บทที่-1-แนวคิด-ทฤษฏี-นวัตกรรมและเทคโนโลยีกา - PDF Flipbook

บทที่-1-แนวคิด-ทฤษฏี-นวัตกรรมและเทคโนโลยีกา

106 Views
19 Downloads
PDF 4,336,452 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


บทท่ี 1
แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวัตกรรมการศกึ ษา

แนวคดิ ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวัตกรรมการศึกษา
นวตั กรรมและเทคโนโลยมี คี วามสาคญั ยิง่ ต่อการพัฒนาการศึกษา ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ การ

เรียนรู้ ทาให้การเรียนการสอนมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล นวตั กรรมเป็นจุดเริ่มต้นของ เทคโนโลยี
ถ้าไมเ่ กดิ นวตั กรรมเทคโนโลยกี ็ไม่เกิด การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาบูรณาการใช้ให้ เกิดประโยชน์
ตอ่ การศกึ ษานัน้ จาเปน็ ทจ่ี ะต้องทราบความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีให้เข้าใจ อย่างชัดเจน
เสียก่อน รวมถงึ ควรทราบขอบข่ายและพฒั นาการของเทคโนโลยที น่ี ามาใช้ประโยชนใ์ น วงการศกึ ษา
ดว้ ย
ความหมายของนวตั กรรม

นวตั กรรม (Innovation) มีรากศัพทม์ าจากภาษาลาตนิ วา่ Innovare แปลว่า to renew หรอื to
modify มีนกั การศกึ ษาหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายของ “นวตั กรรม” ไวด้ ังน้ี ไมลส์ (Miles.1964 , อ้างอิง
จาก เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์, 2545 : 7 ) อธิบายว่า นวตั กรรมเปน็ การเปลย่ี นแปลงท่ีมเี ป้าหมายแน่นอน
เพอื่ ใหร้ ะบบงานน้ันบรรลุเปา้ หมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ นโิ คลส์ และจอร์จ (Nicholls and George,
1983 : 4) กลา่ ววา่ นวตั กรรมเป็นความคิดใหม่มี เป้าหมายแนน่ อน เพ่ือนามาปรบั เปลย่ี นแปลงอย่าง
ต่อเนอื่ งมากกวา่ จะเปล่ียนแปลงส้นั ๆ เฉพาะจดุ และ ต้องเปน็ การเปล่ียนแปลงท่ีมกี ารวางแผนอย่างเปน็
ระบบ

กิดานันท์ มลทิ อง (2536 : 9) กล่าวว่า นวัตกรรมหมายถงึ แนวความคิด การปฏิบัติ หรือ
ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทยี่ ังไมเ่ คยมีใช้มาก่อน หรอื การดัดแปลงจากของเดิมใหท้ นั สมัยและใช้ได้ดีย่งิ ขึ้น เม่ือนา
ส่งิ ใหม่เหลา่ น้ันมาใชใ้ นการทางานแลว้ จะทาให้การทางานนั้นมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลดี ขึน้ และมาก
ขึ้นกวา่ เป้าหมายท่ตี ั้งไว้

เปรอ่ื ง กุมุท (2518 : 5) ได้กล่าวถึง ความคิดหรือการกระทาใหม่ ๆ ที่ทาใหเ้ กิดนวัตกรรมวา่ มี 5
ลักษณะ คือ

1. ความคดิ หรอื การกระทาน้ันใหมใ่ นบา้ นเรา ท้ัง ๆ ทเี่ ก่ามาจากท่ีอนื่
2. ความคดิ หรือการกระทานั้นใหมใ่ นขณะนี้ ทั้ง ๆ ท่ีเคยใช้มาแลว้ ในอดีตแต่ไม่ไดผ้ ลและ
ล้มเลิกไป เน่ืองจากขาดสิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ในขณะน้ัน
3. ความคดิ หรอื การกระทานั้นใหม่ เนื่องจากมีความคดิ หรือการกระทาอยู่แลว้ ในขณะน้ัน
ประจวบเหมาะกบั การสนับสนุนทางเทคโนโลยีทีเ่ ขา้ มาพรอ้ ม ๆ กนั จงึ ทาให้สิง่ เหลา่ น้นั ดาเนนิ ไป
อย่างไดผ้ ล
4. ความคดิ หรอื การกระทาน้ันใหม่ เน่อื งจากสิง่ เคยทาอยู่ หรือของเดิมถูกตดั หรือไม่ได้รบั
การสนับสนุนจากผ้บู รหิ ารจงึ ต้องเลกิ ลม้ แต่บัดน้กี ลับได้รับการสนบั สนนุ และไดเ้ ริ่มกระทาตอ่ ไป
5. ความคดิ หรือการกระทานั้นใหม่จรงิ ๆ ยงั ไม่เคยมีใครกระทามาก่อน
ดงั นน้ั จึงกลา่ วโดยสรปุ ไดว้ า่ นวัตกรรม หมายถึง สิ่งประดษิ ฐ์ (วัสดุ อุปกรณ์) หรอื เทคนิค วิธกี าร
ใหม่ ๆ (อาจปรบั ปรงุ ของเก่าใหใ้ หม่หรือดีขน้ึ ) ทนี่ ามาใช้ในการปฏิบตั งิ านเพ่ือให้งานมี ประสิทธภิ าพและ
ประสทิ ธิผลมากขนึ้ และนวัตกรรมน้ันถ้านามาใชใ้ นสายงานใดก็จะเรียกช่ือนวัตกรรม ตามสายงานนน้ั ๆ
เชน่ ถา้ นามาใช้ทางการแพทย์ ก็เรียกว่านวตั กรรมทางการแพทย์ ถา้ นามาใชใ้ น วงการศึกษา กเ็ รยี กว่า
นวตั กรรมการศึกษา ฯลฯ เป็นตน้ และของส่งิ เดียวกันนี้ เช่น เครือ่ งฉายข้ามศรี ษะ (Over head) อาจเปน็
นวัตกรรมของโรงเรียนหน่งึ เพราะเพ่ิงจะนามาใช้ใหม่ไม่เคยมีใช้มาก่อน แต่กลับ ไมใ่ ชน่ วัตกรรมของอีก
โรงเรยี นหนึ่งเพราะนามาใช้นานแลว้ จนหลอดฉายขาดไปหลายหลอดแลว้ ทง้ั น้ี ถา้ พิจารณาตามรูปศัพท์
จะพบว่า นวัตกรรม มาจากคาบาลี สันสกฤต นว(ใหม่) + อตต(ตวั เอง) + กรม (การกระทา)แปลว่าการ
กระทาใหมห่ รอื ของใหมส่ าหรับตนเอง

กระบวนการเกิดนวัตกรรม

การเกดิ นวัตกรรมมีกระบวนการท่สี าคญั 3 ข้นั ตอนคือ
1. มีการประดิษฐ์คดิ คน้ สงิ่ ใหมห่ รือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกับสภาพงาน 2.
มีการตรวจสอบ หรือทดลอง และปรบั ปรงุ พัฒนา
3. มกี ารนามาใช้หรือปฏบิ ัติในสถานการณจ์ รงิ
การท่ีจะพิจารณาว่า ส่งิ ใดเป็นนวตั กรรมหรือไม่ ต้องมีคุณลกั ษณะผ่านกระบวนการครบทัง้ 3
ขัน้ ตอนมาตามที่กล่าวมาแล้ว อาทเิ ชน่ การใช้เครื่องคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) เป็นนวตั กรรม เพราะ
ผา่ นกระบวนการครบท้งั 3 ข้นั ตอน กล่าวคือ ขน้ั ทีห่ น่ึงมีการประดษิ ฐค์ ดิ ค้น ขั้นท่ีสองมีการทดลองใช้ และ
พฒั นามาแลว้ และขน้ั ท่ีสามมีการนามาใช้กนั แลว้ ในการจดั การเรยี นการสอน แตก่ ารโคลนนิ่ง มนุษยย์ ังไม่
ถอื วา่ เป็นนวตั กรรมเพราะยงั ผา่ นกระบวนการไม่ครบ 3 ขั้นตอน กลา่ วคือ ขนั้ ท่ีหนึง่ มกี าร คดิ ค้นวธิ ีการ
โคลนน่งิ มนษุ ยข์ นึ้ มา ข้นั ที่สองผา่ นการทดลองปรับปรุงพัฒนาแล้ว แตย่ ังไม่ผ่าน ขั้นทีส่ ามคือยังไม่มีการน
าวธิ ีการโคลนนงิ่ มนษุ ยม์ าใชใ้ นสถานการณจ์ ริง เพราะกฎหมายยงั ไมย่ อมใหม้ ี การโคลนน่ิงมนุษย์ จึงยังไม่
เป็นนวตั กรรม

3
จากนวัตกรรมส่เู ทคโนโลยี

นวตั กรรมเมือ่ ถกู นามาใช้จนเคยชินเป็นปกตนิ สิ ัยเป็นส่วนหน่งึ ของระบบงานแล้ว เชน่ โรงเรยี น มี
การนาเคร่ืองฉายข้ามศรี ษะ มาใชใ้ นการเรียนการสอนเป็นประจาจนเปน็ ส่วนหนงึ่ ของระบบงานแล้ว ก็
จะหมดสภาพความเปน็ นวตั กรรมกลายเปน็ เทคโนโลยีไป คอื โรงเรยี นมีการใช้เทคโนโลยเี คร่อื งฉาย ขา้ ม
ศีรษะในการเรยี นการสอน
เทคโนโลยีเมอื่ ถูกใชไ้ ปนาน ๆ หรอื นาไปใชต้ ่างสถานท่ี ต่างเวลา ต่างโอกาส ก็อาจเกิดปัญหา หรือ
ข้อบกพร่องบางประการ เช่น อาจไม่ไดผ้ ลหรือไดผ้ ลน้อย ไม่เป็นท่นี ่าพอใจ จาเปน็ ต้องมีการ ดัดแปลง
ปรับปรุงหรอื คิดคน้ สงิ่ ใหม่ขนึ้ ใหเ้ หมาะสมมปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้ การคดิ ค้นหรอื ปรับปรุงดัดแปลง
ขนึ้ ใหมแ่ ลว้ ทดลองใชจ้ นไดผ้ ลและนามาใชใ้ นสถานการณ์จริง สง่ิ น้ันกก็ ลายเป็น นวัตกรรมไป และ
นวัตกรรมน้ันเม่ือถกู ใชจ้ นเป็นปกตวิ สิ ยั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบงานก็จะกลายเปน็ เทคโนโลยีไปอีก
เปน็ วฏั จกั รหมุนเวียนกันไป
นวัตกรรม ใชเ้ ป็นสว่ นหนึ่ง = เทคโนโลยี + พัฒนา ของระบบงาน เผยแพร่

ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (Technology) เป็นคามาจากภาษากรีกว่า Techne หมายถึงศิลปะ วิทยาศาสตร์

หรือทักษะ (Art,Science or Skill) และมาจากคาภาษาลาตินว่า Texere มีความหมายว่าการสาน (to
Weave) หรือการสร้าง (to Construct) ในภาษากรีกมีคาว่าTechnologia หมายถึงการกระทาอย่าง มี
ระบบ (Systematic treatment)เม่ือพิจารณาจากรูปศัพท์ภาษาองั กฤษจะมีความหมายดงั น้ี

Techno แปลว่า วิธกี าร
Logy แปลว่า วชิ าหรือการศกึ ษาเกย่ี วกับ
ดังน้ันเมื่อรวมคาแล้วเทคโนโลยีจึงหมายถึง ศาสตร์ท่ีว่าด้วยเทคนิควิธีการหรือวิธีปฏิบัติโดยใช้
ความรูท้ างวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งเป็นระบบ เมอื่ นาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการศึกษาเรยี กวา่ เทคโนโลยีการศกึ ษา
4
แนวคิดและความหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
แนวคิดเก่ียวกับเทคโนโลยีการศึกษา ในทัศนะของนักการศึกษาหรือนักเทคโนโลยีการศึกษา มีอยู่ 2
แนวคิด คอื

1. แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
2. แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์
เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ เป็นการประยุกต์วิทยาศาสตร์ -
กายภาพ (ฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี ะ)กบั เทคโนโลยกี ารชา่ งหรือวศิ วกรรม (เครื่องฉายต่าง ๆ เคร่อื งบันทึกเสียง วิทยุ
โทรทศั น์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ) มาใชเ้ ป็นอุปกรณก์ ารเรยี นการสอน
เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ จะพิจารณาเทคโนโลยีการศึกษาในเชิง
การปฏิบัติทางการศึกษาให้สอดคล้องกับพฤติกรรมมนุษย์ โดยนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยา
มานุษยวิทยา สังคมวิทยา กระบวนการกลุ่ม การส่ือสาร ตลอดจนความรู้ทางช่าง และเครื่องมือต่าง ๆ
มาประยกุ ต์ใช้ในการจัด การเรยี นการสอน
จากแนวคิดท้ัง 2 จึงมีผู้ให้นิยามของเทคโนโลยีการศึกษาออกเป็น 2 ลักษณะเช่นกัน อาทิเช่น กูด
(Good,1973 : 529) ได้ให้ความหมาย ของเทคโนโลยีการศึกษาไว้ว่า เป็นการประยุกต์ หลักการทาง
วิทยาศาสตรแ์ ละเครอื่ งมอื เพอ่ื นามาใช้ในการเรียนการสอน
แฮนคอค (Hancock,1977 : 5) กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีการศึกษา คือการผสมผสานความคิด
ความเข้าใจ ในการปฏิบัติงานระหว่างคนกับเครื่องมือและวัสดุ อย่างมีระบบโดยมีวัตถุประสงค์ในการ
พัฒนาปรบั ปรุงกระบวนการเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพยิง่ ข้นึ
กาเย่ และบริกส์ (Gagne and Briggs,1979 : 22) ได้นิยามไว้ว่า เทคโนโลยีการศึกษา คือ ความรู้
ทงั้ มวลท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการออกแบบระบบการเรียนการสอนโดยครอบคลมุ 3 ประการ ต่อไปนี้คือ 1. ความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในการเรยี นรู้
2. ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น การเสริมแรง การวางเงื่อนไข เป็นต้น 3.
เคร่ืองมืออุปกรณ์ที่เป็นประดิษฐ์กรรมทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สมาคม
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สหรฐั อเมริกา (AECT,1977) ไดใ้ ห้คานิยาม
ของเทคโนโลยีการศึกษาไว้และเป็นท่ีนิยมอย่างแพร่หลายว่า เทคโนโลยีเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับบุคคล วิธีการ ความคิด เคร่ืองมือ และองค์กร กระบวนการน้ีมีข้ึนเพ่ือการวิเคราะห์ปัญหา
และการวางแผน การนามาใช้ การประเมินผล และจัดการหาทางแก้ปัญหาทุก ๆ อย่างท่ีเกิดข้ึนอัน
เก่ียวพันกับการเรียนรู้ของมนุษย์ ซ่ึงต่อมาสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาสหรัฐอเมริกา ได้ให้
ความหมายใหม่ว่า เทคโนโลยีการศึกษา เป็นทฤษฎีและการปฏิบัติของ การออกแบบ การพัฒนา การใช้
การจัดการ และการประเมนิ ของกระบวนการและทรัพยากรสาหรับการเรยี นรู้
ดังนั้น โดยสรุปแล้วเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นการประยุกต์เอา แนวความคิด หลักการ ทฤษฎี
เทคนิค วิธีการ วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาใช้ในวงการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การศึกษามี
ประสิทธิภาพ (Efficiencey) ประหยัด (Economy) และมีประสทิ ธผิ ล (Productivity)
ขอบเขตของเทคโนโลยีการศกึ ษา
จากความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาดังกล่าว เทคโนโลยีการศึกษาจึงมิได้หมายถึงเฉพาะ
เรอ่ื งของการใช้เครือ่ งมอื อปุ กรณ์ (Hardware) และวสั ดุ (Software) เท่าน้ัน แต่เทคโนโลยีการศึกษา ยัง
หมายความรวมถึง การผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ ท้ังหลาย ที่จะเกื้อหนุนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธภิ าพอีกด้วย
ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาขึงมีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมการจัดดาเนินการทางการศึกษา
ทง้ั หมด ดงั ภาพท่ี 1.2 ตอ่ ไปน้ี

ขอบเขตของเทคโนโลยีการศึกษา

ดา้ นการจดั การศกึ ษา ด้านการพฒั นาการศกึ ษา ด้านทรพั ยากรการเรยี นรู้ ผู้เรียน

∙ การจดั การ ∙ ทฤษฎีการวิจยั ∙ ขอ้ มูลความรู้
องคก์ ร ∙ การออกแบบ ∙ บุคลากร
∙ วัสดุ
∙ การจดั การ ∙ การผลติ ∙ เครอ่ื งมือ
บุคลากร ∙ การใช้ ∙ เทคนคิ
∙ การสนับสนุน
∙ การประเมนิ ผล ∙ อาคารสถานที่
∙ การเผยแพร่

ภาพที่ 1.2 แสดงขอบเขตของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา (ทมี่ า : กดิ านัน มลทิ อง)

ดา้ นการจดั การศกึ ษา
การจัดการศึกษา เป็นส่วนประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งของเทคโนโลยีการศึกษา อาจเรียกได้ว่า

เปน็ การบริหารงานด้านการศึกษานั่นเอง เพราะการจัดการศึกษาเน้นในเรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของวิธีระบบ
เพื่อจัดดาเนินการหรือบริหารให้การจัดการศึกษาและการเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ หลักการ
จัดการศึกษามีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ประการคือ การจัดองค์การ (Organization Management) และ
การจัดการบุคลากร (personnel Management)

การจดั องคก์ าร หมายถึง การจัดหน่วยงานหรือองค์การ หรือดาเนินงานไปตามวิธีระบบ ไม่ว่า
จะเป็นการกาหนดทิศทาง หรือเป้าหมายและการควบคุมกิจกรรมทั้งหลายขององค์การ เช่น การจัด
องค์การบริหารศูนย์สื่อ ซ่ึงต้องมีการวางโครงสร้างและกาหนดฝ่ายต่าง ๆ ภายในศูนย์ให้ชัดเจน เช่น
ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลติ ฝา่ ยบริการ และฝ่ายประเมนิ ผล ฯลฯ เป็นต้น

การจดั การบุคลากร หมายถึง การจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน จัดให้มีการร่วมมือและให้ คา
ปรึกษาหารือ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันระหว่างมวลสมาชิกในหน่วยงานหรือองค์การ นั้น
ๆ ถ้าเป็นศูนยส์ ่ือก็ตอ้ งจัดบคุ ลากรลงฝ่ายต่าง ๆ ตามความถนดั ของแตล่ ะบุคคล ใครถนัดออกแบบก็ ให้อยู่
ฝ่ายออกแบบ ใครถนดั ดา้ นการผลติ กจ็ ดั ลงฝ่ายผลติ ฯลฯ เปน็ ตน้
ด้านการพฒั นาการศึกษา

เทคโนโลยีการศึกษา เป็นศาสตร์ท่ใี หค้ วามสาคัญกบั วิธรี ะบบ โดยมีการจัดรูปแบบองค์การ และ
วางตัวบคุ คลในการปฏบิ ตั ิงาน เพ่อื น าไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ ภาพ
องคป์ ระกอบของเทคโนโลยกี ารศึกษาในดา้ นการพัฒนาการศึกษา มีดงั น้ี

การวิจัย เป็นการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือน าความรู้ท่ี
ไดม้ าแกป้ ัญหาในการพฒั นาการศึกษา

การออกแบบ เป็นการวางโครงร่างเพื่อพัฒนาการศึกษา อาจเป็นการออกแบบระบบการเรียนรู้

หรือออกแบบเพ่ือพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ โดยอาศัยผลการวิจัยเป็นพื้นฐานใน
การออกแบบ

การผลิต เป็นการลงมือวางระบบ หรือประดิษฐ์สร้างทรัพยากรการเรียนรู้ ตามที่ได้ออกแบบไว้
การใช้ เปน็ การลงมือปฏิบตั ิตามระบบที่วางไว้ และดาเดินการต่าง ๆ เก่ียวกับทรัพยากรการ เรียนรู้ที่ผลิต
ไว้ โดยคานึงถึงจุดมุ่งหมาย แผนการหรือยุทธศาสตร์เพ่ือให้ทรัพยากรการเรียนรู้เกื้อหนุน การเรียนการ
สอน อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

การสนับสนุน ได้แก่การให้ความสนับสนุน ช่วยเหลือ ในด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์
เครอื่ งมือ และการฝึกอบรมตา่ ง ๆ

การประเมินผล เป็นการดาเนินการเพื่อพิจารณาเก่ียวกับ ความก้าวหน้าของการพัฒนา
การศึกษา ที่ดาเนินการอยู่ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข และตัดสินใจดาเนินการต่าง ๆ ในพัฒนา
ต่อไป การเผยแพร่ เป็นการถ่ายทอดความรู้ หรือทรัพยากรการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว ให้
แพร่กระจายไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ขององคก์ าร หรอื ตา่ งองคก์ าร

จะเห็นได้ว่า ในด้านการพัฒนาการศึกษาน้ี มีการดาเนินการไปตามขั้นตอนและสอดคล้องกับ
ทรพั ยากรการเรยี นรู้
ด้านทรัพยากรการเรยี นรู้
ทรัพยากรการเรยี นรู้เป็นองคป์ ระกอบหนง่ึ ของเทคโนโลยีการศกึ ษา ซึ่งเป็นส่ิงที่คอยกระตุ้นให้ ผู้เรียนอยาก
เรียนและเรียนได้ด้วยดี ประกอบด้วย ข้อมูลความรู้ หรือเนื้อหาวิชา (Content) บุคลากร (Staff) วัสดุ
(Materials) เครอ่ื งมอื (Equipment) เทคนคิ (Techniques) และอาคารสถานท่ี (Setting)

ข้อมูลความรู้หรือเน้ือหาวิชา ได้แก่ โปรแกรมท่ีเกี่ยวกับการเรียนการสอน หรือโครงสร้างของ
หลักสูตร รวมทั้งข้ันตอน ลาดับของเนื้อหาวิชา ควรจัดทาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน บุคลากร
ได้แก่ ครู นักศึกษา นักวิชาการและผู้เช่ียวชาญต่าง ๆ ท่ีมีส่วนช่วยให้การเรียน การสอน ดาเนินไปได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เช่น ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นวัสดุ อปุ กรณ์ ครูโสตทัศนศกึ ษา ฯลฯ เปน็ ต้น

วัสดุ ได้แก่ สื่อท้ังหลายท่ีจะเก้ือหนุนให้การเรียนการสอน ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น
แผนภูมิ แผนท่ี รปู ภาพ ม้วนเทป แผ่นซีดีซีวีดีดีวีดีภาพยนตร์ หรือส่ิงพิมพ์ ฯลฯ เป็นต้น เคร่ืองมือ ได้แก่
สื่อทั้งหลายที่จะเกื้อหนุนหรืออานวยความสะดวกในการใช้ การผลิต และ ถ่ายทอด ตลอดจนการจัด
แสดง วัสดอุ ปุ กรณ์ในการเรียนการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉาย โปรเจคเตอร์ เครื่องฉายข้ามศีรษะ
เครื่องฉายภาพยนตร์ เคร่ืองฉายสไลด์ เคร่ืองวิชวลไลเซอร์ และ เครื่องขยายเสียง ฯลฯ เป็นต้น และยัง
หมายความรวมถึง อุปกรณ์ท่ีใช้ในการผลิตสื่อต่าง ๆ ด้วย เช่น กล้องถ่ายโทรทัศน์ เคร่ืองผสม
สัญญาณเสียง กล้องถ่ายภาพ เครื่องวัดแสง ฯลฯ เป็นต้น เทคนิค เป็นวิธีการเฉพาะที่ใช้ในกระบวนการ
เรียนการสอน เทคนิคอาจสอดแทรกไว้ในรูปของ วัสดุโดยตรง หรืออาจจะใช้ร่วมกับการใช้วัสดุในการ
เรียนการสอนก็ได้ เช่น การใช้บทเรียนสาเร็จรูป การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การใช้เกม
ประกอบการสอน การสมั มนา การระดมความคิด การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ฯลฯ เป็นตน้

อาคารสถานท่ี อาจเป็นอาคารสถานท่ีที่ใช้ในการเรียนแบบปกติ ประกอบด้วย ห้องเรียน
หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร หอ้ งฝึกงาน และอน่ื ๆ หรือเป็นอาคารท่ีที่จัดในรูปลักษณะของ ศูนย์วิทยบริการ ศูนย์
เทคโนโลยีการศึกษา ศูนย์นวัตกรรมการศึกษา ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งต้องคานึงถึงพ้ืนที่ท่ีจะใช้งานใน
ลักษณะต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ และจัดวางแบบแปลนในการก่อสร้างให้เหมาะสม เพื่อจะได้สะดวก
และเอือ้ อานวยต่อการใช้งานนั้น ๆ
ด้านผเู้ รยี น
องค์ประกอบของเทคโนโลยีการศกึ ษา ไมว่ า่ จะเป็นทางด้านการจัดการศึกษา ด้านการพัฒนา - การศึกษา
และด้านทรัพยากรการเรียนรู้ ทุกดา้ นจะทางานประสานกนั เพ่ือให้เกดิ สัมฤทธ์ิผลต่อผู้เรียน ตามเป้าหมาย
ท่ีวางไว้ ดังน้ันผู้เรียนจึงเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของเทคโนโลยี ถ้าเราสามารถทาความ เข้าใจ

ลักษณะเฉพาะของผู้เรียน อาทิเช่น ข้อมูลส่วนตัว รายละเอียดเก่ียวกับครอบครัว ประสบการณ์เดิม
ระดับความสามารถ ตลอดจนบุคลิกภาพ และคุณสมบัติอื่น ๆ สิ่งเหล่าน้ีจะเป็นข้อมูลสาคัญที่ นามาเป็น
เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีการศึกษาท่ีเหมาะสม เพื่อช่วยให้การจัดการศึกษา ดาเนินไปได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

ตามที่กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่าปัจจุบันสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Association
for Educational Communications and Teechnoloy : AECT ) แห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ ความหมาย
ของเทคโนโลยีการศึกษาไว้ใหม่เม่ือ ปี พ.ศ. 2537 ว่า (Seels & Ricchey, 1994 : 9) “เทคโนโลยี
การศกึ ษาเป็นทฤษฎีและการปฎบิ ตั ิของการออกแบบ การพฒั นา การใช้ การจัดการ และ
การประเมนิ ของทรัพยากรสาหรบั การเรียนรู้”

จากความหมายดังกล่าว ทาให้เห็นแนวคิดในวงกว้างมากยิ่งขึ้นของเทคโนโลยีการศึกษา ที่
สามารถนาเทคโนโลยีการศึกษา มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเรียนรู้
ของผู้เรียนได้ ความหมายน้ีได้แบ่งเทคโนโลยีการศึกษาออกเป็น 5 ขอบเขต (Domains) ได้แก่ การ
ออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และ
การประเมิน (Evaluation) โดยแต่ละขอบเขตจะโยงเข้าสู่ศูนย์กลางของทฤษฎี และปฏิบัติ

ความสาคัญของเทคโนโลยีการศกึ ษา
เทคโนโลยกี ารศกึ ษามีความสาคัญต่อการศึกษามาก ดงั นี้
1. ช่วยนามวลประสบการณเ์ ข้ามาจัดการศกึ ษา
มวลประสบการณท์ ีเ่ ราจะจัดการศึกษาน้ันมีอยู่มากมายและหลากหลาย ถึงแม้จะอยู่ห่างไกลตัว -

ผเู้ รยี น ถูกจากดั ด้วยระยะทางและกาลเวลา เทคโนโลยกี ารศึกษากช็ ่วยใหเ้ ราสามารถนาประสบการณ์ ต่าง
ๆ เหล่าน้ีมาในโรงเรยี นให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษาโดยสะดวกรวดเร็ว

2. ช่วยขยายแหล่งวิทยากรมนุษย์ ซ่ึงมีอยู่อย่างจากัด ให้สามารถใช้ได้อย่างกว้างขวาง
แหล่งวิทยากรมนุษย์ท่ีจะใช้ประโยชน์ในทางการศึกษาน้ันมีอยู่จากัด จึงต้องหาเครื่องมือท่ี จะต้อง
ขยายการใช้แหล่งวิทยากรมนุษย์ให้สามารถใช้อย่างกว้างขวางย่ิงข้ึน เทคโนโลยีการศึกษา สามารถ
จะขยายการใช้แหลง่ วทิ ยากรมนษุ ยใ์ ห้กวา้ งขวาง

3. ช่วยจดั สภาวะการเรยี นได้อย่างหลากหลาย
ความคิดใหม่ในด้านการเรียนรู้ของคนน้ัน เราถือว่าคนเรียนได้ดีด้วยการกระทาแก้ปัญหา ด้วย

การเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ เรียนเป็นกลุ่มเล็ก และเรียนเป็นรายบุคคล ส่ิงท่ีจะทาให้สามารถจัดสภาวะ การ
เรียนเช่นนี้ได้ คือเทคโนโลยีการศึกษา

4. ทาใหค้ ุณภาพของสถานศึกษาเท่าเทียมกนั
รัฐบาลมีนโยบาย ท่ีจะทาให้สถานศึกษาทุกหนทุกแห่งมีคุณภาพเท่าเทียมกัน เทคโนโลยี -

การศึกษา จะเป็นวธิ ีหน่ึงท่ดี ี ทจ่ี ะทาใหค้ ณุ ภาพของสถานศกึ ษามคี วามเทา่ เทยี มกนั
5. ทาใหเ้ กิดผลการเรียนรู้หลายดา้ น
ความคิดในด้านการเรียนรู้อีกประการหน่ึง การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงการ

เรียนรู้ท่ีมีการเปล่ียนแปลงได้นั้น จะต้องมีผลการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนทั้งพุทธิพิสัย จิตตพิสัย และทักษะพิสัย
เทคโนโลยกี ารศึกษาจะชว่ ยใหเ้ กดิ ผลการเรยี นรดู้ งั กล่าวได้เป็นอยา่ งดี

6. ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่นักเรียน ได้ลงมือกระทาด้วยตนเองจนเกิดการเรียนรู้ ความคิด
เรื่องบทบาทของครูในการสอนนั้น ปัจจุบันเห็นว่าการสอนน้ันมิใช่การบอกกล่าวแต่ อย่างเดียว แต่การ
สอนนนั้ เปน็ การจัดอานวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพ่ือนักเรียนได้ลงมือกระทาด้วย ตนเองจนเกิดการ
เรียนรู้ ความคิดเชน่ นี้ยอ่ มมคี วามจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งนาเทคโนโลยกี ารศึกษาเขา้ มาใน โรงเรียน

7. ชว่ ยทาให้เกดิ เหตกุ ารณ์สอนทส่ี าคัญ ทีท่ าใหก้ ารเรยี นรู้มีประสิทธิภาพ

การสอนท่เี ปน็ ระบบนัน้ ย่อมประกอบด้วยเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างน้อย 9 ประการคือ
1) ดงึ ความต้งั ใจ
2) ให้ผ้เู รยี นทราบจุดม่งุ หมาย
3) กระตุ้นนักเรยี นให้ระลกึ ถงึ สง่ิ ท่ีเรยี นมาแลว้ ซ่งึ เปน็ สงิ่ ท่จี าเป็นแกก่ ารเรียนใหม่
4) เสนอวัสดุส่งิ เรา้ เพอื่ การเรยี นรู้
5) จัดแนะแนวการเรยี นรู้
6) กอ่ ใหเ้ กดิ การประกอบกิจโดยผเู้ รยี น
7) จัดข้อมลู ปอ้ นกลบั ให้แกก่ ารกระทาท่ถี ูกตอ้ ง
8) ตรวจสอบประเมินการประกอบกิจ
9) สนบั สนุนสง่ เสรมิ ใหม้ ีความคงทนในการจา และการถา่ ยโยงการเรียนรู้

นีค่ ือระบบเหตุการณ์ของการสอน ซ่ึงระบบนเี้ ป็นเทคโนโลยีการศกึ ษา
8. ช่วยทาให้เกิด ภาวะเบือ้ งต้น ทีจ่ าเป็นส าหรบั การเรียนการสอน

นกั จิตวยิ าการศึกษายอมรบั กันวา่ ภาวะเบื้องต้น อันสาคัญต่อการเรียนรู้ทุกประเภทนั้น ได้แก่
1) การเกิดขน้ึ ไล่เล่ยี กนั ของส่ิงเรา้ และการตอบสนอง
2) การปฏบิ ตั ิ
3) การเสรมิ แรง
4) การไดข้ ้อสรุป
5) การจาแนกแยกแยะ

ภาวะเชน่ นจ้ี ะเกิดข้ึนได้อยา่ งสมบรู ณ์ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยกี ารศึกษาเขา้ ช่วย
ท่ีกล่าวมาท้ังหมดนี้ เป็นเครื่องยืนยันชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของเทคโนโลยีการศึกษา ที่ช่วยทา
ให้ผู้รับการศึกษามีคุณภาพ ดังนั้นการศึกษาสมัยใหม่จึงจาเป็นต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษา
เพอื่ ให้การศึกษามคี ุณภาพ อันสง่ ผลให้เกดิ คณุ ภาพชวี ิตทดี่ แี กพ่ ลเมอื งโดยทว่ั ไป
พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
การน าเทคโนโลยมี าใชใ้ นวงการศึกษาไดเ้ ริม่ มีมาตงั้ แต่สมัยกอ่ นคริสตกาล โดยนักเทคโนโลยี - การศึกษา
พวกแรกคือ กล่มุ โซฟิสต์ ไดใ้ ช้การสอนแบบบรรยายเพ่ือสอนแก่มวลชล ต่อจากน้ันได้มี นักการศึกษาด้าน
น้ีอีกหลายท่านที่เร่ิมมีบทบาทในเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ดังน้ี
ก่อนสมยั ศตวรรษท่ี 17
1. โซเครติส ได้นาวิธีสอนแบบสอบถาม ที่ใช้คาถามนาและเม่ือถามเป็นชุดก็จะทาให้ผู้ตอบ
เกิดการเรียนรไู้ ด้
2. ซิเซโร ใช้รปู ภาพประกอบการสอน
3. เพลโต นกั ปราชญ์กรีก ได้ยา้ ถงึ ความสาคญั ของการใช้วัสดปุ ระกอบการสอน
4. อาร์บิลารต์ เปน็ พระชาวฝรง่ั เศสไดค้ ิดวิธสี อน เรียกวา่ การสอนเชิงพุทธิปญั ญา
5. อีรสั มุส เสนอวธิ ีเรียนดว้ ยการลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเองและการศึกษานอกห้องเรียน

ศตวรรษท่ี 17-19
1. ฟรานซสิ เบคอล เสนอการเรียนโดยวธิ สี ังเกต พิจารณาเหตผุ ลในชวี ิตจรงิ
2. คอมินิอสุ รเิ รม่ิ ใชร้ ปู ภาพประกอบบทเรยี นในหนังสือ “The Orbis Pictus” ซ่ึงเป็นตาราเรียน
เลม่ แรกทม่ี ีภาพประกอบถึง 150 ภาพ เขาได้รับการยกยอ่ งเป็น “บิดาของเทคโนโลยี- การศกึ ษา”
3. รุสโซ เสนอแนะว่า การสอนในโรงเรียนควรเร่ิมจากสภาพความเป็นจริงและเข้าใจใน
สภาพของเด็ก ให้เด็กมีโอกาสได้พบปะจับตอ้ งของจรงิ
4. เปสตาลอสซี มุง่ การประยุกต์หลักจติ วิทยามาใช้ในการสอน มคี วามเชื่อวา่ รากฐาน สาคัญ

ในการเรียนรู้ของผู้เรียนอยู่ท่ีการฝึกฝน รู้จักสังเกต และรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส จากของจริง มาก
ทีส่ ดุ

5. แฮรบ์ าร์ต ได้เสนอวธิ ีการสอนแบบ 5 ขน้ั คอื การเตรยี ม (Preparation) การสอน
(Presentation) การสัมพนั ธ์ (Association) การตั้งกฎเกณ์ (Generalzation) และการใช้ (Application)

ศตวรรษท่ี 20
1.ธอร์นไดค์ เป็นผู้คิดทฤษฎีการเรียนรู้แบบสัมพันธ์เช่ือมโยง เขามีความเชื่อว่าการเรียนรู้จะ
เกิดขึ้นได้ก็โดยการสร้างส่ิงเชื่อมโยงหรือความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง
(Response) โดยสิ่งเร้าหน่ึงอาจทาให้เกิดการตอบสนองได้หลายทาง แต่อินทรีย์จะเลือกการตอบสนอง ที่
ตนเองพอใจทส่ี ุดไว้เพื่อนาไปใช้ในการตอบสนองครั้งต่อไป ทฤษฎีของธอร์นไดค์ ทาให้เกิดกฎการ เรียนรู้ที่
สาคัญ 3 กฎ คือ กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) กฎ
แหง่ ผล (Law of Effect)
2. ดิวอี้ เป็นผู้ตั้งทฤษฎีประสบการณ์ ซึ่งเป็นการเรียนรู้จากการกระทา (Learning by Doing)
3. เปียเจต์ เป็นผู้ตั้งทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญา ปะทะกบั สภาพแวดลอ้ ม
4. สกินเนอร์ เป็นผู้คิดทฤษฎีการเรียนรู้วางเงื่อนไขแบบการกระทา เขามีความเชื่อว่าการเรียนรู้
ของมนุษย์เกิดจากการที่บุคคลได้มีการกระทาแล้วได้รับการเสริมแรง ซ่ึงนาไปใช้ในการสร้างบทเรียน -
สาเรจ็ รปู
นักเทคโนโลยีการศึกษา นักจิตวิทยา และนักวิทยาศาสตร์ ตามท่ีกล่าวมาข้างต้นเป็นผู้นา
หลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในเทคโนโลยีการศึกษา และล้วนมีส่วนช่วยในการพัฒนา
เทคโนโลยีการศึกษาทั้งสน้ิ ซ่งึ เรม่ิ ต้นจากการนาวสั ดุอุปกรณซ์ ่งึ เป็นส่อื ประเภทภาพและเสยี งรวมถึง
เทคนิควิธีการมาใช้ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการสอน เรียกได้ว่าเป็นการนาส่ือ
โสตทศั น์ (audio-visual aids) มาใช้นนั่ เอง และมีการนาส่อื หลาย ๆ อยา่ งมาใช้ร่วมกันในลักษณะของ สื่อ
ประสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในวงการศึกษา ทาให้เกิดคอมพิวเตอร์ช่วย -
สอน (computer-assisted instruction : CAI) โดยผเู้ รยี นสามารถเรยี นร้จู ากโปรแกรมบทเรียน
รูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การสอน การฝึกหัด การจาลอง เกมเพื่อการสอน การค้นพบ การแก้ปัญหา และ
การทดสอบ ในแต่ละบทเรียนจะมีตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ประกอบใน
ลักษณะของสื่อประสม (multimedia) และสื่อหลายมิติ (hypermedia) และมีการน าคอมพิวเตอร์มา
เชอ่ื มโยงเขา้ ดว้ ยกันเปน็ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตโดยมีระบบโทรคมนาคมเข้ามาเสริม ทาให้สามารถจัด การ
เรยี นรู้ได้ ในลกั ษณะการศกึ ษารายบคุ คล การศึกษาเป็นกลมุ่ การศึกษามวลชน และสามารถจัด การศึกษา
ได้ ทง้ั ในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ทาให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

สรุป
นวัตกรรม หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ (วัสดุ อุปกรณ์) หรือเทคนิควิธีการใหม่ ๆ (อาจปรับปรุงของ เก่า

ให้ใหม่หรือดีขึ้น) ท่ีนามาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
นวัตกรรมเมื่อถูกนามาใช้จนเคยชินเป็นปกตินิสัยเป็นส่วนหน่ึงของระบบงานแล้ว ก็จะหมดสภาพความ
เป็นนวัตกรรมกลายเป็นเทคโนโลยไี ป

เทคโนโลยีการศึกษา เป็นการประยุกต์เอา แนวความคิด หลักการ ทฤษฎี เทคนิค วิธีการ วัสดุ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาใช้ในวงการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้การศึกษามีประสิทธิภาพ (Efficiencey)
ประหยัด (Economy) และมีประสิทธิผล (Productivity) เทคโนโลยีเมื่อถูกใช้ไปนาน ๆ หรือนาไปใช้ ต่าง
สถานที่ ต่างเวลา ต่างโอกาส ก็อาจเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่องบางประการ เช่น อาจไม่ได้ผลหรือ ได้ผล
น้อย ไม่เป็นท่ีน่าพอใจ จาเป็นต้องมีการดัดแปลง ปรับปรุงหรือคิดค้นสิ่งใหม่ข้ึน ให้เหมาะสมมี

ประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น การคิดค้นหรือปรับปรุงดัดแปลงข้ึนใหม่แล้วทดลองใช้จนได้ผลและนามาใช้ ใน
สถานการณ์จริง สิ่งน้ันก็กลายเป็นนวัตกรรมไป และนวัตกรรมนั้นเมื่อถูกใช้จนเป็นปกติวิสัยเป็น ส่วนหนึ่ง
ขงระบบงาน ก็จะกลายเป็นเทคโนโลยีไปอกี เป็นวฏั จกั รหมุนเวยี นกนั ไป

พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา เร่ิมต้นจากการนาวัสดุอุปกรณ์ซึ่งเป็นสื่อประเภทภาพและ
เสยี งรวมถึงเทคนคิ วิธีการมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการสอน และมีการ นา
สื่อหลาย ๆ อย่างมาใช้ร่วมกันในลักษณะของสื่อประสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมีการนาคอมพิวเตอร์ มา
ใช้ในวงการศึกษา ทาให้เกิดคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากโปรแกรมบทเรียน
รูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การสอน การฝกึ หดั การจาลอง เกมเพอื่ การสอน การค้นพบ การแก้ปัญหา และการ
ทดสอบ ในแตล่ ะบทเรยี นจะมีตัวอกั ษร ภาพกราฟกิ ภาพนง่ิ ภาพเคลอื่ นไหว และเสยี ง ประกอบใน
ลกั ษณะของสือ่ ประสม และส่ือหลายมิติ ต่อมามกี ารน าคอมพวิ เตอร์มาเช่ือมโยงเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตโดยมีระบบโทรคมนาคมเข้ามาเสริม ทาให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้ ในลักษณะการศึกษา
รายบุคคล การศึกษาเป็นกลุ่ม การศึกษามวลชน และสามารถจัดการศึกษาได้ ทั้งในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศยั ทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต


Data Loading...