. นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างแบบทางเลือกแต่ละประเภทจากแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 4. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผังงานการประมวลผลการเรียน แล้วตอบคำถาม ดังนี้ เริ่ มต้น คะแนนเก็บ = x คะแนนสอบ = y sum = x + y จริ ง

sum < 50

เท็จ

ไม่ติด 0

ติด 0

แสดงผลสอบ จบ - ถ้าคะแนนเก็บเท่ากับ 39 คะแนน คะแนนสอบเท่ากับ 11 คะแนน จะแสดงผลสอบใดออกมา (ไม่ติด 0) - ถ้าคะแนนเก็บเท่ากับ 28 คะแนน คะแนนสอบเท่ากับ 21 คะแนน จะแสดงผลสอบใดออกมา (ติด 0) 7 ซม. 5. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วงกลมต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม

- รัศมีของวงกลมคือเท่าไร (รัศมีเท่ากับ 7 ซม.) - พื้นที่วงกลมคือเท่าไร (ประมาณ 153.86 ตารางเซนติเมตร) - เส้นรอบวงกลมคือเท่าไร (ประมาณ 43.96 ซม.) 6. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับโครงสร้างแบบทางเลือกแต่ละประเภท ดังนี้โครงสร้าง แบบทางเลือกแต่ละประเภทสามารถนำไปใช้เขียนโปรแกรมที่มีการกำหนดทิศทางการทำงาน ซึ่งจะต้องตัดสินใจ ด้วยเงื่อนไข ควรเลือกใช้โครงสร้างแบบทางเลือกแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับงาน เช่น การเขียนโปรแกรม ประมวลผลการเรียน ควรใช้โครงสร้างแบบทางเลือกหลายทาง 7. นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างแบบทางเลือกทางเดียว 8. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานการคำนวณพื้นที่วงกลมแบบทางเลือกทางเดียว แล้วตอบคำถาม ต่อไปนี้ start OUTPUT “Find area of circle press 1:”

INPUT choice OUTPUT “Enter radius:” INPUT radius area = 22/7 * radius ** 2 choice = = 1 True OUTPUT (“Area =” , area)

False

end

- ถ้าป้อนข้อมูลใน Find area of circle press 1: เป็นเลข 1 จะเกิดอะไรขึ้น

(โปรแกรมจะให้ป้อนข้อมูล Enter radius และทำการประมวลผลลัพธ์ออกมา) - ถ้าป้อนข้อมูลใน Find area of circle press 1: เป็นเลข 0 จะเกิดอะไรขึ้น (โปรแกรมจะไม่แสดงผลลัพธ์ออกมา) - ถ้าป้อนข้อมูลใน Find area of circle press 1: เท่ากับ 1 และป้อนข้อมูลใน Enter radius เท่ากับ 7 จะได้ผลลัพธ์เท่าใด (Area = 154.0) 9. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คนที่มีประสบการณ์ ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่วงกลม เมื่อป้อนเลข 1 ดังตัวอย่าง

10. นักเรียนร่วมกันศึกษาโครงสร้างแบบทางเลือกสองทาง 11. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานการหาพื้นที่วงกลมแบบทางเลือกสองทาง แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ star OUTPUT “Find area of circle press 1/ Find circumference of circle press others” INPUT choice OUTPUT “Enter radius:” INPUT radius area = 22/7 * radius ** 2 circumference = 2 * 22/7 *

choice = = 1 Tru OUTPUT “Area =” , area end

Fals OUTPUT “Circumference =”, circumference

- ถ้าตัวแปร choice = 1 จะเกิดอะไรขึ้น (จะแสดงพื้นที่วงกลม (area)) - ถ้าตัวแปร choice = 2 จะเกิดอะไรขึ้น (จะแสดงเส้นรอบวงกลม (circumference)) - ถ้าตัวแปร choice = 1 และ radius = 7 ผลลัพธ์เท่ากับเท่าไร (Area = 154.0) - ถ้าตัวแปร choice = 2 และ radius = 7 ผลลัพธ์เท่ากับเท่าไร (Circumference = 44.0) 12. นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการเขียนโปรแกรมการหาพื้นที่วงกลมเมื่อป้อนหมายเลข 1 และความยาว เส้นรอบรูปวงกลมหากป้อนหมายเลขอื่น ดังตัวอย่าง

13. นักเรียนร่วมกันศึกษาโครงสร้างแบบทางเลือกหลายทาง 14. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานการหาพื้นที่วงกลมแบบทางเลือกหลายทาง แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ star OUTPUT “Find area of circle press 1 Find circumference of circle press 2 Find area and circumference of circle press others:” INPUT choice

OUTPUT “Enter radius:” INPUT radius area = 22/7 * radius ** 2 circumference = 2 * 22/7 * radius

choice = =

Tru OUTPUT “Area =” , area

Fals

choice = =

Fals

True OUTPUT

OUTPUT “Area =” , area

“Circumference =”,

OUTPUT “Circumferenc e =”,

end

- ถ้าตัวแปร choice = 1 จะเกิดอะไรขึ้น (จะแสดงพื้นที่วงกลม (area)) - ถ้าตัวแปร choice = 2 จะเกิดอะไรขึ้น (จะแสดงเส้นรอบวงกลม (circumference) - ถ้าตัวแปร choice = 3 จะเกิดอะไรขึ้น (จะแสดงพื้นที่วงกลม (area) และเส้นรอบวงกลม (circumference) 15. นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่วงกลม เมื่อป้อนหมายเลข 1 ความยาว เส้นรอบรูปวงกลม เมื่อป้อนหมายเลข 2 พื้นที่วงกลมและความยาวเส้นรอบรูปวงกลม เมื่อป้อนหมายเลขอื่น ๆ ดัง ตัวอย่าง

3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก (Decision Control Statement) เป็นลักษณะการเขียนคำสั่งโปรแกรมตัดสินใจเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีรูปแบบโครงสร้างแบบทางเลือก 4 ประเภท ได้แก่ แบบทางเลือกทางเดียว แบบ ทางเลือกสองทาง แบบทางเลือกหลายทาง และแบบทางเลือกเชิงซ้อน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 3. ใบงาน 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

ใบงานที่ 1 เรื่อง โปรแกรมตัดเกรด ชื่อ_____________________________เลขที_่ _____ชัน้ __________ นักเรียนเขียนโปรแกรมตัดเกรด โดยใช้โครงสร้างแบบทางเลือก แล้วทดลองรันโปรแกรม จากนั้นบันทึกคำสั่งโปรแกรมและผลลัพธ์ลงใน คำสั่งโปรแกรม

ผลลัพธ์

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (K) 2. เขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ คำสั่ง while เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรมทำซ้ำขณะที่เงื่อนไขเป็นจริงให้โปรแกรมทำงาน คำสั่งหลัง while ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะออกจากการทำซ้ำแล้วไปทำงานคำสั่งอื่น คำสั่ง while เหมาะกับ

งานที่ไม่ทราบรอบของการทำซ้ำที่แน่นอน 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 29-30 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่ผ่านมาเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมทางเลือก 2. นักเรียนร่วมกันสังเกตภาพการทำงานซ้ำของตัวเลข แล้วตอบคำถาม ดังนี้ 1 1

2

1

2

3

1

2

3

4

- ลักษณะของตัวเลขเป็นอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ เป็นการทำซ้ำ) - จากภาพเป็นการทำงานซ้ำอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ในแต่ละบรรทัดจะมีการเพิ่มจำนวนตัวเลขมาบรรทัดละ 1 จำนวน) - จากภาพตัวเลขหยุดทำซ้ำที่เลขใด (เลข 5) 2. ขั้นสอน 1. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ ดังนี้ - นักเรียนเคยเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำหรือไม่ (เคย/ไม่เคย) - การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำแตกต่างกับการเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำจะมีลักษณะการทำงานตามจำนวนรอบหรือตาม เงื่อนไขกำหนด ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงให้โปรแกรมทำงาน แต่ถ้าเป็นเท็จจะออกจากการทำซ้ำ ส่วนการเขียนโปรแกรม แบบทางเลือกจะไม่มีการทำงานวนซ้ำ) - การวนซ้ำมีลักษณะใดบ้าง (แบบ while และ for) - นักเรียนยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้คำสั่งวนซ้ำ (ตัวอย่างคำตอบ โปรแกรมแม่สูตรคูณ โปรแกรมแสดงตัวเลข 1-10)

2. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างวนซ้ำแบบ while จากแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผังงานการแสดงตัวเลขคี่ แล้วตอบคำถาม ดังนี้ start num = 1 False

num < = 20

Tru OUTPUT num num = num + end - จากผังงานจะแสดงเลขคู่หรือเลขคี่ และแสดงตัวเลขใดบ้าง (แสดงเลขคี่ จะแสดงตัวเลข 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19) - ถ้าต้องการแสดงเลขคู่ตั้งแต่ 2-20 ควรทำอย่างไร (เปลี่ยน num = 2 ) - ถ้าต้องการให้แสดงตัวเลข 1-10 ควรทำอย่างไร (เปลี่ยน num < = 10 และ num = num + 1 ) 4. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับโครงสร้างวนซ้ำแบบ while ดังนี้ คำสั่ง while ใช้ สำหรับการทำงานวนซ้ำ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำงานซ้ำไปเรื่อย ๆ จนเงื่อนไขเป็นเท็จจึงออกจากคำสั่ง การเขียน โปรแกรมด้วยคำสั่ง while ควรออกแบบผังงานขึ้นมาก่อน เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม 5. นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างวนซ้ำแบบ while (while loop) 6. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานโปรแกรมแสดงตัวเลข 1-10 แล้วตอบคำถาม ดังนี้ 7. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานโปรแกรมแสดงตัวเลข 1-10 แล้วตอบคำถาม ดังนี้ start NCounter = 1 NCounter < = 10 True

OUTPUT NCounter = NCounter + 1

end

Fals

- จากผังงานจะแสดงผลลัพธ์ใด (1 2 3 4 5 6 7 8 9 10) - ถ้า NCounter เท่ากับ 11 จะเกิดอะไรขึ้น (โปรแกรมจะหยุดการทำงาน) - ถ้าต้องการแสดงผลลัพธ์เป็นเลขคี่ควรทำอย่างไร (เปลี่ยน NCounter = NCounter + 2 ) - จากผังงานมีการทำงานวนซํ้ากี่รอบ (มีการทำงานวนซํ้า 10 รอบ) - มีวิธีใดอีกบ้างที่เขียนคำสั่ง NCounter < = 10 (NCounter < 11)

ให้ได้ผลลัพธ์แบบเดิม

8. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คน ที่มีประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแสดงตัวเลข 1-10 ดังตัวอย่าง

9. นักเรียนทดลองเปลี่ยนค่าตัวแปรและเงื่อนไข เพื่อให้แสดงตัวเลขตามต้องการ 10. นักเรียนเปลี่ยนค่าตัวแปรและเงื่อนไข เพื่อให้แสดงผลลัพธ์เป็นเลขคู่และเลขคี่ 11. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผังงานโปรแกรมรับตัวเลข 10 ตัว แล้วหาค่าเฉลี่ย แล้วตอบคำถาม start i=0 sum = 0 i < 10 True OUTPUT “Enter number”, i INPUT x sum =sum + x i=i+1 OUTPUT “average =”, sum/i end

False

- จากผังงานเกี่ยวกับอะไร (การหาค่าเฉลี่ยตัวเลข 10 ตัว) - sum หมายถึงอะไร (ผลบวก) - สามารถป้อนข้อมูลนำเข้าได้กี่จำนวน เพราะอะไร (10 จำนวน เพราะเงื่อนไขคือ i < 10 และมีการบวกค่า i ในทุก ๆ รอบ) 12. นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการเขียนโปรแกรมรับตัวเลข 10 ตัว แล้วหาค่าเฉลี่ย ดังตัวอย่าง

13. นักเรียนร่วมกันเขียนโปรแกรมรับตัวเลข 10 ตัว แล้วหาผลบวก แล้วทดลองรันโปรแกรมเมื่อผลลัพธ์ ถูกต้องให้บันทึกคำสั่งโปรแกรมและผลลัพธ์ลงในชิ้นงานที่ 6 เรื่อง การเขียนโปรแกรมรับตัวเลข 10 ตัว แล้วหา ผลบวก 14. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ คำสั่ง while เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรม ทำซ้ำขณะที่เงื่อนไขเป็นจริงให้โปรแกรมทำงานตามคำสั่งหลัง while ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะออกจากการทำซ้ำแล้ว ไปทำงานคำสั่งอื่น คำสั่ง while เหมาะกับงานที่ไม่ทราบรอบของการทำซ้ำที่แน่นอนนักเรียนออกมานำเสนอ ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมและการแสดงผลลัพธ์ของโปรแกรมรับตัวเลข 10 ตัว แล้วหาผลบวกและบอกปัญหาที่ พบหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน ที่มีแบบแผน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................. 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง range และ for สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (K) 2. เขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยคำสั่ง while (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ คำสั่ง range เป็นฟังก์ชันที่ใช้สร้างลำดับเลขตามขอบเขตที่กำหนด ส่วนคำสั่ง for เป็นคำสั่งที่กำหนด ให้โปรแกรมทำซ้ำด้วยจำนวนรอบที่แน่นอน ถ้าผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่ง for ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ

จะออกจากการทำซ้ำไปทำงานคำสั่งอื่นงานที่ไม่ทราบรอบของการทำซ้ำที่แน่นอน 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 31-32 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่ผ่านมาเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมการทำงานแบบวนซ้ำ 2. ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเกี่ยวกับคำสั่ง range และ for ดังนี้ - นักเรียนรู้จักคำสั่ง range หรือไม่ (รู้จัก/ไม่รู้จัก) - คำสั่ง range ในภาษาไพธอนคืออะไร (เป็นฟังก์ชันที่ใช้สร้างลำดับเลขตามขอบเขตที่กำหนด) - นักเรียนเคยเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่ง for หรือไม่ (เคย/ไม่เคย) - คำสั่ง for ในภาษาไพธอนคืออะไร (ตัวอย่างคำตอบ เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรมทำซ้ำด้วยจำนวนรอบที่แน่นอน ถ้าผล การตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่งหลัง for ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะออกจากการทำซ้ำแล้วไปทำงานคำสั่งอื่น) - นักเรียนยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้คำสั่ง for (ตัวอย่างคำตอบ โปรแกรมแสดงเลขคี่ระหว่างตัวเลข 1-10 โปรแกรมแม่สูตรคูณ โปรแกรม หาค่ามากที่สุด) 2. นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการใช้คำสั่ง range และ for จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์เกี่ยวกับการใช้คำสั่ง range แล้วตอบคำถาม ดังนี้ - range (15) จะแสดงผลลัพธ์เป็นหมายเลขใดบ้าง (0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14) - range (2, 12) จะแสดงผลลัพธ์เป็นหมายเลขใดบ้าง (2 3 4 5 6 7 8 9 10 11) - range (4, 15, 3) จะแสดงผลลัพธ์เป็นหมายเลขใดบ้าง (4 7 10 13) 4. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผังงานคำสั่ง for แล้วตอบคำถาม ดังนี้

start A=0 A< = 12 True OUTPUT A

False

A= A + 2 end - จากผังงานจะแสดงผลลัพธ์ใด (แสดงเลขคู่ ได้แก่ 0 2 4 6 8 10 12) - ถ้าเปลี่ยนค่าตัวแปร A = 1 จะแสดงผลลัพธ์ใดออกมา (1 3 5 7 9 11) - ถ้าต้องการให้ A เพิ่มขึ้นทีละ 5 จะทำอย่างไร (เปลี่ยน A = A + 5 )

5. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการใช้คำสั่ง range และ for ดังนี้ คำสั่ง range ใน ภาษาไพทอน เป็นฟังก์ชันชนิดหนึ่งที่ใช้สร้างลำดับเลขตามขอบเขตที่กำหนด ซึ่งจะใช้คู่กับคำสั่ง for ทำให้การ เขียนโปรแกรมเขียนได้ง่าย และใช้คำสั่งไม่ซับซ้อน 6. นักเรียนร่วมกันศึกษาคำสั่ง range และ for 7. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คน ที่มีประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแสดงเลขคี่ระหว่างตัวเลข 1-10 ดังตัวอย่าง 8. นักเรียนทดลองเปลี่ยนตัวเลขเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ 9. นักเรียนเขียนโปรแกรมให้แสดงผลลัพธ์เป็นเลขคู่ระหว่าง 2-16 10. นักเรียนเขียนโปรแกรมหาค่ามากที่สุดจากการรับตัวเลขมา 10 จำนวน ดังตัวอย่าง

11. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ คำสั่ง range เป็นฟังก์ชันที่ใช้สร้างลำดับเลข ตามขอบเขตที่กำหนด ส่วนคำสั่ง for เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรมทำซ้ำด้วยจำนวนรอบที่แน่นอน ถ้าผลการ ตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่ง for ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะออกจากการทำซ้ำไปทำงานคำสั่งอื่น 3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงานที่มี แบบแผน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................ 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน ฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (Standard Library) สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (K) 2. เขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ ฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (Standard Library) เป็นฟังก์ชันที่ถูกสร้างขึ้นโดยทีมผู้พัฒนาภาษาไพทอน

สามารถเรียกใช้ได้โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมขึ้นเอง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ Built-in Function เป็นฟังก์ชัน ที่เรียก ใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องอ้างอิง Library Functions เป็นฟังก์ชันที่ต้องมีการเรียกโมดูล (import module) ก่อนถึงจะ สามารถอ้างอิงถึงโมดูล และเรียกชื่อฟังก์ชันที่ต้องการใช้งาน 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 33-34 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่ผ่านมาเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ 2. ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเกี่ยวกับฟังก์ชันในภาษาไพทอน ดังนี้ - ฟังก์ชันคืออะไร (ตัวอย่างคำตอบ ฟังก์ชันเป็นชุดคำสั่งที่มีหน้าที่ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถเรียกใช้งาน กี่ครั้งก็ได้ โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่) - ฟังก์ชันมีประโยชน์อย่างไรต่อการเขียนโปรแกรม (ตัวอย่างคำตอบ ทำให้การเขียนโปรแกรมที่ซับซ้อนทำได้ง่ายขึ้น) - ฟังก์ชันมีกี่ประเภท อะไรบ้าง (ฟังก์ชันมี 2 ประเภท ได้แก่ ฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐานและฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรม สร้างขึ้นมาเอง) - นักเรียนเคยเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันหรือไม่ (เคย/ไม่เคย) 2. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน จากแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ Built-in Function พื้นฐานที่นำมาใช้ในการเขียนโปรแกรม จากนั้น ส่งตัวแทนออกมาโยงเส้นความสัมพันธ์บนกระดาน โดยไม่ซ้ำคนเดิม ดังนี้ len (x)

แปลงจานวนเต็มเป็ นเลขทศนิ ยม

int (x)

รับข้อมูลเข้าจากคียบ์ อร์ด

input (x)

x ยกกาลัง y

float (x)

สร้างข้อมูลแบบลาดับที่อยูใ่ นช่วงที่กาหนด

range (x)

ตรวจสอบและแสดงชนิดข้อมูล

type (x)

หาค่าสัมบูรณ์ของ x

str (x)

หาความยาวของอักขระในข้อความ

print (x)

แปลงจานวนและตัวอักษรเป็ นจานวนเต็ม

pow (x,

แสดงผลทางหน้าจอ

abs (x)

แปลงตัวเลขเป็ นตัวอักษร

4. นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างฟังก์ชันการคำนวณทางคณิตศาสตร์ โดยบันทึกคำตอบเป็นแผนภาพ ความคิด ดังตัวอย่าง sqrt ( )

sin ( ) ฟังก์ชัน

pow ( )

การคานวณทาง คณิตศาสตร์

exp ( )

log ( ) 5. นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน ดังนี้ผู้พัฒนาภาษาไพทอน ได้สร้างฟังก์ชันสำหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น ฟังก์ชันการคำนวณทางคณิตศาสตร์ (math) สถิติ (statistics) ปฏิทิน (calendar) เวลา (time) กราฟิก (graphic) การเชื่อมต่อฐานข้อมูล (sqlite3) หรือระบบ เครือข่าย (RPyC) ทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น 6. นักเรียนจับคู่ตามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีนักเรียน 1 คน ที่มีประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นปฏิบัติการเขียนโปรแกรมการเรียกใช้ฟังก์ชันจากโมดูล ด้วย import ดังตัวอย่าง

7. นักเรียนทดลองเปลี่ยนตัวเลขเพื่อหาผลลัพธ์ที่ต้องการ 8. นักเรียนปฏิบัติการเขียนโปรแกรมการเรียกใช้ฟังก์ชันจากโมดูลด้วย from…import… ดังตัวอย่าง

9. นักเรียนทดลองเปลี่ยนตัวเลขเพื่อหาผลลัพธ์ที่ต้องการ 10. นักเรียนปฏิบัติการเขียนโปรแกรมการเรียกใช้ฟังก์ชันจากโมดูลด้วย from…import* ดังตัวอย่าง

11. นักเรียนทดลองเปลี่ยนตัวเลขเพื่อหาผลลัพธ์ที่ต้องการ 12. นักเรียนเพิ่มคำสั่งฟังก์ชันการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น print (pow (2, 4)) 13. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ ฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (Standard Library) เป็นฟังก์ชันที่ถูกสร้างขึ้นโดยทีมผู้พัฒนาภาษาไพธอน สามารถเรียกใช้ได้โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมขึ้นเอง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ Built-in Function เป็นฟังก์ชันที่เรียกใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องอ้างอิง Library Functions เป็น ฟังก์ชันที่ต้องมีการเรียกโมดูล (import module) ก่อนถึงจะสามารถอ้างอิงถึงโมดูล และเรียกชื่อฟังก์ชันที่ต้องการ ใช้งาน 14. นักเรียนออกมานำเสนอขั้นตอนการเขียนโปรแกรมและการแสดงผลลัพธ์ของโปรแกรม การเรียกใช้ฟังก์ชันจากโมดูล แล้วบอกปัญหาที่พบหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน พร้อมร่วมกันตรวจสอบ ความถูกต้อง 3. ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงานที่มีแบบแผน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป

2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .......................................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................ ........................................................ .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 4 การแก้ปัญหาด้วย Micro:bit ชื่อแผน นักออกแบบระบบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพื่อให้การแก้ไขปัญหามี ประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟแวร์ที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมเช่นScratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขียนโปรแกรมทางเลือกและคำสั่ง วนซ้ำตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมาการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่ โปรแกรม 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการแนวคิดเชิงคำนวณ เช่น การแยกย่อยปัญหา การสร้างรูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม การลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้(K) 2. สามารถใช้แนวคิดเชิงคำนวณ ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. แนวคิดเชิงคำนวณ 2. กำรแก้ปัญหำโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 35-36 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ 2. ครูนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง การเกษตรยุคใหม่ สมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm) 2. ขั้นสอน 1. อธิบายการแนวคิดเชิงคำนวณ เช่น การแยกย่อยปัญหา การสร้างรูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม การลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา เรื่อง ความหมายของแนวคิดเชิงคำนวณ ในการใช้ในชีวิตประจำวัน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เรื่อง สานต่องานที่พ่อทำ ระบบสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm) 3. ครูต้นทางสาธิตการใช้ออกแบบและทดลองการวัดความชื้นในดิน โดยประยุกต์ใช้ อุปกรณ์ micro bit ตัวอย่างจากเว็บไซต์ https://makecode.microbit.org/projects/soil-moisture และ https://www.youtube.com/watch?v=S8NppVT_paw มีวิธีดำเนินการดังต่อไปนี้ 3.1 กิจกรรมสาธิตการใช้ออกแบบและทดลองการวัดความชื้นในดิน โดยประยุกต์ใช้ อุปกรณ์ micro: bit” อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1. บอร์ด micro : bit พร้อมแบตเตอรี่ 2. ตะปูขนาด 5 – 6 นิ้ว จำนวน 2 ตัว 3. สายไฟพร้อมหัวหนีบแบบปากจระเข้ 2 เส้น 4. กระถางต้นไม้ขนาดเล็กพร้อมดิน 2 กระถาง 3.2 ครูต้นทางเตรียมดินใส่กระถางทั้ง 2 กระถาง โดยใส่ต้นไม้เล็กๆ ไว้ในกระถางที่ 1 ส่วน กระถางที่ 2 ใส่ดินเพียงอย่างเดียว 3.3 ครูเตรียมโค้ด micro : bit ดังนี้ 3.4 ต่อตะปูตัวที่ 1 เข้ากับ Pin 3V ด้วยสำยไฟพร้อมหัวหนีบแบบปำกจระเข้ แล้วนำไปเสียบลง ดินในกระถาง 3.5 ต่อตะปูตัวที่ 2 เข้ากับ Pin 0 ด้วยสำยไฟพร้อมหัวหนีบแบบปำกจระเข้ แล้วนำไปเสียบลงดิน ในกระถางเดียวกัน

รูปแบบการเชื่อมต่อ

4. ออกแบบลำดับขั้นตอนการคิด ระบบการรดน้ำอัตโนมัติ ด้วยการวาดภาพและการเขียนความเรียง เรื่อง ระบบกำรรดน้ำอัตโนมัติ 3. ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาร่วมกัน 2. นักเรียนสรุปและบันทึกเนื้อหาการเรียนรู้ที่สำคัญลงในสมุดเรียน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. เว็บไซต์เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit https://makecode.microbit.org/ 4. เว็บไซต์ตัวอย่างโครงงานโดยใช้บอร์ดhttps://makecode.microbit.org/projects/soilmoisture 5. คลิปวีดีโอ ตัวอย่างโครงงานวัดความชื้นในดิน 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 4 การแก้ปัญหาด้วย Micro:bit ชื่อแผน รู้จักไมโครบิต สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพื่อให้การแก้ไขปัญหามี ประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟแวร์ที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมเช่นScratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขียนโปรแกรมทางเลือกและคำสั่ง วนซ้ำตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมาการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่ โปรแกรม 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการแนวคิดเชิงคำนวณ เช่น การแยกย่อยปัญหา การสร้างรูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม การลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้(K) 2. สามารถใช้แนวคิดเชิงคำนวณ ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. ไมโครบิท 2. การเขียนคาสั่งควบคุมไมโครบิท 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 37-38 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ที่เคยได้ยินหรือรู้จัก และคุณสมบัติ สำคัญของไมโครคอนโทรลเลอร์นั้น 2. ครูยกตัวอย่าง Microbit และการนำ Microbit ไปประยุกต์ใช้งาน 2. ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนเข้าเว็บไซต์ https://makecode.microbit.org และทดลองใช้งานด้วยตนเอง เป็นเวลา 10 นาท 2. นักเรียนร่วมกันสรุปและนำเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการทดลองใช้งาน 3. ครูสาธิตการเขียนคำสั่งบน micro:bit เพื่อแสดงผลข้อมูล และการควบคุมอุปกรณ์ และอธิบายถึงส่วนประกอบของบอร์ด ดังต่อไปนี้ 3.1 ครูอธิบายถึงส่วนประกอบของบอร์ด

ฟีเจอร์และเซ็นเซอร์ต่างๆ ในบอร์ด LED L คือ Light (แสง) E คือ Emitting (เปล่งประกาย) D คือ Diode (ไดโอด) เมื่อนำทั้ง 3 คามามารวมกันจะมีความหมายว่า “ไดโอดที่สามารถ

เปล่งแสงได้” ในตัวบอร์ด micro:bit จะมี LED 25 ดวง ติดตั้งมาให้เรียบร้อยแล้ว สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงเป็น รูปหรือตัวอักษรได้

Button

ในบอร์ด micro:bit มีปุ่มกดติดตั้งมาให้ 2 ปุ่ม คือ -ปุ่ม A อยู่ทางด้านซ้ายของบอร์ด -ปุ่ม B อยู่ทางด้านขวาของบอร์ด สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อใช้เป็น Input ให้กับบอร์ด Pin

(ADC)

คอนเนคเตอร์ 25 pin บนขอบ PCB สองด้าน ประกอบด้วย Large pins -0: GPIO (general purpose digital input and output) with analogue to digital convertor -1: GPIO with ADC -2: GPIO with ADC -3V and GND Light Sensor

เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง ใช้ LED ที่อยู่บนบอร์ดเป็น Input เพื่อใช้วัดปริมาณแสงโดยรอบตัวบอร์ด

Temperature Sensor

เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมโดยรอบ (℃ องศาเซลเซียส) Compass

เซ็นเซอร์เข็มทิศอาศัยหลักการทางานของแรงดึงดูดระหว่างสนามแม่เหล็กโลกกับแม่เหล็กของเข็มทิศใน การบอกทิศทาง ใช้ชิพ NXP/Freescale MAG3110 สื่อสารผ่านทาง I2C Interface Accelerometer

เซ็นเซอร์ วัดความเร่งแบบ 3 แกน สามารถใช้ตรวจจับการเคลื่อนไหว เช่น การเขย่า, การเอียง และการ ตกแบบอิสระ ใช้ชิพ NXP/Freescale MMA8652 สื่อสารผ่านทาง I2C Interface

Radio

เป็นฟีเจอร์ที่ใช้คลื่นวิทยุเพื่อใช้สื่อสารระหว่างบอร์ด micro:bit ตัวอย่างการใช้งาน เช่น ส่งข้อความ ส่ง ข้อมูลเซ็นเซอร์ สร้างเกมหลายผู้เล่น เป็นต้น Bluetooth

บลูทูธ พลังงานต่า (Bluetooth Low Energy) ความถี่ 2.4GHz ใช้ชิพ Nordic NRF51822 สามารถ เชื่อมต่อกับ PC, Smart Phone หรือ Tablet ใช้ในสื่อสารหรืออัพโหลดโปรแกรมลงบนบอร์ดได้ 4. ครูผู้สอนให้นักเรียนคำสั่งบน micro:bit ด้วยตนเอง

3. ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาร่วมกัน 2. นักเรียนสรุปและบันทึกเนื้อหาการเรียนรู้ที่สำคัญลงในสมุดเรียน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. เว็บไซต์เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit https://makecode.microbit.org/ 4. เว็บไซต์ตัวอย่างโครงงานโดยใช้บอร์ดhttps://makecode.microbit.org/projects/soilmoisture 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว22201 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชื่อหน่วยที่ 4 การแก้ปัญหาด้วยMicro:bit ชื่อแผน ระบบอัตโนมัติด้วยไมโครบิท สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2565 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพื่อให้การแก้ไขปัญหามี ประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟแวร์ที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมเช่นScratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขียนโปรแกรมทางเลือกและคำสั่ง วนซ้ำตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมาการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่ โปรแกรม 3. ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักการพัฒนาระบบอัตโนมัติได้(K) 2. อธิบายวิธีการพัฒนาระบบอัตโนมัติด้วยไมโครบิทได้(K) 2. เขียนคาสั่งควบคุมไมโครบิทในการพัฒนาระบบอัตโนมัติได้(P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรมด้วยฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐาน (A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. การพัฒนาระบบอัตโนมัติ 2. การพัฒนาระบบอัตโนมัติด้วยไมโครบิท 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 39-40 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนร่วมกันทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการเขียนคำสั่งควบคุมไมโครบิท 2. ขั้นสอน 1. ครูยกตัวอย่างการนำ micro:bit ไปประยุกต์ใช้งานและพัฒนาเป็นระบบอัตโนมัติจากเว็บไซต์ https://makecode.microbit.org 2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าจะพัฒนาระบบอัตโนมัติด้วยไมโครบิทอย่างไรได้บ้าง 3. ครูสาธิตวิธีการพัฒนาระบบอัตโนมัติ เช่น “ระบบปิดเปิดไฟตามระดับแสง” ระบบเปิดปิดพัดลม (มอเตอร์)ตามระดับอุณหภูมิ หรือระบบควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ 4. นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนที่ครูสาธิต และทดลองคำสั่งอื่นๆ ตามที่สนใจใน เรื่องพัฒนาระบบอัตโนมัติ ด้วยไมโครบิท เป็นเวลา 15 นาที ตัวอย่างดังต่อไปนี้ 4.1 ระบบอัตโนมัติสั่งการมอเตอร์ที่ต่อกับ Pin1 โดยกาหนดให้ตรวจสอบอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิ สูงกว่า 35 องศาให้มอเตอร์(พัดลม) ทางาน และถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 30 องศา ให้มอเตอร์(พัดลม) หยุดทำงาน Blocks JavaScript basic.forever(function () { if (input.temperature() > 30) { pins.digitalWritePin(DigitalPin.P0, 1) basic.showString("Tune On") } else { pins.digitalWritePin(DigitalPin.P0, 0) basic.showString("Tune Off") } })

4.2 ตัวอย่างระบบอัตโนมัติสั่งการหลอดไฟที่ต่อกับ Pin1 โดยกาหนดให้ตรวจสอบระดับ ความสว่าง ถ้าความสว่างน้อยกว่า 50 ให้เปิดไฟ แต่ถ้าความสว่างมีค่าตั้งแต่ 50 ขึ้นไปให้ปิดไฟ Blocks JavaScript basic.forever(function () { if (input.lightLevel() < 50) { pins.digitalWritePin(DigitalPin.P0, 1) basic.showString("Open Light") } else { pins.digitalWritePin(DigitalPin.P0, 0) basic.showString("Close Light") } })

4.3 การควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ คำสั่งควบคุม servo โดย servo จะมีหมุนตามทิศทางของ micro:bit Blocks

JavaScript pins.servoSetPulse(AnalogPin.P0, 1500) pins.servoWritePin(AnalogPin.P0, 0) basic.forever(function () { pins.servoWritePin(AnalogPin.P0, input.compassHeading()) basic.pause(3000) })

รูปแบบการเชื่อมต่ออุปกรณ์ 5. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละไม่เกิน 3 คน ประชุมและปรึกษากันในกลุ่มเกี่ยวกับระบบอัตโนมัติที่ต้องการทำ 6. ครูให้เวลานักเรียนแต่ละกลุ่มพัฒนาระบบอัตโนมัติของตนเองเป็นเวลา 40 นาที โดยใช้อุปกรณ์และ เครื่องมือที่มีอยู่ในห้องเรียนเท่านั้น และนักเรียนสามารถใช้กระดาษ ฟิวเจอร์บอร์ด หรือวัสดุอื่นๆ ประดิษฐ์เป็น แบบจำลองอย่างง่ายได้ 7. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนเอง 3. ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาร่วมกัน 2. นักเรียนสรุปและบันทึกเนื้อหาการเรียนรู้ที่สำคัญลงในสมุดเรียน 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. เว็บไซต์เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit https://makecode.microbit.org/ 4. เว็บไซต์ตัวอย่างโครงงานโดยใช้บอร์ดhttps://makecode.microbit.org/projects/soilmoisture

9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ

- การสังเกต - การทดสอบปฏิบัติ - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอัน - การสังเกต พึงประสงค์ - การตรวจผลงาน

เครื่องมือ - แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัด 1. สามารถตอบคำถามใน แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม หลักการ 80% ขึ้นไป

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

2. สามารถตอบคำถามในใบ งานได้ 80%

- แบบสังเกต - แบบประเมินผลงาน

3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา)

Data Loading...