เรื่อง 1 กายวิภาคศาสตร์ของคอ บ่า - PDF Flipbook

เรื่อง 1 กายวิภาคศาสตร์ของคอ บ่า

104 Views
71 Downloads
PDF 5,255,954 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


บทเรียนท่ี 1 กายวิภาคศาสตรข์ องคอ บ่า ไหล่

ตอนท่ี 1.1 กายวิภาคศาสตรบ์ รเิ วณคอ
ตอนที่ 1.2 กายวภิ าคศาสตรบ์ รเิ วณบ่า ไหล่

แผนผงั การเรียนบทเรียนท่ี 1 กายวภิ าคศาสตร์ของคอ บ่า ไหล่

ตอนที่ 1.1 ตอนท่ี 1.2

1

ตอนท่ี 1.1 กายวิภาคศาสตร์ของคอ

กระดูกสันหลังระดับคอ (Cervical Vertebrae) เป็นส่วนท่ีต่อมาจากศีรษะประกอบด้วยกระดูก
ทงั้ หมด 7 ช้นิ ดงั ภาพ 1.1

กระดูกคอ 7 ชนิ้ เริม่ จากกระดกู คอชิ้น C1
ท่ี 1 (C1) ถงึ กระดูกคอช้นิ ท่ี 7 (C7) C7

ภาพ 1.1 กระดกู คอ 7 ชิ้นเริ่มจากกระดูกคอช้นิ ท่ี 1(C1) ถึงกระดูกคอช้นิ ที่ 7 (C7) จากบนลงลา่ ง

ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/File:Cervical_vertebrae_lateral2.png

กระดูกสันหลังระดบั คอ 7 ชิน้ สามารถแบ่งได้ ดังน้ี
กระดูกคอสว่ นบน ประกอบด้วย กระดกู คอช้ินที่ 1 (C1) และกระดกู คอช้นิ ท่ี 2 (C2) ดงั ภาพท่ี 1.2

กระดูกคอชิ้นที่ 1 เรียกว่า แอตลาส (Atlas) เป็นกระดูกคอที่เช่ือมระหว่างกระดูกท้ายทอยของกระโหลกศีรษะ
เป็นกระดูกทม่ี ีลกั ษณะพิเศษแตกตา่ งไปจากกระดูกคอข้ออื่น คอื มีลักษณะเป็นวง (ring)

ต่อจากกระดูกคอชิ้นที่ 1 คือ กระดูกคอช้ินท่ี 2 เรียกว่า แอกซิส (Axis) มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากกระดูก
คอขอ้ อ่นื คือ มีแทง่ ยืน่ มาจากตัวกระดกู เรยี กว่า เดนส์ (Dens) เพอ่ื เปน็ ฐานให้กบั กระดกู คอชนิ้ ที่ 1

กระดกู คอสว่ นลา่ ง ดังภาพท่ี 1.3 ประกอบดว้ ยกระดูกคอช้ินที่ 3 – 7 (C3-C7) กระดกู คอทงั้ 5 ชน้ิ (C3-C7)

มลี ักษณะคล้ายกนั คอื มสี ่วนของตัวกระดูก (body) ทางด้านหนา้ ดา้ นข้างมีฟอราเมน ทรานสเ์ วอร์สซาเรียม (foramen
transversarium/ transverse foramen) ภายในเป็นท่ีอยู่ของหลอดเลือดแดง (vertebral artery) ซ่ึงนาเลือดข้ึนไป
เลี้ยงบริเวณก้านสมองและไขสันหลัง โดยเฉพาะกระดูกคอช้ินท่ี 3-6 ส่วนช้ินท่ึ 7 ประมาณ 90-95 เปอร์เซนต์จะไม่มี
หลอดเลือดพาดผา่ น ส่วนดา้ นหลงั ประกอบด้วย lamina และ spinous process

2

ภาพท่ี 1.2 กระดูกคอสว่ นบน

https://www.spinesurgeon.com.au/neurological-conditions/spinal-surgery

ภาพที่ 1.3 กระดกู คอสว่ นล่าง

หนา้ ท่ีกระดกู สันหลังระดบั คอ เปน็ จุดเกาะของกลา้ มเนอื้ และเอ็นท่ีเกีย่ วข้องกับการเคลื่อนไหวของคอและศรี ษะ
หน้าท่ีของกล้ามเน้ือคอ คือ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของคอ เช่น การหันหน้า หันคอไปตามทิศต่าง ๆ ก้มหน้า
(Flexion) เงยหน้า (Extension) แหงนหนา้ (Hyperextension) และเอยี งคอ (Tilt หรือ Rotate Neck)
การจะทาเช่นน้ีได้ต้องอาศัยการทางานร่วมกันของข้อต่อกระดูกคอหลาย ๆ ข้อรวมกันและอาศัยกล้ามเนื้อหลายมัดมา
ร่วมกันในการขยับ

3

กล้ามเนอ้ื คอแบ่งได้ ดังนี้

1. กล้ามเน้อื ทราพีเซยี ส (Trapezius muscle)
กลา้ มเนอ้ื ทราพเี ซยี ส ภาพท่ี 1.4 เป็นกลา้ มเนอื้ มัดใหญ่อยูบ่ รเิ วณหลังและคอ แบง่ เป็น 3 สว่ น คอื

กลา้ มเนอื้ ทราพเี ซยี สสว่ นบน กลา้ มเนอ้ื ทราพเี ซียสส่วนกลางและกลา้ มเนื้อทราพเี ซยี สสว่ นลา่ ง
จุดเกาะต้น แนวกลางลาตวั จากป่มุ นอกของท้ายทอย , เอ็นหลงั คอ, เส้นหลงั คอดา้ นกลางลาตวั และ
ส่วนที่ยื่นออกมาทางด้านหลังของกระดกู สนั หลังสว่ นคอช้นิ ที่ 7 ถงึ กระดกู อกชน้ิ ที่ 12
จดุ เกาะปลาย กระดูกไหปลาร้า , ปุม่ กระดูกหวั ไหล่ และแนวสันของกระดูกสะบัก
หนา้ ท่ี รัง้ สะบกั ไปด้านหลงั ยกไหล่ขน้ึ ด้านบนร้ังศีรษะไปข้างหลงั
เสน้ ประสาท เสน้ ประสาทสมองคทู่ ี่ 11

กลา้ มเนือ้ ทราพีเซียส

ภาพท่ี 1.4 กลา้ มเนอื้ ทราพเี ซียส (Trapezius muscle)
แหลง่ ที่มาภาพ : https://en.wikipedia.org/wiki/Trapezius#/media/File:Trapezius_Gray409.PNG

4

2. กล้ามเนอ้ื สเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ (Sternocleidomastoid muscle) ภาพที่ 1.5
กล้ามเน้ือสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ในส่วนนอกของลาคอช่ือของกล้ามเน้ือมัดนี้มาจากจุด

เกาะท้ังสามจุดของกล้ามเนื้อ ได้แก่ กระดูกอก (sternum, sterno- ) กระดูกไหปลาร้า (clavicle, cleido-) และมาส
ตอย (mastoid process) ซงึ่ เปน็ ส่วนนูนขนาดใหญบ่ นกระดกู ขมบั (temporal bone)

แนวของกล้ามเนื้อน้ียังใช้ในการแบ่งกายวิภาคของลาคอเป็น 2 ส่วน คือ สามเหลี่ยมลาคอด้านหน้า (anterior
triangle of neck) และพ้ืนท่ีสามเหลีย่ มคอด้านหลงั (posterior triangle of neck)

แนวของกล้ามเน้ือจะมีลักษณะเฉียงข้ึนและเยื้องไปทางด้านข้างและด้านหลังซ่ึงสามารถเห็นและคลาแนวของ
กลา้ มเนื้อไดโ้ ดยเฉพาะทีบ่ รเิ วณลาคอสว่ นล่าง

จุดเกาะต้น กล้ามเนื้อสเตอรโ์ นไคลโดมาสตอยด์มีจดุ เกาะตน้ 2 จุด คอื
จุดเกาะต้นบริเวณกระดูกอกและจุดเกาะต้นด้านไหปลาร้า (1/3 ของกระดูกไหปลาร้า) จุดเกาะต้น ทั้งสองจุด
อยู่ค่อนข้างใกล้เคียงกัน เส้นใยกล้ามเน้อื จากท้ังสองจุดเกาะต้นจะรวมกันเป็นมัดเดียวที่บริเวณกลางมัด แล้วจึงไปเกาะท่ี
จดุ เกาะปลาย
จุดเกาะปลาย สว่ นนนู ทอ่ี ยดู่ ้านหลงั ของใบหู (Mastoid process) บนกระดกู ขมบั (Temporal bone)
หนา้ ที่ ถ้ากล้ามเนื้อหดตวั ข้างใดข้างหนึง่ จะทาให้ศีรษะหันไปด้านตรงข้าม

ถ้าหดตัวพรอ้ มกนั สองขา้ งจะทาใหศ้ รี ษะก้มศรี ษะลงดา้ นหนา้
เส้นประสาท เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี 11 และเส้นประสาทไขสันหลังบรเิ วณคอ C1-C5

sternocleidomastoid

https://en.wikipedia.org/wiki/Sternocleidomastoid_muscle#/media/File:Sternocleidomastoideus.png

ภาพท่ี 1.5 กล้ามเนอ้ื สเตอรโ์ นไคลโดมาสตอยด์ (Sternocleidomastoid muscle)

5

3. กล้ามเนอื้ สปลเี นยี ส แคปิตสิ (Splenius capitis) ภาพที่ 1.6

จดุ เกาะตน้ เกาะส่วนนนู ท่ีอย่ดู า้ นหลงั ของใบหู (mastoid process)
จุดเกาะปลาย กระดกู สนั หลงั ส่วนท่ีย่ืนออกมา (spinous process) ของ กระดกู คอส่วนลา่ ง
(lower cervical vertebrae)
หนา้ ที่ การเงยศีรษะ หมนุ กระดกู คอทาใหห้ ันหนา้ มาดา้ นท่ยี ังกลา้ มเน้ือทางาน
เส้นประสาท Lateral branch ของ dorsal primary divisions of spinal nerves C2-C4

Splenius capitis

ภาพท่ี 1.6 กล้ามเนอื้ สปลเี นียส แคปิตสิ (Splenius capitis)

https://en.wikipedia.org/wiki/Splenius_capitis_muscle

4. กล้ามเนือ้ สปลีเนยี สเซอวิซสิ (Splenius cervicis muscle) ภาพ 1.7
จุดเกาะตน้ กระดูกสนั หลงั ส่วนข้าง(transverse process) ของกระดูกคอสว่ นบน
(upper cervical vertebrae)
จดุ เกาะปลาย กระดกู สันหลังสว่ นที่ยน่ื ออกมา (spinous process) ของ กระดกู คอสว่ นล่าง
(lower cervical vertebrae)
หนา้ ท่ี เงยศรี ษะและหันไปทางดา้ นเดียวกัน
เสน้ ประสาท Lateral branch ของ dorsal primary divisions of spinal nerves C2-C4

6

Splenius cervicis

ภาพ 1.7 กลา้ มเนอ้ื สปลเี นยี สเซอวิซสิ (Splenius cervicis muscle)

ภาพ 1.7 (1) กลา้ มเนื้อสปลเี นยี ส แคปิติส (Splenius capitis)และกลา้ มเน้อื สปลีเนยี สเซอวซิ ิส
(Splenius cervicis muscle)

ภาพจาก https://triggerpointselfhelp.com/splenius-capitis-and-cervicis-muscles-location-and-actions/
7

5. กล้ามเนื้อซบั ออคซพิ ติ ัล (Suboccipital muscles) ภาพ 1.8
กล้ามเนื้อซบั ออคซพิ ติ ลั (Suboccipital) คือ กล้ามเนือ้ ท่ีอยใู่ ต้ศรี ษะด้านหลัง มีกลา้ มเนื้อมัดเลก็ 4 มดั ดงั น้ี
1. กล้ามเน้อื Rectus capital posterior minor ภาพ 1.8(ก)
จุดเกาะต้น เกาะจาก middle halt ของ inferior nuchal line ของ occipital เหนือต่อ

foramen magnum เพยี งเล็กน้อย
จดุ เกาะปลาย เกาะที่ posterior arch ของกระดูกคอช้ินท่ี 1
2. กล้ามเนอื้ Rectus capital posterior major ภาพ 1.8(ข)
จดุ เกาะตน้ เกาะจาก lateral halt ของ inferior nuchal line
จดุ เกาะปลาย กระดูกสนั หลังสว่ นท่ียืน่ ออกมา (spinous process) ของกระดกู คอชนิ้ ที่ 2
3. กลา้ มเนอ้ื Obliqus capitis superior ภาพ 1.8(ค)
จุดเกาะต้น เกาะระหวา่ ง superior และ inferior nuchal line
จดุ เกาะปลาย กระดกู สันหลังส่วนท่ียืน่ ออกมาดา้ นข้าง(Transverse process) ของกระดกู คอชิ้นท่ี 1
4. กล้ามเน้ือ Obliqus capitis inferior ภาพ 1.8(ง)
จดุ เกาะต้น เกาะที่ Transverse process ของกระดูกคอชนิ้ ท่ี 1
จดุ เกาะปลาย กระดกู สันหลงั สว่ นที่ยื่นออกมา (spinous process) ของกระดูกคอช้ินท่ี 2
หนา้ ที่ เงยศีรษะ หันศีรษะ เอยี งศีรษะใหไ้ ปด้านเดยี วกนั
เส้นประสาท branch ของ dorsal primary divisions of suboccipital nerves

8

Rectus capital posterior obliquus capitis superior
minor
obliquus capitis inferior
Rectus capital posterior major ภาพ 1.8(ง)

ภาพ 1.8 กลา้ มเน้อื ซับออคซิพิตัล (Suboccipital)

ภาพ 1.8(ก) Rectus capital posterior minor (สสี ม้ )
ภาพ 1.8(ข) Rectus capital posterior major (สฟี ้า)
ภาพ 1.8(ค) obliquus capitis superior (สีเขียว)
ภาพ 1.8(ง) obliquus capitis inferior (สแี ดง)

ทม่ี าภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/Suboccipital_muscles

6) กลา้ มเน้ือลเี วเตอร์ สแคปปูเล่ (Levator scapulae muscle) ภาพ 1.9

จุดเกาะต้น เกาะที่กระดูกคอชนิ้ ที่ 1 ถงึ กระดกู คอช้ินที่ 4 (C1-C4)
จดุ เกาะปลาย Superior angle ของ scapula
หน้าท่ี ยกกระดกู สะบักขน้ึ และหมนุ สะบักลงดา้ นล่าง ทาใหห้ มนุ คอใหไ้ ปด้านเดยี วกันและชว่ ยเหยยี ด
เสน้ ประสาท Brachial plexus (เส้นประสาทส่วนปลายที่ส่งไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ รับความรู้สึกและให้
เสน้ ประสาทอตั โนมตั ไิ ปเลี้ยงส่วนต่างๆของแขน) ท่มี าจาก C3-C4 cervical nerve roots
หลอดเลือดบริเวณคอบา่
- Internal carotid artery จาก Left common carotid artery ทอดผ่านคอแล้วผ่านเข้ากะโหลกศีรษะทาง
Foramen lacerum
- External carotid artery จาก Left common carotid artery จะแตกแขนงขึ้นไปท่ีคอ ไปเล้ียงคอ ศีรษะ
และใบหนา้

9

- brachiocephalic trunk ให้แขนง right common carotid artery ไปเลย้ี งคอและศรี ษะข้างขวา
Levator scapulae

ภาพ 1.9 กลา้ มเนือ้ ลีเวเตอร์ สแคปปเู ล่ (Levator scapulae muscle)
https://en.wikipedia.org/wiki/Levator_scapulae_muscle#/media/File:Levator_scapulae_muscle_a
nimation_small2.gif

10

1.2 กายวิภาคศาสตร์บรเิ วณบา่ ไหล่

บา่ คือ บริเวณที่กลา้ มเนื้อต่อมาจากคอแผ่ตามแนวข้างคอและมาสุดท่หี วั ไหล่
สะบัก (Scapular) คือ ส่วนของกระดูกท่ีเป็นคล้ายปีกอยู่บนกระดูกชายโครง (Rib cage) ของลาตัวช่วงบนทั้ง
สองขา้ ง และกระดกู สองช้ินน้ีโดยปกติจะวางห่างจากตรงกลางกระดูกสันหลังเพยี ง 2 นว้ิ
กระดูกไหล่ (pectoral girdle) เป็นกระดูกท่ียึดแขนให้ติดกับกระดูกแกนมีหน้าที่รองรับแขนและช่วยในการ
เคลื่อนไหวของแขน กระดูกไหล่ประกอบดว้ ยกระดกู 4 ช้ิน ดังน้ี
1) กระดกู ไหปลาร้า(clavicle) มี 2 ช้ิน (ข้างขวา 1 ชนิ้ ขา้ งซ้าย 1 ช้นิ ) อยู่ดา้ นหน้าเหนือกระดูกซ่ีโครงคู่ท่ี 1
ปลายด้านหนึ่งยึดตดิ กบั กระดูกหน้าอกส่วนปลายอกด้านหน่ึงยึดตดิ กบั กระดูกสะบัก

2) กระดูกสะบัก(scapula) มี 2 ช้ิน (ข้างขวา 1 ช้ิน ข้างซ้าย 1 ช้ิน) มีลักษณะแบนเป็นรูปสามเหลี่ยมแต่ละช้ินอยู่
ด้านหลังทรวงอก ระดับซ่ีโครงคู่ที่ 2 และคู่ท่ี 7 ผิวด้านหลังของกระดูกสะบักมีสันตามขวาง เรียกวา สไปน์ (spine)
และตรงส่วนปลายของสไปน์จะมีลักษณะเป็นปุ่ม เรียกว่า อะโครเมียนโพรเซส (acromion process) ซ่ึงเป็นส่วนที่
ช่วยยึดกระดูกไหปลาร้าและกล้ามเนอ้ื บริเวณแขนและอก
ทางกายวิภาคศาสตร์ บ่า สะบักและหัวไหล่ท้ังสามส่วนนี้ ไม่สามารถแยกจากกันได้เพราะถูกเชื่อมต่อกันด้วย

ข้อต่อ เส้นเอ็น และกล้ามเนื้อ ซ่ึงอาจเรียกได้ว่าเปน็ บริเวณเดียวกัน (Shoulder Girdle) เมื่อร่างกายส่งสัญญาณบอกถึง
ความเจ็บปวดทเี่ กดิ ขึ้น ทงั้ สามส่วนน้ีจึงเป็นปญั หาทส่ี ง่ ผลซ่ึงกันและกันและยงั เป็นผลที่เช่ือมโยงมาจากคอได้ด้วย

1.2.1 กลา้ มเน้อื ทเี่ ก่ยี วขอ้ งบริเวณบ่าและไหล่

1. กล้ามเน้อื เดลตอยด์ (Deltoid) ภาพ 1.10

กลา้ มเนอื้ เดลตอยด์มี 3 สว่ น ไดแ้ ก่ กล้ามเนื้อเดลตอยด์สว่ นหน้า ส่วนกลางและสว่ นหลงั

จดุ เกาะต้น ทางด้านข้าง lateral 1/3 ของกระดูกไหปลาร้า, ปุ่มกระดูกหัวไหล่ (acromion)และสันของ
กระดูกสะบกั (Spine of Scapula)

จดุ เกาะปลาย Deltoid tuberosity ของกระดกู ต้นแขน (humerus)
หน้าที่ กางแขนขึ้นมาในระดบั 90° กบั ลาตัว (shoulder abduction) งอแขน (shoulder flexion)
เหยียดแขนไปด้านหลัง (shoulder extension) และหมุนแขนไปทางดา้ นในและดา้ นนอก (medial และ lateral
rotation of arm) การเคลือ่ นไหวข้นึ อยู่กับทศิ ทางของใยกลา้ มเนอ้ื

11

เสน้ ประสาท เส้นประสาทรกั แร้ (Axillar nerve)

Deltoid
muscle

ภาพ 1.10 กลา้ มเน้อื เดลตอยด์ (Deltoid)
https://en.wikipedia.org/wiki/File:Deltoideus.png
2. กล้ามเน้ือซูพรา สไปนาทัส (Supraspinatus muscle) ภาพ 1.11
จดุ เกาะตน้ Supraspinous fossa ของกระดูกสะบกั (Scapula)
จดุ เกาะปลาย Greater tuberosity ของกระดกู humerus
หน้าท่ี ทาหน้าท่ีกางไหล่ (shoulder abduction) และยึดกระดกู แขนใหเ้ ข้าไปอยู่ในเบา้ แขนขณะ
กางแขน ในช่วงองศา 0-15
เสน้ ประสาท ซูพลา สแคปูล่า (Suprascapular nerve)

12

Supraspinatus

ภาพ 1.11 กลา้ มเนอ้ื ซูพรา สไปนาทสั (Supraspinatus muscle)

https://en.wikipedia.org/wiki/Supraspinatus_muscle#/media/File:Supraspinatus.PNG

3. กลา้ มเน้อื อินฟราสไปนาทัส (Infraspinatus muscle) ภาพ 1.12

จุดเกาะต้น Infraspinous fossa ของกระดูกสะบัก (scapula)
จุดเกาะปลาย Greater tuberosity ของกระดกู ตน้ แขน (humerus)
หน้าท่ี หมุนแขนไปทางด้านนอก (lateral rotation of am)
เสน้ ประสาท ซูพลา สแคปลู า่ (Suprascapular nerve)

13

Infraspinatus

ภาพ 1.12 กล้ามเน้ืออินฟราสไปนาทสั (Infraspinatus muscle)
https://en.wikipedia.org/wiki/Infraspinatus_muscle#/media/File:Infraspinatus.PNG

4. กลา้ มเนอ้ื ซับสแคปูลารสิ (Subscapularis Muscle)ภาพ 1.13

จุดเกาะต้น Subscapular fossa ของกระดกู สะบัก (scapula)
จุดเกาะปลาย Lesser tuberosity ของกระดูกตน้ แขน humerus
หนา้ ที่ หุบแขน (shoulder adduction) และหมุนแขนไปทางดา้ นใน (medial rotation of arm)
เส้นประสาท Upper และ lower subscapular nerves แยกมาจาก posterior cord จาก C5-C6 spinal nerve

ภาพ 1.13 กล้ามเน้อื ซับสแคปลู ารสิ (Subscapularis Muscle)
14

https://en.wikipedia.org/wiki/Subscapularis_muscle#/media/File:Subscapularis_muscle_frontal.png

5. กลา้ มเนือ้ เทอเรสไมเนอร์ (Teres minor muscle) ภาพ 1.14

จุดเกาะต้น ขอบทางดา้ นนอก (dorsal surface และ lateral border) ของกระดูกสะบัก (scapula)
จุดเกาะปลาย Medial lip ของ bicipital groove ของกระดกู ตน้ แขน humerus
หนา้ ที่
หุบและเหยียดแขน (shoulder adduction และ extension)
เส้นประสาท หมุนแขนไปทางด้านใน (medial rotation of arm)
Axillary nerve ของ posterior cord จาก C5-C6 spinal nerve

Teres minor muscle

ภาพ 1.14 กล้ามเนื้อเทอเรสไมเนอร์ (Teres minor muscle)
6. กล้ามเน้ือเทอเรส เมเจอร์ (Teres major) ภาพ 1.15

จุดเกาะต้น ข อ บ ท า ง ด้ า น น อ ก ( dorsal surface แ ล ะ lateral border) ข อ ง ก ร ะ ดู ก Scapula
โดยวางตวั อยเู่ หนือต่อกล้ามเนอ้ื teres major

จดุ เกาะปลาย Greater tuberosity ของกระดกู humerus
หนา้ ที่ หบุ แขน (shoulder adduction) และหมุนแขนไปทางด้านนอก (lateral rotation of arm)
เสน้ ประสาท Axillary nerve

15

Teres major
muscle

ภาพ 1.15 กล้ามเน้ือเทอเรสเมเจอร์ (Teres major muscle)

https://en.wikipedia.org/wiki/File:Teres_major.PNG

7. กลา้ มเนือ้ สเคลนี (Scalene muscles) ภาพ 1.16

กล้ามเนอื้ สเคลีนมี 3 มดั ไดแ้ ก่

กลา้ มเนือ้ สเคลีนมัดด้านหนา้ (Scalenus anterior) ภาพ 1.16 (ก)

จุดเกาะต้น Anterior tubercle ของ C3-C6 transverse processes

จุดเกาะปลาย กระดูกซี่โครงซ่ีแรก
กลา้ มเนอ้ื สเคลีนมดั กลาง (Scalenus medius) ภาพ 1.16 (ข)

จดุ เกาะตน้ Posterior tubercle ของ C2-C7 transverse processes

จดุ เกาะปลาย กระดูกซ่ีโครงซแ่ี รก
กลา้ มเนอื้ สเคลนี มดั หลงั (Scalenus posterior) ภาพ 1.16 (ค)
จุดเกาะตน้ Posterior tubercle ของ C5-C7 transverse processes

จดุ เกาะปลาย ขอบนอกของกระดูกซโ่ี ครงซ่ีท่ี 2
เสน้ ประสาท แขนงของ C2-C7 anterior primary divisions
หนา้ ที่ กลา้ มเน้ือทั้ง 3 มัดนี้ยดึ กระดูกคอไวไ้ มใ่ ห้เคลื่อนไปด้านข้างและทาหนา้ ทีย่ กกระดูกซ่โี ครงเพ่อื
ช่วยในการหายใจ

16

กลา้ มเน้ือสเคลีนมัดหนา้ กล้ามเน้ือสเคลีนมัดกลาง
กล้ามเนื้อสเคลีนมัดหลัง

ภาพ 1.16 กล้ามเนือ้ สเคลีน
https://en.wikipedia.org/wiki/Scalene_muscles#/media/File:Scalenus.png

กล้ามเนอื้ สเคลีนมดั หนา้
ภาพ 1.16 (ก) กล้ามเนอื้ สเคลนี มัดหน้า
Scalenus medius

ภาพ 1.16 (ข) กล้ามเนอ้ื สเคลีนมัดกลาง
https://en.wikipedia.org/wiki/Scalene_muscles#/media/File:Gray385_-
_Scalenus_medius_muscle.png

17

Scalenus posterior

ภาพ 1.16 (ค) กลา้ มเนื้อสเคลีนมัดหลงั
https://en.wikipedia.org/wiki/Scalene_muscles
8. กล้ามเน้อื โคโรโคบลาซเิ อลีส (Coracobrachialis Muscle)ภาพ 1.17
จดุ เกาะตน้ Coracoid process ของกระดกู scapula
จดุ เกาะปลาย Anterior middle 1/3 ของกระดูก humerus
หนา้ ท่ี ชว่ ยในการงอแขนทบ่ี ริเวณไหล่และช่วยหบุ แขน
เสน้ ประสาท มัสคิวโลคิวทาเนียส (Musculocutaneous nerve) มีต้นกาเนิดมาจากlateral cord
ของร่างแหประสาทแขน (brachial plexus) อยู่ตรงกล้ามกับขอบล่างของ กล้ามเนื้อแพคเทอรัลลิสไมเนอร์ (pectoralis
minor) มใี ยประสาททีม่ ีต้นกาเนดิ มาจากเสน้ ประสาทคอท่ี 5 - 7 (C5-C7)

https://en.wikipedia.org/wiki/Coracobrachialis_muscle#/media/File:Coracobrachialis_muscle07.png
ภาพ 1.17 กล้ามเนือ้ โคโรโคบลาซเิ อลสี (Coracobrachialis Muscle)
18

9. กล้ามเน้ือรอมบอยด์ (Rhomboideus)
กล้ามเนอื้ รอมบอยดอ์ ยู่ใตก้ ล้ามเนอื้ มัดกลางของทราพีเซียส มี 2 มัด คอื
ก. กลา้ มเนอ้ื รอมบอยดม์ ัดเลก็ (Rhomboideus Minor) ภาพ 18 (ก)
จดุ เกาะต้น เกาะจาก ligament nuchae และ C7-T1 spinous process
จุดเกาะปลาย ขอบแนวกลางของกระดกู สะบักด้านบน

ภาพ 18 (ก) กลา้ มเน้อื รอมบอยดม์ ัดเล็ก (Rhomboideus Minor)
https://en.wikipedia.org/wiki/File:Rhomboideus_minor.png
ข. กล้ามเน้ือรอมบอยดม์ ดั ใหญ่ (Rhomboideus Major) ภาพ 18 (ข)
จดุ เกาะตน้ เกาะจาก T2-T5 spinous process
จุดเกาะปลาย ขอบแนวกลางของกระดกู สะบกั ส่วนที่ต่าลงมา (Middle border ของ scapula ส่วนทตี่ ่าลงมา)
หน้าที่ กลา้ มเนื้อรอมบอยด์ทั้ง 2 มัด ทาหน้าท่ีดงึ กระดูกสะบักไปขา้ งหลงั และหมุนสะบักเอียงลงดา้ นล่าง
เส้นประสาท Dorsal scapular nerve มาจากรากประสาทคอ C5

19

ภาพ 1.18(ข) กล้ามเนื้อรอมบอยดม์ ัดใหญ่ (Rhomboideus Major)
https://en.wikipedia.org/wiki/Rhomboid_major_muscle
1.2.2 หลอดเลือดบริเวณไหล่
- หลอดเลือดแดงซับเคลเวียนด้านซ้าย (Left subclavian artery) ซึ่งเม่ือทอดมายังรักแร้จะเปล่ียนชื่อเป็น
หลอดเลือดแดงรักแร้ (axillary artery) จะให้แขนงไปเลีย้ งบรเิ วณรกั แร้และบรเิ วณด้านหนา้ ของหัวไหล่และแขนซา้ ย
- หลอดเลือดแดงซับเคลเวียนด้านขวา (Right subclavian artery) ซ่ึงเม่ือทอดมายังรักแร้จะเปลี่ยนชื่อเป็น
หลอดเลอื ดแดงรักแร้ axillary artery จะให้แขนงไปเลยี้ งบริเวณรักแร้และบรเิ วณด้านหนา้ ของหัวไหล่และแขนขวา

20


Data Loading...