16 นายจีรันธัช ชุด2 20302 2009 การถ่ายภาพดิจิตอล - PDF Flipbook

16 นายจีรันธัช ชุด2 20302 2009 การถ่ายภาพดิจิตอล

118 Views
16 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


ชีุ้ดการสอน่

วิชี้า การถุ่ายภาพดจิ ติ อล้ รหัสวชิ ี้า 20302 - 2009
หล้กั สูตรประกาศน่่ยบตั รวิชี้าชี้่พ ปวชี้.
พุที่ธศักราชี้ 2562
หน่่วยที่�่ 2
เรอ�ื ง กล้อ้ ง เล้น่ส์ แล้ะอุปกรณ์์เสรมิ

จัดที่ำาโดย
น่ายจร่ นั ่ธชั ี้ สิน่พล้จัน่ที่ร์
ตำาแหน่ง่ ครูพิเศษสอน่

แผน่ก ศลิ ้ปกรรม สาขาวิชี้า ออกแบบ
วทิ ี่ยาล้ยั อาชี้ว่ ศกึ ษาสระบรุ ่

สาำ น่กั งาน่คณ์ะกรรมการการอาชี้่วศกึ ษา กระที่รวงศึกษาธกิ าร

99

คมู่ อื ครู

หน่ว่ ยการสอนที่่� 2
เรื่�อง กล้อ้ ง เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริิม

คำ�ำ ชี้้แ� จง ชุดุ การสอนเรื่่�อง กล้อ้ ง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริมิ เป็็นคู่ม�่ ืือแนะนำำ�การใช้ง้ านกล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์
กล้อ้ งขั้น�้ พื้น�้ ฐาน เพื่อ�่ เป็น็ การปููทางให้ผ้ ู้เ�้ รียี นมีคี วามรู้้�ความเข้า้ ใจ วิธิ ีกี ารใช้ง้ าน การตั้ง�้ ค่่าของกล้อ้ ง ตลอดจนการ
เลืือกใช้เ้ ลนส์์ถ่า่ ยภาพ ให้เ้ หมาะสมกัับลัักษณะงานความชอบของแต่่ละบุคุ คล และการใช้้งานอุปุ กรณ์เ์ สริิม เพื่�่อ
เพิ่่�มความสมบููรณ์์ให้้กัับภาพที่่�ต้้องการถ่า่ ยยิ่�งขึ้น�้

1. จุดประสงค์ท่ัวไป

1.1 ผู้เ�้ รีียนมีคี วามรู้้�ความเข้้าใจ วิิธีกี ารใช้ง้ านกล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริมิ ตลอดจนสามารถประยุุกต์ก์ าร
ใช้ง้ านได้้อย่่างเหมาะสมกัับลัักษณะงาน ทั้�ง้ มีกี ิิจนิิสััยที่่�ดีีในการทำ�ำ งานร่่วมกัับผู้้�อื่�นได้้

2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (K P A)

เมื่�อ่ ผู้�เ้ รียี นเรียี นเรื่�อ่ งเทคนิิคการถ่่ายภาพแล้้วสามารถ
2.1 บอกวิธิ ีีการใช้้งาน การตั้้�งค่่าต่่างๆ ของกล้้องถ่่ายภาพ เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริิมได้้
2.2 อธิิบายขั้้�นตอนการทำ�ำ งานของกล้อ้ งถ่่ายภาพได้้
2.3 เลืือกใช้้งานเลนส์ช์ นิิดต่่างๆ ให้้เหมาะสมกัับงานได้้
2.4 มีที ัักษะในการใช้้อุปุ กรณ์์กล้อ้ งถ่า่ ยภาพในการปฏิบิ ััติิงานได้้
2.5 มีเี จตคติแิ ละกิจิ นิสิ ััยที่่ด� ีใี นการเรียี น ด้ว้ ยความตั้ง�้ ใจ พากเพียี ร ใฝ่ห่ าความรู้�อยู่เ่� สมอ เป็น็ ระเบียี บ สะอาด

ตรงต่่อเวลา มีคี วามซื่อ่� สััตย์์ รัับผิดิ ชอบ รัักษาสภาพแวดล้อ้ ม และมีคี ุุณธรรม จริยิ ธรรมและคุณุ ลัักษณะ
อัันพึึงประสงค์์ที่่�ต้้องการ


3. สว่ นประกอบของหนว่ ยการสอนที่ 1

3.1 คู่�ม่ ืือครููชุุดการสอนที่่� 2 เรื่�่องกล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริิม
3.2 แผนการจััดการเรียี นรู้้�หน่่วยที่่� 2 เรื่่�อง กล้อ้ ง เลนส์์ และอุุปกรณ์เ์ สริมิ
3.3 เอกสารประกอบการหน่่วยที่่� 2 เรื่่อ� ง กล้อ้ ง เลนส์์ และอุปุ กรณ์เ์ สริมิ
3.4 แบบทดสอบก่่อนเรียี นหน่่วยที่่� 2 เรื่่�อง กล้้อง เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริมิ
3.5 ใบความรู้้�หน่่วยที่่� 2 เรื่่อ� ง กล้อ้ ง เลนส์์ และอุปุ กรณ์เ์ สริมิ
3.6 ใบงานหน่่วยที่่� 2 เรื่อ�่ ง กล้้อง เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริิม
3.7 แบบประเมินิ ผลการปฏิิบััติงิ าน ใบงานหน่่วยที่่� 2 เรื่่อ� ง กล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริิม
3.8 แบบทดสอบหลัังเรียี นหน่่วยที่่� 2 เรื่่�อง กล้้อง เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริิม
3.9 แบบสังเกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นและการปฏบิ ัติงาน
3.10 แบบประเมินการน�ำเสนอผลงานรายบุคคล

หนว่ ยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์เสริม 100 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

4. เวลาที่ใช้

ใช้้เวลาในการสอนจำ�ำ นวน 9 ชั่�วโมง

5. การเตรยี มการล่วงหน้า

สงิ่ ที่ครูต้องเตรียมการล่วงหนา้ มดี งั น้ี
5.1 ศึกึ ษาคู่�่มืือครูู และแผนการจััดการเรีียนรู้�
5.2 ศึึกษาและเตรียี มเอกสารและสื่่อ� การสอน
5.3 ผู้ส้� อนต้อ้ งเตรียี มเอกสารประกอบการเรียี น กรณีที ี่่ใ� ห้ผ้ ู้เ้� รียี นจััดเตรียี มเอง ต้อ้ งมีตี ้น้ ฉบัับแจ้ง้ ให้ผ้ ู้เ้� รียี นจััด

เตรีียมเอกสารประกอบการเรีียนล่่วงหน้้าให้้พร้้อมก่่อนเรีียน
5.4 แบบทดสอบก่่อนเรีียนและหลัังเรีียน
5.5 จััดเตรีียมใบงานที่่� และเตรีียม ใบความรู้�

6. สอ่ื การเรียนการสอน

6.1 Gg Classroom ชั้�้นเรียี นการถ่่ายภาพดิจิ ิิตอล
6.2 สื่่�อ Canva Slide เรื่่�องการถ่่ายภาพดิจิ ิติ อล
6.3 สื่่�อของจริิง เช่่น กล้อ้ งถ่่ายภาพ เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริิม
6.4 ใบความรู้� ใบงาน เรื่่�อง กล้อ้ งถ่่ายภาพ เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริมิ
6.5 แบบทดสอบ Gg form, Quizizz

7. การจัดช้ั นเรียน

การจััดชั้น�้ เรียี นตามปกติสิ ำำ�หรัับการสอนทฤษฎีี โดยจััดการเรียี นการสอนแบบอภิปิ ราย ถาม-ตอบ อธิบิ าย
สาธิิต สรุปุ การเรียี นภาคปฏิิบััติจิ ััดกลุ่ม� การปฏิบิ ััติงิ านโดยการแบ่่งกลุ่ม� ๆ ละ 3-4 คน เพื่อ่� ให้้ผู้้�เรีียนได้ป้ ฏิบิ ััติิงาน
โดยครููเตรีียมอุุปกรณ์ก์ ารเรีียนการปฏิิบััติิงานให้้ครบทุกุ กลุ่�ม ครููสาธิติ ให้ด้ ููและควบคุุมดููแลพฤติกิ รรมการปฏิบิ ััติิ
งานและคอยให้ค้ ำำ�ชี้้�แนะหากพบปััญหา

8. วธิ ีใช้ชุดการสอน

8.1 ศึกษาคู่มือการใช้ โครงการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้ เน้ือหาท่สี อน
8.2 ศึกษาวธิ ีการใช้ส่อื การเรียนการสอน
8.3 ศึกษาวิธีการวัดผลและประเมินผล

หนว่ ยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 101 สัปดาหท์ ่ี 2-4

9. ขั้นด�ำเนนิ การจัดกิจกรรมการจดั การเรียนรู้

9.1 ผูส้ อนชแ้ี จงใหผ้ ู้เรียนทราบเก่ยี วกบั บทบาทหนา้ ที่ของผู้เรียน
9.2 ผูส้ อนชีแ้ จงเนอ้ื หาท่ีจะเรียนในชุดการสอนน้ี
9.3 ผูส้ อนชแ้ี จงวิธีการวดั ผลประเมินผลพร้อมก�ำหนดเวลาส่งช้ินงาน
9.4 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในส่วนภาคทฤษฎี แบง่ ออกเป็น 5 ขั้นตอน ดงั นี้

ขั้นที่ 1 ทดสอบก่อนเรยี น
ขั้นที่ 2 ขั้นน�ำเข้าสบู่ ทเรียน
ขั้นท่ี 3 ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นท่ี 4 ขั้นสรปุ
ขั้นท่ี 5 ทดสอบหลังเรยี น
ในขณะสอนภาคทฤษฎี ใหป้ ฏบิ ัตดิ ังน้ี
• สงั เกตพฤติกรรมผูเ้ รยี นระหวา่ งการเรียน
• ขั้นสรุปบทเรยี นควรเป็นกจิ กรรมร่วมของผูเ้ รยี นทกุ กลุ่มหรือตัวแทนกล่มุ ร่วมกนั
• ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หลังเรยี นแลว้ แจง้ ผลใหผ้ ูเ้ รียนทราบ
• สอนซ่อมเสริมหรือมอบหมายงานเพม่ิ เตมิ ให้กบั ผูเ้ รยี นที่ไม่ผ่านเกณฑ์
9.5 การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในสว่ นภาคปฏิบัติ แบง่ ออกเปน็ 5 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นท่ี 1 ขั้นก�ำหนดจดุ ประสงค์
ขั้นท่ี 2 ขั้นเตรยี มการสาธิต
ขั้นที่ 3 ขั้นท�ำการสาธติ
ขั้นท่ี 4 ขั้นลงมอื ปฏิบัติ
ขั้นที่ 5 ขั้นตรวจและประเมินผลชน้ิ งาน
ในขณะสอนภาคปฏบิ ัติ ให้ปฏบิ ัติดงั น้ี

• ขณะผูเ้ รยี นปฏบิ ัติงานตามใบงาน ผู้สอนควรควบคุมดูแลการปฏบิ ัติงานของผู้เรียนอยา่ งใกล้ชิด หาก
ผูเ้ รียนมปี ญั หาขณะปฏบิ ัติงานจะได้ให้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือ

• ผูส้ อนควบคุมและติดตามผลการปฏิบัตงิ านของผูเ้ รียนใหเ้ ป็นไปตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน
• สังเกตพฤติกรรมผูเ้ รียนระหวา่ งการปฏบิ ัติงาน
• ตรวจผลงานการปฏิบัตงิ านตามใบงาน แลว้ แจง้ ผลให้ผู้เรียนทราบ
• กรณผี ูเ้ รยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ไม่ผ่านเกณฑต์ อ้ งเรยี กผูเ้ รยี นมารบั ทราบและแจง้ ขอ้ ผดิ พลาดใหผ้ ูเ้ รยี น

ทราบเพื่อปรับปรงุ แกไ้ ข

หนว่ ยท่ี 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณ์เสรมิ 102 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

10. วิิธีีการใช้ส้ื่�อการเรีียนการสอน ชุดุ การสอนที่่� 2

ผู้ส�้ อนต้อ้ งศึกึ ษาวิธิ ีกี ารเรียี นรู้�จากแผนการจััดการเรียี นรู้� คู่ม่� ืือการใช้ส้ ื่อ่� และศึกึ ษาเนื้้อ� หาเรื่อ�่ งกล้อ้ ง เลนส์์
และอุุปกรณ์์เสริิม จากเอกสารประกอบการเรีียนและสื่�่อ ก่่อนทำ�ำ การสอนจริิง ส่่วนสื่่�อที่่�ผู้้�เรีียนใช้้ได้้แก่่เอกสาร
ประกอบการเรียี นหน่่วยที่่� 2 ทั้้�งนี้้�ผู้้�สอนต้อ้ งแจ้ง้ ล่่วงหน้้าให้ผ้ ู้�้เรียี นทราบ

11. บทบาทของผเู้ รียน

11.1 ผู้เ้� รียี นต้อ้ งเตรียี มเอกสารประกอบการเรียี นก่่อนเรียี นโดยผู้ส�้ อนจััดเตรียี มต้น้ ฉบัับให้ล้ ่่วงหน้า้ ทัันวัันใช้้
สอนจริิง

11.2 ผูเ้ รยี นตอ้ งปฏบิ ัติตามค�ำแนะน�ำของผูส้ อน
11.3 ผูเ้ รียนตอ้ งท�ำกจิ กรรมตามที่มอบหมายและร่วมกนั อภปิ ราย
11.4 ผู้เรียนต้องปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน
11.5 ผูเ้ รยี นต้องสง่ ชนิ้ งานใหต้ รงตามเวลาที่ก�ำหนด

12. การวดั และประเมนิ ผล

12.1 วิธวี ดั ผล
12.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นและการปฏบิ ัตงิ าน
12.1.2 ตรวจผลจากแบบฝึกหัด/การอภปิ ราย
12.1.3 ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น
12.1.4 ตรวจผลการปฏบิ ัติงานตามใบงาน
12.3.5 ประเมินผลจากการวัดทง้ั สว่ นทเ่ี ปน็ ความรู้ ทักษะและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

12.2 เครอ่ื งมอื วดั
12.2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างเรียนและการปฏบิ ัติงาน
12.2.2 แบบฝกึ หัด/ใบประเมนิ ผลการอภิปราย
12.2.3 แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน
12.2.4 ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามใบงาน
12.2.5 แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

12.3 เกณฑ์การประเมินผล
12.3.1 ผูเ้ รยี นไดค้ ะแนนพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นการสอนและการปฏบิ ัติงานไม่ต�่ำกว่ารอ้ ยละ 60
12.3.2 คะแนนรวมตามแบบประเมนิ ผลงานใบงาน ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60
12.3.3 คะแนนแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ไม่ต�่ำกวา่ ร้อยละ 60
12.3.4 คะแนนประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ไม่ต�่ำกวา่ ร้อยละ 60

103 ท-ป-น. (1-2-2)
สป้ ดาห้์ที� 2-4
แผน่การจัดการเร่ยน่รู้
รห้ส้ วชิ ุา 20302-2009 วชิ ุาการถ่�ายภาพื้ดิจิตั้อล้
ห้น�วยที� 2 กล้อ้ ง เล้นส์ แล้ะอปุ กรณ์์เสริม
สาขั้าวิชุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

สาระสำาคญั :
กอ� นทจ�ี ะเรม�ิ ถ่า� ยภาพื้ ผู้เ้่ รยี นคู่วรจะศึก้ ษาวธิ ีกี ารใชุง้ าน กล้อ้ ง เล้นส์ แล้ะอปุ กรณ์เ์ สรมิ เสยี กอ� น เพื้อ�่ คู่วาม

สะดวกแล้ะคู่ล้อ� งตั้้วในการถ่า� ยภาพื้ เม่อ� มีคู่วามร่้เป็นพื้่น� ฐานแล้้ว การจะตั้อ� ยอดประยกุ ตั้์ใชุเ้ ทคู่นคิ ู่การถ่า� ยภาพื้
ตั้า� งๆ กจ็ ะเปน็ ไปไดง้ �ายแล้ะรวดเร็วมากขั้�น้

ห้นว� ยนี� จะกล้า� วถ่ง้ วธิ ีกี ารใชุง้ านกล้อ้ ง ตั้ง้� แตั้ก� ารเล้อ่ กโห้มดการถ่า� ยภาพื้ การตั้ง�้ คู่า� กล้อ้ งกอ� นล้น้� ชุต้ ั้เตั้อร์
ประเภทแล้ะคูุ่ณ์สมบต้ ั้ขิ ั้องเล้นส์ชุนดิ ตั้�างๆ จนถ่้งอปุ กรณ์์เสรมิ ทีใ� ชุ้ร�วมก้บกล้้องถ่�ายภาพื้
สมรรถุน่ะอาชี้พ่ ประจำาหน่่วย :

มงุ� เนน้ ให้ผ้ ู้เ้่ รยี น มคี ู่วามรใ่้ นวธิ ีกี ารใชุง้ านกล้อ้ ง ตั้ง้� แตั้ก� ารเล้อ่ กโห้มดการถ่า� ยภาพื้ การตั้ง�้ คู่า� กล้อ้ ง ประเภท
แล้ะคู่ณุ ์สมบต้ ั้ขิ ั้องเล้นส์ จนถ่ง้ อปุ กรณ์เ์ สรมิ ทใ�ี ชุร้ ว� มกบ้ กล้อ้ งถ่า� ยภาพื้ มคี ู่ณุ ์ธีรรมในการปฏิบิ ต้ ั้งิ าน สามารถ่พื้ง้� พื้า
ตั้นเอง ไมย� �อท้อตั้�ออุปสรรคู่แล้ะคู่วามยากล้ำาบาก แล้ะมคี ู่วามล้ะเอียดรอบคู่อบในการทำางาน
สาระการเร่ยน่รู้ :

1) วิธีกี ารใชุง้ าน การตั้ง้� คู่า� ตั้า� งๆ ขั้องกล้อ้ งถ่า� ยภาพื้
2) ประเภทแล้ะคูุ่ณ์สมบต้ ั้ิเล้นส์ชุนดิ ตั้า� งๆ กบ้ การเล้่อกใชุง้ านให้เ้ ห้มาะสม
3) คู่ณุ ์สมบ้ตั้ิ แล้ะประโยชุนข์ ั้องอปุ กรณ์เ์ สริมท�ใี ชุ้ร�วมก้บกล้อ้ งถ่า� ยภาพื้

หนว่ ยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 104 สปั ดาห์ท่ี 2-4

จุดประสงค์การสอน/การเรยี นรู้
1. จุุดประสงค์์ทั่่ว� ไป

1.1 ผู้เ�้ รีียนมีคี วามรู้้�ความเข้า้ ใจ วิิธีกี ารใช้้งานกล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริมิ ตลอดจนสามารถประยุุกต์์การ
ใช้้งานได้อ้ ย่่างเหมาะสมกัับลัักษณะงาน ทั้้ง� มีกี ิิจนิสิ ััยที่่ด� ีีในการทำ�ำ งานร่่วมกัับผู้้�อื่น� ได้้

2. จุุดประสงค์์เชิิงพฤติิกรรม (K P A)

เมื่อ�่ ผู้เ้� รีียนเรียี นเรื่อ�่ งเทคนิิคการถ่่ายภาพแล้้วสามารถ
2.1 บอกวิิธีกี ารใช้้งาน การตั้ง้� ค่่าต่่างๆ ของกล้อ้ งถ่่ายภาพ เลนส์์ และอุปุ กรณ์์เสริมิ ได้้
2.2 อธิิบายขั้้�นตอนการทำ�ำ งานของกล้อ้ งถ่่ายภาพได้้
2.3 เลืือกใช้ง้ านเลนส์ช์ นิดิ ต่่างๆ ให้้เหมาะสมกัับงานได้้
2.4 มีที ัักษะในการใช้้อุปุ กรณ์ก์ ล้้องถ่า่ ยภาพในการปฏิบิ ััติงิ านได้้
2.5 มีเี จตคติแิ ละกิจิ นิสิ ััยที่่ด� ีใี นการเรียี น ด้ว้ ยความตั้ง้� ใจ พากเพียี ร ใฝ่ห่ าความรู้�อยู่เ�่ สมอ เป็น็ ระเบียี บ สะอาด

ตรงต่่อเวลา มีคี วามซื่อ่� สััตย์์ รัับผิดิ ชอบ รัักษาสภาพแวดล้อ้ ม และมีคี ุุณธรรม จริยิ ธรรมและคุณุ ลัักษณะ
อัันพึึงประสงค์์ที่่�ต้อ้ งการ

กิิจกรรมการจัดั การเรีียนรู้้� จำ�ำ นวน 4-12 ชั่่ว� โมง รวม 9 ชั่่�วโมง (4-6 ชั่่�วโมง)

โดยแบ่งการสอนเป็นขันน�ำ ขั้นสอน ขั้นสรุป และขั้นประเมินผล
ในการเรีียนการสอนของหน่ว่ ยที่�่ 2 สััปดาห์ท์ ี่่� 2
ขั้้�นนำ�ำ
ชั่่ว� โมงที่่� 4

• บอกวััตถุุประสงค์์ ขอบเขตเนื้้�อหาทั้ง�้ หมดของหน่่วยการเรียี น
• ชี้�แจงวิิธีีการวััดผลประเมินิ ผลพร้อ้ มกำ�ำ หนดเวลาส่่งชิ้น� งาน
• ให้้ผู้�เ้ รีียนทำ�ำ แบบทดสอบก่่อนเรีียน
ขั้้น� สอน
• บรรยายเนื้้�อหาหน่่ยวยที่่� 2 โดยใช้้สไลด์ส์ อนเรื่�อ่ งการใช้้งานกล้้อง
• พัักเบรก
ชั่่�วโมงที่�่ 5-6
• แบ่่งกลุ่ม� เรีียนออกเป็็นกลุ่�ม กลุ่ม� ละ 3-4 คน
• ครููทำ�ำ การสาธิิตการตั้้ง� ค่่าเมนูู ในการถ่า่ ยภาพ
• ให้้ผู้้เ� รีียนลองตั้ง้� ค่่าต่่างๆ ด้้วยตััวเอง และทดลองถ่่ายรููป
• พัักเบรก
ขั้้�นสรุุป
• สรุปุ การปฏิิบััติงิ านร่่วมกัันกัับครูู ปัญั หาที่่�เกิิด และวิิธีีแก้ป้ ััญหา
• ให้เ้ วลาผู้้�เรีียนในการโหลดภาพและส่่งงานในห้้องส่่งงาน Classroom
• ครููสรุุปเนื้้�อหาที่่�เรีียนและนััดหมายกิจิ กรรมการเรียี นในสััปดาห์ห์ น้้า

หน่วยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 105 สัปดาห์ท่ี 2-4

ในการเรีียนการสอนของหน่่วยที่�่ 2 สัปั ดาห์์ที่่� 3 (7-9 ชั่่�วโมง)
ขั้้�นนำ�ำ
ชั่่ว� โมงที่�่ 7
• พููดทบทวนเนื้้�อหาที่่�เรีียนไปในคราวที่่�แล้้ว
• บอกวััตถุุประสงค์์ ขอบเขตเนื้้�อหาทั้ง้� หมดของการเรีียน เรืือง เลนส์์ถ่า่ ยภาพ
• ชี้แ� จงวิิธีีการวััดผลประเมิินผลพร้้อมกำ�ำ หนดเวลาส่่งชิ้น� งาน
ขั้้น� สอน
• บรรยายเนื้้อ� หาหน่่ยวยที่่� 2 โดยใช้้สไลด์์สอน เลนส์ถ์ ่่ายภาพ
• พัักเบรก
ชั่่�วโมงที่�่ 8-9
• ให้้ผู้�้เรีียนดููภาพถ่่าย แล้้วให้้ช่่วยกัันวิิเคราะห์ว์ ่่าใช้้เลนส์ช์ นิิดใดถ่า่ ยภาพ
• กำำ�หนดสถานการณ์์ ในการถ่า่ ยภาพ แล้้วให้้ผู้้�เรีียนช่่วยกัันเลืือกว่่าจะหยิิบเลนส์ต์ ััวใหนไปใช้ง้ าน
• พัักเบรก
ขั้้น� สรุปุ
• สรุปุ การปฏิิบััติิงานร่่วมกัันกัับครูู ปััญหาที่่เ� กิดิ และวิธิ ีีแก้ป้ ััญหา
• ครููสรุุปเนื้้�อหาที่่เ� รียี นและนััดหมายกิจิ กรรมการเรียี นในสััปดาห์ห์ น้้า

ในการเรีียนการสอนของหน่่วยที่�่ 2 สััปดาห์ท์ ี่่� 4 (10-12 ชั่่�วโมง)
ขั้้น� นำ�ำ
ชั่่�วโมงที่่� 10
• ทบทวนเนื้้�อหาที่่เ� รีียนไปในคราวที่่�แล้้ว
• บอกวััตถุุประสงค์์ ขอบเขตเนื้้อ� หาทั้้ง� หมดของการเรีียน อุุปกรณ์์เสริิมกล้้องถ่า่ ยภาพ
• ชี้แ� จงวิธิ ีกี ารวััดผลประเมิินผลพร้อ้ มกำ�ำ หนดเวลาส่่งชิ้น� งาน
ขั้้�นสอน
• บรรยายเนื้้�อหาหน่่ยวยที่่� 2 โดยใช้ส้ ไลด์์สอน อุปุ กรณ์เ์ สริมิ กล้้องถ่า่ ยภาพ
• พัักเบรก
ชั่่ว� โมงที่�่ 11-12
• แบ่่งกลุ่ม� เรีียนออกเป็็นกลุ่ม� กลุ่�มละ 3-4 คน
• ครููทำำ�การสาธิิตการใช้ง้ านอุุปกรณ์์เสริิม ฟิลิ เตอร์์ ขาตั้้ง� กล้อ้ ง กริิป แฟลชแยก เป็็นต้้น
• ให้ผ้ ู้�เ้ รียี นแต่่ละกลุ่�มสลัับกัันใช้้งาน ประกอบ อุปุ กรณ์์เสริมิ ต่่างๆ ข้้างต้น้
• พัักเบรก
ขั้้�นสรุุป
• สรุปุ การปฏิิบััติิงานร่่วมกัันกัับครูู ปัญั หาที่่�เกิดิ และวิิธีีแก้ป้ ััญหา
• ทำำ�แบบทดสอบหลัังเรียี นหน่่วยที่่� 2
• นััดหมายกิจิ กรรมการเรีียนในสััปดาห์์หน้้า

หน่วยท่ี 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สริม 106 สัปดาหท์ ี่ 2-4

สื่�อการจัดั การเรีียนรู้้�

1) ชุุดการสอนที่่� 2 เรื่อ�่ ง เลนส์์ กล้อ้ ง และอุปุ กรณ์์เสริิม
2) สื่่อ� Canva Slide เรื่อ่� ง เลนส์์ กล้้อง และอุปุ กรณ์เ์ สริมิ
3) สื่่�อของจริิง เช่่น โปสต์์การ์์ดภาพถ่า่ ยๆ ต่่างๆ
4) ใบงานเรื่�่อง เลนส์์ กล้้อง และอุปุ กรณ์เ์ สริิม

ตััวอย่่างสื่อ� ที่่�ใช้ใ้ นการจัดั การเรีียนรู้้�หน่่วยที่่� 4

หนว่ ยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณ์เสรมิ 107 สัปดาห์ท่ี 2-4

การวัดผลและประเมินผล

วธิ วี ัดผล
1) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรียนและการปฏิบัตงิ าน
2) ตรวจผลจากแบบฝึกหัด/การอภปิ ราย
3) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
4) ตรวจผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน
5) ประเมนิ ผลจากการวัดท้ังสว่ นทีเ่ ป็นความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
เครอื่ งมอื วดั
1) แบบสังเกตพฤตกิ รรมระหว่างเรียนและการปฏบิ ัตงิ าน
2) แบบฝึกหัด/ใบประเมินผลการอภปิ ราย
3) แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น
4) ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามใบงาน
5) แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1) ผูเ้ รยี นได้คะแนนพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นการสอนและการปฏบิ ัติงานไม่ต�่ำกวา่ รอ้ ยละ 60
2) คะแนนรวมตามแบบประเมนิ ผลงานใบงาน ไม่ต�่ำกวา่ รอ้ ยละ 60
3) คะแนนแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ไม่ต�่ำกวา่ รอ้ ยละ 60
4) คะแนนประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ไม่ต�่ำกวา่ ร้อยละ 60

108 ท-ป-น. (1-2-2)
ส้ปดาห้์ท�ี 2-4
เอกสารประกอบการเรย่ น่
รห้ส้ วชิ ุา 20302-2009 วิชุาการถ่�ายภาพื้ดิจติ ั้อล้
ห้น�วยท�ี 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอุปกรณ์์เสริม
สาขั้าวชิ ุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

คำาแน่ะน่าำ สาำ หรับผเู้ รย่ น่

1. ให้ผ้ ู้เ้่ รยี นฟิงั คู่ำาแนะนาำ จากผู้่้สอน
2. ให้้ผู้้่เรยี นทาำ แบบทดสอบก�อนเรยี น จาำ นวน 10 ขั้อ้ เวล้า 5 นาที
3. ให้้ผู้่้เรียนทำากจิ กรรมการจด้ การเรยี นรท้่ �ีผู้่้สอนมอบห้มายตั้ามขั้้�นตั้อนทุกขั้น�้ ตั้อน
4. ให้้ผู้เ้่ รยี นทาำ แบบทดสอบห้ล้ง้ เรยี น จำานวน 10 ขั้้อ เวล้า 5 นาที
5. ให้ผ้ ู้้เ่ รยี นล้งม่อปฏิบิ ต้ ั้งิ านตั้ามขั้น�้ ตั้อนใบงาน ฟิังขั้้น� ตั้อนการล้งมอ่ ปฏิบิ ต้ ั้งิ านตั้ามคู่ำาแนะนาำ ผู้ส่้ อน อยา� ง

เคู่รง� คู่ร้ดเพื้่อ� ปฏิิบต้ ั้งิ านอยา� งถ่ก่ วิธีีแล้ะปล้อดภย้

สาระการเรย่ น่รู้ :

1) วธิ ีกี ารใชุง้ าน การตั้ง�้ คู่า� ตั้�างๆ ขั้องกล้้องถ่า� ยภาพื้
2) ประเภทแล้ะคู่ณุ ์สมบ้ตั้ิเล้นส์ชุนดิ ตั้�างๆ ก้บการเล้่อกใชุ้งานให้เ้ ห้มาะสม
3) คู่ณุ ์สมบ้ตั้ิ แล้ะประโยชุนข์ ั้องอุปกรณ์์เสริมทใ�ี ชุร้ ว� มกบ้ กล้้องถ่า� ยภาพื้

จุดประสงคก์ ารสอน่/การเร่ยน่รู้
1. จดุ ประสงค์ที่ั�วไป

1.1 ผู้เ่้ รียนมคี ู่วามร้่คู่วามเขั้้าใจ วธิ ีีการใชุง้ านกล้อ้ ง เล้นส์ แล้ะอุปกรณ์์เสรมิ ตั้ล้อดจนสามารถ่ประยกุ ตั้์การ
ใชุ้งานไดอ้ ยา� งเห้มาะสมก้บล้ก้ ษณ์ะงาน ท้ง� มีกิจนิสย้ ที�ดใี นการทาำ งานรว� มกบ้ ผู้อ่้ �่นได้

2. จุดประสงค์เชี้งิ พฤติกรรม (K P A)

เม่�อผู้่้เรียนเรยี นเร่อ� งเทคู่นคิ ู่การถ่า� ยภาพื้แล้ว้ สามารถ่
2.1 บอกวิธีกี ารใชุ้งาน การตั้ง้� คู่�าตั้า� งๆ ขั้องกล้อ้ งถ่า� ยภาพื้ เล้นส์ แล้ะอุปกรณ์์เสริมได้
2.2 อธีิบายขั้�น้ ตั้อนการทำางานขั้องกล้้องถ่�ายภาพื้ได้
2.3 เล้่อกใชุ้งานเล้นส์ชุนิดตั้า� งๆ ให้เ้ ห้มาะสมกบ้ งานได้
2.4 มที ้กษะในการใชุอ้ ุปกรณ์์กล้้องถ่า� ยภาพื้ในการปฏิบิ ต้ ั้ิงานได้
2.5 มเี จตั้คู่ตั้แิ ล้ะกจิ นสิ ย้ ทดี� ใี นการเรยี น ดว้ ยคู่วามตั้ง้� ใจ พื้ากเพื้ยี ร ใฝ่ห่ ้าคู่วามรอ่้ ยเ่� สมอ เปน็ ระเบยี บ สะอาด

ตั้รงตั้อ� เวล้า มคี ู่วามซื่อ�่ สต้ ั้ย์ รบ้ ผู้ดิ ชุอบ รก้ ษาสภาพื้แวดล้อ้ ม แล้ะมคี ู่ณุ ์ธีรรม จรยิ ธีรรมแล้ะคู่ณุ ์ล้ก้ ษณ์ะ
อน้ พื้้งประสงคู่์ทตี� ั้้องการ

109 ท-ป-น. (1-2-2)
สป้ ดาห้์ที� 2-4
แบบที่ดสอบก่อน่เรย่ น่
รห้ส้ วิชุา 20302-2009 วิชุาการถ่า� ยภาพื้ดจิ ติ ั้อล้
ห้นว� ยที� 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอุปกรณ์์เสรมิ
สาขั้าวชิ ุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

คำาชี้�่แจง : จงทำาเคู่ร�อ่ งห้มาย (X) ล้งห้น้าขั้้อที�ถ่่กตั้อ้ งท�สี ดุ เพื้ยี งขั้้อเดยี ว เวล้า 10 นาที

1.. Tripod คู่่ออะไร 6. DOF ห้ร่อ Depth of Field คู่่ออะไร
ก. เล้นส์ ก. ทางยาวโฟิก้ส
ขั้. ตั้้วกล้อ้ ง ขั้. คู่า� ร่รบ้ แสงทเี� ห้มาะสม
คู่. ขั้าตั้�้งกล้อ้ ง คู่. ระยะชุ้ดล้ก้ ขั้องภาพื้
ง. แฟิล้ชุ ง. ระบบประมวล้ผู้ล้ขั้องกล้้อง

2. ปัจจ้ยไดท้ ีม� ีผู้ล้ตั้อ� ระยะชุ้ดล้้กขั้องภาพื้ 7. การถ่�ายภาพื้บคุ ู่คู่ล้นิยมเรียกว�าการถ่า� ย
ก. Focus Length, Aperture, ก. Landscape
ขั้. Composition, Golden ratio ขั้. Streetphoto
คู่. DOF, Aperture คู่. Portrait
ง. DOF, Focus Length ง. Panning

3. การตั้ง้� คู่�าถ่�ายภาพื้ในทีแ� สงน้อย ทาำ ให้้เกดิ สง�ิ ใด 8. R - Rule of Third คู่่อ
กบ้ ภาพื้ ก. กฏิสามสว� น
ก. bokgeh ขั้. กฏิสามเห้ล้�ยี มทองคู่าำ
ขั้. Noise คู่. คู่วามเร็วชุต้ ั้เตั้อร์
คู่. High kgey ง. ร่ร้บแสง
ง. Overexposure
9. Motion blur เป็นการถ่�ายภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด
4. Vintage เป็นการถ่�ายภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้อ�่ นไห้วให้้ด่ห้ยุดน�ิง
ก. ภาพื้นาำ สมย้ ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ่� นไห้ว
ขั้. ภาพื้ล้้าสม้ย คู่. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงเกบ็ บรรยากาศึ
คู่. ภาพื้ย้อนยคุ ู่ ง. การถ่า� ยภาพื้ยอ้ นแสงโดยให้้ตั้้วแบบมด่
ง. ภาพื้เจาะเวล้า
10. Silhouette เปน็ การถ่�ายภาพื้ล้้กษณ์ะใด
5. Street Photo เป็นการถ่�ายภาพื้ล้้กษณ์ะใด ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้่อ� นไห้วให้ด้ ่ห้ยดุ นิ�ง
ก. การถ่�ายภาพื้ถ่นน ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ�่ นไห้ว
ขั้. การถ่�ายภาพื้สะพื้าน คู่. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงเกบ็ บรรยากาศึ
คู่. การถ่�ายภาพื้วิถ่ีชุวี ิตั้ชุุมชุน ง. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงโดยให้ต้ ั้ว้ แบบม่ด
ง. การถ่�ายภาพื้ยานยนตั้์

110 ท-ป-น. (1-2-2)
ส้ปดาห้์ที� 2-4
ใบความรู้
รห้้สวชิ ุา 20302-2009 วิชุาการถ่า� ยภาพื้ดิจติ ั้อล้
ห้น�วยที� 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอปุ กรณ์์เสรมิ
สาขั้าวชิ ุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

หล้กั การที่าำ งาน่ของกล้อ้ ง

กล้้องเป็นเห้ม่อนกล้�องท้บแสง ทาำ ห้น้าท�ีร้บแสงในปริมาณ์ท�ีเห้มาะสมเพื้่�อใชุ้ในการสร้างภาพื้ กล้ไกแล้ะ
ชุนิ� สว� นตั้�างๆ ขั้องกล้อ้ งทำางานส้มพื้้นธีก์ ้นในการที�จะคู่วบคูุ่มปริมาณ์แสงไปย้งห้น�วยรบ้ ภาพื้อยา� งถ่่กตั้้องแมน� ยาำ
อีกท้�งย้งคู่วบคู่มุ คู่วามคู่มชุ้ดขั้องภาพื้ ตั้ล้อดจนอาำ นวยคู่วามสะดวกตั้า� งๆ ในการบน้ ท้กภาพื้

ชี้�ิน่ส่วน่พ�ืน่ฐาน่แล้ะอุปกรณ์์ควบคุมหล้ักของ ภาพที่�่ 2.1 ตัวกลำ้อง Nikon-Digital-Camera
กล้้องมด่ งั ตอ่ ไปน่�่ ภาพที่�่ 2.2 ชื้อ่ งม่องภาพ
ตวั กล้้อง (Body) (ภาพที่�่ 2.1)

ตั้ว้ กล้อ้ งมลี ้ก้ ษณ์ะเปน็ กล้อ� งทบ้ ดา้ นห้นา้ สาำ ห้รบ้
ตั้ดิ ตั้ง�้ เล้นส์ ดา้ นห้ล้ง้ มชี ุอ� งมอง ดา้ นบนมปี มุ่ กดบน้ ทก้
ภาพื้/ป่มุ กดล้้�นชุ้ตั้เตั้อร์ ภายในมีห้น�วยร้บภาพื้อย�ส่ �วน
ห้ล้้ง กล้้องประเภทสะท้อนภาพื้เล้นส์เด�ียว (SLR) มี
กระจกแล้ะปรซิ ื่ม้ สาำ ห้รบ้ สะทอ้ นแสงจากเล้นสไ์ ปสช�่ ุอ� ง
มองภาพื้ ภายในย้งมีห้น�วยว้ดแสง ชุ�องเก็บแบตั้เตั้อร�ี
แล้ะแผู้งวรจรไฟิฟิา้ ห้นว� ยคู่วามจาำ นอกจากนด�ี า้ นนอก
ขั้องตั้ว้ กล้อ้ งยง้ มอี ปุ กรณ์ว์ ด้ ระยะห้า� งจากวต้ ั้ถุ่ แฟิล้ชุ ปมุ่
ปรบ้ ตั้า� ง ๆ แล้ะชุอ� งเสยี บสาำ ห้รบ้ ใชุง้ านตั้า� ง ๆ ตั้ว้ กล้อ้ งมี
โคู่รงสรา้ งทแ�ี ขั้ง็ แรง ทาำ จากวส้ ดทุ ต�ี ั้า� ง ๆ กน้ สาำ ห้รบ้ กล้อ้ ง
แตั้ล� ้ะรน�ุ ตั้ง�้ แตั้� พื้ล้าสตั้กิ จนถ่ง้ โล้ห้ะผู้สมทม�ี นี าำ� ห้นก้ เบา

ชี้อ่ งมองภาพ (Viewfinder) (ภาพที่่� 2.2)

ชุอ� งมองภาพื้เปน็ ชุอ� งสาำ ห้รบ้ มองภาพื้กอ� นทาำ การ
บน้ ทก้ ภาพื้ กล้อ้ งประเภทสะทอ้ นภาพื้เล้นสเ์ ดยี� ว (SLR)
สามารถ่มองเห้น็ ภาพื้ในมมุ เดยี วกบ้ ภาพื้ทจ�ี ะทาำ การบน้ ทก้
เนอ�่ งจากใชุก้ ระจกสะทอ้ น แสงจากเล้นสข์ ั้น้� ไปปรากฏิภาพื้
บนกระจกฝ่า้ ดา้ นบน แล้ว้ สะทอ้ นภายในปรซิ ื่ม้ ห้า้ เห้ล้ย�ี ม
(Pentaprism) เขั้า้ ส�่ ชุอ� งมองแสงทอ�ี ยด�่ า้ นห้ล้ง้ ขั้องกล้อ้ ง
กล้อ้ งรน�ุ ให้มม� ก้ มจี อภาพื้ LCD ห้รอ่ LED อยผ�ู่้นง้ ดา้ นห้ล้ง้
ขั้องตั้ว้ กล้อ้ ง ทาำ ให้ม้ องเห้น็ ภาพื้ทจ�ี ะบน้ ทก้ ไดถ้ ่นด้ ขั้น�้

หน่วยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณ์เสริม 111 สปั ดาหท์ ี่ 2-4

หน่ว่ ยรัับภาพ (Light-sensitive Materials)

หน่่วยรัับภาพ (ภาพที่�่ 2.3) เป็็นวััสดุุไวต่่อแสง
อาจเป็็นฟิิล์์มหรืือแผ่่นชิิปสร้้างภาพดิิจิิตอล (Digital
Imaging Chip) หน่่วยรัับภาพจะอยู่�ด่ ้้านหลัังภายในตััว
กล้้อง ในปััจจุุบัันหน่่วยรัับแสงที่่�เป็็นฟิิล์์มเริ่�มหมดจาก
ตลาด ส่่วนแผ่่นชิิปสร้้างภาพดิิจิิตอลที่่�นิิยมใช้้ จะเป็็น
“CCD” (charge coupled device) และ “CMOS”
(complementary metal oxide semiconductor)
ในยุุคก่่อนที่่�ใช้้ฟิิล์์มเป็็นหน่่วยรัับภาพ ผู้้�ผลิิต
ฟิิล์์มจะกำ�ำ หนดให้้มีีการผลิิตฟิิล์์มแต่่ละชนิิดให้้มีีค่่า
ความไวแสงที่่ต� ่่าง ๆ กัันสำำ�หรัับการใช้ง้ านแต่่สภาพแสง
ความไวแสงมีหี น่่วยวััดตามระบบ ISO (International
Standards Organization) มาตรฐานที่่�ใช้้คืือ ISO
5800:1987 (เดิิมยัังมีีการกล่่าวอ้้างถึึงระบบมาตรฐาน
DIN ย่่อมาจาก “Deutsches Institut für Normung”
ซึ่ง� เป็น็ มาตรฐานของเยอรมััน) ฟิิล์ม์ สำำ�หรัับถ่่ายภาพใน
สภาวะแสงทั่่ว� ไป มีคี ่่า ISO เท่่ากัับ 64 ถึึง 100 หาก
จะถ่่ายภาพในที่่�มืืดปานกลาง ให้้เลืือกใช้้ฟิิล์์มที่่�มีี ISO
เท่่ากัับ 300 ถึึง 400 สำำ�หรัับสถานที่่�ที่่�มืืดมากอาจใช้้
ฟิิล์์มที่่�มีี ISO สููงถึึง 1600 อนึ่่�งเมื่่�อฟิิล์์มที่่�มีีค่่า ISO สููง
ขึ้�้น คุณุ ภาพของภาพก็จ็ ะด้อ้ ยลง

เมื่่อ� มีวี ิิวััฒนาการใช้้แผ่่นชิปิ สร้้างภาพดิจิ ิติ อลเป็น็
หน่่วยรัับภาพ การกำำ�หนดค่่าความไวแสงของหน่่วยรัับ
ภาพใช้้วิิธีีเทีียบเคีียงกัับค่่าความไวแสงของ ฟิิล์์มและ
ใช้ค้ ่่าในระบบ ISO เช่่นกััน แต่่เนื่อ่� งจากแผ่่นชิิป สร้้าง ภาพที่่� 2.3 หน่ว่ ยรัับภาพ CCD-vs-CMOS-Fact-and-Fiction
ภาพดิจิ ิติ อลหนึ่่ง� ๆ สามารถปรัับค่่าความไวแสงได้ห้ ลาย
ระดัับไม่่เหมืือนของฟิิล์ม์ แต่่ละม้้วนที่่ม� ีคี ่่า ISO ตายตััวผู้้�ใช้้กล้อ้ งจึึงสามารถเลืือกใช้ค้ ่่า ISO ได้้ตามสภาพของแสง
(ในปััจจุบุ ััน การเลืือกใช้้ ISO สููง ๆ ยัังมีปี ัญั หาเรื่�่องคุณุ ภาพของภาพอยู่)�่ ได้ม้ ีกี ารปรัับปรุงุ หมายเลขมาตรฐาน
ที่่ใ� ช้้อ้้างอิิง เป็็น ISO 12232:2006 สำ�ำ หรัับหน่่วยรัับแสงแบบดิจิ ิติ อล

หน่วยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณ์เสริม 112 สัปดาหท์ ่ี 2-4

ชััตเตอร์์ (Shutter) ภาพที่�่ 2.5
ชััตเตอร์์ ทำำ�หน้้าที่่�เสมืือนประตููปิิดเปิิดรัับแสงให้้
กัับหน่่วยรัับภาพ อยู่่�ภายในตััวกล้้องด้้านหน้้าของหน่่วย
รัับภาพ ผู้้�ใช้้สามารถปรัับตั้�้งระยะเวลาในการเปิิดรัับ
แสงให้้กัับหน่่วยรัับภาพ ในสภาวะแสงปกติิ เวลาในการ
เปิิดรัับภาพเป็็นเศษส่่วนของวิินาทีี ช่่วงเวลาที่่�มีีการเปิิด
รัับแสงเรีียกว่่าความเร็็วชััตเตอร์์ (Shutter Speed) มีี
หน่่วยวััดเป็็นตััวเลขจำำ�นวนเต็็มเท่่ากัับส่่วนของวิินาทีีที่่�
เปิิดรัับภาพ เช่่น เปิิดรัับแสงนาน 1/125 วิินาทีี จะได้้
ค่่าความเร็็วชััตเตอร์์เท่่ากัับ “125” หากต้้องการกำำ�หนด
เวลาการเปิิดรัับแสงโดยผู้้�ใช้้เองจะใช้้อัักษร “B” ในกรณีี ภาพที่�่ 2.5 ม่่าน shutter

ที่่�เปิิดชััตเตอร์์นาน 2 วิินาทีี ก็็กำำ�หนดค่่าความเร็็วชััตเตอร์์เป็็นเลขจำำ�นวนเต็็มเท่่ากัับ “2” เช่่นเดีียวกัับการเปิิด
นาน 1/2 วิินาทีี แต่่ที่่�ปุ่�มปรัับ เลข ”2” สำำ�หรัับ 2 วิินาทีีจะอยู่่�ต่ำำ��กว่่า “B” และมัักใช้้สีีของตััวเลขที่่�ต่่างออกไป

อะเพอร์์เจอร์์ (Aperture) ภาพที่�่ 2.6

อะเพอร์เ์ จอร์เ์ ป็็นอุุปกรณ์ภ์ ายในเลนส์์ที่่ค� อยปรัับ
เปลี่ย� นขนาดของรููแสง ทำำ�หน้า้ ที่่เ� สมืือนหน้า้ ต่่างเปิดิ รัับ
แสงผ่่านเลนส์เ์ ข้า้ สู่ต่� ััวกล้อ้ ง หากรููแสงใหญ่่ปริมิ าณแสง
จะส่่องผ่่านได้้มากกว่่ารููแสงที่่�เล็็กกว่่า มีีหน่่วยวััดเป็็น
อััตราส่่วนของความยาวโฟกััส (Focal Length) กัับเส้น้
ผ่่าศููนย์์กลางขนาดของรููแสงอะเพอร์์เจอร์์ เช่่น เลนส์์ที่่�
มีีความยาวโฟกััส 50 ม.ม. เมื่่�อเปิดิ อะเพอร์์เจอร์์ให้้มีรี ูู
ขนาดเส้น้ ผ่่าศููนย์ก์ ลาง 6.25 ม.ม. เอา 50 หารด้ว้ ย 6.25
ซึ่ง� เท่่ากัับ 8 ก็จ็ ะได้ค้ ่่าของอะเพอร์เ์ จอร์เ์ ท่่ากัับ “f/8”
ค่่าของอะเพอร์เ์ จอร์โ์ ดยทั่่ว� ไปจะอยู่ร่� ะหว่่าง “f/1.2” ถึึง
“f/32” (โดยทั่่ว� ไปจะพบ f/1.4 f/2 f/2.8 f/3.5 f/4.5
f/5.6 f/8 f/11 f/16 f/22 f/32) จะสัังเกตุุเห็็นว่่าหาก
ตััวเลขมีีค่่าน้้อยลงขนาดของรููแสงจะกว้า้ งขึ้�้น

ภาพที่ 2.6 แสดงขนาดของรูแสงที่คา่ อะเพอร์เจอร์ตา่ ง ๆ

หน่วยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 113 สัปดาหท์ ี่ 2-4

เรีียนรู้้�การใช้้กล้้อง
ก่่อนที่่�จะทำำ�การถ่่ายภาพ ควรใช้เ้ วลาสัักเล็็กน้้อยเรียี นรู้้�หลัักการและความสามารถของกล้อ้ งตลอดจนวิธิ ีี
การ ปรัับตั้ง�้ กล้อ้ งที่่จ� ะนำำ�มาใช้้ ถึึงแม้้ว่่ากล้้องยุุคปััจจุบุ ัันนี้้ม� ีเี ทคโนโลยีที ี่่ล� ้ำำ��สมััย เพียี งเล็็งไปยัังวััตถุุที่่�จะถ่่ายแล้ว้
กดปุ่�มเปิดิ ชััตเตอร์์ ที่่เ� หลืือกล้้องทำำ�หน้า้ ที่่�ให้ห้ มด แต่่หากเราต้อ้ งการได้้ภาพที่่�แตกต่่างออกไป เช่่น ต้้องการทำำ�ให้้
พื้�้นฉากหลัังพร่่ามััวเพื่�่อยัังผลให้้วััตถุุที่่�เราถ่่ายโดดเด่่นขึ้้�น หรืือต้้องการถ่่ายวััตถุุที่่�กำำ�ลัังเคลื่่�อนไหวให้้คมชััด หรืือ
อยากได้้ภาพที่่ม� ีีโทนสีที ี่่�อบอุ่�นขึ้น้� ซึ่ง� ถ้้าเราเข้้าใจการทำ�ำ งานของปุ่�มควบคุุมต่่าง ๆ ของกล้อ้ ง เราก็ส็ ามารถจััดการ
กัับความต้้องการเหล่่านี้้� ก่่อนอื่่�นให้เ้ ราเรียี นรู้้�ลำ�ดัับการใช้ก้ ล้้องอย่่างคร่่าว ๆ

ขั้้น� ตอนการนำ�ำ กล้้องมาใช้้ในการบันั ทึึกภาพ

• ศึึกษาการทำำ�งานของกล้อ้ งที่่�จะนำ�ำ มาใช้้
• เลืือกเลนส์์ให้เ้ หมาะกัับงาน แล้้วนำ�ำ มาติิดตั้้�งกัับตััวกล้้อง
• ติดิ ตั้�้งอุปุ กรณ์เ์ สริิมเพื่่อ� ช่่วยให้้ได้้ภาพที่่ด� ีีขึ้�น้ เช่่น แฟลช ขาตั้ง�้ ฯลฯ
• ปรัับตั้ง้� ค่่าต่่างๆ ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกัับการควบคุมุ ปริมิ าณของแสง อัันได้แ้ ก่่ ค่่าความไวแสงของหน่่วยรัับภาพค่่า
ความสมดุลุ ย์์ของแสงสีขี าว ค่่าความเร็ว็ ชััตเตอร์แ์ ละขนาดอะเพอร์เ์ จอร์์ หากต้อ้ งการให้ก้ ล้อ้ งคำ�ำ นวนให้้
ให้้ตั้ง�้ รููปแบบอััตโนมััติิ (AUTO)
• จัับถืือกล้อ้ งอย่่างถููกวิิธีี เล็ง็ ผ่่านช่่องมองแสงไปยัังวััตถุทุ ี่่จ� ะบัันทึึกภาพ
• ปรัับหาโฟกััสของวััสถุุในภาพ ซึ่ง� โดยปกติมิ ัักใช้้ระบบหาโฟกััสของกล้้อง
• จััดองค์์ประกอบของภาพที่่�เห็น็ ในช่่องมอง
• รอจัังหวะท่่วงท่่าของวััตถุุ แล้้วกดชััตเตอร์์
• ใช้แ้ ละเก็บ็ รัักษากล้อ้ งอย่่างทะนุถุ นอม ไม่่กระทบกระแทกกล้อ้ ง ระวัังอย่่าให้เ้ ลนส์ม์ ีรี อยขีดี ข่่วน ทำำ�ความ
สะอาดเลนส์ด์ ้ว้ ยกระดาษเช็ด็ เลนส์์และอุปุ กรณ์ท์ ำำ�ความสะอาดเลนส์์

usepmode

“AUTO” กล้้องเป็็นผู้้�คำ�นวนและเลืือกค่่าทุกุ อย่่างโดยอััตโนมััติิเพื่่�อให้้ได้ป้ ริมิ าณแสงที่่ถ� ููกต้้อง
“M” (Manual) ผู้้�ใช้้เป็น็ ผู้ป้� รัับตั้้�งค่่าเองทั้ง้� หมด
“S” (Shutter Priority) ผู้้�ใช้้เป็น็ ผู้ต้� ั้้ง� ค่่าความเร็ว็ ชััตเตอร์์ กล้้องจะคำ�ำ นวนหาค่่าอะเพอร์์เจอร์์
“A” (Aperture Priority) ผู้�้ใช้เ้ ป็็นผู้ต้� ั้้ง� ค่่าอะเพอร์์เจอร์์ กล้้องจะคำ�ำ นวนหาค่่าความเร็ว็ ชััตเตอร์์
“P” (Program) คล้า้ ยรููปแบบ “AUTO” แต่่ยอมให้้ผู้้ใ� ช้้ปรัับแต่่งค่่าต่่าง ๆ ได้้
นอก จากนี้้� กล้อ้ งแต่่ละรุ่น� ยัังมีรี ููปแบบอื่น�่ ๆ ให้เ้ ลืือก เช่่น รููปแบบสำำ�หรัับถ่า่ ยทิวิ ทััศน์์ บุคุ คล ดอกไม้้ ฯลฯ รููปแบบ
เหล่่านี้้�มัักแสดงเป็็นภาพแทนตััวอัักษร กล้้องจะคำ�ำ นวนค่่าต่่างๆ ให้้โดยอััตโนมััติิให้เ้ หมาะกัับรููปแบบที่่เ� ลืือกไว้้

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณเ์ สริม 114 สัปดาหท์ ่ี 2-4

ภาพที่่� 2.7 แสดงลำำ�ดัับขั้น� ในการตั้้�งค่่ากล้้องถ่า่ ยภาพ

การปรับั ตั้้ง� กล้อ้ งในการบันั ทึึกภาพ ภาพที่�่ 2.7

การหาระยะชััด (Focusing) เป็น็ การปรัับเลื่อ่� นระยะระหว่่างเลนส์ก์ ัับวััตถุทุี่่จ� ะบัันทึึกภาพ กัับระยะระหว่่าง
เลนส์ก์ ัับหน่่วยรัับภาพจนได้ต้ ำ�ำ แหน่่งที่่ท� ำ�ำ ให้ภ้ าพมีคี วามคมชััดที่่� สุดุ กล้อ้ งรุ่น� ใหม่่ ๆ มีรี ะบบหาระยะชััดโดยอััตโนมััติิ
กล้อ้ งสำ�ำ หรัับมืืออาชีพี หรืือกึ่ง� มืืออาชีพี มีปีุ่�มให้เ้ ลืือกได้ว้่่าจะให้ก้ ล้อ้ งหาระยะชััดหรืือจะหาระยะชััดเอง
การควบคุมุ ปริมิ าณแสง (Exposure) ก่่อนอื่น�่ ควรจะต้อ้ งเลืือกค่่า ISO ให้เ้ มหาะสมกัับสภาพแสงพื้น้� ที่่น� ั้น�้ ๆ
แล้ว้ จึึงปรัับการทำ�ำ งานสััมพัันธ์ก์ ัันระหว่่าง ขนาดความกว้า้ งของรููอะเพอร์เ์ จอร์์ (Aperture) กัับ ระยะเวลาในการ
เปิดิ รัับแสงของชััตเตอร์์ (Shutter Speed) หน่่วยรัับแสงจะสร้า้ งภาพได้ส้ มบููรณ์น์ ั้น�้ ต้อ้ งได้ร้ัับปริมิ าณแสงจำ�ำ นวนที่่�
เหมาะสมไม่่ มากไปหรืือน้อ้ ยไป หากภาพจากวััตถุสุ ว่่างน้อ้ ยก็ต็ ้อ้ งเปิดิ รัับแสงให้ม้ ากขึ้น�้ ทำ�ำ ได้โ้ ดยการเปิดิ ชััตเตอร์ใ์ ห้้
รัับแสงนานขึ้น�้ หรืือจะปรัับอะเพอร์เ์ จอร์ใ์ ห้รูู้แสง ใหญ่่ขึ้น้� หรืือปรัับทั้ง้� สองอย่่างจนกว่่าปริมิ าณแสงที่่จ� ะส่่งไปยัังหน่่วย
รัับภาพจะตรง ต่่อความต้อ้ งการ อนึ่่ง� ในการให้ห้ น่่วยรัับภาพได้ร้ัับปริมิ าณแสงเท่่ากัันนั้น้� หากปรัับระยะเวลารัับแสง
ของชััตเตอร์น์ านขึ้น�้ ก็ต็ ้อ้ งลดขนาดของอะเพอร์เ์ จอร์ใ์ ห้เ้ ล็ก็ ลง จึึงจะทำ�ำ ให้ป้ ริมิ าณแสงที่่ไ� ด้ค้ งเดิมิ
ไม่่ว่่าจะเป็น็ การตั้ง�้ ค่่าต่่าง ๆ แบบอััตโนมััติหิ รืือจะตั้้�งค่่าด้ว้ ยตนเอง เมื่่อ� ได้ค้ ่่าต่่าง ๆ ที่่ถ� ููกต้อ้ ง ก็็ทำำ�การเล็็ง
ผ่่านช่่องมองภาพ เมื่่อ� ได้ภ้ าพที่่ม� ีอี งค์ป์ ระกอบที่่ต� ้อ้ งการ ก็ส็ ามารถทำ�ำ การบัันทึึกภาพได้้อย่่างมั่น� ใจ

หนว ยที่ 2 กลอ ง เลนส และอปุ กรณเสริม 115 สปั ดาหท่ี 2-4

เล้น่ส์ (Lens) ภาพที่่� 2.8

เปน็ กล้มุ� ขั้องเล้นสท์ ใ�ี ห้แ้ สงผู้า� น ทาำ ห้นา้ ทยี� อ� /ขั้ยายภาพื้ แล้ะทำาให้ภ้ าพื้ทหี� ้นว� ยรบ้ ภาพื้มคี ู่วามคู่มชุด้ ภายใน
เล้นส์จะมีอะเพื้อร์เจอร์ แล้ะอปุ กรณ์์ปร้บระยะชุ้ดอต้ ั้โนมต้ ั้ิ อีกทง้� อาจมกี ารตั้ิดตั้ง้� อุปกรณ์์ล้ดการส�น้ ไห้วขั้องภาพื้
เล้นสจ์ ะถ่่กแบง� ประเภทตั้ามคู่วามยาวโฟิก้สขั้องเล้นส์ (Focal Length)

เพื้�่อที�จะได้เขั้้าใจทางยาวโฟิก้สมากขั้�้น เราตั้้อง ภาพที่่� 2.8 เลำน่ส์
เร�ิมจากท�ีมาขั้องม้นจริงๆ น้�นคู่่อการเดินทางขั้องแสง
ผู้�านกระจกโคู่้งห้ร่อเล้นส์น้�นเอง ตั้ามที�เราเรียนๆ ก้น
มา เล้นส์มี 2 ชุนิดคู่่อ เล้นส์เวา้ (Concave Lens) ท�ี
สว� นกล้างขั้องเล้นส์เว้าเขั้า้ ไป แล้ะ เล้นส์นน่ (Convex
Lens) ภาพที่�่ 2.9 ทสี� ว� นกล้างขั้องเล้นสน์ น่ ออกมา ซื่ง้� การ
ทม�ี น้ ไมเ� ปน็ กระจกตั้รงๆ ทาำ ให้แ้ สงถ่ก่ ห้ก้ เห้เฉไปทางอน�่
เล้นสเ์ วา้ จะทาำ ให้แ้ สงกระจายออกสว� นเล้นสน์ น่ จะรวม

ภาพที่่� 2.9 เลำน่ส์เว้า แลำะเลำน่สน์ ่นู ่

แสงเขั้า้ ดว้ ยกน้ แตั้ไ� มว� า� มน้ จะรวมห้รอ่ กระจายแสง จะมจี ดุ ๆ ห้นง้� ทแี� สงตั้ด้ กน้ สำาห้รบ้ เล้นสน์ น่ จะสง้ เกตั้เห้น็ งา� ย
ห้นอ� ยแตั้ส� าำ ห้รบ้ เล้นสเ์ วา้ ให้ล้ ้องสง้ เกตั้วา� แสงทผี� ู้า� นเล้นสไ์ ปจะมกี ารสะทอ้ นกล้บ้ มาดว้ ยแล้ว้ รวมแสงตั้ด้ กน้ ทจ�ี ดุ ๆ
ห้นง้� เจ้าจุดๆ นแี� ห้ล้ะท�ีเราเรียกวา� จดุ โฟกัส Focus

ห้ล้้กการขั้องเล้นส์ในกล้้องถ่�ายร่ปก็มาจากคู่อนเซื่็ปพื้วกน�ี แตั้�เพื้่�อให้้การรวมแสงเขั้้าส่�เซื่็นเซื่อร์มี
ประสิทธีิภาพื้ท�ีสุด เขั้าเล้ยใชุ้เล้นส์ห้ล้ายชุิ�น (ห้ร่อท�ีเรียกว�าชุุดเล้นส์/กล้�ุมเล้นส์) ห้ล้ายๆ ตั้้วมาประกอบก้น ซื่�้ง
สำาห้ร้บเล้นส์ซื่่ม เจ้าชุุดเล้นส์พื้วกน�ีจะสามารถ่ขั้ย้บเขั้้า-ออกได้ทาำ ให้้จุดโฟิก้สขั้ย้บไป-มาได้ ถ่้าเป็นเล้นส์อีกแบบ
ทช�ี ุดุ เล้นสอ์ ยน�่ งิ� ๆ จะเรยี กวา� เล้นสฟ์ ิกิ ห้รอ่ เล้นสร์ ะยะเดยี� ว ขั้อ้ ดที มี� ชี ุดเชุยขั้อ้ เสยี ทข�ี ั้ยบ้ โฟิกส้ ไมไ� ดข้ ั้องมน้ คู่อ่ เล้นส์
ระยะเดี�ยวจะใชุช้ ุดุ เล้นส์ซื่�้งสรา้ งภาพื้ที�คู่มชุด้ แล้ะปริมาณ์แสงได้มากกวา� เล้นสซื่่ม

เมอ่� รจ้่ ก้ จดุ โฟิกส้ แล้ว้ มาตั้อ� กน้ ทน�ี ยิ ายขั้อง Focal Length ห้รอ่ ทางยาวโฟิกส้ ตั้อ� ห้นา้ ทข�ี ั้องเล้นสท์ สี� ะทอ้ น
วต้ ั้ถุ่ (Project) เขั้า้ สฉ�่ าก ระยะขั้องวต้ ั้ถ่จุ ะสง� ผู้ล้ตั้อ� ภาพื้ทต�ี ั้กล้งบนฉาก ถ่า้ วต้ ั้ถ่อุ ยไ�่ กล้จากเล้นสไ์ ปสก้ ระยะห้นง�้ เรา
จะเรยี กระยะนน้� วา� Infinity (ห้รอ่ ระยะอนน้ ตั้)์ เชุน� ถ่า้ เรามเี ล้นสท์ เ�ี ขั้ยี นเล้ขั้เอาไวว้ า� 50 mm. แปล้วา� เล้นสน์ ี� เมอ่�

หนว่ ยท่ี 2 กล้อง เลนส์ และอุปกรณเ์ สรมิ 116 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

โฟกััสถ่า่ ยวััตถุทุี่่อ� ยู่ใ�่ นระยะ Infinity แล้ว้ จะทำ�ำ ให้ต้ ััวเลนส์อ์ ยู่ห�่ ่่างจากเซ็น็ เซอร์์ 5 เซ็น็ ติเิ มตร จุดุ โฟกััสใกล้ๆ้ ใช้ส้ ำ�ำ หรัับ
ถ่า่ ยภาพใกล้ๆ้ ส่่วนจุดุ โฟกััสมากๆ ก็เ็ อาไว้ถ้ ่า่ ยรููปไกลๆ แต่่ถ้า้ พููดเป็น็ เลขแบบนี้้� คนธรรมดาคงไม่่เข้า้ ใจว่่ามัันคืืออะไร
หรืืออาจจะกะไม่่ถููกว่่าคำ�ำ ว่่าใกล้้ - ไกลที่่ว�่่า มัันคืือระยะเท่่าไหร่่กัันแน่่ ดัังนั้น้� เราเปลี่ย� นมาดููสิ่่ง� เข้า้ ใจง่ายกว่่า ซึ่ง� Focal
Length ส่่งผลโดยตรงกัับวััตถุหุ รืือแบบ กล่่าวคืือ

1. Field of View องศารัับภาพ ภาพที่�่ 2.10
อย่่างแรกเลย ... Focal Length จะส่่งผลโดยตรง

ต่่อมุุมที่่�กล้้องจะรัับภาพได้้ เช่่นถ้้าเรามีีเลนส์์ที่่�มีี
Focal Length = 24mm. แปลว่่ามุมุ ในการรัับ
ภาพของเราจะกว้้างประมาณ 84° แต่่ถ้้า Focal
Length = 200mm. มุมุ ที่่เ� รารัับภาพได้ก้ ็จ็ ะเหลืือ
แค่่ 12° เท่่านั้้�น ความสามารถในการรัับภาพได้้
กว้า้ ง-แคบนี่่�แหละ เราเรีียกว่่า “Field of View”

ภาพที่่� 2.10 Field of View

มุุมมองของสายตามนุษุ ย์์
สำำ�หรัับช่่วง Focal Length ตั้้ง� แต่่ 40-60 (หรืือก็็คืือประมาณ 50 mm. นั่่น� แหละ) ถืือว่่าเป็น็ มุมุ ปกติิ

(Normal) ที่่ส� ายตามนุษุ ย์ม์ องเห็็น คนจะชิินกัับมุุมมองแบบนี้้ท� ี่่�สุุด แล้้วสำำ�หรัับเลนส์์ ตััวเลขที่่เ� ขียี นเอา
ไว้้ สามารถถููกจััดแบบคร่่าวๆ ได้้ดัังนี้้� (ภาพที่่� 2.8)
น้อ้ ยกว่่า 35 mm. (มมรัับภาพกว้า้ ง) ถืือว่่าเป็็นเลนส์ม์ ุุมกว้า้ ง (Wide)
35 mm. - 70 mm. ถืือว่่าเป็็นเลนส์ม์ ุุมปกติิ (Normal)
มากกว่่า 70 mm. (มุุมรัับภาพแคบ) ถืือว่่าเป็น็ เลนส์์ระยะไกล (Tele.)

Focal length คืือ ระยะห่่างระหว่่าง เลนส์์ และ เซ็น็ เซอร์์ ที่่ท� ำ�ำ ให้ภ้ าพของวััตถุจุ ากระยะ Infinity ตกลงบน
เซ็น็ เซอร์ไ์ ด้พ้ อดีี หรืือ ระยะจากจุดุ ศููนย์ร์ วมของเส้น้ ทางเดินิ ของแสงของชิ้น� เลนส์ท์ ี่่ม� าบรรจบกััน (Point of
convergence) ถึึงระนาบของ CCD หรืือฟิลิ ์ม์ (Focal plane) ซึ่�งบนตััวกล้้องจะมีีเครื่อ�่ งหมายระนาบนี้้ใ� ห้้
ด้ว้ ย ระยะห่่างจากวััตถุถุ ึึงระนาบ Focal plane นั้้�นเรีียกว่่าระยะทางการโฟกััส (Focusing Distance) ได้้
จากการปรัับหมุนุ กระบอกเลนส์ใ์ ห้เ้ ลื่อ่� นเข้า้ หรืือออกเพื่อ�่ ให้เ้ กิดิ ภาพวััตถุนุ ั้น�้ ชััดทีสี ุดุ บน CCD ซึ่ง� เราสามารถ
ทราบได้จ้ ากสััญลัักษณ์แ์ สดงสถานะการโฟกััสในช่่องมองภาพของกล้อ้ งว่่าวััตถุนุ ั้น้� อยู่ใ�่ นโฟกััสแล้ว้ แล้ว้ ระยะ
ห่่างจากวััตถุถุ ึึงระนาบ Focal plane นี้้จ� ะมีตี ััวเลขแสดงระยะนี้้ไ� ว้อ้ ย่่างคร่่าวๆบนหน้า้ ต่่างกระบอกเลนส์์ มีี
หน่่วยเป็น็ ft (ฟุุต) และ m (เมตร)

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณ์เสริม 117 สปั ดาห์ที่ 2-4

2. Perspective สัดั ส่ว่ นของวัตั ถุุ

เรื่่อ� งต่่อไปคืือสััดส่่วนของวััตถุุในภาพที่่จ� ะเปลี่ย� นไปตาม Focal Length โดยแบ่่งออกเป็็น 2 กรณีี
กรณีีที่�่ 1 : ช่่างภาพยืืนอยู่�ที่�่เดิมิ ภาพที่่� 2.11
ถ่า่ ยภาพโดยยืืนอยู่ท่� ี่่�เดิมิ แต่่เปลี่ย� นความยาว Focal Length ไปเรื่อ่� ยๆ

ภาพที่่� 2.11 แสดงทางยาวโฟกัสั เทีียบกับั สััดส่่วนที่ไ่� ด้้

ถ้า้ ดููรููปสามภาพข้้างบน ภาพที่่� 2.11 รููปที่่� 1 จะเป็็นรููปที่่�สายตาคนชินิ ที่่ส� ุดุ ถ่่ายด้้วยเลนส์์ไวด์์ (มุุมกว้า้ ง) ก็็
จะทำำ�ให้เ้ ห็น็ ภาพกว้้างกว่่าความเป็็นจริงิ ทุกุ อย่่างจะดููเล็ก็ ยกเว้้นวััตถุทุ ี่่�อยู่ใ่� กล้้เลนส์์จะบวมเบ่่งออก ส่่วน
รููปที่่� 3 ถ่่ายด้ว้ ยเลนส์เ์ ทเล (มุุมแคบ) จะทำำ�ให้้วััตถุถุ ููกดึึงเข้้ามาใกล้้ วััตถุใุ นภาพนี้้�จะให้้ความรู้�สึกว่่าเขยิิบ
เข้า้ มาใกล้ก้ ัันมากกว่่าภาพอื่่น� ๆ

หนว่ ยท่ี 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 118 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

กรณีีที่่� 2 : ตากล้้องไม่่ได้ย้ ืืนอยู่�ที่่�เดิมิ ภาพที่�่ 2.12
กรณีที ี่่ต� ากล้้องเดิินเข้า้ หาวััตถุทุ ี่่�ถ่า่ ยด้ว้ ย โดยจะจัับคู่่เ� ป็็นแบบนี้้�
เลนส์์ไวด์์ มุุมกว้้าง-เดิินเข้า้ ใกล้ว้ ััตถุรุ ะดัับใกล้ม้ าก
เลนส์น์ อร์์มอล มุุมปกติิ-เดินิ เข้้าใกล้้วััตถุรุ ะดัับปานกลาง
เลนส์เ์ ทเล มุมุ แคบ-เดิินออกมาไกลจากวััตถุุ

ภาพที่่� 2.12 แสดงทางยาวโฟกััส เทีียบกัับ สััดส่ว่ นที่่ไ� ด้้

ผลที่่ไ� ด้ค้ ืือ วััตถุทุ ี่่�เราโฟกััสจะมีขี นาดพอๆ กัันทั้ง�้ 3 ภาพ แต่่สิ่่ง� ที่่เ� ปลี่ย� นไปคืือขนาดของฉากหลััง (backg-
ground) ให้เ้ ทียี บกัับมุมุ มองปกติิ

สำ�ำ หรัับเลนส์ไ์ วด์์ เนื่อ�่ งจากความสามารถในการเก็บ็ ภาพได้้กว้้างทำ�ำ ให้้วััตถุุในภาพทุกุ ชิ้�นจะดููเล็็กลง การ
เดินิ เข้า้ ไปหาวััตถุเุ ลยทำ�ำ ให้ว้ ััตถุใุ หญ่่ขึ้น�้ จนมีขี นาดเท่่ากัับที่่เ� ห็น็ ในมุมุ มองปกติิ แต่่ฉากหลัังที่่อ� ยู่ใ่� นระยะที่่�
ไกลออกไปไม่่ได้ร้ ัับผลนี้้� มัันเลยโดนย่่อเล็ก็ ลง (แปลว่่าถ้า้ ฉากหลัังเป็น็ ภููเขาเราก็จ็ ะเก็บ็ ภาพภููเขาได้ท้ ั้ง�้ ลููก)

แต่ถ่ ้า้ เป็น็ เลนส์เ์ ทเล (คืือเดินิ ออกไปไกลจากแบบแล้ว้ ซููมเข้า้ มา) ผลจากการใช้เ้ ลนส์น์ี้้จ� ะทำ�ำ ให้ว้ ััตถุใุ นภาพ
ทั้ง�้ หมดโดยซููมเข้า้ มาใกล้้ แต่่เนื่อ�่ งจากเราเดินิ ถอยออกมาจากวััตถุุ มัันเลยมีขี นาดเท่่าเดิมิ แต่่ผลจากองศา
รัับภาพที่่แ� คบ ทำ�ำ ให้้เราเห็น็ ภููเขาข้้างหลัังในมุมุ จำ�ำ กััด (แต่่จะเห็็นภููเขาใหญ่่ขึ้้�นมากเลย) จะเห็น็ ฉากหลััง
เป็็นมุมุ แคบๆ แต่่เห็็นได้้ไกล ทำ�ำ ให้้ฉากหลัังดููใหญ่่เหมืือนถููกดึึงเข้า้ มาใกล้้

หนว่ ยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณเ์ สรมิ 119 สปั ดาห์ท่ี 2-4

3. Depth of Field ระยะชััดลึกึ

อย่่างสุดุ ท้า้ ยที่่� Focal Length ส่่งผลคืือระยะที่่ช� ััดที่่ส� ุดุ ที่่ก� ล้อ้ งจะโฟกััสได้้ ซึ่ง� ก็ไ็ ม่่ได้ค้ ่่า Focal Length ค่่า
เดียี วที่่ม� ีีผลต่่อ Depth of Field เพราะมัันต้อ้ งทำำ�งานร่่วมกัับค่่า F-Stop สำ�ำ หรัับ Focal Length น้อ้ ยๆ
จุุด Depth of Field หรืือระยะที่่�ภาพจะชััดมัักจะอยู่�่ใกล้้ตััวเลนส์์ และแคบ (แคบในที่่�นี้้ห� มายถึึง ถ้้าวััตถุุ
ขยัับออกจากระยะนิิดเดีียวก็็จะเบลอไปเลย) แต่่ถ้้าเพิ่่ม� ระยะ Focal Length นอกจากระยะ Depth of
Field ที่่�จะเปลี่ย� นไปคืือขยัับออกห่่างจากกล้้องแล้ว้ ให้ส้ ัังเกตว่่าระยะ Depth of Field จะกว้้างขึ้้�นด้ว้ ย
ถ้า้ เพิ่่�ม Focal Length ไปอีีก ... Depth of Field ก็จ็ ะกว้า้ งงงขึ้�น้ อีีก จนในที่่�สุดุ จะถึึงระยะที่่เ� รีียกว่่า
Infinity หรืือระยะที่่ถ� ้้าเลยจุดุ นี้้ไ� ป ไม่่ว่่าใกล้-้ ไกลแค่่ไหนก็จ็ ะเห็็นชััดเท่่าๆ กัันหมดทั้้�งภาพ แสดงให้้เห็็น
ว่่า Depth of Field จะกว้า้ งขึ้้�นเรื่�่อยๆ เมื่�อ่ ระยะห่่างออกไป นั่่น� เป็็นสาเหตุทุ ี่่ก� ารถ่า่ ยรููปคนด้ว้ ยค่่า F
กว้า้ งๆ (เลข F น้้อยๆ) แบบถ่่ายครึ่่ง� ตััว มีีโอกาสเจอปัญั หาหน้า้ นางแบบ/นายแบบเบลอได้ง้่ายกว่่าถ่า่ ย
แบบเต็็มตััวนั่่น� เอง เพราะเมื่�่ออยู่่�ใกล้้ Focal Length จะทำำ�ให้้ Depth of Field แคบ

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 120 สปั ดาห์ที่ 2-4

ปััจจััยเบื้้อ� งต้น้ ในการเลือื กเลนส์์

เลนส์์นั้�้นมีีมากมายหลากหลายยี่�ห้้อทั้�้งเลนส์์จากค่่ายผู้้�ผลิิตกล้้องนั้�้นๆ เองหรืือเลนส์์จากค่่ายอิิสระ ซึ่�ง
ราคาค่่าตััวเลนส์์แต่่ละรุ่�น แต่่ละยี่�ห้้อก็็ไม่่ใช่่น้้อย ความถููกต้้องในวััตถุุประสงค์์ของการใช้้งานจึึงควรคำำ�นึึงถึึง
เป็็นอัันดัับแรก จากนั้้�นค่่อยพิิจารณาถึึงแนวทางการแก้้ไขจุุดบกพร่่องของเลนส์์ดัังกล่่าวต่่อไป

ภาพที่�่ 2.13 ทางยาวโฟกัสั

ทางยาวโฟกััส

ทางยาวโฟกััสของเลนส์ม์ ีหี น่่วยเป็น็ มิลิ ลิเิ มตร (mm) ยิ่ง� มีคี ่่ามากมุมุ รัับภาพจะยิ่ง� แคบลงภาพที่่ไ� ด้จ้ ะซููมเข้า้
มามาก ในขณะที่่�ทางยาวโฟกััสค่่าตััวเลขน้้อยๆ มุุมรัับภาพจะกว้้างมากขึ้น้� ค่่าทางยาวโฟกััสที่่ม� ากหรืือน้้อยเกินิ
ไปอาจทำำ�ให้้มุุมมองที่่�ได้้ต่่างออกไปจากสายตาของมนุุษย์์ (ทางยาวโฟกััสที่่�ใกล้้เคีียงมากที่่�สุุดคืือระหว่่าง 30-50
มิิลลิเิ มตรบนเซ็น็ เซอร์์ขนาดฟููลเฟรม)
มุุมรัับภาพที่่�ผิิดเพี้้�ยนไปนั้้�นมองในแง่่ดีีก็็ช่่วยสร้้างความสนใจให้ก้ ัับภาพได้้เช่่นกััน เช่่น ความแปลกตาใน
เส้น้ ที่่โ� ค้ง้ ผิดิ สััดส่่วนของเลนส์ต์ าปลาซึ่ง� ก็ค็ งไม่่มีใี ครซื้อ� มาเพื่อ�่ ถ่า่ ยภาพให้ไ้ ด้ส้ ััดส่่วนที่่ถ� ููกต้อ้ งอยู่แ่� ล้ว้ , การเอาเลนส์์
ทางยาวโฟกััสมากๆ มาถ่า่ ยคนเพื่อ่� ละลายฉากหลัังให้ห้ ลุดุ มากกว่่าปกติิ หรืือการดึึงฉากหลัังให้เ้ ข้า้ มามากกว่่าปกติิ
ด้ว้ ยเลนส์์เทเล ทั้ง�้ นี้้�อยู่่�กัับการพิจิ ารณาของผู้�้ใช้้ในการสร้า้ งสรรค์์เป็น็ หลััก
ทางยาวโฟกััสของเลนส์ซ์ ููมจะมีีค่่าตััวเลขสองค่่าระบุทุ ี่่เ� ลนส์อ์ ยู่่�เสมอ เช่่น 16-55mm หมายความว่่าทาง
ยาวโฟกััสของเลนส์ต์ ่ำ�ำ� สุุดเมื่่�อยัังไม่่ได้้ซููมคืือ 16mm และเมื่�่อหมุุนกระบอกซููมจนสุดุ จะได้้ระยะที่่� 55 mm
นอกไปจากนี้้ท� างยาวโฟกััสยัังขึ้น้� อยู่ก�่ัับขนาดของเซ็น็ เซอร์ร์ัับภาพ เช่่น ทางยาวโฟกััสขนาด 30mm บนเซ็น็ เซอร์์
ขนาดฟููลเฟรมภาพที่่ไ� ด้จ้ ะกว้า้ งกว่่าทางยาวโฟกััสขนาด 30 mm บนเซ็น็ เซอร์ข์ นาด APS-C ซึ่ง� ถ้า้ เราเอาขนาดฟููลเฟรมเป็น็
เกณฑ์แ์ ล้ว้ จะพบกว่่า APS-C ต้อ้ งคููณด้ว้ ย 1.5 หรืือ 1.6 เท่่าจึึงจะมีขี นาดเท่่าเซ็น็ เซอร์ฟ์ ููลเฟรม หมายความว่่าขนาดทางยาว
โฟกััส 30mm บนเซ็น็ เซอร์์ APS-C จะมีที างยาวโฟกััสเท่่ากัับ 30mm x 1.5 = 45mm บนเซ็น็ เซอร์ฟ์ ููลเฟรมนั่่น� เองครัับ

หน่วยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณ์เสริม 121 สปั ดาห์ท่ี 2-4

รูรู ัับแสงกว้้างสุุดที่เ�่ ลนส์์ทำำ�ได้้
aperture

เลนส์์ที่่�ให้้ค่่ารููรัับแสงกว้้างจะได้้เปรีียบเลนส์์ที่่�มีีค่่ารููรัับแสงน้้อยกว่่าในกรณีีการถ่่ายภาพในที่่�มืืดโดยไม่่ใช้้
แฟลช เช่่น ค่่า f/1.8 แสงจะวิ่ง� เข้า้ ได้ม้ ากกว่่า f/4 ซึ่ง� นอกไปจากนี้้แ� ล้ว้ ค่่า f ที่่ก� ว้า้ งมากยัังมีคี วามสััมพัันธ์ต์ ่่อระยะ
ชััดของภาพอีีกด้้วย กรณีีของเลนส์ซ์ ููมที่่ม� ีคี ่่ารููรัับแสงสองค่่า เช่่น XC 16-50mm f/3.5-5.6 OIS II ที่่ค� ่่า f/3.5-5.6
จะหมายความว่่าระยะ 16 mm ค่่ารููรัับแสงกว้้างที่่�สุดุ จะทำำ�ได้ท้ ี่่� f/3.5 และเมื่อ�่ ซููมจนสุุดค่่ารููรัับแสงที่่�กว้้างที่่�สุุด
จะทำำ�ได้ท้ ี่่� 5.6
ค่่ารููรัับแสงกว้้างสุุดมัักถููกระบุุเป็็น “f/ค่่ารููรัับแสงกว้้างสุุด” ไว้้ที่่�ชื่�่อรุ่�นของเลนส์์เสมอ เช่่น AF-S Nikkor
50mm f/1.8 G หมายความว่่าเลนส์์ดัังกล่่าวสามารถเปิิดหน้้าเลนส์์ได้้กว้้างสุุดที่่� f/1.8 โดยที่่�ตััวเลขรููรัับแสง
นั้้�นยิ่�งมีีเลขน้้อยๆ จะยิ่�งเปิิดทางให้้แสงวิ่�งเข้้าผ่่านเลนส์์ไปบรรจุุที่่�เซ็็นเซอร์์รัับภาพได้้มากยิ่�งขึ้�้นหรืือมัักเรีียกว่่า
“เลนส์์ไวแสง” ภาพที่�่ 2.14 และ 2.15 เป็็นภาพตััวอย่่างเลนส์์คนละระยะ และการเปิิดใช้้รููรัับแสงที่่�ต่่างกััน

ภาพที่่� 2.14 ถ่่ายที่�่ f/1.8 Nikkor 50mm บน Nikon D750 ภาพที่�่ 2.15 ถ่่ายที่�่ f/8.0 ระยะ 38mm Nikkor 24-120mm
ที่่ม� า https://www.dozzdiy.com/ถ่า่ ยกับั มืือ บน Nikon D750
ที่�ม่ า https://www.dozzdiy.com/ถ่่ายกัับมืือ

หน่วยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 122 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

เลนส์์ประเภทต่า่ งๆ แยกตามการใช้้งาน

ภาพที่่� 2.16 ภาพจากเลนส์์ตาปลา ภาพที่�่ 2.17 ภาพจากเลนส์์มุุมกว้า้ ง
ที่่�มา https://www.dozzdiy.com/ถ่า่ ยกัับมือื
เลนส์์มุมุ กว้้างพิเิ ศษ ภาพที่�่ 2.17
เลนส์ต์ าปลา ภาพที่�่ 2.16
เป็น็ เลนส์ท์ ี่่�มัักอยู่ใ�่ นระยะตั้้�งแต่่ 24 mm ขึ้น�้ ไป
เลนส์์ตาปลาให้ม้ ุุมรัับภาพที่่�กว้้างมากและผิิดเพี้้�ยน สำำ�หรัับเซ็็นเซอร์แ์ บบฟููลเฟรม มีคี วามแตกต่่างจาก
ที่่�สุุด ภาพที่่�ได้จ้ ึึงแปลกตาและมีีความน่่าสนใจ เลนส์์ตาปลาตรงที่่แ� ม้จ้ ะรัับภาพได้้กว้้างแต่่จะเป็็น
เนื่่อ� งจากเป็็นสิ่ง� ที่่เ� ราไม่่สามารถเห็็นได้้ทั่่ว� ไปใน ลัักษณะของเส้น้ พุ่่ง� ออกแบบเส้น้ ตรง (ในขณะที่่�
สายตาปกติขิ องมนุุษย์์ ปกติิมัักจะมาในทางยาว เลนส์์ตาปลาเป็็นเส้น้ โค้ง้ ) ลัักษณะเฉพาะของเลนส์์
โฟกััสแบบค่่าเดียี ว เช่่น 12mm-18mm เหมาะ ในประเภทนี้้จ� ะมีีระยะชััดที่่�ค่่อนข้้างลึึกและไม่่
สำ�ำ หรัับภาพถ่า่ ยสนุกุ ๆไม่่ซีีเรีียสความเที่่�ยงตรงของ สามารถทำ�ำ ให้้วััตถุุใดๆแปลกแยกออกมาจากฉากได้้
ทััศนมิติ ิิหรืือสิ่ง� ใดๆในภาพ นอกจากนี้้ก� ็็ยัังใช้ถ้ ่า่ ย อย่่างชััดเจนเท่่าไรนััก ความผิิดเพี้้�ยนของเลนส์เ์ มื่�่อ
ภาพภููมิทิ ััศน์ท์ ี่่�แสดงถึึงความยิ่ง� ใหญ่่อลัังการมากๆ เทียี บกัับเลนส์์ตาปลาแล้้วแก้้ได้ง้่ายกว่่าที่่โ� ปรแกรม
ได้อ้ ีกี ด้้วย ตกแต่่งแก้ไ้ ขภาพและเทคนิคิ การใช้ง้ านต่่างๆ เหมาะ
ลัักษณะการใช้้งาน : ภาพถ่่ายที่่�ไม่่เน้้นความถููกต้้อง สำ�ำ หรัับการถ่า่ ยภาพภููมิทิ ััศน์์หรืืองานโครงสร้้างที่่�
ของทััศนมิิติิมากนััก, ภาพถ่่ายภููมิทิ ััศน์์ และภาพถ่า่ ย เน้น้ ความถููกต้อ้ งของเส้้นสาย หรืือจะประยุกุ ต์ถ์ ่่าย
อื่น�่ ๆที่่ต� ้้องการมุมุ รัับภาพกว้้างมากๆเพื่่�อสร้้างความ งานบุุคคลแบบแสดงฉากหลัังก็็ได้้
แปลกใหม่่ ลัักษณะการใช้ง้ าน : ภาพภููมิทิ ััศน์,์ สถาปัตั ยกรรม
ทั้�ง้ ภายนอกภายในที่่เ� น้้นความถููกต้อ้ งของเส้น้ ,
ภาพถ่า่ ยมุุมกว้้างประยุกุ ต์์กัับภาพบุคุ คล และอื่น�่ ๆ

หน่วยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณเ์ สริม 123 สัปดาห์ท่ี 2-4

ภาพที่�่ 2.18 ภาพจากเลนส์์มาโคร ภาพที่่� 2.19 ภาพจากเลนส์์เทเล
ที่่�มา https://www.freepik.com ที่่�มา https://www.dozzdiy.com/ถ่่ายกับั มือื

เลนส์์มาโคร ภาพที่่� 2.18 เลนส์์เทเลโฟโต้้ ภาพที่�่ 2.19
เลนส์ม์ าโครถืือเป็น็ เลนส์เ์ ฉพาะทางที่่�
ให้้ “ตััวเลืือกพิเิ ศษ” เพิ่่ม� เติิมเข้้ามานั่่น� คืือการ เลนส์์เทเลโฟโต้้เป็็นเลนส์ท์ ี่่�มีมี ุมุ รัับภาพแคบ
ถ่า่ ยภาพในระยะที่่�ใกล้ว้ ััตถุมุ ากๆเพื่�อ่ ขยายราย ซึ่�งมีีระยะของทางยาวโฟกััสตั้�ง้ แต่่ 70mm ขึ้้�นไป
ละเอียี ด ทางยาวโฟกััสของเลนส์ป์ ระเภทนี้้�ค่่อน โดยที่่บ� างคนก็็อาจเถียี งว่่าทางยาวโฟกััสที่่� 135mm
ข้า้ งกว้า้ ง คืือราวๆ 40-200mm ให้้ภาพที่่�มีีความ ขึ้�้นไปต่่างหากจึึงจะเป็น็ เลนส์์เทเล คุณุ สมบััติสิ มบััติิ
คมชััดรายละเอีียดสููง และระยะชััดที่่ค� ่่อนข้้าง ของเลนส์์ตััวนี้้น� อกจากจะโฟกััสวััตถุใุ ดๆให้เ้ ด่่นออก
ตื้น� มากอัันเนื่อ�่ งมาจากการถ่่ายวััตถุุในระยะใกล้้ มาจากฉากหลัังได้อ้ ย่่างมากแล้้วก็ย็ ัังดึึงฉากหลัังให้ม้ ีี
สายตาทิ้้ง� กัับฉากหลััง ขนาดใหญ่่เข้้ามามากกว่่าเดิิมด้้วย เช่่นการถ่า่ ยดวง
จัันทร์ใ์ ห้้มีขี นาดใหญ่่ซึ่่ง� จะทำำ�ไม่่ได้้เลยสำำ�หรัับเลนส์์
ลักั ษณะการใช้้งาน : หลายคนอาจคิิดว่่าเลนส์์ ที่่ม� ีมี ุุมรัับภาพกว้า้ งๆ
มาโครจะต้อ้ งถ่า่ ยสิ่�งมีชี ีีวิิตหรืือสิ่�งของขนาดเล็็กจิ๋ว� ลัักษณะการใช้ง้ าน : ภาพถ่า่ ยสััตว์์หรืือสิ่ง� ต่่างๆ ที่่�
เพียี งอย่่างเดียี ว ซึ่ง� ความจริงิ แล้้วนั้�น้ เราสามารถ ไม่่สามารถเข้า้ ใกล้้ได้้, ภาพถ่า่ ยที่่ม� ีกี ารละลายฉาก
ประยุุกต์ใ์ ช้้ถ่า่ ยภาพบุุคคลได้เ้ ป็น็ อย่่างดีอี ีีกด้้วย หลัังมากๆ, ภาพถ่า่ ยบุคุ คลที่่ต� ้อ้ งการความโดดเด่่น
เนื่่�องจากมีรี ะยะที่่�ค่่อนข้้างหลากหลาย อีีกทั้�้งให้้ และในบางครั้ง้� ก็็ใช้้ถ่่ายภาพภููมิทิ ััศน์ส์ ำำ�หรัับฉากที่่อ� ยู่�่
ความคมชััดและรายละเอีียดที่่�ดีี ห่่างไกลออกไปมากๆ

หนว่ ยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 124 สัปดาห์ท่ี 2-4
อุปุ กรณ์์เสริิมกล้อ้ งถ่่ายภาพ

อุปกรณ์เสริมกล้อง เป็นอีกหนึ่งส่งิ จ�ำเป็นส�ำหรับคนมีกล้องเพราะจะท�ำให้ การถ่ายน้ันมีอะไรแปลกใหม่
มากกว่าเดิม หรอื จะเปน็ อุปกรณ์ทเี่ อาไว้ปกป้องกล้องแสนแพงของคุณ เพราะฉะนน้ั เวลาซื้อกลอ้ งควรตั้งงบเพื่อ
อปุ กรณเ์ สรมิ ไว้ดว้ ยประมาณหนง่ึ อาทิ 2 ใน 3 หรอื 3 ใน 4 ของงบประมาณ

1. ฟิิลเตอร์์ป้้องกันั หน้า้ เลนส์์ ภาพที่�่ 2.20 ภาพที่�่ 2.20 ฟิิลเตอร์์

ฟิิลเตอร์์ (Filter) เป็น็ อุุปกรณ์์ที่่เ� อาไว้้หมุุนปิดิ
ทัับหน้้าเลนส์์เพื่่�อป้้องกัันหน้้าเลนส์์ มีีราคา
ตั้�้งแต่่หลัักร้้อยถึึงหลัักพััน ยี่�ห้้อทั่่�วไปๆ อย่่าง
Hoya Kenko หรืือระดัับโปร B+W มีรี าคา
แตกต่่างกัันไป ของดีีจะเคลืือบสารที่่�หน้้าฟิิล
เตอร์์ดีีกว่่า ทำำ�ให้้สามารถเช็็ดทำ�ำ ความสะอาด
คราบต่่างๆ ฟิลิ เตอร์บ์ างตััวถึึงกัับน้ำ�ำ� ไม่่เกาะเลย
และ ยัังรัับแสงได้้ไม่่ผิิดเพื้้�ยนเมื่�่อเทีียบกัับไม่่
ใส่่ฟิลิ เตอร์์

หนว่ ยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณ์เสริม 125 สปั ดาห์ที่ 2-4

2. กระเป๋า๋ กล้อ้ ง ภาพที่่� 2.21 ภาพที่่� 2.21 กระเป๋า๋ กล้้อง
ภาพที่่� 2.22 เมมโมรี่่�การ์ด์ และฮาร์ด์ ดิสิ ก์์
กระเป๋๋ากล้้องถืือว่่าเป็็นสิ่�งที่่�คนซื้�อกล้้องใหม่่
จำำ�เป็็นต้้องมีี กระเป๋า๋ กล้อ้ งนั้้น� ออกแบบมาให้้
ปกป้อ้ งกล้อ้ งจากการกระแทก รวมถึึงมีฟี องน้ำ��ำ
แบ่่งช่่องไม่่ให้้อุุปกรณ์์ถููกกระทบกระแทกกััน
ในกระเป๋๋าจนอาจเกิิดความเสีียหายได้้ ส่่วน
ราคาของกระเป๋า๋ กล้อ้ งนั้น้� ก็ม็ ีหี ลายราคาหลาย
เกรด เพราะกระเป๋๋ากล้อ้ งที่่ด� ีหี ลายๆ แบรนด์์
ก็็มีีคุุณสมบััติิต่่างๆ เช่่น เนื้้อ� ผ้า้ ป้้องกัันละออง
น้ำำ��หรืือตััวกระเป๋๋าออกแบบให้้ป้้องกัันการ
กระแทกได้เ้ ป็น็ อย่่างดีี การเลืือกซื้อ� ควรจะลอง
สะพายดููว่่าใช้ง้ านสะดวกหรืือไม่่ รวมถึึงลองใส่่
อุุปกรณ์์ดููด้้วยเพราะบางคนซื้ �อมาแล้้วใบเล็็ก
เกินิ ไปเก็บ็ ของได้ไ้ ม่่หมด อย่่าเลืือกดููเพียี งจาก
ดีีไซน์์อย่่างเดียี ว

3. ฮาร์ด์ ดิิสก์์ และ เมมโมรี่�ก่ าร์ด์ ภาพที่่� 2.22

ส�ำหรับกล้องดิจิตอลแล้ว ส่ิงท่ีใช้ในการเก็บ
บันทึกภาพถ่ายก็คือ เม็มโมร่ีการ์ด ช่างภาพ
ควรมีเม็มโมรี่การ์ดส�ำรองติดกระเป๋าไว้เสอม
เม่ือการ์ดเกิดความเสียหายหรือลืมใส่กล้อง
ไปถ่ายภาพ ก็แทบจะท�ำอะไรไม่ได้เลย การ
ซื้อเม็มโมรี่การด์ ไว้ส�ำรองจงึ เป็นเรือ่ งท่ดี ี และ
ควรเลือกเม็มโมรี่การ์ดที่มีความจุเพียงพอ
ต่อการใช้งาน รวมถึงเลือกความเร็วในการ
อา่ น-เขียนของเม็มโมรก่ี าร์ดให้เหมาะสม เช่น
หากตอ้ งการถ่ายวีดโี อความละเอียดสูง กต็ อ้ ง
ใช้การ์ดท่ีมีความเร็วในการอ่าน-เขียนข้อมูล
เร็วสักหน่อย เพื่อให้กล้องท�ำงานได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพนน่ั เอง รวมไปถึงควรมฮี ารด์ ดสิ ก์
ไว้เกบ็ ภาพหลังจากที่ถ่ายภาพมาแลว้ เพื่อจดั
เกบ็ ภาพถ่ายเอาไวใ้ ช้งาน...

หนว่ ยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 126 สัปดาห์ท่ี 2-4

4. แบตเตอรี่่� ภาพที่่� 2.23 ภาพที่่� 2.23 แบตเตอรี่�่
แบตเตอรเี่ ปน็ แหล่งพลังงานของกลอ้ งดจิ ติ อล ภาพที่�่ 2.24 ขาตั้ง� กล้้อง

ในการใช้งานจริงแล้ว แบตเตอร่ีเพียงก้อน
เดียวท่ีมีอยู่อาจไม่เพียงพอ โดยเฉพาะกล้อง
Mirrorless ท่กี ินไฟค่อนข้างมาก ท�ำให้ใชง้ าน
ไดไ้ มเ่ ต็มวัน หากคณุ ไม่มแี บตเตอรส่ี �ำรองเพิม่
อีกสักก้อนแล้ว อาจท�ำให้ทริปถ่ายภาพของ
คณุ กรอ่ ยไปเลยทเี ดยี ว ดังนั้นจงึ อยากแนะน�ำ
วา่ ควรหื้อแบตเตอร่ีอกี สกั กอ้ นไว้ และแนะน�ำ
เลือกเป็นแบตเตอร่ีแท้ท่ีมีการรับประกันจาก
ทางตัวแทนจ�ำหน่าย เพราะการซื้อแบตเตอรี่
ราคาถูก อาจเส่ียงต่อการได้แบตเตอร่ีปลอม
ซึ่งอาจส่งผลเสยี ต่อตัวกล้อง เช่น แบตเตอรีไ่ ม่
ได้คณุ ภาพจนเกดิ การลัดวงจร เปน็ ต้น
5. ขาตั้้ง� กล้อ้ ง ภาพที่�่ 2.24
ขาตั้งช่วยยึดกล้องไม่ให้มีการสั่นไหวเวลา
ลั่นชัตเตอร์ ท�ำให้ภาพมีความคมชัดแม้จะใช้
ความเร็วชัตเตอร์ที่ต�่ำๆ เป็นเวลาหลายวินาที
ดังนั้น เวลาการถ่ายภาพกลางคืน หรือเม่ือ
จะต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์ท่ี ต�่ำ จึงต้องใช้ขา
ตั้งช่วยเสมอ (หากมีความจ�ำเป็นและหาขา
ตั้งไม่ได้ ให้หาที่ยึดท่ีมั่นคงเช่นเสาไฟฟ้า โต๊ะ
เวลาถ่ายให้ยึดกล้องกับตัวช่วยเหล่านี้ให้มั่น
ๆ อยา่ ใหข้ ยบั ไดแ้ มแ้ ต่เลก็ นอ้ ยมฉิ ะนนั้ ภาพจะ
ออกมาไม่คมชัดได้) ช่างภาพมืออาชีพหากมี
โอกาส เขามกั ใชข้ าตั้งช่วยในการถ่ายภาพเสมอ
แมแ้ ต่การถ่ายภาพทวิ ทัศนใ์ นเวลากลางวนั ซึ่งมี
แสงเพยี งพออยแู่ ลว้ ทงั้ นเี้ พราะเมอื่ น�ำภาพไป
ขยายใหญ่ๆ ภาพก็ยังคมชัดอยู่และยังให้ราย
ละเอียดท่ีดี

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 127 สปั ดาห์ที่ 2-4

6. ตู้้�กันั ชื้้�น ภาพที่่� 2.25 ภาพที่่� 2.25 ตู้้�กัันชื้�น้
ตู้้�กัันชื้น� เป็น็ อุปุ กรณ์ท์ ี่่ม� ีคี วามสำ�ำ คััญมากอีกี ตััว ภาพที่�่ 2.26 อุุปกรณ์์ทำำ�ความสะอาด

หนึ่่�ง เพราะหากคุณุ เก็็บรัักษากล้อ้ งและเลนส์์
ไม่่ถููกวิธิ ีี โอกาสที่่จ� ะเกิิดเชื้อ� ราขึ้้น� บนเลนส์์นั้�น้
มีีสููงมาก โดยเฉพาะภููมิิอากาศแบบร้้อนชื้�น
ในบ้้านเรา เอื้�อต่่อการเกิิดเชื้�อราได้้ง่ ายมาก
และค่่าล้้างค่่าซ่่อมเลนส์์อาจแพงกว่่าราคา
ค่่าตู้�กั นชื้�นก็็ได้้ โดยตู้�กั นชื้�นนั้�้นมีีประโยชน์์ใน
การป้้องกัันอุุปกรณ์์ถ่่ายภาพของคุุณจากเชื้ �อ
ราและยัังช่่วยให้้คุุณจััดเก็็บกล้้องและเลนส์์ได้้
อย่่างสะดวกเป็็นที่่�เป็็นทางด้้วย จึึงแนะนำ�ำ ว่่า
ควรซื้�อไว้้ใช้ง้ านจริิงๆ
7. อุปุ กรณ์์ทำำ�ความสะอาดกล้อ้ ง ภาพที่�่ 2.26
ควรซื้�อเอาไว้้ใช้้งาน อย่่าได้้กลััวเปลืืองเงิิน
เพราะสิ่ �งเหล่่านี้้�เป็็นสิ่ �งจำำ�เป็็นที่่�ต้้องใช้้งาน
ประจำำ�เช่่น ลููกยางเป่่าลมสำ�ำ หรัับเป่่าฝุ่�นออก
จากหน้้าเซ็็นเซอร์์ ผ้้าเช็็ดเลนส์์ใช้้ทำ�ำ ความ
สะอาดหน้้าเลนส์์ ปากกา Lens Pen ใช้้
ทำำ�ความสะอาด แบบเฉพาะจุุด รวมถึึงแปลง
ปัดั ฝุ่�นใช้ป้ ัดั ฝุ่�นที่่ต� ิดิ ตามตััวกล้อ้ งเวลานำ�ำ กล้อ้ ง
ของคุุณไปออกทริิป สิ่�งเหล่่านี้้�จะช่่วยทำ�ำ ให้้
กล้อ้ งของคุณุ สะอาด และอยู่ก�่ ัับคุณุ ได้น้ านขึ้น�้

หนว่ ยท่ี 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 128 สัปดาหท์ ่ี 2-4

8. ไฟแฟลช ภาพที่่� 2.27 ภาพที่่� 2.27 ไฟแฟลช
สำ�ำ หรัับช่่างกล้้องหากมีีงบเหลืือพอแล้้ว คุุณ

ควรจะหาซื้ �อแฟลชที่่�ใช้้ต่่อพ่่วงภายนอกไว้้ใช้้
งานสัักตััว เพราะไฟแฟลชจะช่่วยให้้ถ่่ายภาพ
ในที่่�แสงน้้อยได้้ดีีขึ้้�นและหากคุุณศึึกษาการใช้้
งานของแฟลชจนชำำ�นาญแล้ว้ มัันจะช่่วยทำ�ำ ให้้
ภาพของคุณุ ดููสวยงามขึ้น้� จากเดิมิ อย่่างเห็น็ ได้้
ชััดเลยทีเี ดียี ว นอกจากไฟเฟลชขนาดใหญ่่ที่่ใ� ช้้
กัันในสตููดิโิ อถ่า่ ยภาพแล้ว้ ไฟแฟลชที่่ต� ิดิ กัับตััว
กล้อ้ งก็ม็ ีคี วามสำ�ำ คััญ ช่่วยเพิ่่ม� แสงให้แ้ ก่่วััตถุทุ ี่่�
จะถ่า่ ย ทำำ�ให้ภ้ าพออกมามีสี ีสี รรที่่ด� ีขี ึ้น�้ และยััง
ช่่วยให้เ้ ราสามารถใช้ค้ วามเร็ว็ ชััตเตอร์ไ์ ด้ส้ ููงขึ้น�้
แม้้การถ่่ายภาพนอกสถานที่่�ซึ่ �งมีีแสงมากพอ
เราสามารถใช้้แฟลชเติิมแสงด้้านหน้้าให้้วััตถุุ
อีกี เล็ก็ น้อ้ ย (Fill In) ทำำ�ให้ว้ ััตถุสุ ว่่างขึ้น้� เด่่นชััด
และลดเงามืืดที่่อ� าจมีีปรากฏอยู่่� การถ่า่ ยภาพ
ย้้อนแสงหากใช้้ไฟแฟลชช่่วยจะทำำ�ด้้านหน้้า
ของวััตถุุซึ่�งมืืดอยู่่�สว่่าง ขึ้�้น เห็็นรายละเอีียด
ได้้ดีีขึ้้�น โดยปกติิแสงไฟจากแฟลชเป็็นแสงที่่�
แข็ง็ เวลาใช้ง้ าน หากถ่า่ ยในห้อ้ งจะใช้ว้ ิธิ ีหี ัันหััว
แฟลชขึ้น�้ ด้า้ นบนทำำ�มุมุ ให้แ้ สงแฟลชสะท้อ้ นฝ้า้
เพดาน กลัับไปที่่�วััตถุุที่่�จะถ่่าย จะทำ�ำ ให้้แสง
นุ่่�มขึ้�้น หรืือจะสวมหััวแฟลชด้้วยยางขุ่�นที่่�ทำ�ำ
เฉพาะ (Diffuser) ก็็ช่่วยให้แ้ สงนุ่่�มขึ้น�้ ได้้

129

ใบงาน่ ท-ป-น. (1-2-2)
รห้้สวชิ ุา 20302-2009 วิชุาการถ่�ายภาพื้ดิจิตั้อล้ สป้ ดาห้ท์ ี� 2-4
ห้นว� ยที� 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอปุ กรณ์์เสริม
สาขั้าวิชุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

ชี้อ�ื งาน่
ตั้ง�้ คู่า� กล้้องถ่�ายภาพื้

จดุ ประสงค์ใบงาน่
เพื้อ่� ให้ผ้ ู้เ้่ รยี น มคี ู่วามรแ้่ ล้ะคู่วามเขั้า้ ใจ แล้ะมที ก้ ษะในการตั้ง้� คู่า� กล้อ้ งถ่า� ยภาพื้ ไดอ้ ยา� งถ่ก่ ตั้อ้ ง สวยงามตั้ามห้ล้ก้ วชิ ุา

คำาสั�ง

1. ให้้น้กเรยี นตั้�้งคู่า� กล้้องถ่�ายภาพื้ว้ตั้ถ่หุ ้ร่อแบบ ในสภาพื้แสงที�ตั้า� งก้น ด้งน�ี
1) ถ่า� ยแบบห้ร่อวต้ ั้ถ่กุ ล้างแจง้
2) ถ่า� ยแบบห้ร่อว้ตั้ถุ่ในรม� เชุน� ร�มไม้ ใตั้เ้ งาตั้ก้
3) ถ่า� ยแบบห้ร่อว้ตั้ถุ่ ในอาคู่าร ทเี� ปิดให้แ้ สงภายนอกเขั้้ามา
4) ถ่า� ยแบบห้ร่อวต้ ั้ถุ่ ในอาคู่าร ที�ใชุ้แสงจากห้ล้อดไฟิ

2. เขั้ยี นระบุ คู่า� การใชุง้ าน เชุน� ถ่า� ยดว้ ยกล้้อง Nikgon d5500 เล้นส์ kgit 18-140 ที�ระยะ 50 mm iSo 100 ร่รบ้
แสง f/4 ทีค� ู่วามเร็วชุ้ตั้เตั้อร์ 1/400 sec

ชี้�อื ภาพ การตั�งคา่ ถุ่ายภาพ

ชุ่อ� น้กเรียน/น้กศึ้กษา ............................................. ผู้้ค่ ู่วบคู่มุ ..................................................................
ห้อ้ ง/ชุ้�น ................................................................. ว้นท�ีเรม�ิ งาน .............................................................

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณเ์ สริม 130 สัปดาห์ท่ี 2-4

แบบประเมินิ ผลใบงาน

รหััสวิชิ า 20302 - 2009 วิชิ า การถ่า่ ยภาพดิจิ ิิตอล ชั้น�้ ปวช.2 สาขาวิชิ า ออกแบบ
ภาคเรีียนที่่� 1 ปีกี ารศึึกษา 2563 หน่่วยที่่� 2 วัันที่่.� ...................................................

รายการประเมิน รวม
20
ที่ ชื่อ-นามสกุล ตั้งค่ากลอ้ ง ความคมชัด ควขาอมงสแมสดงสุลีย์ ควาโดมยสรววยมงาม
1 นายณััฐวััตร วรรณวิินััย 54321 54321 54321 54321
2 นายธนภููมิิ มุุงคุณุ
3 นางสาวปัทมา ไชยารััตน
4 นางสาวพิิมพชนก บุตุ รดีี
5 นางสาวฐิิติิวรดา จัันทรอินิ วิเิ ศษ
6 นางสาววาสนา สาระเวก
7 นางสาววิิภาพร ผลานิสิ งค
8 นางสาวอลิิษา ขุุนวิิเศษ
9
10

เกณฑ์์ผ่า่ น 20 คะแนน

ตั้้�งค่่ากล้อ้ งถ่่ายภาพ : ตั้�ง้ ค่่าถ่่ายภาพได้้ตรงตามหลัักการถ่า่ ยภาพ
ความคมชััด : โฟกััสแบบถููกจุุด มีีระยะชััดที่่�ดีี
ความสมดุลุ ย์์ของแสงสีี : ความสมดุุลย์์ของสีเี ทากลาง ไม่่ผิิดเพี้้�ยน มากไป หรืือน้อ้ ยไป
ความสวยงามโดยรวม : ภาพโดยรวมมองแล้้วมีคี วสาม สวยงาม น่่าสนใจ สะดุดุ ตา ประทัับใจ

เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพไมต่ ่ำ�กว่ารอ้ ยละ 60
พิจารณาคา่ กลางจากระดบั คะแนนที่ก�ำ หนดไว้
คะแนน ระดับคณุ ภาพ ประสิทธิภาพอย่ใู นเกณฑ์
ต่่ำ�กว่า 9 ปรับปรุง ต่�ำ กวา่ 30%
9 - 14 พอใช ้ 30 - 49%
15 - 20 ดี 50 - 69%
21 - 26 ดมี าก 70 - 89%
27 - 30 ยอดเย่ียม 90 - 100%

ลงชื่อ ....................................ผู้สงั เกต
(..........................................)
.........../................/............

ชุ่�อ..............................................................................................ชุ�น้ ...............เล้ขั้ท�.ี ................วน้ ท�ี........................

แบบที่ดสอบหล้งั เร่ยน่ ท-ป-น. (1-2-2)
รห้้สวิชุา 20302-2009 วชิ ุาการถ่า� ยภาพื้ดิจติ ั้อล้ ส้ปดาห้ท์ ี� 2-4
ห้นว� ยที� 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอปุ กรณ์์เสรมิ
สาขั้าวชิ ุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

คำาชี้�่แจง : จงทำาเคู่ร่�องห้มาย (X) ล้งห้นา้ ขั้อ้ ที�ถ่่กตั้อ้ งทีส� ดุ เพื้ยี งขั้อ้ เดียว เวล้า 10 นาที

1. DOF ห้ร่อ Depth of Field คู่อ่ อะไร 6. Tripod คู่อ่ อะไร
ก. ทางยาวโฟิกส้ ก. เล้นส์
ขั้. คู่า� ร่ร้บแสงท�ีเห้มาะสม ขั้. ตั้ว้ กล้อ้ ง
คู่. ระยะชุ้ดล้้กขั้องภาพื้ คู่. ขั้าตั้้�งกล้้อง
ง. ระบบประมวล้ผู้ล้ขั้องกล้้อง ง. แฟิล้ชุ

2. ปัจจ้ยได้ทมี� ีผู้ล้ตั้�อระยะชุด้ ล้ก้ ขั้องภาพื้ 7. Vintage เปน็ การถ่า� ยภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด
ก. Focus Length, Aperture, ก. ภาพื้นาำ สม้ย
ขั้. Composition, Golden ratio ขั้. ภาพื้ล้้าสม้ย
คู่. DOF, Aperture คู่. ภาพื้ย้อนยคุ ู่
ง. DOF, Focus Length ง. ภาพื้เจาะเวล้า

3. การตั้้�งคู่�าถ่�ายภาพื้ในทแี� สงน้อย ทาำ ให้้เกิดสิง� ใด 8. Street Photo เป็นการถ่�ายภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด
กบ้ ภาพื้ ก. การถ่�ายภาพื้ถ่นน
ก. bokgeh ขั้. การถ่�ายภาพื้สะพื้าน
ขั้. Noise คู่. การถ่�ายภาพื้วถิ ่ีชุวี ิตั้ชุมุ ชุน
คู่. High kgey ง. การถ่�ายภาพื้ยานยนตั้์
ง. Overexposure
9. Silhouette เป็นการถ่�ายภาพื้ล้้กษณ์ะใด
4. การถ่�ายภาพื้บุคู่คู่ล้นยิ มเรียกว�าการถ่�าย ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้�่อนไห้วให้ด้ ่ห้ยุดนิ�ง
ก. Landscape ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ�่ นไห้ว
ขั้. Streetphoto คู่. การถ่�ายภาพื้ยอ้ นแสงเก็บบรรยากาศึ
คู่. Portrait ง. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงโดยให้้ตั้ว้ แบบมด่
ง. Panning
10. Motion blur เปน็ การถ่�ายภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด
5. R - Rule of Third คู่่อ ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้่�อนไห้วให้ด้ ่ห้ยุดนิ�ง
ก. กฏิสามสว� น ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ�่ นไห้ว
ขั้. กฏิสามเห้ล้ยี� มทองคู่ำา คู่. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงเก็บบรรยากาศึ
คู่. คู่วามเรว็ ชุ้ตั้เตั้อร์ ง. การถ่า� ยภาพื้ยอ้ นแสงโดยให้ต้ ั้ว้ แบบมด่
ง. รร่ บ้ แสง

132 ท-ป-น. (1-2-2)
ส้ปดาห้์ท�ี 2-4
เฉล้ยแบบที่ดสอบหล้ังเรย่ น่
รห้ส้ วชิ ุา 20302-2009 วิชุาการถ่า� ยภาพื้ดิจติ ั้อล้
ห้นว� ยท�ี 2 กล้้อง เล้นส์ แล้ะอุปกรณ์์เสริม
สาขั้าวชิ ุา การออกแบบ สาขั้างาน ออกแบบ

คำาชี้�่แจง : จงทาำ เคู่ร่�องห้มาย (X) ล้งห้น้าขั้อ้ ที�ถ่่กตั้อ้ งท�ีสุดเพื้ยี งขั้อ้ เดยี ว เวล้า 10 นาที

1. DOF ห้ร่อ Depth of Field คู่อ่ อะไร 6. Tripod คู่อ่ อะไร
ก. ทางยาวโฟิกส้ ก. เล้นส์
ขั้. คู่�าร่ร้บแสงท�เี ห้มาะสม ขั้. ตั้ว้ กล้อ้ ง
คู่. ระยะชุ้ดล้้กขั้องภาพื้ คู่. ขั้าตั้้�งกล้้อง
ง. ระบบประมวล้ผู้ล้ขั้องกล้้อง ง. แฟิล้ชุ

2. ปัจจ้ยไดท้ ี�มีผู้ล้ตั้อ� ระยะชุด้ ล้ก้ ขั้องภาพื้ 7. Vintage เป็นการถ่า� ยภาพื้ล้้กษณ์ะใด
ก. Focus Length, Aperture, ก. ภาพื้นำาสม้ย
ขั้. Composition, Golden ratio ขั้. ภาพื้ล้้าสมย้
คู่. DOF, Aperture คู่. ภาพื้ย้อนยคุ ู่
ง. DOF, Focus Length ง. ภาพื้เจาะเวล้า

3. การตั้้�งคู่า� ถ่�ายภาพื้ในท�ีแสงน้อยมาก ทำาให้เ้ กิดสิ�ง 8. Street Photo เป็นการถ่�ายภาพื้ล้ก้ ษณ์ะใด
ใดกบ้ ภาพื้ ก. การถ่�ายภาพื้ถ่นน
ก. bokgeh ขั้. การถ่�ายภาพื้สะพื้าน
ขั้. Noise คู่. การถ่�ายภาพื้วิถ่ชี ุีวิตั้ชุมุ ชุน
คู่. High kgey ง. การถ่�ายภาพื้ยานยนตั้์
ง. Overexposure
9. Silhouette เป็นการถ่�ายภาพื้ล้้กษณ์ะใด
4. การถ่�ายภาพื้บคุ ู่คู่ล้นิยมเรียกว�าการถ่�าย ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้อ�่ นไห้วให้ด้ ่ห้ยดุ นิ�ง
ก. Landscape ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ่� นไห้ว
ขั้. Streetphoto คู่. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงเก็บบรรยากาศึ
คู่. Portrait ง. การถ่า� ยภาพื้ย้อนแสงโดยให้ต้ ั้้วแบบม่ด
ง. Panning
10. Motion blur เป็นการถ่�ายภาพื้ล้้กษณ์ะใด
5. R - Rule of Third คู่อ่ ก. การถ่�ายภาพื้เคู่ล้�อ่ นไห้วให้ด้ ห่ ้ยดุ น�ิง
ก. กฏิสามส�วน ขั้. การถ่า� ยภาพื้ให้ด้ ค่ ู่ล้า้ ยมกี ารเคู่ล้อ�่ นไห้ว
ขั้. กฏิสามเห้ล้�ยี มทองคู่าำ คู่. การถ่�ายภาพื้ย้อนแสงเกบ็ บรรยากาศึ
คู่. คู่วามเร็วชุต้ ั้เตั้อร์ ง. การถ่า� ยภาพื้ยอ้ นแสงโดยให้ต้ ั้ว้ แบบม่ด
ง. ร่รบ้ แสง

หน่วยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณเ์ สรมิ 133 สัปดาห์ที่ 2-4

แบบประเมินิ ผลแบบทดสอบ

ภาคเรียี นที่่�............ปีีการศึึกษา...........................สอนครั้�้งที่่.� .......................วัันที่่.� ...................................................
คำ�ำ ชี้้�แจง ให้้ทำ�ำ เครื่่อ� งหมาย ตามผลคะแนนสอบของนัักเรีียน ลงในช่่องรายการ

ท่ี ช่ือ-นามสกลุ ชว่ งคะแนน ปรบั ปรุง รวม
1 นายณััฐวััตร วรรณวิินััย ดีมาก ดี พอใช้ 321
2 นายธนภููมิิ มุุงคุณุ 10 9 8 7 6 5 4
3 นางสาวปัทมา ไชยารััตน
4 นางสาวพิิมพชนก บุตุ รดีี
5 นางสาวฐิิติวิ รดา จัันทรอิินวิเิ ศษ
6 นางสาววาสนา สาระเวก
7 นางสาววิภิ าพร ผลานิิสงค
8 นางสาวอลิิษา ขุุนวิเิ ศษ
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑ์ก์ ารวััดผล ให้ค้ ะแนนระดัับคุุณภาพของการทำำ�แบบทดสอบ
ดีีมาก = ผลคะแนนอยู่�่ในช่่วง 90% ขึ้้�นไป
ดี ี = ผลคะแนนอยู่�่ในช่่วง 60% ขึ้้�นไป
พอใช้ ้ = ผลคะแนนต่ำ��ำ กว่่า 60%
ปรัับปรุงุ = ผลคะแนนต่ำ�ำ� กว่่า 40%
เกณฑ์ก์ ารผ่่านที่่� 60% ขึ้น�้ ไป

ลงชื่อ ................................................ผู้สังเกต
(...................................................)
.........../................/............

หน่วยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณ์เสรมิ 134 สัปดาหท์ ่ี 2-4

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรรู้ ายบคุ คล

ภาคเรียนที่............ปีการศึกษา...........................สอนครัง้ ที.่ .......................วนั ท.่ี ...................................................
ค�ำชี้แจง ให้ท�ำเคร่ืองหมาย หากนักเรยี นมพี ฤติกรรมน้ัน ลงในช่องรายการ

พฤตกิ รรม

ที่ ชอื่ -นามสกลุ ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรบั ท�ำ งานตามท่ี รวม
ความคิดเหน็ คำ�ถาม ฟังคนอื่น มอบหมาย

43214321432143214321
1 นายณััฐวััตร วรรณวิินััย
2 นายธนภููมิิ มุุงคุณุ
3 นางสาวปัทมา ไชยารััตน
4 นางสาวพิิมพชนก บุตุ รดีี
5 นางสาวฐิิติวิ รดา จัันทรอิินวิิเศษ
6 นางสาววาสนา สาระเวก
7 นางสาววิิภาพร ผลานิิสงค
8 นางสาวอลิษิ า ขุุนวิิเศษ
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดับคณุ ภาพของแต่ละพฤตกิ รรมดงั น้ี
1. ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้น มีค�ำ ถาม ตอบค�ำ ถามถูก ท�ำ งานส่งตามเวลา
2. ดี = 3 พฤตกิ รรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 70%
3. ปานกลาง = 2 พฤตกิ รรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 50%
4. ปรับปรงุ = 1 เขา้ ชั้นเรียน แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไม่ครบ ส่งงานไม่ตรงเวลา

เกณฑ์์การผ่่านที่่� 60% ขึ้น�้ ไป

ลงชื่อ ....................................ผู้สงั เกต
(..........................................)
.........../................/............

หนว่ ยท่ี 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณเ์ สริม 135 สัปดาห์ท่ี 2-4

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

ภาคเรยี นท.ี่ ...........ปกี ารศึกษา...........................สอนครั้งที่........................วนั ท่ี....................................................
ค�ำชแี้ จง ใหท้ �ำเคร่อื งหมาย หากนักเรียนมพี ฤติกรรมนนั้ ลงในช่องรายการ

พฤติกรรม

ท่ี ช่อื -นามสกลุ ความร่วมมอื การแบ่ง การรบั ฟงั การตง้ั ใจ ท�ำ งานตามที่ รวม
หนา้ ทใี่ นกล่มุ ความคดิ เหน็ ท�ำ งาน มอบหมาย

43214321432143214321
1 นายณััฐวััตร วรรณวิินััย
2 นายธนภููมิิ มุงุ คุณุ
3 นางสาวปัทมา ไชยารััตน
4 นางสาวพิิมพชนก บุตุ รดีี
5 นางสาวฐิิติิวรดา จัันทรอิินวิเิ ศษ
6 นางสาววาสนา สาระเวก
7 นางสาววิภิ าพร ผลานิสิ งค
8 นางสาวอลิษิ า ขุนุ วิเิ ศษ

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดบั คณุ ภาพของแต่ละพฤติกรรมดงั น้ี
1. ดมี าก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคยุ ในชั้น มคี ำ�ถาม ตอบคำ�ถามถูก ทำ�งานส่งตามเวลา
2. ดี = 3 พฤตกิ รรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 70%
3. ปานกลาง = 2 พฤติกรรมการแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 50%
4. ปรับปรุง = 1 เข้าชั้นเรียน แต่การแสดงออกน้อยมาก สง่ งานไม่ครบ ส่งงานไม่ตรงเวลา

เกณฑ์์การผ่่านที่่� 60% ขึ้�้นไป

ลงชื่อ ....................................ผู้สังเกต
(..........................................)
.........../................/............

หน่วยที่ 2 กล้อง เลนส์ และอปุ กรณ์เสรมิ 136 สัปดาห์ที่ 2-4

แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ภาคเรยี นที.่ ...........ปีการศึกษา...........................สอนครัง้ ท่.ี .......................วนั ที่....................................................

ความมี
ม ุนษย ัสมพันธ์
ความมีวิ ันย
ความรับ ิผด
ชอบ
ความเชื่อมั่นใน
ตนเอง
ความสนใจใฝ่รู้
ความรัก
สามัคคี
ความกตัญญู
กตเว ีท
ที่ ชื่อ-ชื่อสกลุ รวม
1 3 1 1 1 1 10
2
4. ความเชื่อมนั่ ในตนเอง
1 นายณััฐวััตร วรรณวิินััย • กลา้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผล
2 นายธนภููมิิ มุงุ คุณุ
3 นางสาวปัทมา ไชยารััตน 5. ความสนใจใฝ่รู้
4 นางสาวพิิมพชนก บุตุ รดีี • ซักถามปัญหาขอ้ สงสัย
5 นางสาวฐิิติวิ รดา จัันทรอินิ วิิเศษ
6 นางสาววาสนา สาระเวก 6. ความรักสามัคคี
7 นางสาววิภิ าพร ผลานิสิ งค • ร่วมมือในการท�ำงาน
8 นางสาวอลิิษา ขุนุ วิเิ ศษ
9 7. ความกตัญญกู ตเวที
10 • มสี มั มาคารวะต่อคร-ู อาจารย์อย่างสม�่ำเสมอ ท้งั ต่อ
11 หนา้ และลับหลัง
12
13 รวม 7 ข้้อ 10 คะแนน คิิดเป็็น 100%
14 เกณฑก์ ารผ่านท่ี 60% ขึ้นไป
15

เกณฑ์การพจิ ารณา
1. ความมีมนษุ ยสัมพันธ์

• แสดงกริ ิยาท่าทางสภุ าพต่อผู้อ่ืน
• ให้ความรว่ มมือกบั ผูอ้ ืน่
2. ความมีวินัย
• ปฏิบัติตามกฎระเบยี บ ขอ้ บงั คับ และขอ้ ตกลงต่างๆ

ของวิทยาลัย
• ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบยี บ และขอ้ บังคับ ตรง

ต่อเวลา
3. ความรบั ผิดชอบ

• มกี ารเตรยี มความพร้อมในการเรยี นและการปฏิบัติงาน
• ปฏิบัตงิ านด้วยความตั้งใจ
• มีความเพียรพยายามในการเรยี นและการปฏบิ ัตงิ าน

ลงชื่อ ....................................ผู้สงั เกต
(..........................................)
.........../................/............

หน่วยที่ 2 กลอ้ ง เลนส์ และอุปกรณ์เสริม 137 สปั ดาหท์ ่ี 2-4

บัันทึึกหลัังสอน

วิชิ า การถ่่ายภาพดิจิ ิติ อล รหัสั วิิชา 20302 - 2009 หน่ว่ ยที่�่ 2 สอนครั้�งที่�่ .............
ชื่่�อหน่่วยการสอน กล้้อง เลนส์์ และอุุปกรณ์์เสริมิ

ข้อ้ สรุปุ หลัังการสอน
จำำ�นวนนัักเรียี น/นัักศึึกษา ............. คน

หััวข้อ้ เนื้้อ� หาที่่ส� อน เข้้าใจ/ปฏิิบััติิ (คน) ไม่่เข้า้ ใจ (คน)
จำำ�นวน ร้้อยละ จำำ�นวน ร้อ้ ยละ



ปัญั หาที่่�พบ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แนวทางแก้ป้ ัญั หา

..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ....................................ผู้สงั เกต
(..........................................)
.........../................/............


Data Loading...