SAR-2562-โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคมนิคมวัฒนา - PDF Flipbook

SAR-2562-โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคมนิคมวัฒนา

113 Views
101 Downloads
PDF 1,064,454 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA




รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ (Self Assessment Report : SAR)

โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ



บันทึกคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เพื่อรับรองผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สื บ เนื ่ อ งจากการประชุ ม คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน โรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิคมวัฒนา” ครั้งที่ ๒/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๐ เดือน เมษายน ๒๕๖๓ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ ร่วมกันพิจารณารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว มีมติให้ความเห็นชอบและให้เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้องได้ ลงชื่อ.................................................................. (นายภิญโญ จันทมุณี) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ลงชื่อ.................................................................. (นายอับดุลฮาลีม รอเกตุ) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ลงชื่อ.................................................................. (นายกระจาย หนูคงแก้ว) กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ



บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๖ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีเขตบริการ ๓ ตำบล คือ ตำบลควนกาหลง ตำบลอุไดเจริญ ตำบลทุ่งนุ้ย ปัจจุบ ัน โรงเรียนควนกาหลงวิ ทยาคม “นิคมวัฒ นา” มีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๓๔ คน ฝ่ายบริหาร 1 คน ข้าราชการครู 27 คน พนักงาน ราชการ 3 คน และครูอัตราจ้าง 3 คน มีนักเรียนทั้งหมด ๔86 คน สรุปผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ซึ่งโรงเรียนควนกาหลง วิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน “เสียสละ กตัญญู รู้งาน” โดยจัดกิจกรรม ในหลักสูตร มีแผนการเรียนตามความถนัดและความสนใจอย่างรอบด้าน ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถและมี ทักษะในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติจริง ผ่านกระบวนการกิจกรรมเสริมทักษะต่างๆ เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด และในด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนาในด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายตามความเหมาะสม และบริบทของสถานศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด โดยมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วย โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมสวดมนต์และศาสนกิจในทุกๆ วันศุกร์ โครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน รวมทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ จัดแบ่งเขตพื้นที่ให้นักเรียนทุก ห้อง ดูแลและรับผิดชอบ รักษาความสะอาด ส่งเสริมภาวะผู้นำด้วยกิจกรรมสภานักเรียนและคณะกรรมการ นักเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการนำนัก เรียนเข้าร่วมกิจกรรมตาม ประเพณี วัฒนธรรม และวันสำคัญท้องถิ่นของชุมชน จัดกิจกรรมชุมนุมดนตรี กิจกรรมค่ายพักแรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในและภายนอก กิจกรรมวัดสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมี การจัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนต้นแบบ TO BE NUMBER ONE และส่งเสริมให้แกนนำต้นแบบ เหล่านี้ออกไปจัดกิจกรรมให้แก่ชุมชน และองค์กรต่างๆ โดยเมื่อปีการศึกษา 2561 และ 2562 แกนนำ เยาวชนต้นแบบ To be number one โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 4 ระดับประเทศ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561 และ ในปีการศึกษา 2562 ได้รับคัดเลือกให้เป็นตัวแทนระดับ ภาคใต้ เพื่อไปแข่งขันในระดับประเทศต่อไป มาตรฐานที ่ 2 กระบวนการบริ ห ารและการจั ด การ มี ผ ลการประเมิ น อยู ่ ใ นระดั บ ยอดเยี ่ ย ม ซึ่งโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีระบบการบริหารจัดการโดยใช้หลักการบริหารงาน 4 กลุ่ม บริหารงาน ดังนี้ 1. กลุ่มบริหารงานบุคคล 2. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ 3. กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน และ 4. กลุ่มบริหารงานวิชาการ โดยทั้ง 4 กลุ่มบริหารงานจะใช้หลักการของวงจรการบริหารงานคุณภาพ

ค (PDCA) ด้วยการบริหารงานที่เป็ นระบบยึดหลักธรรมาภิบาล การบริหารแบบทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ส่งผลให้ โรงเรียนมีระบบและกลไกการบริหารจัดการคุณภาพของการศึกษา และเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อ การประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ส่งผลให้กระบวนการบริหาร และการจัดการ ซึ่งมีกระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย อย่างเป็นระบบ และเป็นขั้นตอน โดยการแต่งตั้ง คณะกรรมการสถานศึกษา มีการกำหนดจุดเด่นของสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และป้า หมายที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และสามารถปฏิบัติได้จริง มีโครงสร้างการบริหารงาน โดย ใช้หลักการบริหารงานออกเป็น 4 กลุ่มบริหารงาน ประกอบไปด้วย กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงาน งบประมาณ กลุ่มบริห ารงานกิจการนักเรียน และกลุ่ มบริห ารงานวิช าการ กำกับดูแลองค์กรและพัฒ นา กระบวนการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นการบริหารที่เป็นมิตร และบริหารแบบมีส่วนร่วม โดย น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหาร และจัดการ โดยใช้หลักการของวงจรการบริหารงาน คุณภาพ (PDCA) เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชน เพื่อนำสถานศึกษาไปสู่ ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน รวมไปถึงมีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการประจำปี พร้อมทั้ง ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการนิเทศ กำกับ และติดตาม เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน และเมื่อสิ้นปี การศึกษามีการรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข และพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง มีกระบวนการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนอย่างรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษากำหนด มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศให้มีความทันสมัย มีการวิจัยในชั้นเรียน รวมไปถึงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนต่างๆ เพื่อให้ สอดคล้องกับกับผู้เรียนและชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ หลักสูตรต้านการทุจริตสู่รายวิชา มีการเน้นพัฒนาทักษะชี วิตและอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพ สามารถนำ ความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้ มีการดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ โดยมีการจัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการส่งคณะครูและ บุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาเข้าร่วมการอบรมต่างๆ รวมทั้งยังส่งเสริมให้มีการศึกษาต่อ จัดทำ ผลงานทางวิชาการ เข้าร่วมการประกวดในกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ของสถานศึกษา รวมไปถึงสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาอีกด้วย มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและตามความสามารถที่สถานศึกษาจะจัดการได้ โดยมีโครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน และให้มีการพัฒนาห้องเรียนให้มีความพร้อมต่อการจัดการเรียนรู้ทุ กกลุ่ม สาระการเรียนรู้ มีอาคารเรียนประกอบ 4 หลัง ได้แก่ อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 3 และอาคารหอประชุม ค่อนข้างมีความพร้อมและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมต่างๆ มีต้นไม้ร่วมรื่น บริเวณโดยรอบสะอาด สวยงาม มีสวนหย่อม และศาลาเอนกประสงค์ให้นักเรียนได้พักผ่อนตามอัธยาศัย มีแหล่งเรียนรู้ภายใน และ ภายนอก แหล่งเรียนรู้ภายใน ได้แก่ ห้อ งสมุดโรงเรียน ห้องธนาคารโรงเรียน ห้องสหกรณ์โรงเรียน ห้องดนตรี ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล ห้องแนะแนวการศึกษา ห้องประกอบ ศาสนกิจ เป็นต้น ส่วนแหล่งเรียนรู้ภายนอก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านรอบๆ โรงเรียน ฟาร์มเลี้ยงไก่ ศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น และมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ ด้วยโครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี มีการพัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสัญญาณ wifi ที่ค่อนข้างครอบคลุม มีการจัดหาซอฟต์แวร์ทางการบริหารจัดการกลุ่มงานและฝ่ายต่างๆ

ง เช่น โปรแกรม Bookmark ในระบบงานวัดผลของโรงเรียน และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ เท่าที่สถานศึกษามีความสามารถที่จะบริหารจัดการได้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ซึ่งโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ดำเนินการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ส่งผลให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา โดยส่งเสริมครูให้ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Active Learning ด้วยเทคนิคที่หลากหลาย การเรียนรู้ แบบใช้เกมส์ การเรียนรู้แบบสรุปแผนผังความคิด การลงมือปฏิบัติจริง การจัดค่ายสู่ชุมชน มีการ บูรณาการ ความรู้ และสามารถนำความรู้ไประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้ มีการพัฒนาและใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี พร้อมทั้งมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม และ สอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร โรงเรียนมีการสนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการจัดการ เรียนการสอน และมีการวิจัยในชั้นเรียน มีการส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ มัล ติมีเดีย เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น มีส่งเสริมให้ครูประจำชั้น แลครูผู้สอนทุกรายวิชา บริหารจัดการชั้นเรียนด้วยการสร้างนิสัยเชิงบวก โดยการเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างวินัยในการเรียนเชิงบวก หมั่นให้กำลังนักเรียน เมื่อนักเรียนทำดี โดยมีการพยายามลดการใช้ ความรุ่นแรงในการสื่อสาร ครูมีการควบคุมอารมณ์ของตนให้เสมอต้นเสมอปลาย พร้อมทั้งมีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไดฝึกทักษะการคิด การแสดงออก การนำเสนอ การแสวงหาความรู รวมถึงการสรุปองค์ ความรู และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีการส่งเสริมให้ครูตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียน อย่างเป็นระบบ โดยการวัดผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ โดยมีการเปิด โอกาสให้ ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล มีการพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ใน ด้านการจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย รวมทั้งมีการวิจัยมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู และให้ข้อมูล ป้อนกลับจากการประเมินผลแก่ผู้เรียนหรือผู้ปกครองเป็นระยะๆ มีการส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC การนิเทศชั้นเรียน และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อ พัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้านคุณลักษณะ ด้านสมรรถนะ ตามจุดเน้นของหลักสูตร และพัฒนาการด้านอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามที่สถานศึกษากำหนดอย่างต่อเนื่อง



คำนำ รายงานการประเมิน ตนเองของสถานศึก ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรียนควนกาหลงวิท ยาคม “นิคมวัฒนา”ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ...ให้ สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา เป็น ประจำทุกปี ตลอดจนเป็น ไปตามประกาศสำนั กงานคณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื ้นฐาน เรื่อง แนว ปฏิบ ัติการดำเนิน งานประกัน คุ ณภาพการศึก ษา ระดับ การศึกษาขั้น พื้น ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ร ะบุว ่ า ให้ สถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ดำเนินการในข้อ ๒.๖ จัดทำรายงงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นำเสนอรายงานผลการประเมินตนเอง ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบและจัดส่งรายงานดังกล่ าวต่อสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเป็นประจำทุกปี รายงานฉบับนี้ประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา ส่วนที่ ๓ สรุปผล และแนวทางการพัฒนา และส่วนที่ ๔ ภาคผนวก ขอขอบคุณคณะผู้จัดทำ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ฉบับนี้ และหวังว่า เอกสารรายงานฉบั บ นี ้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การนำไปใช้ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ โรงเรี ย น ควนกาหลงวิทยาคม“นิคมวัฒนา” ในปีต่อ ๆ ไป รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผลการพัฒนาการจัด การศึกษาและให้การช่วยเหลือสนับสนุนอย่างเหมาะสม หน่วยงานต้นสังกัดมีฐานข้อมูลสำคัญในการกำหนด นโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และโรงเรียนมีความพร้อมรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

(นายกระจาย หนูคงแก้ว) ผู้อำนวยการโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” 15 เมษายน ๒๕๖๓



สารบัญ บันทึกคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา ๑.๓ ข้อมูลนักเรียน ๑.๔ ข้อมูลแหล่งเรียนรู้และวิทยากรท้องถิ่น ๑.๕ ข้อมูลค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑.๖ ข้อมูลคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๑.๗ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (สี่) และข้อเสนอแนะ ๑.๘ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผลการประเมินโดยภาพรวม มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ สรุปผล แนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น ความต้องการช่วยเหลือ ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก เรื่อง/กระบวนการที่ต้องการให้ สมศ.ประเมินความโดดเด่น ร่องรอยหลักฐาน/เอกสารที่เกี่ยวข้อง คณะผู้จัดทำ

หน้า ก ข–ง จ ฉ ช–ซ ฌ ๑ 1 2-5 6 7-8 9-10 11 11 - 13 13 14 - 19 20 - 32 33 - 39 40 - 42 43 43 – 44 45 45 46 46 - 53 54 - 55 56



สารบัญตาราง ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนผู้บริหารโดยตำแหน่ง ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำแนกตามวุฒิการศึกษา ตารางที่ ๓ แสดงจำนวนครูผ้สู อน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ตามมาตรฐานวิชาเอก (ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ตามมาตรฐานวิชาเอก (ตามเกณฑ์ ที่ ก.ค.ศ.กำหนด) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ตารางที่ 5 แสดงจำนวนผลการตรวจสอบอัตรากำลังครู ตารางที่ 6 แสดงจำนวนห้องเรียนและนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นเรียนและเพศ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ตารางที่ 7 แสดงจำนวนนักเรียนที่มีลักษณะพิเศษ จำแนกตามคุณลักษณะและเพศ ตารางที่ 8 แสดงจำนวนและสถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ตารางที่ 9 แสดงค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด จำแนกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ย้อนหลัง ๓ ปีการศึกษา ตารางที่ 10 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตารางที่ 11 แสดงผลข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตารางที่ 12 แสดงผลข้อเสนอแนะจากการประเมินความโดดเด่น จากการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม ตารางที่ 13 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๓ ปีการศึกษา ตารางที่ 14 แสดงผลการประเมินตนเองทั้ง 3 มาตรฐาน ตารางที่ 15 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา 3 มาตรฐาน ตารางที่ 16 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ตารางที่ 17 แสดงค่าร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ตารางที่ 18 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาไทย ตารางที่ 19 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ตารางที่ 20 แสดงความสามารถในการคิดคำนวณ ตารางที่ 21 แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตารางที่ 22 แสดงความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ตารางที่ 23 แสดงความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตารางที่ 24 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของนักเรียนทุกระดับชั้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กว่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ตารางที่ 25 แสดงความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จำแนกตามรายวิชาและปีการศึกษา ระดับชั้น ม.๓

หน้า 2 2 3 4 5 6 6 7-8 9 - 10 11 12 - 13 13 13 17 18 - 19 21 22 22 23 23 24 25 25 26 26



สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ 26 แสดงความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จำแนกตามรายวิชาและปีการศึกษา ระดับชั้น ม.๖ ตารางที่ 27 แสดงความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ตารางที่ 28 แสดงคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ตารางที่ 29 แสดงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ตารางที่ 30 แสดงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ตารางที่ 31 แสดงสุขภาวะทางร่างกาย ตารางที่ 32 แสดงสุขภาวะทางจิตสังคม ตารางที่ 33 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ตารางที่ 34 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ตารางที่ 35 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 กระบวนการบริหารและการจัดการ ตารางที่ 36 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตารางที่ 37 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตารางที่ 38 สรุปผลจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนาทั้ง 3 มาตรฐาน ตารางที่ 39 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกัน และการ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควน กาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” จังหวัดสตูล

หน้า 27 28 29 30 30 31 31 32 35 - 36 39 41 42 43 - 44 52



สารบัญภาพ ภาพที่ 1 แสดงแผนที่การเดินทางมาโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ภาพที่ 2 แสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาพที่ 3 แสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาพที่ 4 แสดงวงจรการบริหารงานคุณภาพของสถานศึกษา ภาพที่ ๕ แสดงกระบวนการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย* ภาพที่ ๖ แสดงกระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ภาพที่ ๘ แสดงกระบวนการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ภาพที่ ๙ แสดงสมุดบัญชี ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”

หน้า 1 27 28 36 36 37 38 47



ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ตั้งอยู่ : หมู่ที่ ๔ ถนนประชาสงเคราะห์ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ๙๑๑๓๐ สังกัด : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทรศัพท์ : ๐ – ๗๔๗๕ –๒๐๒๐ โทรสาร : ๐ – ๗๔๗๕ –๒๐๒๐ e-mail : [email protected] เว็บไซต์โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” : www.kkl.ac.th เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ แผนที่การเดินทางโดยสังเขป*

ไปหาดใหญ่ วิทยาลัยเกษตรฯ

ซอย 4

ซอย 10

วัดควนกาหลง

ไปละงู โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคมฯ

ไปเมืองสตูล อำเภอควนกาหลง

ภาพที่ 1 แสดงแผนที่การเดินทางมาโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”



๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา (ระบุข้อมูล ณ วันที่ประเมิน ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒) 1. จำนวนผู้บริหารโดยตำแหน่ง รวม 1 คน ได้แก่ ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนผู้บริหารโดยตำแหน่ง ที่

ชื่อ-สกุล

๑. นายกระจาย หนูคงแก้ว

ตำแหน่ง

ดำรงตำแหน่ง ที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ ว/ด/ป

ผู้อำนวยการ โรงเรียน

1 ธันวาคม 2557

วุฒิการศึกษา สูงสุด ศษ.ม. บริหาร 089-7332197 การศึกษา โทรศัพท์

๒. จำนวนครูและบุคลากรอื่น 37 คน ได้แก่ ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำแนกตามวุฒิการศึกษา จำนวน ข้าราชการครู (คน) พนักงาน บุคลากร ครูอัตราจ้าง ทางการศึกษา มีตัว มาช่วย ไปช่วย ราชการ (คน) (คน) อื่น (คน) อยู่จริง ราชการ ราชการ วุฒิการศึกษาสูงสุด สูงกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ต่ำกว่าปริญญาตรี รวม

1 26 27

-

1 1

3 3

3 3

1 2 3

รวม 1 34 2 37



3. จำนวนครูผู้สอน จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้และค่าเฉลี่ยจำนวนชั่วโมงในการสอน ตารางที่ ๓ แสดงจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ตามมาตรฐานวิชาเอก (ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

2. ครูสอน ไม่ตรงเอก

เทคโนโลยี

สังคมศึกษา

พระพุทธ

อิสลาม

ภาษาอังกฤษ

ภาษาจีน

ภาษามลายู

ศิลปะ

ดนตรี

รวม

สุขศึกษา

พลศึกษา

รวม

การงานอาชีพ

รวม

บรรณารักษ์

แนะแนว

รวม

69

22

22

23

23

28

118

70

24

22

116

88

-

22

110

25

21

46

22

23

55

56

56

22

22

44

675

3

3

3

3

1

1

1

1

1

5

3

1

1

5

4

1

1

6

1

1

2

1

1

2

3

3

1

1

2

31

3

3

3

3

1

1

1

1

1

5

1

1

-

2

3

-

-

3

1

1

2

1

-

1

3

3

1

1

2

24

-

0

-

0

-

-

-

-

-

0

1

-

1

2

1

1

1

3

-

-

-

-

1

1

-

0

-

-

0

6

-

0

-

0

-

-

-

-

-

0

-

-

-

0

-

-

-

0

-

-

0

-

-

0

-

0

-

-

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

1

1

0

0

1

1

0

0

1

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2

1. ชื่อ – สกุล นางวริศรา แสงขำ ตำแหน่งครูชำนาญการ วุฒิ ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอก เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา สอนวิชา การงานอาชีพ จำนวนคาบสอน/สัปดาห์ 21 คาบ โรงเรียนกำหนดในวิชาเอกการงานอาชีพ 2. ชื่อ – สกุล นายพิชิต ศรีสงคราม ตำแหน่งครูชำนาญการ วุฒิ การศึกษาบัณฑิต การวัดผลการศึกษา สอนวิชาพระพุทธศาสนา จำนวนคาบสอน/สัปดาห์ 21 คาบ โรงเรียนกำหนดในวิชาเอกสังคมศึกษา

รวมทั้งสิ้น

ชีววิทยา

9.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

8.การงานอาชีพและเทคโนโลยี

7.สุขศึกษา พลศึกษา

เคมี

69

รวม

ฟิสิกส์

61

รวม

วิทยาศาสตร์ทั่วไป

61

รวม

รวม

6.ศิลปะ

5.ภาษาต่างประเทศ

4.สังคมศึกษาฯ

3.วิทยาศาสตร์

2.คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์

1.ภาษาไทย รวม

1. จำนวนชั่วโมง สอน/สัปดาห์ 2. จ ำ น ว น ค รู ตามเกณฑ์ 3.1 ข้ า ราชการ ครู ที่มี/สอน 3.2 พรก., อัตรา จ้ า ง (ครู ) ที ่ มี / สอน 3.3 ตำแหน่งว่าง ข้าราชการครู 4. จำนวนครู ขาด / เกิน

ภาษาไทย

รายการข้อมูลการสอน

รายวิชา

๔ ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ตามมาตรฐานวิชาเอก (ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

2. ครูสอน ไม่ตรงเอก

เทคโนโลยี

สังคมศึกษา

พระพุทธ

อิสลาม

ภาษาอังกฤษ

ภาษาจีน

ภาษามลายู

ศิลปะ

ดนตรี

รวม

สุขศึกษา

พลศึกษา

รวม

การงานอาชีพ

รวม

บรรณารักษ์

แนะแนว

รวม

68

23

22

18

21

25

109

70

21

20

111

78

7

20

105

16

21

37

17

22

39

55

55

18

21

39

622

3

3

3

3

1

1

1

1

1

5

4

1

1

6

5

1

1

7

1

1

2

1

1

2

3

3

1

1

2

33

3

3

3

3

1

1

1

1

1

5

2

1

-

3

4

-

-

4

1

1

2

1

-

1

3

3

1

1

2

26

-

0

-

0

-

-

-

-

-

0

1

-

1

2

1

1

1

3

-

-

-

-

1

0

-

0

-

-

0

6

-

0

-

0

-

-

-

-

-

0

-

-

-

0

-

-

-

0

-

-

0

-

-

0

-

0

-

-

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

1

1

0

0

1

1

0

0

1

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2

1. ชื่อ – สกุล นางวริศรา แสงขำ ตำแหน่งครูชำนาญการ วุฒิ ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอก เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา สอนวิชา การงานอาชีพ จำนวนคาบสอน/สัปดาห์ 21 คาบ โรงเรียนกำหนดในวิชาเอกการงานอาชีพ 2. ชื่อ – สกุล นายพิชิต ศรีสงคราม ตำแหน่งครูชำนาญการ วุฒิ การศึกษาบัณฑิต การวัดผลการศึกษา สอนวิชาพระพุทธศาสนา จำนวนคาบสอน/สัปดาห์ 21 คาบ โรงเรียนกำหนดในวิชาเอกสังคมศึกษา

รวมทั้งสิ้น

ชีววิทยา

9.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

8.การงานอาชีพและเทคโนโลยี

7.สุขศึกษา พลศึกษา

เคมี

68

รวม

ฟิสิกส์

59

รวม

วิทยาศาสตร์ทั่วไป

59

รวม

รวม

6.ศิลปะ

5.ภาษาต่างประเทศ

4.สังคมศึกษาฯ

3.วิทยาศาสตร์

2.คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์

1.ภาษาไทย รวม

1. จำนวนชั่วโมง สอน/สัปดาห์ 2. จ ำ น ว น ค รู ตามเกณฑ์ 3.1 ข้ า ราชการ ครู ที่มี/สอน 3.2 พรก., อัตรา จ้ า ง (ครู ) ที ่ มี / สอน 3.3 ตำแหน่งว่าง ข้าราชการครู 4. จำนวนครู ขาด / เกิน

ภาษาไทย

รายการข้อมูลการสอน

รายวิชา

๕ ตารางที่ 5 แสดงจำนวนผลการตรวจสอบอัตรากำลังครู ตรวจสอบอัตรากำลังครู (ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2562) ตามเกณฑ์ ครูมีตัว+ว่างจัดสรร ห้อง ครู ข้าราชการ ว่าง พนักงานราชการ ลูกจ้าง 15 34 28 3 3

รวม 35

ขาด

เกิน

-

-



๑.๓ ข้อมูลนักเรียน (ระบุข้อมูล ณ วันที่ประเมิน 10 มิถุนายน 2562) ตารางที่ 6 แสดงจำนวนห้องเรียนและนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นเรียนและเพศ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ รวม รวม รวม ม.ต้นระดับชั้นเรียน ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ม.ต้น ม.ปลาย ม.ปลาย จำนวนห้องเรียน 3 3 3 2 2 2 15 9 6 ชาย 59 47 48 22 9 18 203 154 49 เพศ หญิง 49 59 57 165 51 31 36 118 283 รวมจำนวน น.ร. 108 106 105 73 40 54 486 319 167 เฉลี่ยต่อห้อง 36 35 35 35 37 20 27 28 32 ตารางที่ 7 แสดงจำนวนนักเรียนที่มลี ักษณะพิเศษ จำแนกตามคุณลักษณะและเพศ จำนวนนักเรียนจำแนกตามคุณลักษณะและเพศ ระดับชั้นเรียน พิการ ด้อยโอกาส ความสามารถพิเศษ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ม.๑ 1 ม.๒ 1 ม.๓ 2 1 ม.๔ 2 ม.๕ ม.๖ รวมจำนวนนักเรียน 4 3 -

รวม ชาย 1 1 3 2 6

หญิง -



๑.๔ ข้อมูลแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตารางที่ 8 แสดงจำนวนและสถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประเภทแหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้ ลำดับที่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา (จำนวนครั้ง/ คน/ปี) ภายใน ภายนอก ท้องถิ่น มากกว่า 30/ 1 ห้องสมุด (อ่านหนังสือ ,สืบค้นข้อมูล)  คน/ปี มากกว่า 30/ 2 ห้องคอมพิว เตอร์ (สืบ ค้น ข้อ มู ล ทาง  อินเทอร์เน็ต) คนปี 3 สวนสั ต ว์ ส งขลา (เรื ่ อ งสั ต ว์ ป ่ า และ  1 สิ่งแวดล้อม) 4 หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ (เรื่องดารา  1 ศาสตร์) 5 แหล่ ง เรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชนนั ก เรี ย นเอง  1 (เรื่อง Environment) 6 ตลาดนัด (เรื่องกลไกราคา)  1 7 วัดวังผาสามัคคี (เรื่อง วันสำคัญทาง  2 พระพุทธศาสนา) 8 วัดกุมภีลบรรพต (เรื่อง หลักธรรมกับ  2 การพัฒนา) 9 วัดควนกาหลง (เรื่อง ศาสนพิธี)  5 10 ห้องสมุดประชาชน (เรื่อง การพูด ,  5 โครงงานภาษาไทย) 11 สถานี อ นามั ย ในหมู ่ บ ้ า น (เรื ่ อ ง กา  5 พัฒนาตนเองให้เติบโตสมวัย) โ ร ง พ ย า บ า ลค วน ก าห ลง (เ ร ื ่ อ ง 12 โรคติ ด ต่ อ ทางเพศสั ม พั น ธ์ แ ละการ  1 เจ็บป่วยด้วยโรค ต่างๆ) 13 แหล่งชุมชน (เรื่อง Giving directions)  1 14 ถ้ำภูผาเพชร (เรื่อง ธรณีวิทยา ฟอสซิส  1 800 ล้านปี) 15 วัดนิคมพัฒนารามผัง 7 (เรื่อง การให้  1 ทาน(จัดท าโรงทานงานฝังลูกนิมติ) อุ ท ยานน้ ำ ตกธาราสวรรค์ (เรื ่ อ ง 16 อนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ)  1



ตารางที่ 8 (ต่อ) ลำดับที่ 17

18

19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ชื่อแหล่งเรียนรู้

ประเภทแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ภายใน ภายนอก ท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยสงขลานคริน ทร์ วิทยา  เขตหาดใหญ่ (สัปดาห์วิทยาศาสตร์) ศูน ย์พัฒ นาฝีมือแรงงานจังหวัดสตูล (เรื่อง โครงการเพิ่มทักษะด้านอาชีพ แก่ น ั ก เรี ย นครอบครั ว ยากจนของ  จั ง หวั ด สตู ล ที ่ ไ ม่ เ รี ย นต่ อ หลั ง จบ การศึกษาภาคบังคับไปศึกษาดูงาน ) สมพงษ์ฟาร์มไก่เนื้อ (เรื่อง การเลี้ยงไก่  เนื้อ) ร้านเพ็ญบิวตี้ (เรื่อง การทำธุรกิจเสริม  สวย) โรงเรียนบ้านกลุ่ม ๕ ประชารัฐ (เรื่อง  การเลี้ยงไข่ไก่) ร้ า นขายน้ ำ ชา (เรื ่ อ ง การทำธุ ร กิ จ  ขนาดย่อม) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ร่วมใจ (การพัฒนาโครงงานจากสิ่งที่มี  ในชุมชน) หมู่บ้านที่นักเรียนอาศัย (เรื่อง สำรวจ  สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น) ภูมิปัญญาท้องถิ่น (เรื่อง งานใบตอง (กระทงขนม)) กลุ่มแม่บ้านผัง 32 (เรื่อง การทำเค้ก กล้วยหอมเพื่อจำหน่าย) กลุ่มแม่บ้านผลติหมอนยางพารา (เรื่อง การผลิตหมอนจากยางพารา) กลุ่มรักษ์บ้านพรุ (เรื่อง การอนุร ัก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ(สำนึกรักษ์บ้าน เกิด) ท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัย (เรื่อง ศึกษา ท้องถิ่นแหล่งเรียนรู้) ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ตาม แนวพระราชดำริ กอ.รมน. จังหวัดสตูล สรุปจำนวนแหล่งเรียนรู้ทั้งหมด 30 แหล่งเรียนรู้

สถิติการใช้ (จำนวนครั้ง/ คน/ปี) 1

1

2 1 1 1 1 1 

1



1



1



1



1



1



๑.๕ ข้อมูลค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตารางที่ 9 แสดงค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด จำแนกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ย้อนหลัง ๓ ปีการศึกษา ค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๔ 4 ๔ ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ 77 78 79 การคิดคำนวณ ๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ 77 78 79 อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ๓) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 67 68 69 ๑. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ 77 78 79 การสื่อสาร ๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 67 68 69 ๖) ความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 77 78 79 ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 77 78 79 ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 77 78 79 ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 77 78 79 ๔) สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 77 78 79 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๕ ๕ ๕ ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 87 88 89 ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 87 88 89 ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน 87 88 89 ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 87 88 89 ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัด 87 88 89 การเรียนรู้ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร 87 78 79 จัดการและการจัดการเรียนรู้

๑๐ ตารางที่ 9 (ต่อ) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผล มาพัฒนาผู้เรียน ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

ค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ 4 4 ๕ 87

88

89

77

78

79

77

78

79

77

78

79

77

78

79

๑๑

๑.๖ ข้อมูลคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด* คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด คือ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่

๑.๗ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม และข้อเสนอแนะ ตารางที่ 10 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน โดยสถาน ศึกษาและต้นสังกัด กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตั ว บ่ ง ชี ้ ท ี ่ ๑๑ ผลการดำเนิ น งานโครงการพิ เศษเพื ่ อ ส่ ง เสริ ม บทบาทของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้อง กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

ต้อง ต้อง ปรับปรุง ปรับปรุง เร่งด่วน

ระดับคุณภาพ พอใช้

ดี

ดีมาก

    

โรงเรียนมีผลการประเมินระดับคุณภาพ ดี โดยมีค่าเฉลี่ย 81.47 ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง

      

๑๒ ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตารางที่ 11 แสดงผลข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม แนวทางการนำ ตัวบ่งชี้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะไปใช้ 4 ด้านผลการจัดการศึกษา ครู ผ ู ้ ส อนได้ ม ี ก า ร ผู ้ เ รี ย นควรได้ ร ั บ การส่ ง เสริ ม ความสามารถในการคิ ด ส่งเสริมการค้นคว้าหา พัฒนาในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นในกลุ่มสาระการ ความรู้ด้วยตนเอง จาก เรี ย นรู ้ ค ณิ ต สาสตร์ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม ห้องสมุดและอินเทอร์ ภาษาอังกฤษ ศิลปะ วิทยาศาสตร์ และภาษาไทย ซึ่งผลการ เน็ต รวมถึงเทคโนโลยี ประเมินระดับชาติต่ำกว่าระดับ ดี ด้วยการเพิ่มการค้นคว้าหา ต่ า งๆ อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุดและสื่อเทคโนโลยีต่างๆ ให้มี และยั ง มี ก ารส่ ง เสริ ม ความต่อเนื่องและทั่วถึง เช่น การฝึกทักษะเชิงคณิตศาสตร์ที่มี การคิ ด อย่ า งซั บ ซ้ อ น ความซับซ้อน สรุปเหตุผลเชิงตรรกะ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ สรุ ป ผล จากสถาน เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนและผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น การฝึกให้ การณ์ต่างๆ ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจาการอ่าน และวางแผนการทำงานตามลำดั บ ขั ้ น ตอนได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 7 ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษามีการ สถานศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการ ของสถานศึก ษาควรมี ก ารดำเนิ น การแต่ง ตั ้ง ที่ป รึ ก ษาหรื อ สถานศึกษา และมีการ คณะกรรมการ เพื่อดำเนิน การตามระเบียบ และควรมีการ ปรึกษาหารือ พร้อมทั้ง บั น ทึ ก การประชุ ม ทุ ก ครั ้ ง และรายงานผลการประชุ ม ให้ ม ี ก า ร บ ั น ท ึ ก ก า ร หน่วยงานบังคับบัญชาทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีการ ประชุมทุกครั้ง ประชุม ทุกครั้งเป็นปัจจุบัน 6 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผ ู้ส อนได้นำผลการ ครู ผ ู ้ ส อนควรนำผลการพั ฒ นาตนเอง เช่ น การอบรม อบรม สั ม มนา และ สัมมนา ศึกษาดูงานมาใช้อย่างจริงจัง และมีการติดตามอย่าง การพั ฒ นาตนเอง มา เป็นระบบ ควรมีการวิเคราะห์และประเมินผู้เรียนในกลุ่มสาระ พั ฒ นาผู ้ เ รี ย นอย่ า ง การเรียนรู้ ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ได้ระดับดี เพื่อใช้เป็น สม่ำเสมอขึ้น ข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียน และควรประเมินผลการจัดการเรียน การเรียนรู้ตาม การบันทึกหลัง สอน ที่บ่งบอกคุณภาพผู้เรียน เพื่อที่จะนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ผลการนำ ข้อเสนอแนะไปใช้ ผู้เรียนเริ่มมีการคิดที่ ซับซ้อนได้ดีขึ้น และ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น

สถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา

ผู้เรียนได้ร ับ ความรู้ และเทคนิ ค ใหม่ ใน การจัดการเรียนการ สอนจากครูผู้สอน

๑๓ ตารางที่ 11 (ต่อ) ตัวบ่งชี้

ข้อเสนอแนะ

8

ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรพัฒ นาระบบการระกัน คุณภาพ ภายใน โดยสถานศึกษาและต้น สังกัดอย่างต่อเนื ่อ ง เพื่อพัฒนาการดำเนินงานสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้อง กับ แนวการประกั น คุ ณภาพภายในตามหลัก เกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ครอบคลุมการดำเนินงาน ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ

แนวทางการนำข้อเสนอแนะ ไปใช้ ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร แ ต ่ งตั้ ง คณะกรรมการในการประกั น คุณภาพการศึ กษา และมีก าร กำหนดหน้าที่รับชอบที่ชัดเจน พร้อมทั้งมีการรายงานผลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปยัง สพม.16 ทุกปีการศึกษา

ผลการนำ ข้อเสนอแนะไปใช้ สถานศึ ก ษามี ร ะบบ งานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษามี ประสิ ท ธิ ภ าพมาก ยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะจากการประเมินความโดดเด่น ตารางที่ 12 แสดงผลข้อเสนอแนะจากการประเมินความโดดเด่น จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม แนวทางการนำ ผลการนำ มาตรฐานที่ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะไปใช้ ข้อเสนอแนะไปใช้ 2 สถานศึ ก ษามี ร ะบบดู แ ลนั ก เรี ย นที ่ เ ข้ ม แข็ ง โดย ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ม ี ก า ร สถานศึ ก ษามี ร ะบบ สถานศึกษาวางแผนเยี่ยมบ้านผู้เรียน แล้วให้ครูที่ปรึกษา ดำเนิ น การตามแผน ดู แ ลนั ก เรี ย นที ่ มี ออกเยี ่ ย มบ้ า นผู ้ เ รี ย นทุ ก คน เพื ่ อ สบค้ น ข้ อ มู ล และ การดำเนิน งานที่ดีอยู่ ประสิ ท ธิ ภ าพมาก พฤติกรรมของผู้เรียน ให้คำแนะนำและสอบถามความ แล้ ว และมี ก ารปรั บ ยิ่งขึ้น ต้องการของผู้ป กครอง ว่าต้องการให้ส ถานศึกษาช่วย ปรุงแก้ไข ในส่วนที่ยัง ผู้เรียนในด้านใด แล้วนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์เพื่อหาทาง บ่งพร่องให้ดียิ่งขึ้น ช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทำให้ผู้ปกครอง ชุมชน และสถานศึ ก ษามี ค วามสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ต ่ อ กั น และทำให้ ผู้เรียนมีความสุขกับการใช้ชีวิต ส่งผลให้การเรียนดีขึ้น

๑.๘ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ ตารางที่ 13 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๓ ปีการศึกษา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี (๓) ดีเลิศ (๔) ยอดเยี่ยม (5) มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเยี่ยม (๔) ยอดเยี่ยม (๕) ยอดเยี่ยม (5) มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเยี่ยม (4) ดีเลิศ (4) ยอดเยี่ยม (๕) มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ดีเยี่ยม (4)

๑๔

ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (จำนวน ๓ มาตรฐาน) ๑. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ๒. กระบวนการ/วิธีการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนา ผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ของโรงเรียน “เสียสละ กตัญญู รู้งาน” โดยจัดกิจกรรมในหลักสูตร มีแผนการเรียนตามความถนัดและ ความสนใจอย่างรอบด้าน ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัตจิ ริง ผ่านกระบวนการกิจกรรมเสริมทักษะต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด และในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนควน กาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนาในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ตามความเหมาะสม และบริบทของสถานศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามค่าเป้าหมายที่ กำหนด โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรม สวดมนต์และศาสนกิจในทุกๆ วันศุกร์ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รวมทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้า ร่วมกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ จัดแบ่งเขตพื้นที่ให้นักเรียนทุกห้อง ดูแลและรับผิดชอบ รักษาความสะอาด ส่งเสริม ภาวะผู้นำด้วยกิจกรรมสภานักเรียนและคณะกรรมการนักเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจ ในท้องถิ่นและ ความเป็นไทย โดยการนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรม และวันสำคัญท้องถิ่นของชุมชน จัด กิจกรรมชุมนุมดนตรี กิจกรรมค่ายพักแรมลูกเสือ -เนตรนารี กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในและภายนอก กิจกรรมวัดสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมีการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนต้นแบบ To be number one และส่งเสริมให้แกนนำต้นแบบเหล่านี้ออกไปจัดกิจกรรมให้แก่ชุมชน และองค์กรต่างๆ โดย เมื่อปีการศึกษา 2561 และ 2562 แกนนำเยาวชนต้น แบบ TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลง วิทยาคม “นิคมวัฒนา” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 4 ระดับประเทศ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561 และ ในปีการศึกษา 2562 ได้รับคัดเลือกให้เป็นตัวแทนระดับภาคใต้ เพื่อไปแข่งขันในระดับประเทศต่อไป มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีระบบ การบริหารจัดการโดยใช้หลักการบริห ารงาน 4 กลุ่มบริหารงาน ดังนี้ 1. กลุ่มบริหารงานบุคคล 2. กลุ่ ม บริหารงานงบประมาณ 3. กลุ่ มบริหารงานกิจการนักเรียน และ 4. กลุ่มบริหารงานวิชาการ โดยทั้ง 4 กลุ่ม บริ ห ารงานจะใช้ ห ลั ก การของวงจรการบริ ห ารงานคุ ณ ภาพ (PDCA) ด้ ว ยการบริ ห ารงานที ่ เ ป็ น ระบบ

๑๕ ยึดหลักธรรมาภิบาล การบริหารแบบทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ส่งผลให้โรงเรียนมีระบบและกลไกการบริหารจัดการ คุณภาพของการศึกษา และเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล ส่งผลให้กระบวนการบริหาร และการจัดการอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ซึ่งมีกระบวนการกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย อย่างเป็นระบบ และเป็นขั้นตอน โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา มี การกำหนดจุดเด่นของสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และป้าหมายที่ชัดเจน สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา และสามารถปฏิบัติได้จริง มีโครงสร้างการบริหารงาน โดยใช้หลักการบริหารงานออกเป็น 4 กลุ่มบริหารงาน ประกอบไปด้วย กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานงบประมาณ กลุ่มบริหารงานกิจการ นักเรียน และกลุ่มบริหารงานวิชาการ กำกับดูแลองค์กรและพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมาภิ บาล เน้นการบริหารที่เป็นมิตร และบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ บริหาร และจัดการ โดยใช้หลักการของวงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชน เพื่อนำสถานศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน รวมไปถึงมีการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการประจำปี พร้อมทั้งดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการนิเทศ กำกับ และ ติดตาม เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน และเมื่อสิ้นปีการศึกษามีการรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำผลที่ได้มา ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง มีกระบวนการพัฒนาวิชาการที่ เน้ น คุ ณ ภาพของผู ้ เ รี ยนอย่ างรอบด้า นตามหลั ก สูต รสถานศึก ษากำหนด มี ก ารปรั บ ปรุ งพั ฒ นาหลั ก สูตร สถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศให้มีความทันสมัย มีการวิจัยในชั้นเรียน รวมไปถึงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับกับผู้เรียนและชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนที่น้อม นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักสูตรต้านการทุจริตสู่รายวิชา มีการเน้นพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพ เพื่อให้ผ ู้เรียนมีคุณภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพและศึกษาต่อในระดับ ที่ส ูงขึ้นได้ มีการ ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ โดยมีการจัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) มีการส่งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาเข้าร่วมการอบรมต่างๆ รวมทั้งยัง ส่งเสริมให้มีการศึกษาต่อ จัดทำผลงานทางวิชาการ เข้าร่วมการประกวดในกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุตาม วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา รวมไปถึงสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาอีกด้วย มีการจัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและตามความสามารถที่ สถานศึกษาจะจัดการได้ โดยมีโครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน และให้มีการพัฒนาห้องเรียนให้มีความ พร้อมต่อการจัดการเรียนรู้ทุ กกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีอาคารเรียนประกอบ 4 หลัง ได้แก่ อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 3 และอาคารหอประชุม ค่อนข้างมีความพร้อมและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมต่างๆ มีต้นไม้ ร่วมรื่น บริเวณโดยรอบสะอาด สวยงาม มีสวนหย่อม และศาลาเอนกประสงค์ให้นักเรียนได้พักผ่อนตามอัธยาศัย มีแหล่งเรียนรู้ภายใน และภายนอก แหล่งเรียนรู้ภายใน ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องธนาคารโรงเรียน ห้อง สหกรณ์โรงเรียน ห้องดนตรี ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล ห้องแนะ แนวการศึกษา ห้องประกอบศาสนกิจ เป็นต้น ส่วนแหล่งเรียนรู้ภายนอก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านรอบๆ โรงเรียน ฟาร์มเลี้ยงไก่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น และมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี มีการพัฒนาระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสัญญาณ wifi ที่ค่อนข้างครอบคลุม มีการจัดหาซอฟต์แวร์ทางการบริหารจัดการกลุ่ม

๑๖ งานและฝ่ายต่างๆ เช่น โปรแกรม Bookmark ในระบบงานวัดผลของโรงเรียน และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เท่าที่สถานศึกษามีความสามารถที่จะบริหารจัดการได้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ดำเนินการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทั ศน์ของโรงเรียน ส่งผลให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา โดยส่งเสริมครูให้มีการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Active Learning ด้วยเทคนิคที่หลากหลาย การเรียนรู้แบบใช้เกมส์ การเรียนรู้ แบบสรุปแผนผังความคิด การลงมือปฏิบัติจริง การจัดค่ายสู่ชุมชน มีการ บูรณาการความรู้ และสามารถนำ ความรู้ไประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีการพัฒนาและใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี พร้อม ทั้งมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม และสอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ของ หลักสูตร โรงเรียนมีการสนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอน และมีการวิจัยในชั้นเรียน มีการส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการจัดกา ร เรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิ ปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น มีส่งเสริมให้ครูประจำชั้น แลครูผู้สอนทุกรายวิชา บริหารจัดการชั้นเรียนด้วย การสร้างนิสัยเชิงบวก โดยการเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างวินัยในการเรียนเชิงบวก หมั่นให้ กำลังนักเรียน เมื่อนักเรียนทำดี โดยมีการพยายามลดการใช้ความรุ่นแรงในการสื่อสาร ครูมีการควบคุมอารมณ์ ของตนให้เสมอต้นเสมอปลาย พร้อมทั้งมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไดฝึกทักษะการคิด การแสดงออก การนำเสนอ การแสวงหาความรู รวมถึงการสรุปองค์ความรู และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีการส่งเสริมให้ครูตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยการวัดผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่ หลากหลายและมีประสิทธิภาพ โดยมีการเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและ ประเมินผล มีการพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ในด้านการจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย รวมทั้งมีการ วิจัยมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู และให้ข้อมูลป้อนกลับจากการประเมินผลแก่ผู้เรียนหรือผู้ปกครองเป็นระยะๆ มีการส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC การ นิเทศชั้นเรียน และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ด้านคุณลักษณะ ด้านสมรรถนะตามจุดเน้นของหลักสูตร และพัฒนาการด้านอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามที่ สถานศึกษากำหนดอย่างต่อเนื่อง

๑๗ ๒.๒ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ขอรายงานผลการประเมินตนเองทั้ง 3 มาตรฐาน ดังนี้ ตารางที่ 14 แสดงผลการประเมินตนเองทั้ง 3 มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ค่าเป้าหมาย

ผล การประเมิน

ร้อยละ 77 ดีเลิศ (4) ร้อยละ 89 ยอดเยี่ยม (5) ร้อยละ 81 ยอดเยี่ยม (๕)

91.51 ยอดเยี่ยม 93.59 ยอดเยี่ยม 90.56 ยอดเยี่ยม

สูงกว่าหรือ เท่ากับ ค่าเป้าหมาย +14.51 +4.59 +9.56

๒.๓ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๑. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ๒. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) ๓. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาคณิตศาสตร์) ๔. ผลสัมฤทธิ์การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ๕. แบบประเมินตนเอง เรื่องความสามารถในการสร้างนวัตกรรมจากนักเรียน ๖. ชิ้นงานและนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ๗. แบบสอบถาม เรื่องความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๘. แบบสอบถาม เรื่องการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๙. รายงานผลสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 10. แผนการพัฒนาการศึกษา 11. แผนการปฏิบัติการของแต่ละปีการศึกษา 12. รายงานโครงการที่สถานศึกษาได้จัดขึ้น 13. รายงานการปฏิบัติงานของคณะครูและหน่วยงานภายในสถานศึกษา 14. รายงานการประชุม อบรมและสัมมนาเพื่อพัฒ นาการจัดการเรียนการสอนของคณะครู ภายใน โรงเรียน 15. ภาพถ่ายสภาพแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียนและภายในห้องเรียน 16. ภาพถ่ายระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในโรงเรียนและภายในห้องเรียน 17. รายงานผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 18. รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลของครูผู้สอน 19. รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ หรือโครงการต่างๆ

๑๘ 20. แผนการจัดการเรียนรู้ โครงการสอน และสื่อที่ใช้ในการจัดการการเรียนรู้ของครูผู้สอน 21. รายงานผลการเข้าร่วมอบรม สัมมนาของครูผู้สอน 22. ภาพถ่ายกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน และผลงานของผู้เรียน ๓. แผนการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๓.๑ สรุปจุดเด่นและจุดควรพัฒนา ตารางที่ 15 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา 3 มาตรฐาน จุดเด่น จุดควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการ 1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีการดูแลสุขภาพและออกกำลัง เรียนรู้ให้สูงขึ้น (ผลการเรียน 3-4) กายอย่างสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางด้านร่างกาย 2. ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ ทุกรายวิชาให้ และจิตใจค่อนข้างดี ปลอดจากสารเสพติด มีมนุษย สูงขึ้นเป็นตามที่สถานศึกษากำหนด (กลุ่มบริหารงาน สัมพันธ์ที่ดี มีผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ใน วิชาการ กำหนดร้อยละ 5) 3. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถทางด้านการ แต่ละระดับจำนวนมาก 2. ผู ้ เ รี ย นมี ค ุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม คุ ณ ลั ก ษณะและ คิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ พร้อมทั้งอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากขึ้น ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 4. จัดกิจกรรมส่งให้นักเรียนได้สร้างสรรค์นวัตกรรมที่ 3. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและรักความเป็น หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไทย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการบริหารจัดการ ในส่วนของการจัดระบบ โรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิ ค มวั ฒ นา” เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชั ดเจน ยังมีข้อจำกัด ส่งผลให้ผู้เรียนบางคนไม่สามารถเรียนรู้ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการ และแสดงศั ก ยภาพได้ เ ต็ ม ที ่ และโรงเรี ย นควรมี ของชุมชน วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาของชาติ กระบวนการบริหารจัดการที่ต่อเนื่อง และมีการใช้ นโยบายของรั ฐ บาลและต้ น สั ง กั ด ทั น ต่ อ การ ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อใช้ในการพัฒนาต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงของสั ง คม พัฒ นางานที่ เน้น คุ ณ ภาพ ผู ้ เ รี ย นรอบด้ า น ตามหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา และ ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ให้เป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อมาใช้ในการพัฒนางานและ การเรียนรู้ของผู้เรียน และโรงเรียนมีสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุ ณภาพ มีความพร้ อมเรื ่ องอาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้ มีที่พักผ่อน ร่มรื่น สวยงาม มีหอประชุม ที่สะดวกต่อการใช้งานเสมอ

๑๙ ตารางที่ 15 (ต่อ)

จุดเด่น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. ครูทุกคนมีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นกระบวนการ คิด และให้ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติจริง และสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. ครู ส ่ ว นใหญ่ จ ั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดย ส่งเสริมบทบาทของผู้เรียนให้มีส่วนร่วม 3. ครูนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน มีข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ และมีการนำ Google form, Google classroom, Plickers และ Kahoot มา ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4. ครูมีการบริห ารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก ส่งผลให้ ผู้เรียนรักการเรียนรู้ 5. ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง พร้อมทั้งมี การใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ที ่ ห ลากหลาย โดยคำนึ ง ถึ ง ความ เหมาะสมของผู้เรียน

จุดควรพัฒนา ครู ค วรตระหนั ก และให้ค วามสำคั ญ กับ มาตรฐาน คุณภาพการศึกษา และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา อย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง มี ก ารใช้ ส ื ่ อ เทคโนโลยี ที่ หลากหลาย เพื่อที่จะได้จัดการเรียนการสอนให้ มี ความน่าสนใจ มีป ระสิทธิภ าพ และสอดคล้องกับ หลักสูตรมากยิ่งขึ้น

๓.๒ วิธีการพัฒนาที่คาดว่าจะนำมาใช้เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นในปีต่อไป ๑. จัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย นำเทคโนโลยีมาเกี่ยวข้อง และฝึกให้ผู้เรียนได้ คิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ โดยมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากยิ่งขึ้น ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น อย่างมีคุณภาพ ๓. จัดกิจกรรมการติวเนื้อหาอย่างเข้มข้น สำหรับการทดสอบระดับชาติ โดยอาจจะมีการเชิญครู หรือ วิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้แก่ผู้เรียน 4. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างนวัตกรรม โดยมีการแข่งขันภายในโรงเรียน พร้อมทั้งมีการ จัดบูธแสดงและนำเสนอ 5. โครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 6. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล 7. โครงการสรุปผลการปฏิบัติงาน /รายงานผลการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มบริหารงานทั้ง 4 กลุ่ม 8. ศึกษาวิธีการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย และนำมาสร้างเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง พร้อมทั้งสามารถแบ่งปันให้ผู้เรียน ได้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เพื่อสร้างความน่าสนใจให้ผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกเวลา และทุกพื้นที่อย่างเต็มศักยภาพ

๒๐ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ๒. กระบวนการ/วิธีการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน “เสียสละ กตัญญู รู้งาน” โดยจัดกิจกรรมในหลักสูตร มีแผนการเรียนตามความถนัดและความสนใจอย่างรอบด้าน ทั้งด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีความสามารถและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติจริง ผ่านกระบวนการกิจกรรม เสริมทักษะต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้น ักเรียนมีผ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับ ดี เลิศ ตามค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ข องผู ้ เ รี ย น โรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิ ค มวั ฒ นา” มี กระบวนการพัฒนาในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายตามความเหมาะสม และบริบท ของสถานศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมสวดมนต์และศาสนกิจในทุกๆ วันศุกร์ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รวมทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ จัดแบ่งเขตพื้นที่ให้นักเรียนทุกห้อง ดูแลและรับผิดชอบ รักษาความสะอาด ส่งเสริมภาวะผู้นำด้วยกิจกรรมสภา นักเรียนและคณะกรรมการนักเรียน จัดกิจ กรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการนำ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรม และวันสำคัญท้องถิ่นของชุมชน จัดกิจกรรมชุมนุมดนตรี กิจกรรมค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในและภายนอก กิจกรรมวัดสมรรถภาพทาง ร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมีการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนต้นแบบ TO BE NUMBER ONE และ ส่งเสริมให้แกนนำต้นแบบเหล่านี้ออกไปจัดกิจกรรมให้แก่ชุมชน และองค์กรต่างๆ แกนนำเยาวชนต้นแบบ To be number one โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 4 ระดับประเทศ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561 และ ในปีการศึกษา 2562 ได้รับคัดเลือกให้เป็นตัวแทนระดับ ภาคใต้ เพื่อไปแข่งขันในระดับประเทศต่อไป

๒๑ ๒.๒ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพ ของผู้เรียนประกอบด้วย 2 ประเด็นพิจารณาดังนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ตารางที่ 16 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นพิจารณา* มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละดับชั้น ๒) มี ความสามารถในการวิ เคราะห์ และคิ ดอย่ างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ๕) มี ผ ลสั ม ฤทธิ ์ ท างการเรี ย นตามหลั ก สู ต ร สถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องาน อาชีพ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมี ค ุ ณ ลั ก ษณะและค่า นิ ย มที ่ด ี ตามที่ส ถาน ศึกษากำหนด ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 1

สูงกว่าหรือ เท่ากับ ค่าเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย

ผล การประเมิน

ร้อยละ 77 (ดีเลิศ)

91.51 (ยอดเยี่ยม)

ร้อยละ 79

91.95

+12.95

ร้อยละ 79

87.03

+8.03

ร้อยละ 69

96.90

+17.90

ร้อยละ 79

96.09

+17.09

ร้อยละ 69

98.93

+29.93

ร้อยละ 79

87.95

+8.95

ร้อยละ 79

96.67

+17.67

ร้อยละ 79

94.10

+15.10

ร้อยละ 79

80.05

+1.05

+14.51

85.43 +6.43 ร้อยละ 79 ระดับ ยอดเยี่ยม (91.51)

๒๒ ตารางที่ 17 แสดงค่าร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่านคล่อง เขียนคล่อง จำแนกตามระดับชั้น และระดับคุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนในการอ่านคล่อง เขียน ร้อยละของนักเรียน ค่าเป้าหมาย คล่ อ งจำแนกตามระดั บ คุ ณ ภาพ ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ดีเลิศ ดี ค่าเป้าหมาย เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

22.64 11.73 22.47 18.25 33.75 16.98 20.97

21.23 15.08 19.67 21.90 26.25 50.94 25.85

26.40 34.08 17.41 24.82 15.00 32.08 24.96

23.60 6.13 33.52 5.59 26.97 13.48 32.12 2.91 25.00 0.00 0.00 0.00 23.53 4.69

+16.31

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาภาษาไทย) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาภาษาไทย) ตารางที่ 18 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาไทย จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนในการสื่อสารภาษาไทย ร้อยละของนักเรียน ค่าเป้าหมาย จำแนกตามระดั บ คุ ณ ภาพ ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ดีเลิศ ดี ค่าเป้าหมาย เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

22.64 11.73 22.47 18.25 33.75 16.98 20.97

21.23 15.08 19.67 21.9 26.25 50.94 25.85

26.40 34.08 17.41 24.82 15.00 32.08 24.96

23.60 6.13 33.52 5.59 26.97 13.48 32.12 2.91 25.00 0.00 0.00 0.00 23.53 4.69

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาภาษาไทย) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาภาษาไทย)

+16.31

๒๓ ตารางที่ 19 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ร้อยละของนักเรียน ค่าเป้าหมาย จำแนกตามระดั บ คุ ณ ภาพ ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ดีเลิศ ดี ค่าเป้าหมาย เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

25.00 20.67 27.53 32.84 46.25 33.02 30.89

16.98 13.97 12.36 12.41 10.00 20.75 14.41

11.80 16.76 11.24 15.33 16.25 33.02 17.40

20.28 22.90 31.46 21.17 26.25 13.21 22.54

25.94 25.70 17.41 18.25 1.25 0.00 14.76

+6.24

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) ตารางที่ 20 แสดงความสามารถในการคิดคำนวณ จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนในการคิดคำนวณ ร้อยละของนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ ค่าเป้าหมาย ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ค่าเป้าหมาย ดีเลิศ ดี เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ 14.62 10.38 17.45 41.04 16.51 ม.๒ 12.29 6.70 17.32 32.96 30.73 ม.๓ 15.17 8.99 12.92 43.82 19.10 ร้อยละ 79 ม.๔ 24.82 18.98 12.4 17.52 26.28 +2.12 ม.๕ 5.00 13.75 13.75 52.50 15.00 ม.๖ 44.34 5.66 20.75 23.58 5.66 รวมร้อยละเฉลี่ย 19.37 10.74 15.77 35.24 18.88 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาคณิตศาสตร์) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาคณิตศาสตร์)

๒๔ ตารางที่ 21 แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (ใช้ผลสัมฤทธิ์การคิดวิเคราะห์ ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) โดยมีการตัดสิน ผลรวมค่าร้อยละที่ได้ในระดับ 2-3 ออกเป็น ๕ ระดับคุณภาพ ดังนี้ ร้อยละ ๘1.๐๐ ขึ้นไป ร้อยละ 71.๐๐ – 80.99 ร้อยละ ๖1.๐๐ – 70.99 ร้อยละ ๕๐.๐๐ – 60.99 น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐

ระดับชั้น

ค่าเป้าหมาย ที่กำหนด

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา

ร้อยละของนักเรียนในการคิดวิเคราะห์ฯ จำแนกตามระดับคุณภาพ

ยอดเยี่ยม (3)

57.14 57.50 60.77 65.56 75.56 59.88 62.74

ดี (2)

36.36 30.65 28.86 29.36 22.00 34.01 30.20

ปานกลาง (1)

ร้อยละของนักเรียน ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ กำลังพัฒนา ค่าเป้าหมาย (0)

5.98 10.70 10.30 4.73 2.25 6.06 6.67

0.52 1.15 0.07 0.35 0.19 0.05 0.39

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์การคิดวิเคราะห์ ที่ได้จากครูประจำวิชา 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (ผลสัมฤทธิ์การคิดวิเคราะห์)

+13.94

๒๕ ตารางที่ 22 แสดงความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ ร้อยละของนักเรียนในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละของนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ ค่าเป้าหมาย ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ค่าเป้าหมาย ดีเลิศ ดี เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ 18.18 45.45 27.27 9.10 0.00 ม.๒ 9.52 38.10 42.86 9.52 0.00 ม.๓ 10.00 40.00 50.oo 0.00 0.00 ร้อยละ 69 ม.๔ 25.00 62.50 12.50 0.00 0.00 +27.90 ม.๕ 10.00 70.00 20.00 0.00 0.00 ม.๖ 0.00 100.00 0.00 0.00 0.00 รวมร้อยละเฉลี่ย 14.62 63.09 19.19 3.10 0.00 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลงานนักเรียน 2. แบบประเมินตนเอง เรื่องความสามารถในการสร้างนวัตกรรมจากนักเรียน 3. ชิ้นงาน และผลทีผ่ ลิตที่ได้จากนักเรียน ตารางที่ 23 แสดงความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำแนกตามระดับชั้นและระดับ คุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนในการใช้เทคโนโลยี ร้อยละของนักเรียน สารสนเทศและการสื่อสาร ค่าเป้าหมาย ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ จำแนกตามระดับคุณภาพ ที่กำหนด ค่าเป้าหมาย ยอด ปาน กำลัง ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

เยี่ยม

31.03 27.88 37.64 38.12 40.83 59.43 39.15

ดีเลิศ

ดี

18.81 18.59 30.90 28.71 31.68 30.20 26.48

18.18 17.10 21.91 15.35 18.33 9.43 16.72

กลาง

พัฒนา

22.26 9.72 24.53 11.90 9.55 0.00 16.83 0.99 8.33 0.83 0.94 0.00 13.74 3.91

+17.09

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาเกี่ยวกับเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาเกี่ยวกับเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์)

๒๖ ตารางที่ 24 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของนักเรียนทุกระดับชั้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมาย ที่โรงเรียนกำหนด จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ นักเรียนทีมีผลสัมฤทธิ์ฯ ค่าเป้าหมาย นักเรียน เท่ากับและสูงกว่าเป้าหมายที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่โรงเรียน ทั้งหมด กำหนด กำหนด (คน) จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ ๑. ภาษาไทย 416 94.28 ๗๔ 441 ๒. คณิตศาสตร์ 353 80.07 58 441 ๓. วิทยาศาสตร์ 362 82.03 58 441 ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 388 87.99 74 441 ๕. ภาษาต่างประเทศ 368 83.42 69 441 ๖. สุขศึกษาและพลศึกษา 394 89.27 74 441 ๗. ศิลปะ 74 441 417 94.60 ๘. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 74 441 381 86.29 รวม 69 441 385 87.30 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาพื้นฐาน) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาพื้นฐาน) ตารางที่ 25 แสดงความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จำแนกตามรายวิชาและปีการศึกษา ระดับชั้น ม.๓ ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบระดับชาติ เปรียบเทียบค่าพัฒนากับปีที่ผ่านมา วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ค่าเฉลี่ยรวม ๔ กลุ่มสาระฯ

๒๕๖๐

๒๕๖๑

๒๕๖๒

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

คิดเป็น ร้อยละ

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

คิดเป็น ร้อยละ

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

คิดเป็น ร้อยละ

48.8 21.28 31.76 27.05

+1.58 -5.83 -4.42 -2.59

3.24 -27.40 -13.93 -9.58

55.01 26.31 29.49 26.44

+3.77 +3.97 -3.86 -1.96

6.85 15.07 -13.08 -7.42

55.67 22.77 30.07 28.68

-2.09 -4.86 -0.89 +0.92

-3.76 -21.32 -2.97 3.20

32.22

-1.15

-11.92

34.31

+2.09

+0.36

34.30

-0.01

-6.21

๒๗

คณิ ต ศาสตร์

ปี 2562

27.05 26.44 28.68

ภาษาไทย

ปี 2561

31.76 29.49 30.07

ปี 2560

21.28 26.31 22.77

48.8 55.01 55.67

แผนภู มิ แ สดงผลการทดสอบระดั บ ชาติ O-NET ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3

วิ ท ยาศาสตร์

ภาษาอั ง กฤษ

ภาพที่ 2 แสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตารางที่ 26 แสดงความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จำแนกตามรายวิชาและปีการศึกษา ระดับชั้น ม.๖ ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบระดับชาติ เปรียบเทียบค่าพัฒนากับปีที่ผ่านมา วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ ค่าเฉลี่ยรวม ๕ กลุ่มสาระฯ

๒๕๖๐

๒๕๖๑

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

คิดเป็น ร้อยละ

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

50.41 19.62 29.48 34.44 23.43

-0.72 -1.07 -1.15 -0.82 +1.39

-1.43 -5.45 -3.90 -2.38 +5.93

42.54 19.84 26.27 32.56 23.57

31.48

-0.47

-1.45

28.96

คิดเป็น ร้อยละ

๒๕๖๒

ค่าที่ได้

ค่าพัฒนา

คิดเป็น ร้อยละ

-10.39 -24.43 -0.76 -3.84 -4.68 -17.83 -3.60 -11.06 -1.03 -4.38

36.69 18.99 26.75 32.69 21.75

-7.98 -1.84 -0.83 -1.50 -3.00

-21.74 -9.70 -3.12 -4.58 -13.79

-4.09

27.37

-3.03

-10.59

-12.31

๒๘ แผนภู มิ แ สดงผลการทดสอบระดั บ ชาติ O-NET ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6

ภาษาไทย

คณิ ต ศาสตร์

วิ ท ยาศาสตร์

สั ง คมศึ ก ษาฯ

23.43 23.57 21.75

ปี 2562

34.44 32.56 32.69

ปี 2561

29.48 26.27 26.75

19.62 19.84 18.99

50.41 42.54 36.69

ปี 2560

ภาษาอั ง กฤษ

ภาพที่ 3 แสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตารางที่ 27 แสดงความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (โดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2-4 ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ในการจัดการและเจตคติที่ดพี ร้อมที่จะศึกษาต่อ ร้อยละของนักเรียน ค่าเป้าหมาย การทำงานหรื อ งานอาชี พ จำแนกตามระดั บ ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด คุณภาพ ค่าเป้าหมาย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

ยอด เยี่ยม

ดีเลิศ

ดี

ปาน กลาง

กำลัง พัฒนา

19.83 21.74 31.37 40.57 24.59 13.92 25.34

18.73 11.71 21.57 25.47 18.03 9.49 17.50

19.56 12.37 18.21 13.21 27.87 18.99 18.37

24.80 21.74 17.09 17.92 29.51 49.37 26.74

17.08 32.44 11.76 2.83 0.00 8.23 12.05

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากครูประจำวิชา (รายวิชาเกี่ยวกับการงานอาชีพ) 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (รายวิชาเกี่ยวกับการงานอาชีพ) 3. ชิ้นงาน และผลที่ผลิตที่ได้จากนักเรียน เช่น แปลงผักต่างๆ กระเป๋าผ้ามัดย้อม เป็นต้น

+8.95

๒๙ ๒.๒.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ ตารางที่ 28 แสดงคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ (ใช้ผลสัมฤทธิ์คุณลักษะอันพึงประสงค์ ในการประมวลผล และกำหนดร้อยละ) โดยมีเกณฑ์การตัดสิน ผลรวมค่าร้อยละที่ได้ในระดับ 2-3 ออกเป็น ๕ ระดับคุณภาพ ดังนี้ ร้อยละ ๘1.๐๐ ขึ้นไป ร้อยละ 71.๐๐ – 80.99 ร้อยละ ๖1.๐๐ – 70.99 ร้อยละ ๕๐.๐๐ – 60.99 น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐ ระดับชั้น

ค่าเป้าหมาย ที่กำหนด

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา

ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามที่ สถานศึกษากำหนด จำแนกตามระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม (3)

60.53 55.09 57.89 66.10 89.69 82.41 68.62

ดี (2)

36.45 35.80 37.29 31.46 9.94 17.37 28.05

ปานกลาง (1)

ร้อยละของนักเรียน ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ กำลังพัฒนา ค่าเป้าหมาย (0)

2.94 7.50 4.69 2.03 0.19 0.22 2.93

0.08 1.61 0.13 0.41 0.18 0.00 0.40

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์คุณลักษะอันพึงประสงค์ ที่ได้จากครูประจำวิชา 2. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) (ผลสัมฤทธิ์คุณลักษะอันพึงประสงค์)

+17.67

๓๐ ตารางที่ 29 แสดงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ ร้อยละของนักเรียนที่มีความภูมิใจในท้องถิ่น ร้อยละของนักเรียน ค่าเป้าหมาย และความเป็นไทย จำแนกตามระดับคุณภาพ ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ที่กำหนด ยอด ปาน กำลัง ดีเลิศ ดี ค่าเป้าหมาย เยี่ยม กลาง พัฒนา ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

76.92 44.44 66.67 36.36 58.82 57.14 56.73

23.08 0.00 50.00 5.56 20.00 13.33 63.64 0.00 29.41 11.77 38.10 4.76 37.37 5.90

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

+15.10

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. แบบสอบถาม เรื่องความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 2. กิจกรรมที่สอดคล้องกับความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย เช่น กิจกรรมวันภาษาไทย เป็นต้น ตารางที่ 30 แสดงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย จำแนกตามระดับชั้นและระดับ คุณภาพ ร้อยละของนักเรียนที่ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ร้อยละของนักเรียน ความแตกต่างและหลากหลาย ค่าเป้าหมาย ระดับชั้น ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ จำแนกตามระดับคุณภาพ ที่กำหนด ค่าเป้าหมาย ยอด ปาน กำลัง ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

เยี่ยม

15.38 11.11 20.00 36.36 29.41 14.29 21.09

ดีเลิศ

ดี

61.54 61.11 53.33 54.55 47.06 76.19 58.96

23.08 27.78 26.67 9.09 23.53 9.52 19.95

กลาง

พัฒนา

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

+1.05

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. แบบสอบถาม เรื่องการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 2. กิจกรรมที่สอดคล้องกับความแตกต่างและหลากหลาย เช่น กิจกรรมเกี่ยวกับทางศาสนา และประเพณีต่างๆ เป็นต้น

๓๑ ตารางที่ 31 แสดงสุขภาวะทางร่างกาย จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ ระดับชั้น

ค่าเป้าหมาย ที่กำหนด

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ร้อยละ 79 ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมร้อยละเฉลี่ย

ร้อยละของนักเรียนที่มีการรักษาสุขภาพกาย ของตนเองให้แข็งแรง จำแนกตามระดับคุณภาพ ยอด เยี่ยม

ดีเลิศ

ดี

ปาน กลาง

กำลัง พัฒนา

46.15 38.89 66.67 18.18 52.94 50.00 45.47

46.15 38.89 13.33 72.73 35.30 33.33 39.96

0.00 22.22 20.00 9.09 11.76 11.11 12.36

7.70 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.28

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 5.56 0.93

ร้อยละของนักเรียน ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ค่าเป้าหมาย

+6.43

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. แบบประเมิน เรื่องสุขภาวะทางร่างกาย และทางจิตสังคม 2. กิจกรรมที่สอดคล้องกับสุขภาวะทางร่างกาย เช่น การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นต้น ตารางที่ 32 แสดงสุขภาวะทางจิตสังคม จำแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ

ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย อยู่ ค่าเป้าหมาย ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข ไม่มีความขัดแย้งกับ ระดับชั้น ที่กำหนด ผู้อื่น จำแนกตามระดับคุณภาพ ยอด เยี่ยม

ม.๑ 46.15 ม.๒ 38.89 ม.๓ 66.67 ร้อยละ 79 ม.๔ 18.18 ม.๕ 52.94 ม.๖ 50.00 รวมร้อยละเฉลี่ย 45.47

ดีเลิศ

ดี

46.15 38.89 13.33 72.73 35.30 33.33 39.96

0.00 22.22 20.00 9.09 11.76 11.11 12.36

ปาน กลาง

7.70 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.28

กำลัง พัฒนา

ร้อยละของนักเรียน ที่สูงกว่าหรือเท่ากับ ค่าเป้าหมาย

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 5.56 0.93

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้ 1. แบบประเมิน เรื่องสุขภาวะทางร่างกาย และทางจิตสังคม 2. กิจกรรมที่สอดคล้องกับสุขภาวะทางร่างกาย เช่น การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นต้น

+6.43

๓๒ ๓. แผนการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๓.๑ สรุปจุดเด่นและจุดควรพัฒนา ตารางที่ 33 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน จุดเด่น จุดควรพัฒนา 1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีการดูแลสุขภาพและออกกำลัง 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการ กายอย่างสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางด้านร่างกาย เรียนรู้ให้สูงขึ้น (ผลการเรียน 3-4) และจิตใจค่อนข้างดี ปลอดจากสารเสพติด มีมนุษย 2. ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ ทุกรายวิช าให้ สัมพันธ์ที่ดี มีผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ สูงขึ้นเป็นตามที่สถานศึกษากำหนด (กลุ่มบริหารงาน ในแต่ละระดับจำนวนมาก วิชาการ กำหนดร้อยละ 5) 2. ผู ้ เ รี ย นมี ค ุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม คุ ณ ลั ก ษณะและ 3. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถทางด้านการ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด คิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ พร้อมทั้งอภิปราย 3. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและรักความเป็ น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากขึ้น ไทย 4. จัดกิจกรรมส่งให้นักเรียนได้สร้างสรรค์นวัตกรรมที่ หลากหลายมากยิ่งขึ้น ๓.๒ วิธีการพัฒนาที่คาดว่าจะนำมาใช้เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นในปีต่อไป ๑. จัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย นำเทคโนโลยีมาเกี่ยวข้อง และฝึกให้ผู้เรียนได้ คิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ โดยมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากยิ่งขึ้น ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น อย่างมีคุณภาพ ๓. จัดกิจกรรมการติวเนื้อหาอย่างเข้มข้น สำหรับการทดสอบระดับชาติ โดยอาจจะมีการเชิญครู หรือ วิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้แก่ผู้เรียน 4. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างนวัตกรรม โดยมีการแข่งขันภายในโรงเรียน พร้อมทั้งมีการ จัดบูธแสดงและนำเสนอ

๓๓ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ๒. กระบวนการ/วิธีการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีระบบการบริหารจัดการโดยใช้หลักการบริหารงาน 4 กลุ่มบริหารงาน ดังนี้ 1. กลุ่มบริหารงานบุคคล 2. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ 3. กลุ่มบริหารงานกิจการ นักเรียน และ 4. กลุ่มบริหารงานวิชาการ โดยทั้ง 4 กลุ่มบริหารงานจะใช้หลักการของวงจรการบริหารงาน คุณภาพ (PDCA) ด้วยการบริหารงานที่เป็นระบบ ยึ ดหลักธรรมาภิบาล การบริหารแบบทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ส่งผล ให้โรงเรียนมีระบบและกลไกการบริหารจัดการคุณภาพของการศึกษา และเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อ การประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ส่งผลให้กระบวนการบริหาร และการจัดการอยู่ ในระดับ ยอดเยี่ยม โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย อย่างเป็นระบบ และเป็นขั้นตอน โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา มีการกำหนดจุดเด่นของสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และป้าหมายที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และสามา รถ ปฏิบัติได้จริง โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีโครงสร้างการบริหารงาน โดยใช้หลักการบริหารงาน ออกเป็น 4 กลุ่มบริหารงาน ประกอบไปด้วย กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานงบประมาณ กลุม่ บริหารงาน กิจการนักเรียน และกลุ่มบริหารงานวิชาการ กำกับดูแลองค์กรและพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ ยึดหลัก ธรรมาภิบาล เน้นการบริหารที่เป็นมิตร และบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการบริหาร และจัดการ โดยใช้หลักการของวงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชน เพื่อนำสถานศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน รวมไปถึงมีการ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการประจำปี พร้อมทั้งดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการนิเทศ กำกับ และติดตาม เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน และเมื่อสิ้นปีการศึกษามีการรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำ ผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข และพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีกระบวนการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียน อย่างรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการ สอน แหล่งเรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศให้มีความทันสมัย มีการวิจัยในชั้นเรียน รวมไปถึงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับกับผู้เรียนและชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และหลักสูตรต้านการทุจริตสู่รายวิชา มีการเน้นพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้

๓๔ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ โดยมีการจัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการส่งคณะครูและบุคลากรทางการ ศึกษาของสถานศึกษาเข้าร่วมการอบรมต่างๆ รวมทั้งยังส่งเสริมให้มีการศึกษาต่อ จัดทำผลงานทางวิชาการ เข้า ร่วมการประกวดในกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา รวมไปถึง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาอีกด้วย โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ได้มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและตามความสามารถที่สถานศึกษาจะจัดการได้ โดยมีโครงการพัฒนาปรับปรุง ภูมิทัศน์โรงเรียน และให้มีการพัฒนาห้องเรียนให้มีความพร้อมต่อการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีอาคารเรียนประกอบ 4 หลัง ได้แก่ อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 3 และอาคารหอประชุม ค่อนข้างมีความพร้อม และเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมต่างๆ มีต้นไม้ร่วมรื่น บริเวณโดยรอบสะอาด สวยงาม มีสวนหย่อม และ ศาลาเอนกประสงค์ให้นักเรียนได้พักผ่อนตามอัธยาศัย มีแหล่งเรียนรู้ ภายใน และภายนอก แหล่งเรียนรู้ภายใน ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องธนาคารโรงเรียน ห้องสหกรณ์โรงเรียน ห้องดนตรี ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล ห้องแนะแนวการศึกษา ห้องประกอบศาสนกิจ เป็นต้น ส่วนแหล่ง เรียนรู้ภายนอก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านรอบๆ โรงเรียน ฟาร์มเลี้ยงไก่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี มีการพัฒนาระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสัญญาณ wifi ที่ค่อนข้างครอบคลุม มีการจัดหาซอฟต์แวร์ทางการบริหารจัดการกลุ่ม งานและฝ่ายต่างๆ เช่น โปรแกรม Bookmark ในระบบงานวัดผลของโรงเรียน และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เท่าที่สถานศึกษามีความสามารถที่จะบริหารจัดการได้ ๒.๒ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปีการศึกษา 2562 ดังนี้ ตารางที่ 34 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพิจารณา* ๑. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน ๒. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๓. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ๔. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

ค่าเป้าหมาย

ผล การประเมิน

สูงกว่าหรือ เท่ากับ ค่าเป้าหมาย

ร้อยละ 89

98.46

+9.46

ร้อยละ 89

92.31

+3.31

ร้อยละ 89

99.23

+10.23

ร้อยละ 89

93.08

+4.08

๓๕ ตารางที่ 34 (ต่อ) ประเด็นพิจารณา* ๕. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๖. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรู้ สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒

ค่าเป้าหมาย

ผล การประเมิน

สูงกว่าหรือ เท่ากับ ค่าเป้าหมาย

ร้อยละ 89

92.31

+3.31

ร้อยละ 89

86.15

-2.85

ระดับ ยอดเยี่ยม (93.59)

จากตารางที่ 34 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปีการศึกษา 2562 พบว่า ผลกระบวนการบริหารและการจัดการ สูงกว่าเป้าหมาย ทุกประเด็นพิจารณา ยกเว้น ประเด็น จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่มีผลการประเมินต่ำกว่า ค่ า เป้ า หมายที ่ ก ำหนดไว้ -3.85 เมื ่ อ พิ จ ารณาโดยภาพรวมของการดำเนิ น งานแล้ ว สู ง กว่ า เป้ า หมาย ระดับ ยอดเยี่ยม ๒.๓ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง แผนการพัฒนาการศึกษา แผนการปฏิบัติการของแต่ละปีการศึกษา รายงานโครงการที่สถานศึกษาได้จัดขึ้น รายงานการปฏิบัติงานของคณะครูและหน่วยงานภายในสถานศึกษา รายงานการประชุม อบรมและสัมมนาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของคณะครู ภายในโรงเรียน 6 ภาพถ่ายสภาพแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียนและภายในห้องเรียน ๗ ภาพถ่ายระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในโรงเรียนและภายในห้องเรียน

1 2 3 4 5

๓๖

ภาพที่ 4 แสดงวงจรการบริหารงานคุณภาพของสถานศึกษา

ภาพที่ ๕ แสดงกระบวนการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย*

๓๗

ภาพที่ ๖ แสดงกระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

ภาพที่ ๗ แสดงกระบวนการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

๓๘

ภาพที่ ๘ แสดงกระบวนการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

๓๙ ๓. แผนการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๓.๑ สรุปจุดเด่นและจุดควรพัฒนา ตารางที่ 35 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่น จุดควรพัฒนา โรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิ ค มวั ฒ นา” กระบวนการบริหารจัดการ ในส่วนของการจัดระบบ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื ่ อ สนั บ สนุ น การจั ด การ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการ เรี ย นรู ้ ยั ง มี ข ้ อ จำกั ด ส่ ง ผลให้ ผ ู ้ เ รี ย นบางคนไม่ ของชุมชน วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาของ สามารถเรีย นรู้ และแสดงศั ก ยภาพได้เ ต็ ม ที ่ และ ชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการ โรงเรียนควรมีกระบวนการบริหารจัดการที่ต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานที่เน้น คุ ณภาพ และมีการใช้ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อใช้ในการพัฒ นา ผู ้ เ รี ย นรอบด้ า น ตามหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา และ ต่อเนื่อง ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ให้เป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อมาใช้ในการพัฒนางาน และการเรี ย นรู ้ ข องผู ้ เ รี ย น และโรงเรี ย นมี สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความพร้อมเรื่อง อาคารสถานที ่ แหล่ ง เรี ย นรู ้ มี ท ี ่ พ ั ก ผ่ อ น ร่ ม รื่ น สวยงาม มีหอประชุมที่สะดวกต่อการใช้งานเสมอ ๓.๒ วิธีการพัฒนาที่คาดว่าจะนำมาใช้เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นในปีต่อไป ๑ โครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ๒ โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ๓ โครงการสรุปผลการปฏิบัติงาน /รายงานผลการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มบริหารงานทั้ง 4 กลุ่ม

๔๐ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ๒. กระบวนการ/วิธีการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ดำเนินการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ส่งผล ให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา โดยส่งเสริมครูให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Active Learning ด้วยเทคนิคที่หลากหลาย การเรียนรู้แบบใช้เกมส์ การเรียนรู้แบบสรุปแผนผังความคิด การลงมือปฏิบัติจริง การจัดค่ายสู่ชุมชน มีการ บูรณาการความรู้ และสามารถนำความรู้ไประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีการพัฒนาและใช้สื่อการเรียนการ สอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี พร้อมทั้งมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม และ สอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร โรงเรียนมีการสนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการจัดการเรียน การสอน และมีการวิจัยในชั้นเรียน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ส่งเสริมให้ครูประจำชั้น แลครูผู้สอนทุกรายวิชา บริหาร จัดการชั้นเรียนด้วยการสร้างนิสัยเชิงบวก โดยการเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างวินัยในการ เรียนเชิงบวก หมั่นให้กำลังนักเรียน เมื่อนักเรียนทำดี โดยมีการพยายามลดการใช้ความรุ่นแรงในการสื่อสาร ครูมี การควบคุมอารมณ์ของตนให้เสมอต้นเสมอปลาย พร้อมทั้งมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไดฝึกทักษะ การคิด การแสดงออก การนำเสนอ การแสวงหาความรู รวมถึงการสรุปองค์ความรูและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ส่งเสริมให้ครูตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ โดยการวัดผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ โดยมีการเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล มีการพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ในด้านการ จัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย รวมทั้ง มีการวิจัยมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู และให้ข้อมูลป้อนกลับจาก การประเมินผลแก่ผู้เรียนหรือผู้ปกครองเป็นระยะๆ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC การนิเทศชั้นเรียน และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้านคุณลักษณะ ด้านสมรรถนะตามจุดเน้นของ หลักสูตร และพัฒนาการด้านอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามที่สถานศึกษากำหนดอย่างต่อเนื่อง

๔๑ ๒.๒ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประกอบด้วย 5 ประเดินพิจารณาดังนี้ ตารางที่ 36 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สูงกว่าหรือ ผล ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมาย เท่ากับ การประเมิน ค่าเป้าหมาย ๑. จัดการเรียนรู ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ ร้อยละ 89 95.00 +6.00 สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได ๒. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้เอื้อต่อการ ร้อยละ 79 90.26 +11.26 เรียนรู ๓. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 79 83.08 +ภ.08 ๔. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผล ร้อยละ 79 87.54 +8.54 มาพัฒนาผู้เรียน ๕. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อ ร้อยละ 79 96.92 +7.92 พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ระดับ ยอดเยี่ยม (90.56) จากตารางที่ 36 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ พบว่า ผลกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สูงกว่าเป้าหมายทุกประเด็นพิจารณา และเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงานแล้ว อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ๒.๓ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง 1 2 3 ๔ ๕ 6

รายงานผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอน รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลของครูผู้สอน รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ หรือโครงการต่างๆ แผนการจัดการเรียนรู้ โครงการสอน และสื่อที่ใช้ในการจัดการการเรียนรู้ของครูผู้สอน รายงานผลการเข้าร่วมอบรม สัมมนาของครูผู้สอน ภาพถ่ายกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน และผลงานของผู้เรียน

๔๒ ๓. แผนการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๓.๑ สรุปจุดเด่นและจุดควรพัฒนา ตารางที่ 37 แสดงจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ จุดเด่น จุดควรพัฒนา 1. ครู ท ุ ก คนมี แ ผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ที ่ เ น้ น ครูควรตระหนัก และให้ความสำคั ญ กับ มาตรฐาน กระบวนการคิด และให้ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติจริง คุณภาพการศึกษา และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน อย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง มี ก ารใช้ ส ื ่ อ เทคโนโลยี ที่ 2. ครูส่วนใหญ่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย หลากหลาย เพื่อที่จะได้จัดการเรียนการสอนให้มี ส่งเสริมบทบาทของผู้เรียนให้มีส่วนร่วม ความน่าสนใจ มีป ระสิทธิภาพ และสอดคล้องกับ 3. ครูนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียน หลักสูตรมากยิ่งขึ้น การสอน มีข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ และมีการนำ Google form, Google classroom, Plickers และ Kahoot มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ส่งผลให้ ผู้เรียนรักการเรียนรู้ 5. ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง พร้อม ทั้งมีการใช้เครื่องมือที่หลากหลาย โดยคำนึงถึงความ เหมาะสมของผู้เรียน ๓.๒ วิธีการพัฒนาที่คาดว่าจะนำมาใช้เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นในปีต่อไป ศึกษาวิธีการใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย และนำมาสร้างเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง พร้อมทั้งสามารถแบ่งปันให้ผู้เรียน ได้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เพื่อสร้างความน่าสนใจให้ผู้เรียน และทำให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกเวลา และทุกพื้นที่อย่างเต็มศักยภาพ

๔๓

ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ นำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จ ของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๓-๕ ปี) ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องให้เกิดความยั่งยืน ดังนั้น จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวม ของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพั ฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้นและ ความต้องการช่วยเหลือ ดังนี้ สรุปผล ตารางที่ 38 สรุปผลจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนาทั้ง 3 มาตรฐาน จุดเด่น จุดควรพัฒนา  คุณภาพของผู้เรียน  คุณภาพของผู้เรียน 1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีการดูแลสุขภาพและออก กำลั ง กายอย่ า งสม่ ำ เสมอ มี ส มรรถภาพทางด้ า น ร่างกาย และจิตใจค่อนข้างดี ปลอดจากสารเสพติด มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ ในแต่ละระดับจำนวนมาก 2. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะและ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 3. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและรัก ความ เป็นไทย  กระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิ ค มวั ฒ นา” มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการ ของชุมชน วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาของ ชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒ นางานที่เน้นคุณภาพ ผู ้ เ รี ย นรอบด้ า น ตามหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา และ ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ให้เป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อมาใช้ในการพัฒนางาน

1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ให้สูงขึ้น (ผลการเรียน 3-4) 2. ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติทุกรายวิชา ให้ ส ู ง ขึ ้ น เป็ น ตามที ่ ส ถานศึ ก ษากำหนด (กลุ่ ม บริหารงานวิชาการ กำหนดร้อยละ 5) 3. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถทางด้าน การคิด วิเคราะห์ อย่างมีว ิจารณญาณ พร้อ มทั้ ง อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากขึ้น 4. จั ด กิ จ กรรมส่ ง ให้ น ั ก เรี ย นได้ ส ร้ า งสรรค์ นวัตกรรมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น  กระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนยังมีกระบวนการบริหารจัดการ ในส่วน ของการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ อย่างมีข้อจำกัด ส่งผลให้ผู้เรียน บางคนไม่สามารถเรียนรู้และแสดงศักยภาพได้เต็มที่ และโรงเรี ย นควรมี ก ระบวนการบริ ห ารจั ด การที่ ต่อเนื่อง และมีการใช้ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อใช้ในการ พัฒนาต่อเนื่อง

๔๔ ตารางที่ 38 (ต่อ) จุดเด่น จุดควรพัฒนา และการเรี ย นรู ้ ข องผู ้ เ รี ย น และโรงเรี ย นมี  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการ เป็นสำคัญ จัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความพร้อมเรื่ อง ครูควรตระหนักและให้ความสำคัญกับมาตรฐาน อาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้ มีที่พักผ่ อน ร่มรื่ น สวยงาม มีหอประชุมที่สะดวกต่อการใช้งานเสมอ คุณภาพการศึกษา และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา อย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง มี ก ารใช้ ส ื ่ อ เทคโนโลยี ที่  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน หลากหลาย เพื่อที่จะได้จัดการเรียนการสอนให้ มี เป็นสำคัญ ความน่ า สนใจ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสอดคล้ อ งกับ หลักสูตรมากยิ่งขึ้น 1. ครู ท ุ ก คนมี แ ผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ที ่ เ น้ น กระบวนการคิด และให้ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติ จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. ครูส ่ว นใหญ่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยส่งเสริมบทบาทของผู้เรียนให้มีส่วนร่วม 3. ครูนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการ เรียนการสอน มีข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ และมี ก า ร น ำ Google form, Google classroom, Plickers และ Kahoot มาใช้ ใ นการจั ด การเรี ย น การสอน 4. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ส่งผล ให้ผู้เรียนรักการเรียนรู้ 5. ครูมีการวัดและประเมิน ผลตามสภาพจริ ง พร้ อ มทั ้ ง มี ก ารใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ที ่ ห ลากหลาย โดย คำนึงถึงความเหมาะสมของผู้เรียน

๔๕ แนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น แนวทางการพัฒนามาตรฐานที่ ๑ ๑. จัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย นำเทคโนโลยีมาเกี่ยวข้อง และฝึกให้ผู้เรียนได้ คิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ โดยมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มากยิ่งขึ้น ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น อย่างมีคุณภาพ ๓. จัดกิจกรรมการติวเนื้อหาอย่างเข้มข้น สำหรับการทดสอบระดับชาติ โดยอาจจะมีการเชิญครู หรือ วิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้แก่ผู้เรียน 4. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างนวัตกรรม โดยมีการแข่งขันภายในโรงเรียน พร้อมทั้งมีการ จัดบูธแสดงและนำเสนอ แนวทางการพัฒนามาตรฐานที่ ๒ ๑. โครงการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ๒. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ๓. โครงการสรุปผลการปฏิบัติงาน /รายงานผลการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มบริหารงานทั้ง 4 กลุ่ม แนวทางการพัฒนามาตรฐานที่ ๓ ศึกษาวิธีการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย และนำมาสร้างเป็น องค์ความรู้ของตนเอง พร้อมทั้งสามารถแบ่งปันให้ผู้เรียน ได้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เพื่อสร้างความ น่าสนใจให้ผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกเวลา และทุกพื้นที่อย่างเต็มศักยภาพ ความต้องการช่วยเหลือ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ต้องการให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยให้ครูผู้สอน ได้เลือก work shop กิจกรรมการเรียนการสอนที่ทันสมัยและหลากหลาย รวมไปถึงการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนทุกๆ ปี เพื่อเป็นการอัพเดตและพัฒนาครูผู้สอน ให้ สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และเพื่อการพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ต้องการให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 ลงมาสำรวจโรงเรียนในสังกัด อย่าง ละเอียด และครอบคลุม เพื่อที่จะใช้หลักเกณฑ์ในการบริหารจัดการ หรือแก้ไขปัญหาที่ ต้องได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ไม่มี

๔๖

ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก เรื่อง/กระบวนการที่ต้องการให้ สมศ.ประเมินความโดดเด่น (ถ้ามี) นำเสนอผลงานโดดเด่นระบุระดับที่ได้รับรางวัลด้วย พร้อมทั้งโมเดล/รูปแบบ/กระบวนการที่ใช้ในการ พัฒนา ที่แสดงถึง Awareness Attempt Achieved Accredit โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” โดยคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ได้ตระหนัก ถึงความสำคัญ ความจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ชมรม TO BE NUMBER ONE อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 จนถึงปัจจุบัน ปีการศึกษา 2562 เพราะเป็นโครงการที่ช่วยในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนได้อย่างดีและยั่งยืน อีกทั้งได้ส่งเสริมศักยภาพ ความสามารถ ความกล้าแสดงออก และความถนัดของนักเรียนและเยาวชนได้อย่างเต็มรูปแบบ โดยยึดหลักการ การทำกิจกรรมที่หลากหลายจากการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคน ตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดของโครงการคือ 1. การรณรงค์ปลุกจิตสำนึก และ สร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด 2. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางชีวิตให้แก่เยาวชนในชุมชน 3. การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินการงานมีการประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย สมาชิกมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินงานอย่าง ชัดเจน และ ทั่วถึง โดยองค์ประกอบหลัก คือ องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3

กรรมการ กองทุน กิจกรรม

กรรมการ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และเครือข่ายศิษย์เก่า กรรมการดำเนินงาน เกิดจากการเลือกตั้งของสมาชิก มีวาระการดำรงตำแหน่ง 1 ปี โดยแบ่งการ ทำงานออกเป็น 4 ฝ่าย ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายกองทุน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสอดส่องดูแล และ รับเรื่องราวร้อง ทุกข์ โดยจัดประชุมเดือนละ 1 ครั้ง กองทุน มีการบริหารจัดการกองทุนมีคณะกรรมการที่ปรึกษา และ คณะกรรมการดำเนินงานฝ่ายเงินทุน เพื่อ รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดงานเงินทุน จัดทำบัญชี เก็บรักษาเงิน และ ดูแลเรื่องการเงินภายในชมรม มีการ จัดหาเงินทุน เข้ากองทุน จัดสรรเงินทุนในการดำเนินกิจกรรม จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายชมรม สรุป ผลการ จัดการเงินทุนให้สมาชิกรับรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา โดยมีระเบียบการเบิกจ่าย 2ใน3 ของกรรมการกองทุน จัดเก็บ

๔๗ เงิน ธนาคารกรุงไทย สาขาควนกาหลง จังหวัดสตูล บัญชีเลขที่ 919-0-21047-6 ชื่อบัญชีกองทุนชมรม TO BE NUMBER ONE โรงรียนควนกาหลงวิทยาคม”นิคมวัฒนา” วิธีการระดมเงินทุน 1. จัดทำโครงการของชมรมเพื่อเสนอของบประมาณชมรมสนับสนุนจากโรงเรียน 2. ของบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ และ เอกชนในการทำกิจกรรม 3. จัดกิจกรรมหารายได้โดยคณะกรรมการ และ สมาชิกของชมรม เช่น ร้านค้าชมรม TO BE NUMBER ONE รับผลิตภัณฑ์มาจัดจำหน่าย จัดเก็บร้อยละ 20 จากเงินกำไรผลิตภัณฑ์ที่ จัดจำหน่าย เงินรางวัลการแสดงในงานต่างของสมาชิกชมรม

ภาพที่ ๙ แสดงสมุดบัญชี ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” กิจกรรม 1. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ การดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ของโรงเรียน 2. จัดทำกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะ 5 ปี โดยยึดกรอบการพัฒนาที่คงความต่อเนื่องและยั่งยืน ของยุทธศาสตร์หลักอย่างเข้มแข็ง 3. กำหนดตัวชี้วัดในการดำเนินงานของชมรมเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 การแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับโรงเรียนโดยมี ผูว้ ่าราชราการจังหวัดสตูลเป็นประธาน นายอำเภอควนกาหลงเป็นรองประธาน และคณะกรรมการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ระดับที่ 2 จัดทำแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย งบประมาณ และแหล่งงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ระดับที่ 3 มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ระดับที่ 4 มีจำนวนสมาชิก TO BE NUMBER ONE อายุ 6 - 24 ปี ร้อยละ 100 ระดับที่ 5 มีศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

๔๘ 4. พัฒนาโดยขยายเครือข่าย 5. สร้างสรรค์กิจกรรม TO BE NUMBER ONE ต่อยอดและขยายผลการนำไปใช้เป็น Best Practice ของเครือข่ายชมรมทั้งในและนอกเขตอำเภอ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยม ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE จัดกิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 1 ทั้งหมด 19 กิจกรรม สร้างกระแสผ่านสื่อ 9 กิจกรรม (ประชาสัมพันธ์ผ่านการกระจายเสียง social network 4 กิจกรรม ,นิทรรศการ 3กิจกรรม, สื่อสัญลักษณ์ 2 กิจกรรม ) สร้างกระแสผ่านการจัดกิจกรรม 10 กิจกรรม (จัดกิจกรรมภายในโรงเรียน 7 กิจกรรม, เข้าร่วม กิจกรรม และ ระดับประเทศ 7 กิจกรรม) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน จัดกิจกรรมอบรมการให้ความรู้ จำนวน

8 กิจกรรม

สมาชิกเข้าร่วมโครงการใครติดยายกมือขึ้น กิจกรรม We cheer no smoking จำนวน 7 คน สมาชิกชมรมใช้บริการห้องศูนย์เพื่อนใจ จำนวน 2,367 คน กิจกรรมจิตอาสา จำนวน 11 กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด 1. รับสมัครสมาชิก TO BE NUMBER ONE นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 2. รับสมัครผู้ปกครองนักเรียนเป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE เพื่อเป็นเครือข่ายในการ สอดส่องดูแลบุตรหลาน และ ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข 3. จัดทำกลุ่มไลน์เครือข่ายเพื่อการประสานงานกับสมาชิกในชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียน และ เข้าร่วมไลน์จังหวัด 4. จัดกิจกรรม TO BE NEW GEN ให้กับสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE มัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 สร้างความเข้าใจ และ ความพร้อมของสมาชิกใหม่ในการทำกิจกรรมภายใต้ แนวทางชมรม TO BE NUMBER ONE (14 พฤษภาคม 2562) 5. จัดทำ MOU บันทึกข้อตกลงความร่วมมือพันธะสัญญาแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการบางฆรา-ตอตั้ง จังหวัดพังงา และภาคีเครือข่ายทั่วประเทศ ( 25 เมษายน 2562) 6. นำสมาชิกศึกษาดูงาน เรียนรู้การทำงานภายใต้แนวทางชมรม TO BE NUMBER ONE - ชมรม TO BE NUMBER ONE บางฆราต่อตั้ง จ.พังงา (25 เมษายน 2562) - ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนทุ่งโพธิ์วิทยา จ.พังงา (26 เมษายน 2562) - งานมหกรรมรวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE ประจำปีพุทธศักราช 2562 (13-15 กรกฎาคม 2562)

๔๙ 7. กิจกรรมบูรณาการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน - สัมมนา โครงการ TO BE KEY TO EXCELLENCE สู่เครือข่าย ณ โรงแรมปาล์มแกลลอรี่ รีสอร์ท ต.คึกคัก จ.พังงา ( 24-25 เมษายน 2562) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมเครือข่าย TO BE NUMBER ONE ณ หอประชุมสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดพัทลุง (14 มกราคม 2563) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านกิจกรรม และ การนำเสนอผลการดำเนินงานของ ชมรม TO BE NUMBER ONEเรือนจำจังหวัดสตูล ในการประกวดผลการดำเนินงานระดับภาคใต้ ( 18 กุมภาพันธ์ 2563) จากการประสบความสำเร็จทำให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ ทำให้สมาชิก เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยจัดทำกิจกรรมในรูปแบบ

TO BE NUMBER ONE PARK อุทยานการเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE Zone ที่ 1ศูนย์กลางการเรียนรู้ 8. สมาชิกแกนนำชมรม TO BE NUMBER ONE เป็นวิทยากรจัดกิจกรรม อบรม ถ่ายทอดความรู้ เทคนิค และ ประสบการณ์สู่สมาชิก และ เครือข่าย ตามแนวยุทธศาสตร์ของชมรม ให้กับผู้มาศึกษาดู งาน จำนวน 5 หน่วยงานดังนี้ 1. โรงเรียนทับช้างวิทยาคม จังหวัดสงขลา ( 23 สิงหาคม 2562) 2. โรงเรียนอนุบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล (14 กุมภาพันธ์ 2563) 3. โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 1 จังหวัดสตูล (14 กุมภาพันธ์ 2563) 4. โรงเรียนบ้านควนล่อน จังหวัดสตูล (14 กุมภาพันธ์ 2563) 5. โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล (14 กุมภาพันธ์ 2563)

Zone ที่ 2 ศูนย์กลางวิทยากร 9. สมาชิกแกนนำชมรม TO BE NUMBER ONE สนับสนุนการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE พัฒนาศักยภาพเครือข่ายใหม่ ให้ความรู้ ให้ข้อมูลและ แนวทางการจัดทำกิจกรรมตามแนวทางกิจกรรมตาม ยุทธศาสตร์ การดำเนินงานของชมรม TO BE NUMBER ONE โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติด จำนวน 3 กิจกรรม 17 ชมรม

๕๐ - วิทยากรสร้างเครือข่ายใหม่ และช่วยพัฒนาศักยภาพให้แก่เครือข่ายร่วมกับ กับ ศูนย์ ประสานงาน TO BE NUMBER ONE ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหายา เสพติด 2562 ให้แก่แ กนนำชมรม TO BE NUMBER ONE ณ ภูร ิว ิช ชาลัย จ. สตูล จำนวน 14 ชมรม ( 4-6 เมษายน 2562) - กิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฎิบัติการ TO BE ON TOUR ให้กับชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรี ย นทั บ ช้ า งวิ ท ยาคม จั ง หวั ด สงขลา ณ ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ในระหว่างวันที่ 23-25 สิงหาคม 2562 - กิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้แก่คณะกรรมการ ชมรม TO BE NUMBER ONE ที่เป็นผู้ต้องขังในเรือนจำจังหวัดสตูล ณ เรื อนจำจังหวัดสตูล วันที่ 22 มกราคม 2563 - วิทยากรสร้างเครือข่ายใหม่ ชมรม TO BE NUMBER ONE อำเภอควนกาหลง

Zone ที่ 3 ศูนย์กลางการสนับสนุนเครือข่าย 10. สมาชิกแกนนำชมรม TO BE NUMBER ONE สนับสนุนเครือข่ายใหม่ พัฒนาเครือข่ายเดิมในการ พัฒนาชมรมเข้าร่วมประกวดในภาคใต้ จำนวน 5 หน่วยงาน - สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสตูล - โรงเรียนสตูลวิทยา - วิทยาลัยการอาชีพละงู - เรือนจำจังหวัดสตูล - อำเภอควนกาหลง

Zone ที่ 4 ศูนย์กลางการจัดนิทรรศการ 11. จัดนิทรรศการรวมพลช่อดอกกาหลง TO BE NUMBER ONE นำชมรม TO BE NUMBER ONE ที่เป็น เครือข่ายเข้าร่วมจัดกิจกรรมและนิทรรศการ ณ หอประชุมโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” จำนวน 4 ชมรม (17 พฤษภาคม 2562) 1. ชมรม TO BE NUMBER ONE 2. ชมรม TO BE NUMBER ONE 3. ชมรม TO BE NUMBER ONE 4. ชมรม TO BE NUMBER ONE

โรงเรียนกำแพงวิทยา วิทยาลัยการอาชีพละงู สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสตูล การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยอำเภอควนกาหลง

๕๑

Zone ที่ 5 ศูนย์กลางการติดตามดูแลเครือข่าย 12. ติดตามดูแล กระตุ้น การการดำเนิน งานของชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนประถม เครือข่ายเดิมในอำเภอควนกาหลง และ อำเภอมะนัง จำนวน 16 โรงเรียน ในระหว่างวันที่ 4-6 กุมภาพันธ์ 2563 จำนวน 16 โรงเรียน วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563

โรงเรียนอนุบาลมะนัง โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6 โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 120 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 42 โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 3 โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 1 โรงเรียนอนุบาลควนกาหลง โรงเรียนบ้านห้วยน้ำดำ โรงเรียนบ้านควนล่อน โรงเรียนตชด.ยูงทอง โรงเรียนนิคมซอย 10 โรงเรียนตชด.บ้านส้านแดง โรงเรียนบ้านเหนือคลอง โรงเรียนบ้านเขาไคร โรงเรียนบ้านกลุ่ม 5 ประชารัฐ

๕๒ สมาชิกได้จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อนำมาวางแผนปฏิบัติการในปีการศึกษาศึกษา 2563 สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจการดำเนินงาน โครงการรณรงค์ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” จังหวัดสตูล ตารางที่ 39 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายา เสพติดในสถานศึกษา ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” จังหวัดสตูล ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายการ กิจกรรมหลากหลายตรงกับความต้องการของสมาชิก กิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพของสมาชิก กิจกรรมออกแบบ และ ส่งเสริมความถนัด และ สนใจ กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนค่านิยม และแนวคิดของสมาชิก กิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ กิจกรรมจากศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE เปิดโอกาสให้สมาชิกเข้าร่วมโครงการใครติดยายกมือขึ้น กิจกรรมสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ความต้องการเข้าร่วมกับกิจกรรมที่จัดโดยชมรม รวม

ค่าเฉลี่ย 4.83 4.88 4.69 4.71 4.81 4.77 4.62 4.78 4.74 4.88 4.77

ระดับความพึงพอใจ ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

สรุปผล ระดับความพึงพอใจของสมาชิกในการดำเนิน งานรณรงค์ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด ใน โรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2562 (1 พฤษภาคม 2562 – 20 กุมภาพันธ์ 2563 ) อยู่ในระดับดีมาก โดย ระดับความพึงพอใจสูงสุด คือกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพของสมาชิก และ ความต้องการเข้าร่วมกับ กิจกรรมที่จัดโดยชมรมรองลงมา คือ กิจกรรมหลากหลายตรงกับความต้องการของสมาชิก

๕๓ ตัวชี้วัดความสำเร็จ จากการดำเนินงานของชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1. สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม ปลอดสารเสพติด 2. แกนนำสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ใช้แฟ้มสะสมผลงาน (PORT FOLIO ) ชมรม TO BE NUMBER ONE ผ่านการคัดเลือก เข้าเรียนมหาลัย จำนวน 8 คน ปีการศึกษา 2562 3. สมาชิกแกนนำ TO BE NUMBER ONE จำนวน 3 คน เสนอผลการทำงานในชมรม ได้รับ พระราชทานประกาศนียบัตรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีกิจกรรมการ คัดเลือกผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นในรอบปีของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี พ.ศ.2557 และ ประจำปี พ.ศ.2560 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. สมาชิกแกนนำชมรม TO BE NUMBER ONE จำนวน 7 คน เป็นคณะกรรมการศูนย์อำนวยการ ประสานงานป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคเยาวชน ภาค 9 จังหวัดสตูล 5. รางวัลเพชรน้ำหนึ่ง ปีงบประมาณ 2558 ชื่อ ผลงาน จุดเน้น “ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( วันที่ 14 สิงหาคม 2558) 6. ศูนย์การเรียนรู้ ชมรม TO BE NUMBER ONE ประเภทสถานศึกษา จังหวัดสตูล เป็นแหล่งศึกษา ดูงานของโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 16 และ จังหวัดสตูล ทั้งหมด 7 โรงเรียน 7. รางวัลสถานศึกษาป้องกันยาเสพติดดีเด่น จากกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีพุทธศักราช 2557 8. นางสาวจิราภรณ์ บัวปลอด รองประธานชมรม TO BE NUMBER ONE ได้รับรางวัลชนะเลิศการ ประกวดเรียงความ ในหัวข้อ 15 ปี TO BE NUMBER ONE 9. เกียรติบัตรชมเชย ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับประเทศ ในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ดีเด่นระดับประเทศ ปีพุทธศักราช 2557 10. รางวัลบุคลากรดีเด่น TO BE NUMBER ONE ประจำปีพุทธศักราช 2561 (นางสิทธินี ศรีสงคราม) ครูที่ปรึกษาชมรม TO BE NUMBER ONE 11. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 4 ระดับประเทศ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561 12. รักษามาตรฐานพร้อมเป็นต้นแบบระดับเงินประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ปีที่1 ประจำปี พ.ศ. 2562

๕๔ เอกสาร / ร่องรอยหลักฐาน ประกาศมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การให้ความเห็นชอบ ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 1 / ๒๕๖2 เมื่อวันที่ 2๔ กรกฎาคม ๒๕๖2 ณ ห้องประทับพัก โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๖ คณะกรรมการสถานศึกษาขั ้นพื ้นฐาน ได้ พ ิ จารณามาตรฐานการศึ กษาของสถานศึกษา ปี การศึ กษา ๒๕๖2 ของโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เห็นชอบให้ดำเนินการประกาศได้

(นายภิญโญ จันทมุณี) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”

๕๕

ประกาศโรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เรื่อง มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2๕๖2 ..................................................................... สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๙(๓) ได้ กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ มีการกำหนด มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้ อง ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกัน คุณภาพภายนอก ดังนั้น โรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒ นา” จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เพื่อสอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับ ปฐมวัย ระดับ การศึกษาขั้น พื้น ฐาน และระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์ การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศฉบับนี้ ทั้งนี้ได้ผ่าน การเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนแล้ว ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายกระจาย หนูคงแก้ว) ผู้อำนวยการโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”

๕๖ รายละเอียดแนบท้ายประกาศโรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เรื่อง มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2๕๖2 ........................................................... มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๒. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๓. มีการบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก ๔. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ๕. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

๕๗ ประกาศกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา

ประกาศโรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2๕๖2 ..................................................................... โดยที่มีป ระกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้ว ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธ ีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ นโยบายการปฏิ รูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา คุ ณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิร ูป ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพ การศึกษา ประกาศคณะกรรมการการประกัน คุ ณภาพภายในระดับ การศึ ก ษาขั้ น พื้นฐาน เรื่องกำหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับประกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื ่ อ ง ให้ ใ ช้ ม าตรฐานการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน เพื ่ อ การประกั น คุ ณ ภาพภายในของ สถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ กำหนดให้สถานศึกษาต้องดำเนินการกำหนดมาตรฐาน และค่า เป้าหมายมาตรฐานการศึ กษาของสถานศึ กษา เพื่อให้บ ุคลากรและผู้ เกี่ ยวข้ องใช้เป็น กรอบดำเนิ น งาน วางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” จึงขอประกาศค่าเป้าหมายตามมาตรฐานของ สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการ มีส่วนร่วม ของผู ้ เ กี ่ ย วข้ อ ง เพื ่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาของโรงเรี ย นควนกาหลงวิ ท ยาคม “นิคมวัฒนา” มีคุณภาพและมาตรฐานตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายกระจาย หนูคงแก้ว) ผู้อำนวยการโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”

๕๘ รายละเอียดแนบท้ายประกาศโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ........................................................... มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณตาม เกณฑ์ของแต่ละดับชั้น ๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๓.๓ มีการบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก

ระดับดีเลิศ (๔) 79 79 69 79 69 79 79 79 79 79 ระดับยอดเยี่ยม (๕) 89 89 89 89 89 89 ระดับดีเลิศ (๔) 89 79 79

๕๙ ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

QR Code เอกสาร / ร่องรอยหลักฐาน

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ปีการศึกษา 2562

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2562

ผลการคิดวิเคราะห์ ปีการศึกษา 2562

79 79

๖๐

ผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา 2562

ผลการประเมินจากครู (มาตรฐานที่ 2 และ3) ปีการศึกษา 2562

ผลรางวัล ความสำเร็จของครูและนักเรียน ปีการศึกษา 2562

ผลการศึกษาต่อของนักเรียน ปีการศึกษา 2562

ประมวลภาพกิจกรรมของโรงเรียน ปีการศึกษา 2562

เว็บไซต์ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา”

๖๑ คณะผู้จัดทำเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ที่ปรึกษา 1. 2. 3. 4. 5.

นายกระจาย หนูคงแก้ว นางมาริสา วิเชียรโชติ นางสุดารัตน์ นวลสงค์ นายพิชิต ศรีสงคราม นางแววตา เกษตรชีวากรณ์

ผู้อำนวยการโรงเรียนโรงเรียนควนกาหลงวิทยาคม “นิคมวัฒนา” หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล หัวหน้ากลุ่มบริหารงานงบประมาณ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ

ผู้ให้ข้อมูล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23.

นางมาริสา วิเชียรโชติ นางศิรญา ไชยพูล นางแววตา เกษตรชีวากรณ์ นางสนธยา สัญญา นางสาวฮาลีม๊ะ รอเกตุ นางสาวสุจิตรา ติงสา นางปรีดา แก้วเขียว นางสุภาวดี ผลมูล นายพิชิต ศรีสงคราม นางเตือนจิต สุวรรณะ นางสิทธินี ศรีสงคราม นายเชิดศักดิ์ วิเชียรโชติ นางลำไพ ศรีปาน นางสาวเยาวดี แท่นมณี นายธีธัช ชาตโร นางวริศรา แสงขำ นางสุดารัตน์ นวลสงค์ นางสมคิด ขุนฤทธิ์แก้ว นางสุชะฎา ศรีอำภรณ์ นางสาวอารีด้า นุ้ยเด็น นายอิสมาแอล ปูยัง นางสาวจนิสตา และเจริญ ว่าที่ รต.หญิงเจนจิรา เส็มหลี

ผู้รวบรวมข้อมูล และจัดทำรายงาน นายอิสมาแอล ปูยัง

24. 25. 26. 27. 16.

นางสาวนุจญ์มา ฮับยุโส๊ะ นางสาวรอซมี่ ตาเดอิน นายอับดลฮาลีม รอเกตุ นางนารีมาน หลีเส็น นางวริศรา แสงขำ

๖๒

Data Loading...