เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย - PDF Flipbook

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

358 Views
2 Downloads
PDF 2,890,154 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


เครื่องราชอิสริยาภรณไทย กอนที่จะกลาวถึง การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนทีเ่ ชิดชูยิ่งชางเผือก และเครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทยใหแกขา ราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ ในบทนี้จะขอกลาวถึงเครื่องราชอิสริยาภรณไทยเกีย่ วกับความหมาย ประเภทและชนิดหรือตระกูล ของเครื่องราชอิสริยาภรณไทย และรายละเอียดเกีย่ วกับเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก และ เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ไดแก ประเภทและชื่อ ชัน้ และอักษรยอ การพระราชทาน ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ เครื่องหมายแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครือ่ งหมายดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจใน เบื้องตนเกีย่ วกับเครื่องราชอิสริยาภรณไทย

ความหมาย : เครื่องราชอิสริยาภรณ คือ สิ่งซึ่งเปนเครื่องหมายแสดงเกียรติยศ และบําเหน็จ ความชอบ เปนของพระมหากษัตริยท รงสรางขึ้นสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการ หรือสวนพระองค เรียกเปนสามัญวา ตรา เครื่องราชอิสริยาภรณ คือ เครื่องหมายที่ใชประดับสําหรับเกียรติยศ สมเด็จกรม พระยาดํารงราชานุภาพไดทรงพระนิพนธไวในหนังสือตํานานเครื่องราชอิศริยาภรณสยามวา “เปน ของซึ่งพระเจาแผนดินพระราชทานเปนเครื่องหมายเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ” และปรากฏ ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อันเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศไดยนื ยันในพระราชอํานาจ ของพระมหากษัตริยต ามความในพระนิพนธที่ไดยกมาอางขางตนสืบตอ ๆ มาโดยตลอด อาทิเชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ไดตราไวความวา “มาตรา 9 พระมหากษัตริย ทรงไวซงึ่ พระราชอํานาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิแ์ ละพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ” คําวา “เครื่องราชอิสริยาภรณ” นีป้ รากฏใชเปนครั้งแรกในพระราชบัญญัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ พ.ศ.2432 (ร.ศ.108) กอนนั้นขึน้ ไปมีคําที่ใชในความหมายเชนนี้หลายคํา เชน “เครื่องราชอิศริยยศ” “เครื่องสําคัญยศ” และ “เครื่องประดับสําหรับยศ” เปนตน

-2-

ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณไทย : เครื่องราชอิสริยาภรณไทยในปจจุบันแบงออกไดเปน 4 ประเภท ดังนี้

ประเภทที่ 1 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับพระราชทานแกประมุขของ

รัฐตางประเทศ คือ

เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนมงคลยิง่ ราชมิตราภรณ (ร.ม.ภ.) มีชั้น สายสะพายชัน้ เดียว สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พุทธศักราช 2505 สําหรับพระราชทานแกประมุขของประเทศ (Head of State)

ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับบําเหน็จความชอบในราชการ

แผนดิน มี 8 ชนิด

1) เครื่องขัดติยราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติคณ ุ รุงเรืองยิ่งมหาจักรี บรมราชวงศ (ม.จ.ก.) มีชั้นสายสะพายชัน้ เดียว สถาปยาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั เมื่อพุทธศักราช 2425 เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยแ หงพระบรมราชจักรีวงศ ที่ไดทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเปน ราชธานีมาครบ 100 ป สําหรับพระราชทานแกพระบรมวงศานุวงศซึ่งสืบเนื่องโดยตรงในพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และผูซึ่งพระบรมวงศานุวงศดังกลาวไดเสกสมรสดวย 2) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) มีชั้นสายสะพายชัน้ เดียว สถาปยาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั เมื่อ พุทธศักราช 2401 – 2502 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางดารานพรัตนขึ้นสําหรับใชประดับที่เสื้อ ซึง่ ทรงเรียกวา “เครื่องประดับสําหรับยศ” นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางแหวนนพ รัตน สําหรับพระราชทานแกพระราชวงศฝา ยหนาและฝายใน ตลอดจนขาราชการชั้น ผูใ หญซงึ่ เปนพุทธมามกะ ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวทรงพระกรุณาโปรด เกลาฯ ใหสรางดวงตรามหานพรัตน สําหรับหอยสายสะพายขึ้นเปนครั้งแรกของเครื่องราช อิสริยาภรณไทย เมื่อพุทธศักราช 2412 3) เครื่องราชอิสริยาภรณจุลจอมเกลา สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั เมือ่ พุทธศักราช 2416 สําหรับพระราชทานแกฝา ยหนา (บุรษุ ) และฝายใน (สตรี) และพระราชทานผูสืบตระกูล สตรีสามัญชนซึ่งสมรสแลว 4) เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีศกั ดิ์รามาธิบดี สถาปนาในรัชสมัยพระบาท สมเด็จระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั เมื่อพุทธศักราช 2461 สําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบแก

-3ผูที่ไดทําความชอบพิเศษ หรือเปนประโยชนเปนผลดีแกราชการทหารทั้งในเวลาสงครามหรือใน ยามสงบศึก มี 6 ชั้น 5) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก เริ่มสถาปนาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั สําหรับพระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบ เปนประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร มี 8 ชั้น 6) เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย เริ่มสถาปนาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั สําหรับพระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปน ประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร มี 8 ชั้น 7) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ สถาปนา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช 2534 สําหรับพระราชทาน แกผกู ระทําความดีความชอบอันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชน ตามที่ทรงพระราช ดําริเห็นสมควร มี 7 ชั้น 8) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนสิริยงิ่ รามกีรติ ลูกเสือสดุดชี ั้นพิเศษ มีชั้นเดียว สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมพิ ลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช 2530 ในโอกาสครบรอบ 75 ป ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานกําเนิดกิจการลูกเสือไทย เมื่อพุทธศักราช 2455 และเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมพิ ลอดุลยเดช ในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ อีกทั้งเพื่อสงเสริมกําลังใจแกผูอุทศิ ตนในกิจการลูกเสืออยางแทจริง

ประเภทที่ 3 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับบําเหน็จความชอบในพระองค พระมหากษัตริย สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั มี 3 ชนิด คือ

1) เครื่องราชอิสริยาภรณรตั นวราภรณ 2) เครื่องราชอิสริยาภรณวลั ลภาภรณ 3) เครื่องราชอิสริยาภรณวชิรมาลา ปจจุบันเครื่องราชอิสริยาภรณทั้ง 3 ชนิดดังกลาวพนสมัยการพระราชทานแลว มี 4 ชนิด คือ

ประเภทที่ 4 เหรียญราชอิสริยาภรณตาง ๆ ซึง่ นับเปนเครื่องราชอิสริยาภรณ 1) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จกลาหาญ 1.1 เหรียญกลาหาญ 1.2 เหรียญชัยสมรภูมิ

-41.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

เหรียญพิทักษเสรีชน เหรียญปราบฮอ * เหรียญงานพระราชสงครามยุโรป * เหรียญราชนิยม * เหรียญพิทักษรฐั ธรรมนูญ * เหรียญศานติมาลา *

2) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จในราชการ 2.1 เหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา 2.2 เหรียญชวยราชการเขตภายใน * 2.3 เหรียญราชการชายแดน 2.4 เหรียญจักรมาลา 2.5 เหรียญจักรพรรดิมาลา 2.6 เหรียญศารทูลมาลา * 2.7 เหรียญบุษปมาลา * 2.8 เหรียญลูกเสือสรรเสริญ 2.9 เหรียญลูกเสือสดุดี 3) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จในพระองคพระมหากษัตริย 3.1 เหรียญรัตนาภรณ * 3.2 เหรียญราชรุจิ * 4) เหรียญที่พระราชทานเปนที่ระลึก 4.1 เหรียญสตพรรษมาลา * 4.2 เหรียญรัชฎาภิเศกมาลา * 4.3 เหรียญประพาสมาลา * 4.4 เหรียญราชินี * 4.5 เหรียญทวีธาภิเศก * 4.6 เหรียญรัชมงคล * 4.7 เหรียญรัชมังคลาภิเศก * _____________________________________________________________________________ * เปนเหรียญราชอิสริยาภรณที่พนสมัยการพระราชทานแลว

-54.8 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6* 4.9 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 7* 4.10 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9** 4.11 เหรียญชัย * 4.12 เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ป * 4.13 เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ 4.14 เหรียญทีร่ ะลึกในการเสด็จพระราชดําเนินเยือนสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป 4.15 เหรียญรัชดาภิเษก 4.16 เหรียญสนองเสรีชน 4.17 เหรียญทีร่ ะลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 4.18 เหรียญทีร่ ะลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4.19 เหรียญทีร่ ะลึกสมโภชนกรุงรัตนโกสินทร 200 ป 4.20 เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ (พระชนมมายุครบ 50 พรรษา) 4.21 เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระชนมายุครบ 84 พรรษา) 4.22 เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหามงคลสมัยพระราชพิธีเฉลิมพระชนมายุ 60 พรรษา 4.23 เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหามงคลสมัยพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 4.24 เหรียญกาชาดสรรเสริญ 4.25 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 1 ** 4.26 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 2 ** 4.27 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 3 ** _______________________________________________________________________________ * เปนเหรียญราชอิสริยาภรณที่พนสมัยการพระราชทานแลว ** ประดับไดเฉพาะผูไดรบั พระราชทาน

-6ในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะความรูเกี่ยวกับเครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนทีเ่ ชิดชูยงิ่ ชางเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ไวพอสังเขป ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก : 1. ประเภทและชื่อ 1.1 ประเภท

: เครื่องราชอิสริยาภรณสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จ ความชอบในราชการแผนดิน 1.2 ชื่อ : เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก 1.3 ชือ่ ภาษาอังกฤษ : The Most Exalted Order of the White Elephant 1.4 ชือ่ ยอ : เครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก

2. ชั้น และอักษรยอ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก พ.ศ.2484 แบงเครื่องราชอิสริยาภรณนเี้ ปน 8 ชั้น โดยไดกําหนดนามดังตอไปนี้ 2.1 ชัน้ สูงสุด มหาปรมาภรณชา งเผือก อักษรยอ ม.ป.ช. (Knight Grand Cordon (Specia Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.2 ชัน้ ที่ 1 ประถมาภรณชา งเผือก อักษรยอ ป.ช. (Knight Grand Cross (First Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.3 ชัน้ ที่ 2 ทวีติยาภรณชา งเผือก อักษรยอ ท.ช. (Knight Commander (Second Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.4 ชัน้ ที่ 3 ตริตาภรณชา งเผือก อักษรยอ ต.ช. (Commander (Third Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.5 ชัน้ ที่ 4 จัตุรถาภรณชา งเผือก อักษรยอ จ.ช. (Companion (Fourth Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.6 ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณชา งเผือก อักษรยอ บ.ช. (Member (Fifth Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant)

-72.7 ชัน้ ที่ 6 เหรียญทองชางเผือก (The Gold Medal (Sixth Class) of the White Elephant)

อักษรยอ ร.ท.ช.

2.8 ชัน้ ที่ 7 เหรียญเงินชางเผือก (The Silver Medal (Seventh Class) of the White Elephant)

อักษรยอ ร.ง.ช.

3. การพระราชทาน - พระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการ หรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร ทรงพระราชทานทั้งบุรุษและสตรี - เจานายหรือผูมเี กียรติของตางประเทศอาจไดรับพระราชทานเครือ่ งราช อิสริยาภรณนไี้ ด - ผูที่ไดรบั พระราชทานตั้งแตชั้นที่ 5 ขึน้ ไป คือ ชัน้ เบญจมาภรณชางเผือก ขึ้นไป (บ.ช. – ม.ป.ช.) มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทับพระราชลัญจกรกํากับดวย สําหรับผูทีไ่ ดรับพระราชทานชั้นที่ 6 และชั้นที่ 7 คือ เหรียญทองชางเผือก และเหรียญเงินชางเผือก (ร.ท.ช. – ร.ง.ช.) มีการประกาศนามในราชกิจจานุเบกษาอยางเดียวไมมปี ระกาศนียบัตรกํากับ

4. ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ลักษณะและการประดับของเครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก ไดมีพระราช บัญญัตเิ ครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนทีเ่ ชิดชูยงิ่ ชางเผือก พ.ศ.2484 กําหนดลักษณะและการประดับ ของเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ดังตอไปนี้

-8ชัน้ สูงสุด : มหาปรมาภรณชา งเผือก ดวงตราดานหนาเปนรูปชางไอราพตลงยาสีขาวอยูบนพืน้ ทองในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีชมพูสลับแดงเกสรเงิน รอบนอกมีกระจังทองลงยาสีเขียวสีท่ ิศ มีรัศมีเปลวเงินตามระหวาง ดานหลังเปลี่ยนรูปชางเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร.ลงยาสีแดง เบื้องบนมีอณ ุ าโลมเงินและ พระมหามงกุฎทอง มีรัศมีหอยกับแพรแถบกวาง 10 เซนติเมตรสีแดงริมเขียวมีริ้วเหลืองริ้วน้ําเงินขนาดเล็ก ควบคัน่ ทั้งสองขาง สะพายบาซายเฉียงลงทางขวา กับมีดาราดานหนาอยางดวงตราแตยอมกวา ซอนอยูบนรัศมีเงินจําหลักเปนเพชรสรงสี่แฉกรัศมีทองสี่แฉก ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารามีขนาดยอมกวา และสายสะพาย มีขนาดยอมกวาใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร สะพายบาซายเฉียงลงทางขวา

-9ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณชา งเผือก ดวงตราดานหนาเปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทนอยูบนพื้นทองใน ดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดงสลับเขียวเกสรเงิน รอบนอกมีกระจังเงินแปดทิศ มีกระจังแทรกตาม ระหวาง ดานหลังเปลี่ยนรูปชางเผือกเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร.ลงยาสีแดง เบื้องบนมี พระมหามงกุฎทอง มีรัศมีหอยกับแพรแถบกวาง 10 เซนติเมตรสีแดงริมเขียวมีริ้วเหลือง ริ้วน้ําเงิน ขนาด ใหญควบคัน่ ทัง้ สองขาง สะพายบาขวาเฉียงลงทางซาย กับมีดาราดานหนาอยางดวงตราแตกระจังยาว กวา ดานหลังเปนทองประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดาราและสายสะพายมีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร สะพายบาขวาเฉียงลงทางซาย

- 10 ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางประถมาภรณแตยอ มกวา และที่พระมหามงกุฎไมมีรัศมี ดานหลังเปนทองเกลี้ยงหอยกับแพรแถบกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ กับมีดาราอยางประถมาภรณ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราและดาราขนาดยอมกวา ดวงตราใช หอยกับแพรแถบผูกเปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย

- 11 -

ไมมดี ารา บาซายแตไมมดี ารา

ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางทวีติยาภรณหอ ยกับแพรแถบกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราอยางทวีติยาภรณสตรี ประดับที่หนา

- 12 ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางตริตาภรณแตยอ มกวา หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร มีดอกไมจีบติดบนแพรแถบ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อทีห่ นาบาซาย

ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางจัตุรถาภรณแตไมมดี อกไมจีบ สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปน รูปแมลงปอ ประดับเสื้อทีห่ นาบาซาย

- 13 ชัน้ ที่ 6 : เหรียญทองชางเผือก เปนเหรียญเงินกลมกาไหลทอง ดานหนาเปนรูปชางเผือกอยูในดอกบัวบาน ดานหลังเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร. เบื้องบนมีพระมหามงกุฎหอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่ หนาบาซาย

หนาบาซาย

ชัน้ ที่ 7 : เหรียญเงินชางเผือก มีลักษณะอยางเหรียญทอง แตไมมกี าไหลทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่

- 14 -

5. ลักษณะและการประดับเครื่องหมายสําหรับประดับเแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครื่องหมายที่ใชสาํ หรับเปนดุมเสื้อ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับ แทนเครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาสแตงกายเครื่องแบบปกติขาว เครือ่ งแบบปฏิบัติราชการ หรือ เครื่องแบบปฏิบัติงานอื่น ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อ ใชประดับแทนเครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาส แตงชุดไทยสีสภุ าพประดับที่เหนือกระเปาซาย และชุดสากลประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากล เบื้องซาย โดยจะประดับชั้นสูงสุดเพียงดวงเดียว สําหรับสตรีใหประดับไดเฉพาะกับชุดไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรินทร และชุดไทยบรมพิมาน พระราชกฤษฎีกากําหนดเครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณและที่ใชเปนดุมเสื้อ พ.ศ.2498 และแกไขเพิม่ เติม ไดกําหนดลักษณะของเครือ่ งหมาย ประดับแพรแถบและเครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อไว 7 ตระกูล ซึ่งในที่นจี้ ะกลาวเฉพาะเครื่องราช อิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ดังตอไปนี้ เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ใหมเี ครื่องหมายสําหรับ ประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณและเครื่องหมายดุมเสื้อ ตั้งแตชั้นเบญจมาภรณขึ้นไป ดังนี้ ชัน้ สูงสุด : มหาปรมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางไอราพต ลงยาสีขาวติดไว กลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ มหาปรมาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปา เสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางไอราพต ลงยาสีขาวติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นมหาปรมาภรณชางเผือก ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

- 15 ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทน อยูในดอกบัวบานกลีบลงยาสีแดงสลับเขียว เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ประถมาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทนอยูในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดงสลับเขียว เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของ เครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นประถมาภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ น ดอกบัวบานทอง เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีตยิ าภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ นดอกบัวบานทอง เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ทวีตยิ าภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปา ซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

- 16 ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ น ดอกบัวบานเงิน เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ นดอกบัวบานเงิน เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นตริตาภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปา ซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนทอง ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตุรถาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปก กระเปาเสื้อเบือ้ งซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนทอง ติดไวกลางดุม ซึง่ ทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ จัตุรถาภรณชา งเผือก ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกาย ชุดไทย

- 17 ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นเบญจมาภรณชางเผือก ประดับทีอ่ กเสื้อเหนือ ปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนเงิน ติดไวกลางดุม ซึง่ ทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ เบญจมาภรณชา งเผือก ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกาย ชุดไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย : 1. ประเภทและชื่อ 1.1 ประเภท

: เครื่องราชอิสริยาภรณสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จ ความชอบในราชการแผนดิน 1.2 ชื่อ : เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย 1.3 ชือ่ ภาษาอังกฤษ : The Most Noble Order of the Crown of Thailand 1.4 ชือ่ ยอ : เครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย

2. ชั้น และอักษรยอ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2484 แบงเครื่องราชอิสริยาภรณนเี้ ปน 8 ชั้น โดยไดกําหนดนามดังตอไปนี้ 2.1 ชัน้ สูงสุด มหาวชิรมงกุฎ อักษรยอ ม.ว.ม. (Knight Grand Cordon of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.2 ชัน้ ที่ 1 ประถมาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ป.ม. (Knight Grand Cross (First Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand)

- 18 2.3 ชัน้ ที่ 2 ทวีติยาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ท.ม. (Knight Commander (Second Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.4 ชัน้ ที่ 3 ตริตาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ต.ม. (Commander (Third Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.5 ชัน้ ที่ 4 จัตุรถาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ จ.ม. (Companion (Fourth Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.6 ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ บ.ม. (Member (Fifth Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.7 ชัน้ ที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (The Gold Medal (Sixth Class) of the Crown of Thailand)

อักษรยอ ร.ท.ม.

2.8 ชัน้ ที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย (The Silver Medal (Seventh Class) of the Crown of Thailand)

อักษรยอ ร.ง.ม.

3. การพระราชทาน - พระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการ หรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร ทรงพระราชทานทั้งบุรุษและสตรี อิสริยาภรณนไี้ ด

- เจานายหรือผูมเี กียรติของตางประเทศอาจไดรับพระราชทานเครือ่ งราช

- ผูที่ไดรบั พระราชทานตั้งแตชั้นที่ 5 ขึน้ ไป คือ ชัน้ เบญจมาภรณมงกุฎไทย ขึน้ ไป (บ.ม. – ม.ว.ม.) มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทับพระราชลัญจกรกํากับดวย สําหรับ ผูที่ไดรับพระราชทานชั้นที่ 6 และชั้นที่ 7 คือ เหรียญทองมงกุฎไทย และเหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ท.ม. – ร.ง.ม.) มีการประกาศนามในราชกิจจานุเบกษาอยางเดียวไมมปี ระกาศนียบัตรกํากับ

4. ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ลักษณะและการประดับของเครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย ไดมีพระราช บัญญัตเิ ครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2484 กําหนดลักษณะและการประดับ ของเครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ดังตอไปนี้

- 19 – ชัน้ สูงสุด : มหาวชิรมงกุฎ ดวงตราเปนกลีบบัวทองแววลงยาสีแดงสีก่ ลีบ มีพระมหาวชริราวุธเงินแทรก สลับตามระเบียบ กลางดวงตรามีอักษรพระปรมาภิไธยยอ ร.ร. กับเลข 6 เปนเพรชสรงมี เนื้อสีเงินลอมรอบอยูภายใตพระมหามงกุฎทอง เบื้องบนมีพระเศวตฉัตรรัศมีทอง หอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 10 เซนติเมตร สีครามแกมีรวิ้ แดงริ้วขาวอยูรมิ ทั้งสองขาง สายสะพายบาซายเฉียงลงมา ทางขวา กับมีดาราเปนรัศมีเงินสี่ทิศ มีรัศมีสายฟาทองแทรกสลับตามระหวางกลางดาราเหมือนอยาง ดวงตรา แตอกั ษรพระปรมาภิไธยยอประดับเพชรและไมมพี ระเศวตฉัตร ประดับทีอ่ กเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดาราและสายสะพาย มีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร

- 20 – ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณมงกุฎไทย ดวงตราเปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง พื้นลงยาสีนา้ํ เงิน และสีแดง มีกระจังเงินใหญสี่ทิศเล็กสี่ทิศ มีรัศมีทองสลับตามระหวาง ดานหลังเปลีย่ นพระมหา มงกุฎเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. เบื้องบนมีจลุ มงกุฎหอยกับแพรแถบขนาดกวาง 10 เซนติเมตร สีน้ําเงินริมเขียว มีริ้วเหลืองริ้วแดงขนาดใหญควบคัน่ ทั้งสองขาง สะพายบาขวาเฉียงลงมาทางซาย กับมีดารารูปอยางดานหนาดวงตรา แตไมมจี ลุ มงกุฎ ดานหลังเปนทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารา และสายสะพาย มีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร

- 21 – ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางประถมาภรณ แตดานหลังเปนทองเกลี้ยง หอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ กับมีดาราอยางประถมาภรณ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารา มีขนาดยอมกวา ดวงตราใช หอยกับแพรแถบผูกเปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย

- 22 –

มีดารา หนาบาซาย

ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางทวีติยาภรณ หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอไม สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราอยางทวีติยาภรณ ไมมดี ารา ประดับเสื้อที่

- 23 – ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางตริตาภรณแตยอ มกวา หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร มีดอกไมจีบติดบนแพรแถบ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปนรูป แมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย

ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางจัตุรถาภรณ แตไมมดี อกไมจบี สําหรับพระราชทานสตรี ลักษณะเชนเดียวกัน แตแพรแถบใหผกู เปนรูป แมลงปอ ประดับเสื้อที่บาหนาซาย

- 24 – ชัน้ ที่ 6 : เหรียญทองมงกุฎไทย เปนเหรียญเงินกลมกาไหลทอง ดานหนาเปนรูปพระมหามงกุฎอยูใ น ลายหวานลอม ดานหลังเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. เบื้องบนมีจุลมงกุฎหอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 3 เซนติเมตร ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลปอ ประดับเสื้อ ที่บา หนาซาย

ชัน้ ที่ 7 : เหรียญเงินมงกุฎไทย มีลักษณะอยางเหรียญทอง แตไมมกี าไหลทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอทํานองเดียวกับเหรียญทอง ประดับเสื้อทีบ่ า หนาซาย

- 25 –

5. ลักษณะและการประดับเครื่องหมายสําหรับประดับเแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครื่องหมายที่ใชสาํ หรับเปนดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับแทน เครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาสแตงกายเครือ่ งแบบปกติขาว เครื่องแบบปฏิบัติราชการ หรือ เครื่องแบบปฏิบัติงานอื่น ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับแทนเครื่องราช อิสริยาภรณในโอกาสแตงชุดไทยสีสุภาพประดับที่เหนือกระเปาซาย และชุดสากลประดับที่รังดุมคอพับ ของเสื้อสากลเบื้องซาย โดยจะประดับชั้นสูงสุดเพียงดวงเดียว สําหรับสตรีใหประดับไดเฉพาะกับ ชุดไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรินทร และชุดไทยบรมพิมาน พระราชกฤษฎีกากําหนดเครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณและที่ใชเปนดุมเสื้อ พ.ศ.2498 และแกไขเพิม่ เติม ไดกําหนดลักษณะของเครือ่ งหมาย ประดับแพรแถบและเครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อไว 7 ตระกูล ซึ่งในที่นจี้ ะกลาวเฉพาะเครื่องราช อิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ดังตอไปนี้ เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ใหมีเครือ่ งหมายสําหรับ ประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณและเครื่องหมายดุมเสื้อ ตั้งแตชั้นเบญจมาภรณขึ้นไป ดังนี้ ชัน้ สูงสุด : มหาวชิรมงกุฎ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูป ร.ร.๖ เพชรสรงเงินกับ พระมหามงกุฎทองติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นมหาวชิรมงกุฎ ประดับที่ อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปร.ร.๖ เพชรสรงเงินกับพระมหามงกุฎทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ มหาวชิรมงกุฎ ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุด ไทยสีสภุ าพ

- 26ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูใน ลายหวานลอมทอง พืน้ ลงยาสีนา้ํ เงินและสีแดงติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นประถมาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง พืน้ ลงยาสีน้ําเงินและสีแดงติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราช อิสริยาภรณ ชัน้ ประถมาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูใน ลายหวานลอมทอง ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีติยาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีติยาภรณ มงกุฎไทย ใหประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซาย ของเครื่องแตงกายชุดไทย

- 27 – ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวาน ลอมเงินติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมเงิน ติดไว กลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณมงกุฎไทย ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุด ไทย

ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎทองติดไวกลาง แพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตรุ ถาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้อง ซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตุรถาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

- 28 – ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎเงิน ติดไว กลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ เบญจมาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปา เสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นเบญจมาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย

ในบทตอไปจะกลาวถึงหลักเกณฑ แนวทาง และกระบวนการขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณประจําป โดยเฉพาะเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนทีเ่ ชิดชูยิ่งชางเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

Data Loading...