ตะกร้าโควิด-19 - PDF Flipbook

ตะกร้าโควิด-19

134 Views
90 Downloads
PDF 2,349,408 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

คำนำ สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) มีการระบาดในวงกวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวโนม ที่จะเกิดการแพรระบาดใน สถานศึกษา ดังนั้น การสรางความตระหนัก รูเทาทัน และเตรียมความพรอมในการรับมือกับการระบาดของ โรคอยางมีป ระสิทธิภาพ จึงมีความจำเปนอยางยิ่ง เพื่อลดความเสี่ยงปองกันไมใหส งผลกระทบตอสุขภาพ นักเรียน ครู ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเปนทรัพยากรที่สำคัญในการเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติสำหรับ สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 อยางตอเนื่องโดยเนน ความสอดคลองกับบริบท ของสถานศึกษาและเอื้ออำนวยใหเกิดการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิท ธิภาพ เพื่อใหนักเรียนและบุคลากรใน สถานศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยูไดอยางปลอดภัย คณะผู  จั ดทำ มุ  งหวั ง ให ส ำหรั บ สถานศึ ก ษาและผู  ท ี ่ เ กี ่ ย วข องสามารถนำไปใช ต ามบริ บ ทและ สถานการณของแตละสถานศึกษาภายใตความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อปองกันการแพรระบาดของ โรคโควิด 19 ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอไป

คณะผูจัดทำ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ก

สารบัญ

เรื่อง หนา 1. ความสำคัญของผลงาน/นวักรรมความรอบรูดานสุขภาพ จุดประสงคและเปาหมาย ๑ ๑.๑ ความเปนมาและสภาพปญหาปจจุบัน ๑ ๑.๒ แนวทางการแกปญหาและการพัฒนา ๒ ๑.๓ การกำหนดจุดประสงคและเปาหมาย ๒ ๒. กระบวนการผลิตผลงาน/นวัตกรรม ๒ ๒.๑ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดานสุขภาพ หรือขั้นตอนการดำเนินการ ๒ ๒.๒ การดำเนินการตามกิจกรรม ๔ ๒.๓ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ๙ ๒.๔ การใชทรัพยากร ๑๓ ๓. ผลการดำเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนที่ไดรบั ๑๓ ๓.๑ ผลงานที่เกิดตามจุดประสงค ๑๔ ๓.๒ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ๑๔ ๓.๓ ประโยชนที่ไดรับ ๑๕ ๔. ปจจัยความสำเร็จ ๑๕ ๔.๑ สิ่งที่ชวยใหงานประสบความสำเร็จ ๑๕ ๕. บทเรียนที่ไดรบั ๑๖ ๕.๑ การระบุขอมูลที่ไดรบั จากการผลิตและการนำผลงานไปใช ๑๖ ๖. การขยายผล/เผยแพร/การไดรบั การยอมรับ/รางวัลที่ไดรบั ๑๖ ๖.๑ การขยายผล/เผยแพร ๑๖ ๖.๒ การไดรับการยอมรับ/รางวัลที่ไดรบั ๑๗ ๗. ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรม ๑๙ ๗.๑ ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดานสุขภาพ ตอการพัฒนาผูเรียนตาม จุดมุงหมายของหลักสูตร ๒๑ ๗.๑ ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดานสุขภาพ ของผูมสี วนไดสวนเสีย ๒๑ ภาคผนวก ๒๓

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ข

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดา นสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙” 1. ความสำคัญของผลงาน/นวักรรมความรอบรูดา นสุขภาพ จุดประสงคและเปาหมาย ๑.๑ ความเปนมาและสภาพปญหาปจจุบัน สถานศึ กษาเปนนสถาบั นทางสั งคมพื้ นฐาน เป นจุ ดเริ ่ มต นของการปลู กฝงความรู  ทั ศนคติ และ พฤติกรรมในทุกดาน มีหนาที่พัฒนาเด็กวัยเรียนใหเติบโต เปนผูใหญที่มีศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตในสังคม ไดอยางมีคุณภาพ เนื่องจากสถานศึกษาเปนศูนยรวมของเด็ก ในชุมชนที่มาจากครอบครัวที่ตางกันจึงเปนปจจัย สำคัญ ที่กอใหเกิดปญหาโรคตาง ๆ เมื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่ง เจ็บ ปวยดวยโรคติดตอและมาเขาเรี ยนใน สถานศึกษา จึงมีโอกาสที่จะแพรกระจายเชื้อโรคไปสูนักเรียนคนอื่น ๆ ได จากการเลน การใกลชิด และทำ กิจกรรมรวมกัน สถานศึกษาจึงเปนสถานที่สำคัญมากตอการสงเสริมสุขภาพ และปองกันโรค หรืออาจเปรียบ ไดวา “สถานศึกษา” นับเปน “Shelter” สำหรับนักเรียน ที่ตองคำนึง และใหความสำคัญกับเรื่องดังกลาว เปนอันดับแรก ๆ ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID19) ซึ่งขณะนี้ ยังไมมีวัคซีนปองกันโรคและไมมียารักษาโรคโดยตรง จำเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองเตรียม ความพรอม รับ มือกับสถานการณการแพรระบาดของโรคดังกลาว ที่จะสงผลกระทบอยางมากตอระบบการ จัดการเรียนการสอน และสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา สิ่งสำคัญที่สุดในชวงระยะเวลาตอ จากนี้ไป ทั้งผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง และบุคลากรของสถานศึกษา ตองปรับตัวกับการใชชี วิต วิ ถีใหม “New Normal” เนนการปฏิบัติภายใตมาตรการการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 อยางเครงครัด เพื่อใหสถานศึ กษาเป นสถานที ่ที ่ปลอดภัยจากโรคโควิ ด 19 สงผลใหนักเรียนสามารถเรี ยนรู ได อยางเต็ ม ศักยภาพ และปลอดภัยจากโรค ดวยสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) มีการระบาดในวงกวางอยางตอเนื ่อง โดยเฉพาะอยางยิ ่ง แนวโนมที่จะเกิ ดการแพรระบาดในสถานศึ กษา กระทรวงศึกษาธิการ มีความตระหนักถึงสถานการณดังกลาว และคำนึงถึง ความปลอดภัยและสุขภาพของ นักเรียน ครูผ ูสอน และ บุคลากรทางการศึกษา โดยตระหนักอยูเสมอ ไมวาสถานการณแวดลอม จะเลวราย และรุนแรงแคไหน การเรียนรูที่เขาถึงและมีคุณภาพสำหรับ เด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุด ตามแนวคิด “การเรียนรูนำการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได แตการเรียนรูหยุดไมได” ทั้งนี้เพื่อใหการจัดการเรียนการสอน สามารถเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด กระทรวงศึกษาธิการ มุงเนนการประสานความรวมมืออยางบูรณา การและเขมแข็งกับทุกภาคสวนรวมถึง การใชกลไกความรวมมือของผูปกครองและชุมชนในการดูแลนักเรี ยน นักศึกษา โดยคำนึงถึง ความปลอดภัยสูงสุด ภายใตสถานการณ วิกฤติท ี ่เ กิ ดขึ้น ควบคูกับการสรางความ ตระหนักใหเ กิดความรอบรูดานสุขภาพแกนักเรียน อันเปนทรัพยากรที่สำคัญในการขับ เคลื่อนและพัฒนา ประเทศในอนาคตตอไป

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑

โรงเรียนบานแกงยาง จึงไดจัดทำนวัตกรรม “ตะกราปองกันโควิด-๑๙” ซึ่งเปนนวัตกรรมดานการ ปองกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (COVID-19) เพื่อเปนการควบคุมเฝาระวังและ ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแก นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูความเขาใจ และมีทักษะชีวิตตามมาตรการปองกันโรคติ ดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ซึ่งจะสงผลตอพฤติกรรมดานความรอบรูดา นสุขภาพที่ ยั่งยืนตอไป ๑.๒ แนวทางการแกปญหาและการพัฒนา จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) มีการระบาดในวงกวางอย างตอเนื่ อง โดยเฉพาะอยางยิ่ งแนวโน มที่จะเกิ ดการแพรระบาดในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบานแกงยาง มีความตระหนักถึงสถานการณ ดังกลาว และคำนึงถึง ความปลอดภัยและสุขภาพของนักเรียน ครู ผู สอน และ บุคลากรทางการศึกษา โดย ตระหนักอยูเสมอ ไมวาสถานการณแวดลอม จะเลวรายและรุนแรงแคไหน การเรียนรูท ี่เขาถึงและมีคุณภาพ สำหรับ เด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุด ตามแนวคิด “การเรียนรูนำการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได แตการ เรี ยนรู  ห ยุ ดไม ได ” ทั ้ งนี้ เ พื ่ อ ใหก ารจั ด การเรี ยนการสอนสามารถเกิด ขึ ้ น ได อย างมี ป ระสิท ธิ ภ าพสู ง สุ ด กระทรวงศึกษาธิการ โดยคำนึงถึง ความปลอดภัยสูงสุด ภายใตสถานการณวิกฤติที่เกิดขึ้น ควบคูกับการสราง ความตระหนักใหเกิดความรอบรูดานสุขภาพแกนักเรียน อันเปนทรัพยากรที่สำคัญในการขับเคลื่อนและพัฒนา ประเทศในอนาคตตอไป จึงมีการประชุมปรึกษาหารือของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อหาแนว ทางการแกปญหาและพัฒนานวัตกรรม“ตะกราปองกันโควิด-๑๙” ๑.๓ การกำหนดจุดประสงคและเปาหมาย ๑. เพื่อสงเสริมใหความรูเ กี่ยวกับมาตรการควบคุมและปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแกนักเรียนโรงเรียนบานแกงยาง ๒. เพื่อใหนักเรียนโรงเรียนบานแกงยางทุกคนมีวัสดุอปุ กรณในการปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ๓. เพื่อพัฒนานวัตกรรมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามบริบท ของโรงเรียนบานแกงยาง ๒. กระบวนการผลิตผลงาน/นวัตกรรม ๒.๑ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดา นสุขภาพ หรือขั้นตอนการดำเนินการ จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) จึงมีการประชุมวางแผนคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ เพื่อหาแนวทางหรือนวัตกรรม ในการควบคุมและปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแกนักเรียนโรงเรียนบานแกงยาง ดังนี้ การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒

๒.๑.๑ รูจักโรคโควิด 19 ๑. โรคโควิด 19 คืออะไร ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 เปนตระกูลของไวรัสที่กอใหอาการปวย ตั้งแตโรคไขหวัดธรรมดาไป จนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เชน โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบ ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เปนตน ซึ่งเปนสายพันธุใหมทไี่ มเคยพบมากอนในมนุษยกอให เกิดอาการปวยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพรเชื้อจากคนสูคนได โดยเชื้อไวรัสนี้พบครั้งแรกใน การระบาดในเมืองอูฮั่น มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน ในชวงปลายป 2019 หลังจากนั้น ไดมีการ ระบาดไปทั่วโลก องคการอนามัยโลกจึงตั้งชื่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหมนี้ วา โรคติดเชื้อไวรัส โคโร นา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID – 19)) ๒. อาการของผูป วยโรคโควิด 19 มีอาการอยางไร อาการทั่วไป ไดแก อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรรู ส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำใหเกิดภาวะแทรกซอน เชน ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต ๓. โรคโควิด 19 แพรกระจายเชื้อไดอยางไร โรคชนิดนี้มีความเปนไปไดทมี่ ีสัตวเปนแหลงรังโรค สวนใหญแพรกระจายผานการสัมผัสกับผูตดิ เชื้อ ผานทางละอองเสมหะจากการไอ น้ำมูก น้ำลาย ปจจุบันยังไมมหี ลักฐาน สนับสนุนการแพรกระจายเชื้อผาน ทางการพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัสแลวมาสัมผัส ปาก จมูก และตา ๔. โรคโควิด 19 รักษาไดอยางไร ยั ง ไม มี ย าสำหรั บ ป อ งกั น หรื อ รั ก ษาโรคโควิ ด 19 ผู ท ี ่ ต ิ ด เชื ้ อ อาจต อ งได ร ั บ การรั ก ษาแบบ ประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกตางกัน บางคนรุนแรงไมมาก ลักษณะเหมือนไขหวัดทั่วไป บาง คนรุนแรงมาก ทำใหเกิดปอดอักเสบได ตองสังเกตอาการ ใกลชิดรวมกับการรักษาดวยการประคับประคอง อาการจนกวาจะพนอาการชวงนั้น และยังไมมียาตัวใดที่มีหลักฐานชัดเจนวา รักษาโรคโควิด 19 ไดโดยตรง ๕. ใครบาง ที่เสีย่ งสูงตอการติดโรคโควิด 19 กลุมเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ ไดแก ผูที่เพิ่งกลับจากพื้นที่เสี่ยง สัมผัสใกลชิด ผูปวยสงสัยติด เชื้อ กลุมเสี่ยงที่ตองระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ไดแก ผูส ูงอายุ 70 ปขึ้นไป ผูปวยโรคเรื้อรัง เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมิแพ เด็กเล็กอายุต่ำกวา 5 ป ๒.๑.๒ มาตรการการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน (Preparation before reopening) จากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด 19 สงผลกระทบอยางมากตอทุกภาคสวน เมื่อสถาน การณ เปนไปในทางที่ดีขึ้น การเปดสถานศึกษาหลังจากปด จากสถานการณ โควิด 19 มีความจำเปนอยางยิ่ง ในการ เตรียมความพรอมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อลด การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๓

โอกาส การติดเชื้อและปองกันไมใหเกิดการติดเชื้อโรคโควิด 19 ใหเกิดความปลอดภัยแกทุกคน จึงควรมีการ ประเมิน ความพรอมการเปดภาคเรียนของสถานศึกษา ซึ่งองคการเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติและองคกรภาคี ไดเสนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ไดแก การดำเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู การครอบคลุมถึงเด็กดอย โอกาส สวัสดิภาพและการคุมครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสรางความเชื่อมโยงกับ มาตรการปองกันโรคเพือ่ ปองกันการแพรระบาดของโควิด 19 ของศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) อันจะเปนการวางแผนที่จะชวยสรางเสริมความเขมแข็ง ดานการคุมครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงาน เพื่อ ความปลอดภั ยจากการลดการแพร เชื ้ อโรค 6 ข อปฏิ บ ั ติ ในสถานศึ กษา ได  แ ก 1. คั ดกรองวัด ไข 2. สวม หนากาก 3. ลางมือ 4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออัด จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) จึงมีการประชุมวางแผนคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อหาแนวทางหรือนวัตกรรมในการควบคุมและ ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแกนักเรียน โรงเรียนบานแกงยาง จึงทำ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙” จากนั้นจึงไดศึกษาคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับ วัส ดุ อุป กรณท ี่จำนำมาใชทำนวัตกรรม “ตะกราปองกันโควิด-๑๙” เพื่อนำมาใชไดจริงในการควบคุมและปองกัน การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแกนักเรียนโรงเรียน บานแกงยาง ๒.๒ การดำเนินการตามกิจกรรม ศึกษา 6 ขอปฏิบัติในสถานศึกษา รองรับสถานการณโควิด 19 ไดแก 1. คัดกรองวัดไข 2. สวม หนากาก 3. ลางมือ 4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออัด เพื่อนำมาใชไดจริงในการควบคุมและ ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ใหแกนักเรียน โรงเรียนบานแกงยาง ดังนี้ ๒.๒.๑ วิธีการตรวจคัดกรองวัดไข (Screening) ขั้นตอนการตรวจคัดกรองวัดไขหรือวัดอุณหภูมิรางกายทางหนาผาก 1. ตั ้ ง ค า การใช ง านเป นโหมดการวั ด อุ ณ หภู มิ ร  า งกาย (Body Temperature) ปกติ เครื่องวัดอุณหภูมิ หนาผาก มีอยางนอย 2 โหมด คือ โหมดการวัดอุณหภูมิพื้นผิว (Surface Temperature) ใชวัดอุณหภูมิ วัตถุทั่วไป เชน ขวดนม หรืออาหาร และโหมดการวัดอุณหภูมิรางกาย ใชวัดอุณหภูมิผิวหนัง แล วแสดงคา เปนอุณหภูมิรางกาย 2. วัดอุณหภูมิ โดยชี้เครื่องวัดอุณหภูมิไปที่หนาผาก หรือบริเวณที่ผูผลิตแนะนํา ใหมรี ะยะหาง จากผิวหนัง ตามที่ผูผลิตแนะนํา โดยทั่วไปมีระยะหางไมเกิน 15 เซนติเมตร (บางรุนอาจตองสัมผัสกับผิวหนัง) จากนั้นกดปุมบันทึกผลการวัด โดยขณะทำการวัด ไมควรควรสายมือไปมาบนผิวหนังบริเวณที่ทำการวัด ไม ควรมีวัตถุอื่นใดบัง เชน เสนผม หมวก หนากาก หรือเหงื่อ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๔

3. อานคาผลการวัด เมื่อมีสัญญาณเสียง หรือสัญลักษณที่แสดงวาทำการวัดเสร็จสิ้น ควรทำ การวัด อยางนอย 3 ครั้ง หากผลการวัดไมเทากัน ใหใชคามากที่สุด หากสงสัยในผลการวัด ควรทำการวัดซ้ำ ดวย เครื่องวัดอุณหภูมิทางการแพทยชนิดอื่นๆ เชน เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรดในชองหู (Infrared Ear Thermometers) 2.๒.๒ วิธีการสวมหนากาก (Mask) มารูจักหนากาก ๑. หนากากผา : สำหรับบุคคลทั่วไปที่ไมปวย น้ำมูก น้ำลาย

๒. หนากากอนามัย : สำหรับ ผูปวยที่มีการไอ จาม เพื่อปองกันการแพรเชื้อ ที่ออกมากับ ๓. หนากาก N95 : สำหรับบุคลากรทางการแพทยที่ดูแลผูปวยอยางใกลชิด สวมหนากาก เมื่อใด

๑. เมื่อออกจากบานทุกครั้ง ๒. ไปในสถานที ่ ตา ง ๆ ที ่ มี คนจำนวนมาก คนแออั ด แหล ง ชุ มชน หรื อพื ้ นที ่ เ สี ่ ย ง เชน สถานศึกษา ตลาด หางสรรพสินคา ชุมชนแออัด วิธีการสวมหนากาก กรณีหนากากผา : ใชมือจับสายยางยืดคลองใบหูทั้ง 2 ขาง จับขอบหนากากใหคลุมจมูกและ ปาก จัดใหกระชับพอดี กรณีหนากากอนามัย : เอาดานสีเขียวเขมออกดานนอก และขดลวดอยูดานสันจมูก จับขอบ หนากากใหคลุมจมูกและปาก จัดใหกระชับพอดี วิธีการถอดหนากาก กรณีหนากากผา ถอดเก็บชั่วคราวนํามาใสใหม เชน ชวงพักกินอาหาร ชวงแปรงฟน - ใชมือจับสายยางยืดถอดออกจากใบหู 2 ขาง - จับขอบหนากาก พับครึ่งและพับทบ (โดยไมสัมผัสดานนอกหรือดานในของหนากาก) - เก็บใสถุงพลาสติกปากกวาง พับปากถุงปดชั่วคราว กรณีหนากากอนามัย ถอดแลวทิ้ง - ใชมือจับสายยางยืดถอดออกจากใบหู 2 ขาง - จับขอบหนากาก พับครึ่งและพับทบ (โดยไมสัมผัสดานนอกหรือดานในของหนากาก) - หยอนใสถุงพลาสติกปากกวาง ปดสนิทกอนทิ้ง แลวทิ้งในถังขยะที่มีฝาปด ๒.๒.3 วิธีการลางมือ (Hand wash) ลางมือ ปองกันโควิด 19 ไดอยางไร - ลางมือบอย ๆ ดวยสบูและน้ำ หรือใชเจลแอลกอฮอลทำความสะอาดมือ ลางมือ เมื่อใด - กอนกินอาหาร -หลังออกจากหองสวม - กอน - หลังปรุงอาหาร - หลังสัมผัสสัตวเลี้ยง การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๕

- กอนสัมผัสใบหนา - เมื่อมาถึงบาน - หลังเลนกับเพื่อน - เมื่อคิดวามือสกปรก - หลังไอ จาม วิธีลางมือ 7 ขั้นตอน 1. ฝามือถูกัน 2. ฝามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 3. ฝามือถูฝามือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4. หลังนิ้วมือถูฝามือ 5. ถูนิ้วหัวแมมือโดยรอบดวยฝามือ 6. ปลายนิ้วมือถูฝามือ 7. ถูรอบขอมือ วิธีการทำเจลลางมือ โรงเรียนอาจทำเจลลางมือ ที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลที่มีประสิทธิภาพไดเอง โดยหาซื้อ วัตถุดิบ จากรานขายเคมีภัณฑหรือรานขายยาขององคการเภสัชกรรม สามารถทำเองไดจาก 5 สูตร ดังนี้ สูตรที่ 1 ดัดแปลงจากองคการอนามัยโลก วิธีทำ - นํ า เอทิ ล แอลกอฮอล  (ethyl alcohol 95% v/v) 833.3 มิ ล ลิล ิ ต ร ไฮโดรเจนเปอร  ออกไซด (hydrogen peroxide 3%) 41.7 มิลลิลิตร และกลีเซอรีน (Glycerin 98%) 14.5 มิลลิลิตร ผสมใหเขากัน ในภาชนะที่มีปริมาตรบอกขนาด 1000 มิล ลิลิตร แลวเติมน้ำกลั่นหรือน้ำตมสุก ที่ทิ้งใหเย็นแลว จนครบ 1000 มิลลิลิตร คนเบา ๆ ใหเขากัน สูตรที่ 2 จากองคการอนามัยโลก วิธีทำ - นําไอโซโพรพิลแอลกอฮอล (isopropyl alcohol 75% v/v) 751.5 มิลลิลิตร ไฮโดรเจนเปอรออก ไซด (Hydrogen peroxide 3%) 41.7 มิลลิลิตร และกลีเซอรีน (Glycerin 98%) 14.5 มิลลิลิตร ผสมใหเข ากันในภาชนะที่มีปริมาตรบอกขนาด 1000 มิลลิลิตร แลวเติมน้ำกลั่นหรือน้ำตมสุก ที่ทิ้งใหเย็นแลว จนครบ 1000 มิลลิลิตร คนเบา ๆ ใหเขากัน สูตรที่ 3 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย วิธที ำ - เทคาโบพอล 940 (Carbopol 940) จำนวน 2.5 กรั ม ลงในน้ ำ ร อ น 142.75 กรั ม คนให สม่ำเสมอ จนละลายหมด กอนจะปลอยใหพองตัวเต็มที่ แลวเติมเอทิลแอลกอฮอล (ethyl alcohol 95%v/v) 350 กรัม คนไปเรื่อย ๆ ใหเขากัน จากนั้นเติมไตรเอทาโนลามีน (triethanolamine) 1.75 กรัม เพื่อปรับ ความเปนกรดดาง เติมกลีเซอรีน (glycerin) 3 กรัม เพื่อชวยเพิ่มความชุมชื้นใหกับผิว คนสวนผสมทั้งหมดให เขากัน จะไดแอลกอฮอลเจลประมาณ 500 กรัม

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๖

สูตรที่ 4 วิธที ำ - นํ า เอทิล แอลกอฮอล (ethyl alcohol 95% v/v) 75 มิ ล ลิล ิ ตร ผสมกั บกลีเซอรีน (glycerin) 5 มิลลิลิตร และ น้ำสะอาด 20 มิลลิลิตร คนสวนผสมทั้งหมดใหเขากัน สูตรที่ 5 สูตรกรมอนามัย สวนประกอบ ในการทาเจลแอลกอฮอล 1 ลิตร 1. คารโบพอล 4 กรัม 4 กรัม 2. ไตรโคลซาน 1.2 กรัม 1.2 กรัม 3. ไตรเอททาโนลามีน 9.6 มิลลิลิตร 9.6 มิลลิลิตร 4. แอลกอฮอล 95% 740 มิลลิลิตร 740 มิลลิลิตร 5. น้ำกลั่นหรือนาสะอาด 260 มิลลิลิตร 260 มิลลิลิตร 6. สีผสมอาหารและหัวน้ำหอม วิธีทำ 1. ตวงน้ำกลั่น 200 มิลลิลิตร ลงในถวยตวงขนาด 1 ลิตร - แบงน้ำ 150 มิลลิลิตรไปตมใหรอน - เทคารโบพอลจนหมด - เทน้ำรอนลงไปในน้ำกลั่นที่เหลือ - ปนตอจนคารโบพอลละลายหมด - คอย ๆ เทคารโบพอลลงไปที่ละนิด - กรองสวนผสมที่ไดโดยใชตะแกรงกรอง - ปนใหคารโบพอลละลาย 2. ตวงน้ำกลั่น 60 มิลลิลิตรลงในถวยตวงขนาด 100 มิลลิลิตร - เติมไตรเอททาโนลามีนลงไป 9.6 มิลลิลิตร 3. ตวงแอลกอฮอล 95 % 740 มิลลิลิตร ลงในถวยตวงขนาด 1 ลิตร - เติมไตรโคลซานลงไป 1.2 กรัม 4. นาสวนผสมขอ 3 เทลงไปในสวนผสมขอ 1 5. ปรับสีและแตงกลิ่นตามตองการ 6. คอย ๆ เทสวนผสมขอ 2 ลงไปในสวนผสมขอ 4 พรอมกวนใหสวนผสมเขากัน - นำไปใสเครื่องบรรจุเจล - บรรจุลงขวดตามตองการ ๒.๒.4 การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) เปนการลดปฏิสัมพันธใกลชิดระหวางตัวเรา กับบุคคลอื่น หรือลดการแพรระบาดของเชื้อที่ติดตอทางละอองฝอยหรือการสัมผัส โดยการยืนหรือนั่งหางกัน อยางนอย 1 - 2 เมตร งดกิจกรรมที่มีการชุมนุม รวมถึงหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผูอื่น เชน การจับมือ หรือโอบ กอด รวมถึงไมอยู รวมกันหนาแนนจำนวนมาก ไมพบปะสังสรรค ลดการไปในสถานที่สาธารณะ ลดการให บริการ ทีไ่ มจำเปน ลดกิจกรรมที่มีคนหนาแนน การเวนระยะหางทางสังคมเปนมาตรการทางสาธารณสุข ชวย ลดอัตราความเสี่ยงในการสัมผัสโรคปองกันตนเองใหปลอดภัยจากการติดเชื้อและลดปริมาณผูติดเชื้อ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๗

การเวนระยะหางทางสังคม แบงเปน 3 ระดับ 1. ระดับบุคคล โดยเฉพาะเด็กที่มีอายุต่ำกวา 5 ป กลุมผูสูงอายุ และกลุมผูปวยที่มีโรค ประจําตัว ควรตองระมัดระวังในการปองกันตั วเอง ไมควรเดินออกจากที่พักอาศัย เนื่องจากเปนกลุมที่มี ภูมิคุมกัน คอนขางต่ำ อาจทำใหติดเชื้อไดงายกวากลุมอื่น ๆ และใหงดกิจกรรมในชุมชน โดยยึดหลัก 3 ล (ลด เลี่ยง ดูแล) และเวนระยะหางจากผูอื่น 1 – 2 เมตร เพราะเชื้อไวรัสสามารถติดตอผานละอองขนาดเล็ก ที่มาจากการไอ หรือจามได รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรวมตัวของคนหมูมาก หลีกเลี่ยงการใชขนสงสาธารณะ ไมเขา รวมกิจกรรม รวมกับผูอื่น ลดการออกไปนอกบานโดยไมจำเปน เชน การไปงานเลี้ยงสังสรรค หรือการไปจาย ตลาด อาจปรับใหนอยที่สุดสัปดาหละ 1 – 2 วัน 2. ระดับองคกร ควรมีมาตรการเหลื่อมเวลาทำงาน หรือการทำงานที่บาน (Work from home) เปนวิธีที่ชวยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและการแพรเชื้อจากการเดินทางดวยขนสงสาธารณะที่มีความ แออัด ในชวงชั่วโมงเรงดวน เปนการปองกันการแพรเชื้อทั้งภายในและภายนอกที่ทำงานได ดวยการอยูที่บาน ทำความสะอาดบาน และไมนําเชื้อโรคเขาบาน และสำหรับผูที่ตองเดินทางออกจากบานเปนประจำ เมื่อกลับ เขาบานควรลางมือทันที หลังจากนั้นควรเปลี่ยนชุดอาบน้ำชําระรางกาย และแยกซักเสื้อผาที่สวมใสในวันนั้น ดวย 3. ระดับชุมชน การเขารวมกิจกรรมทางสังคม ควรลดหรืองดกิจกรรมตางๆ หรือหากไม สามารถงด หรือเลื่อนได เชน งานศพ ควรลดจำนวนของผู ที่มารวมงาน จัดเกาอี้ หรือสถานที่ใหอยูหางกัน พอสมควร และ จัดพื้นที่สำหรับลางมือหรือเจลแอลกอฮอลใหผูที่มารวมงาน โดยทุกคนตองสวมหนากากผา หรือหนากากอนามัย รวมทั้งพยายามใหชวงเวลาที่จัดงานใหสั้นที่สุดเทาทีจ่ ำเปน และลดกิจกรรมที่อาจมีการ สัมผัสระหวางกัน สวนสถานที่ที่ยังเปดบริการ เชน สถานีขนสง ขนสงสาธารณะ ตลาด ผูดูแลสถานที่เหลานี้ ควรปฏิบัติตาม แนวทางสุขาภิบ าลและอนามัยสิ่งแวดลอมอยางเครงครั ด เพื่อใหประชาชนเวนระยะห าง ระหวางตัวเองและผูอื่น แนวปฏิบัติการเวนระยะหางจากสังคม (Social distancing) ในสถานศึกษา 1. ใหจัดเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร เชน หองเรียน หองเรียนรวม หองพักครู หรือสถานที่ตางๆ ในสถานศึกษา ตองจัดระบบระเบียบในการนั่ง การยืน เขาแถวตอคิว การเดิน การเลน อยางเครงครัด 2. หลีกเลี่ยงการทักทายที่มีการสัมผัสรางกายและใกลชิดกับผูอื่น เชน จับมือ กอด หอมแกม 3. ส ง เสริ ม ให กิ น อาหารจานเดี ย วหรื อ อาหารแบบกล อ ง ไม  ร ั บ ประทานร วมกั น หาก จำเปนตองกินรวมกัน ตองใชชอนสวนตัว ตองนั่งเวนระยะหางกัน ระหวางโตะระหวางบุคคล โดยจัดโตะจัด เกาอี้ เวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และกำหนดจุดตําแหนงมีสัญลักษณที่นั่งโตะอาหาร ถือวาเปนระยะ ที่ปลอดภัยและลดการแพรกระจายเชื้อ ๒.๒.5 การทำความสะอาด (Cleaning) วิธีการทำความสะอาด มีหลักปฏิบัติ ดังนี้ 1. จัดเตรียมอุป กรณทำความสะอาดอยางเพียงพอ ไดแก น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยา ฟอกขาว อุปกรณการตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไมถูพื้น ผาเช็ดทำความสะอาด อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ เหมาะสม กับการปฏิบัติงาน อาทิ ถุงมือ หนากากผา เสื้อผาที่จะนํามาเปลี่ยนหลังทำความสะอาด การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๘

2. เลือกใชผลิตภัณฑทำความสะอาดพื้นผิวที่เหมาะสม - กรณีสิ่งของอุปกรณเครื่องใช แนะนําใหใชแอลกอฮอล 70% หรือไฮโดรเจนเปอรออก ไซด 0.5% ในการเช็ดทำความสะอาด - กรณีเปนพื้นที่ขนาดใหญ เชน พื้นหอง แนะนําใหใชผลิตภัณฑที่มีสวนผสมของโซเดียมไฮ โปคลอไรท 0.1% (น้ำยาซักผาขาว) หรือไฮโดรเจนเปอรออกไซด 0.5% o ตรวจสอบคุณลักษณะของน้ำยาทำ ความสะอาดบนฉลากขางขวดผลิตภัณฑ วันหมดอายุ รวมถึง พิจารณาการเลือกใชน้ำยา ขึ้นอยูกับชนิดพื้นผิว วัสดุ เชน โลหะ หนัง พลาสติก 3. เตรียมน้ำยาทำความสะอาดเพื่อฆาเชื้อตามคำแนะนําของผลิตภัณฑ 4. สื่อสารใหความรูขั้นตอนการทำความสะอาดที่ถูกตองและเหมาะสม ขอควรระวัง - สารที่ใชฆาเชื้อ สวนใหญเปนชนิดสารฟอกขาว อาจกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง เนื้อ เยื่อออน ควรระวังไมใหเขาตาหรือสัมผัสโดยตรง - หลีกเลี่ยงการใชสเปรยฉีดพนเพือ่ ฆาเชื้อ เนื่องจากอาจทำใหเกิดการแพรกระจายของเชื้อโรค - ไมควรผสมน้ำยาฟอกขาวกับสารทำความสะอาดอื่นที่มีสวนผสมของแอมโมเนีย - ไมควรนําถุงมือไปใชในการทำกิจกรรมประเภทอื่น ๆ ใชเฉพาะการทำความสะอาดเทานัน้ เพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อ - หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสบริเวณใบหนา ตา จมูก และปาก ขณะสวมถุงมือและระหวาง การ ทำความสะอาด ๒.๒.6 การลดความแออัด (Reducing) 1. หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมที่มีการรวมตัวกันจำนวนมาก เชน กีฬาสี คายลูกเสือ 2. ลดระยะเวลาในการทำกิจกรรมใหสั้นลงเทาทีจ่ ำเปน 3. จํากัดจำนวนนักเรียนในการทำกิจกรรมรวมกันและมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล 4. หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่แออัดหรือแหลงชุมชนหรือพื้นที่เสี่ยง ๒.๓ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ๑. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๙

๒. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓. ประชุมผูปกครองนักเรียน

๔. เตรียมความพรอมนิเทศชั้นเรียนกอนเปดภาคเรียน

๕ รับการสนับสนุนเครื่องวัดอุณหภูมิจากเทศบาล

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๐

๖. จัดปายประชาสัมพันธใหความรูเ กี่ยวกับโรคโควิด-๑๙

๗. ทำจุดยืนบริเวณหนาโรงเรียนเพื่อเวนระยะหางและปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด-๑๙

๘. ทำตะกราปองกันโควิด-๑๙ ใชในสถานศึกษา

๙. โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลออกเยี่ยมและใหคำแนะนำเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณปองกันโควิด-๑๙

๑๐. มีจุดคัดกรองนักเรียนบริเวณหนาโรงเรียน การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๑

 จุดคัดกรองนักเรียนบริเวณหนาโรงเรียน

๑๑. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษารวมกับอสม.คัดกรองนักเรียนบริเวณหนาโรงเรียน

๑๒. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ฉีควัคซีนปองกันโควิด

๑๓. นักเรียนฉีควัคซีนปองกันโควิด

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๒

๑๔. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาตรวจโควิดอยูเสมอ

๒.๔ การใชทรัพยากร ในการทำผลิตภัณฑคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนบานแกงยาง ได นํา เอทิลแอลกอฮอล (ethyl alcohol 95% v/v) 75 มิล ลิลิตร ผสมกับกลีเซอรีน (glycerin) 5 มิลลิลิตร น้ำ ดอกอัญชัน 20 มิลลิลิตร คนสวนผสมทั้งหมดใหเขากัน ซึ่งดอกอัญชันเปนดอกไมที่ปลูกและเกิดขึ้นในบริเวณ ใกลโรงเรียนและชุมชน สามารถนำมาสกัดใหสีตามธรรมชาติอยางสวยงาม ปลอดภัย และประหยัดคาใชจาย ทำใหได “ตะกราปองกันโควิด-๑๙” ใชในสถานศึกษา และในชีวิตประจำวันตลอดทั้งจำหนายได

๓. ผลการดำเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนที่ไดรับ ๓.๑ ผลงานที่เกิดตามจุดประสงค ๑. นักเรียนโรงเรียนบานแกงยางมีความรูเกี่ยวกับมาตรการควบคุมและปองกันการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๓

๒. นักเรียนโรงเรียนบานแกงยางมีวัสดุอุปกรณในการปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรค โควิด 19 (COVID-19) ๓. ไดนวัตกรรมปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามบริบท ของโรงเรียนบานแกงยาง

๓.๒ ผลสัมฤทธิ์ของงาน รางวัล โรงเรียนบานแกงยาง ไดเสนอนวัตกรรมการ บริหารจัดการที่เปนแบบอยางไดในโครงการติดตาม การจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพร ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด๑๙)

เอกสารอางอิง

นางสาวประคอง สะทาสุ ไดรับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ ๑ กิจกรรม เครือขายโรงเรียนรวมพัฒนาเฟนหานวัตกรรม

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๔

๓.๓ ประโยชนที่ไดรบั ๑. นักเรียนโรงเรียนบานแกงยางมีความรูเกี่ยวกับมาตรการควบคุมและปองกันการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ๒. นักเรียนโรงเรียนบานแกงยางมีวัสดุอุปกรณในการปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรค โควิด 19 (COVID-19) ๓. ไดนวัตกรรมปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามบริบท ของโรงเรียนบานแกงยาง

๔. ปจจัยความสำเร็จ ๔.๑ สิ่งที่ชวยใหงานประสบความสำเร็จ โรงเรียนไดการบริหารงานแบบมีสวนรวม มีการวิเคราะหสภาพปจจุบันปญหา โดยความรวมมือ ของ บุคลากรในโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชนในการกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ตลอดจน แผนงาน/โครงการของสถานศึกษา และโครงการวิชาการสูความเปนเลิศ ก็เปนหนึ่งในโครงการที่กำหนดใน แผนปฏิบัติการประจำป ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการมีส วนรวมของทุกภาคสวน สถานศึกษาบริหารจัดการดวย นวัตกรรม KANG Model คือการบริหารจัดการดวยองคความรูผานกิจกรรมที่หลากหลาย ดวยเครือขายความ รวมมือและยึดถือหลักธรรมาภิบาล จนสามารถดำเนินการสูความสำเร็จสถานศึกษา คณะครู นักเรียนมีผลงาน มากมาย และยังสงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีมาตรฐานตามตัวชี้วัดชั้นป มีการประเมิน และทดสอบระดับชาติ/นานาชาติสูงขึ้นอยางตอเนื่อง อีกทั้งบริหารบุคลากรดวยนวัตกรรม 5 คิด คือ 1)คิด งาน 2)คิดสรางสรรค 3)คิดสามัคคี 4)คิดจิตอาสาและ5)คิดพัฒนาตนเอง ทำใหขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาตระหนัก รับผิดชอบงานในหนาที่ของตนเองใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล อีกทั้งยังสรางความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สามัคคี มีจิตสาธารณะและพัฒนาตนเองอยูเสมอ

 KANG Model

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๕

๕. บทเรียนที่ไดรับ ๕.๑ การระบุขอมูลที่ไดรับจากการผลิตและการนำผลงานไปใช จากสถานการณการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID19) ซึ่งสงผลกระทบตอทุกคน ทำใหทุกคนเรียนรูและปรับตัวเพื่อใหใชชีวิตในสถานการณเพื่อใหปลอดภัย หา อุ ป กรณ วิธีการต าง ๆ ทำใหไดผลิ ตภั ณฑ “ตระกรา ป องกัน โควิด -๑๙” ซึ ่ งเปนผลิต ภัณฑ ที ่ใชไดจริงและ ปลอดภัยและสามรถปองกันการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19)

๖. การขยายผล/เผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลที่ไดรับ ๖.๑ การขยายผล/เผยแพร ๖.๑.๑ นำผลงานที่ไดรวมจัดนิทรรศการถอดบทเรียนและเผยแพรความรูในการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๖

๖.๑.๒ นำผลงานที่ไดจัดนิทรรศการและแสดงผลงาน กิจกรรม “อวดดี อวดเกง อวดรู สู อาชีพ ตลาดน้ำซับ @ UBN ๔”

๖.๑.๓ นำผลงานทีจ่ ำหนายในงานนิทรรศการและแสดงผลงาน กิจกรรม “อวดดี อวดเกง อวดรู สูอาชีพ ตลาดน้ำซับ @ UBN ๔”

๖.๒ การไดรับการยอมรับ/รางวัลที่ไดรบั ผลงานโรงเรียน

รางวัล โรงเรียนบานแกงยาง ไดเสนอนวัตกรรมการบริหาร จัดการที่เปนแบบอยางไดในโครงการติดตามการ จัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙)

เอกสารอางอิง

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๗

รางวัล โรงเรียนบานแกงยาง ไดเขารวมจัดนิทรรศการและ แสดงผลงาน กิจกรรม “อวดดี อวดเกง อวดรู สู อาชีพ ตลาดน้ำซับ @ UBN ๔”

เอกสารอางอิง

ผลงานครู รางวัล นางสาวประคอง สะทาสุ ไดรับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ ๑ กิจกรรม เครือขายโรงเรียนรวมพัฒนาเฟนหานวัตกรรม

เอกสารอางอิง

ผลงานนักเรียน รางวัล เด็กชายอัฐวุฒิ อุมเกษ 1) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ รางวัลชมเชยใน การคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ประจำปการศึกษา ๒๕๖๓

เอกสารอางอิง

Link : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๘

รางวัล เด็กหญิงธันยากานต บุญวัง ไดเขารวมกิจกรรมประกวดวาดภาพระบายสี “เด็กไทยสูภัยโควิด”

เอกสารอางอิง

๗. ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรม ๗.๑ ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดา นสุขภาพ ตอการพัฒนาผูเรียนตาม จุดมุงหมายของหลักสูตร รางวัล เด็กชายจิณณวัตร คำพันธ ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เอกสารอางอิง

เด็กหญิงฐิตารีย ศิริมาก ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เด็กชายธีรภัทร เชื้อเพชร ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๑๙

รางวัล เด็กหญิงปฏิมาภรณ บุงทอง ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เอกสารอางอิง

เด็กชายพิชาภพ ประคำทอง ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เด็กชายกวินภพ ปสนา ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เด็กหญิงสาวิตรี จันทรชนะ ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

เด็กหญิงกิง่ กาญจน กุหลาบ ผานการประเมินรับรองความรอบรูดานสุขภาพ (Super hero NuPETHS)

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๐

๗.๒ ผลสะทอนที่เกิดจากผลงาน/นวัตกรรมความรอบรูดา นสุขภาพ ของผูมสี วนไดสวนเสีย ผลงานการเปนโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ รางวัล เอกสารอางอิง โรงเรียนไดรับการรับรองเปนโรงเรียนรอบรูดานสุข ภาพ (Health Literate School)

นางสาวอริสรา ชัดเจน เปนผูขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุข ภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

นางฉวีวรรณ ไชยรถ ไดดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

นางดารารัตน ใจตรง ไดดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๑

รางวัล

นางนันทิพร ศรีทน ไดดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

เอกสารอางอิง

นางสาวประคอง สะทาสุ ไดดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

นางสาวพิศสุดา ราชโยธี ไดดำเนินงานโรงเรียนรอบรูดานสุขภาพ (Health Literate School) ไดเปนผลสำเร็จ

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๒

ภาคผนวก

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๓

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๔

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๕

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

หนา I ๒๖

การพัฒนานวัตกรรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ดานการปองกันโควิด-1๙ “ตะกราปองกันโควิด-๑๙”

Data Loading...