Photobook - PDF Flipbook

145 Views
30 Downloads
PDF 549,349 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


วัดอรุณราชวรารามราช




Wat Arun Ratchawararam


Landmarks and Monuments/Temples



วัดอรุณราชวรารามเป็นพระอารามหลวง


ชั้นเอกชนิดราชวรมหาวิหารของถนน

อรุณอมรินทร์ระหว่าง คลองนครบาลหรือ


คลองวัดแจ้งกับพระราชวังเดิม ตำาบลวัด


อรุณ อำาเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี

เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่ครั้งสมัยอยุธยา


เดิมเรียกว่า “วัดมะกอก“ ภายหลังเปลี่ยน

เขตวัดและที่ธรณีสงฆ์ เป็นวัดมะกอกแล้วเปลี่ยนเป็น วัดแจ้ง วัด

เขตวัด เฉพาะตอนที่เป็นพุทธาวาสและสังฆาวาส มีดังนี้ อรุณราชวราราม และวัดอรุณราชวราราม


ทิศเหนือจดกำาแพงวัดด้านเหนือ หลังโรงเรียนประถมทวีธาภิเศก โดยลำาดับปัจจุบันเรียกว่า “วัดอรุณ


ทิศใต้จดกำาแพงพระราชวังเดิม ราชวราราม“

ทิศตะวันออกจดฝั่งแม่น้ำาเจ้าพระยา


ทิศตะวันตกมีกำาแพงวัดติดถนนอรุณอัมรินทร์

เป็นเนื้อที่ 27 ไร่ 2 งาน 63 วา

มูลเหตุที่เรียกชื่อวัดนี้แต่เดิมว่า “วัดมะกอก“ นั้นตามทางสันนิษฐานว่าเรียกคล้อยตามตำาบลที่ตั้ง


วัด ซึ่งสมัยนั้นมีชื่อว่า “บางมะกอก“ ตามคติเรียกชื่อวัดของไทยสมัยโบราณ เพราะชื่อวัดที่แท้

จริงมักจะไม่มี จึงเรียกชื่อวัดตามตำาบลที่ตั้ง เช่น วัดบางลำาพู วัดปากน้ำา เป็นต้น ต่อมาได้เมื่อได้


สร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำาบลเดียวกันนี้ แต่อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัด


ที่ตั้งใหม่ว่า “วัดมะกอกใน“ แล้งเลยเรียกวัดมะกอกเดิมซึ่งอยู่ตอนปากคลองมะกอกใหญว่า “วัด

มะกอกนอก“ เพื่อให้ทราบว่าเป็นคนละวัด ที่ธรณีสงฆ์ ซึ่งทางวัดให้เอกชนเช่า มีอยู่ทางด้านเหนือ


ตอนที่ติดกำาแพงวัดหลังโรงเรียนประถมทวีธาภิเศก ริมคลองนครบาลหรือคลองวัดแจ้ง เป็นเนื้อที่

ประมาณ 3 งาน 77 วาเศษ กับที่ทางด้านตะวันตกของถนนอรุณอัมรินทร์ออกไปมีเนื้อที่ 33 ไร่ 2


งาน 25 วา





พระปรางค์






พระปรางค์ตั้งอยู่หน้าวัดทางทิศใต้หลังโบสถ์และวิหารน้อย เดิมสูง 16 เมตรเป็นปูชนีย


สถานที่สร้างขึ้นพร้อมกับโบสถ์และวิหารน้อยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล



ที่ 2 ทรงมีพระราชศรัทธาจะเสริมสร้างให้สูงใหญ่เป็นพระมหาธาตุสำาหรับพระนครแต่ทรงกระทำา


ได้เพียงขุดรากเตรียมไว้เท่านั้นการยังค้างอยู่เพราะสวรรคตเสียก่อนต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่ง



เกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดเป็นการใหญ่อีกครั้ง เริ่มแต่ทรปฏิสังขรณ์และ


สร้างกุฏิเป็นตึกใหม่ทั้งหมด เป็นต้น และทรงมีพระราชดำาริเพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จ



พระบรมชนกนาถ ได้เสด็จพระราชดำาเนินไปก่อพระฤกษ์พระปรางค์ เมื่อวันแรม 12 ค่ำาเดือน 9


ตรงกับวันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2385

พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม อันประกอบไปด้วยปรางค์ประธานห้ายอด ล้อมรอบด้วยปรางค์บริเวณทั้ง


4 มุม และมณฑปทั้ง 4 ทิศที่ฐานของปูชนียสถานเหล่านี้ล้วนละลานตาไปด้วย “พลแบก” ได้แก่ “ปรางค์

ประธาน” ประกอบด้วยฐาน “ยักษ์แบก” ฐาน “กระบี่แบก” และฐาน “เทวดาแบก” ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป


ถึง 3 ชั้น “ปรางค์มุมบริวา” มีรูปยักษ์แบกและกระบี่แบกสลับกันที่ฐาน และ “มณฑปทิศ” มีรูปเทวดาแบก


หรือยักษ์แบกสลับกันในแต่ละหลัง พลแบกเหล่านี้เมื่อดูผิวเผินก็อาจจะดูไม่มีความสำาคัญอะไร มากไปกว่า

เครื่องประดับเชิงชั้นของสถาปัตยกรรมไทยประเพณีที่เป็นสื่อสัญลักษณ์ตามคติจักรวาลแต่ถ้าลองพินิจดูให้


ดีแล้วจะเห็นความแตกต่างของ “เครื่องแต่งกาย” อันได้แก่ ศิราภรณ์และ เกราะ ระหว่างพลแบกที่ปรางค์

บริวารและมณฑปอย่างชัดเจน





พลแบกฐานปรางค์ประธาน อันประกอบด้วย ยักษ์แบก กระบี่แบก และเทวดาแบก ล้วนสวมศิราภรณ์





มียอดเป็น “ยกษยอด” และ “ลงยอด” แบบหัวโขนทศกัณฐ์และหัวโขนพาลีหรือสุครีพโดยรูปยักษ์แบกสวม



เกราะเป็นสายคาดท่หน้าอกรัดเกราะเป็นแผ่นโค้งแนบลาตัวส่วนรูปเทวดาแบกสวมเกราะท่ดูเหมือน



เส้อเสนากุฎมีรูปหน้าขบคาบสายรัดเกราะท่หน้าอกและแขนรูปเหราขณะท่กระบ่แบกจะสวมสังวาลและ

ทับทรวงไม่สวมเกราะ



“สัตตภัณฑคีรี…ทั้ง 7 นี้ตั้งเสมอรอบๆกันแต่เขาพระสุเมรุเป็นลำาดับกันออกมาบุคคลทัศนาการเห็น

เหมือนดังบันไดย่อมเป็นนิวาสถานที่อยู่แห่งหมู่เทวดาแลคนธรรพ์ ยักษ์กุมภัณฑ์ สุบรรณ ครุธาราช


ปักษี อันมีฤทธานุภาพ”

รูปยักษ์ยืน






หน้าประตูชัยยอดมงกุฎมี 2 ตัว มือทั้ง 2 ข้างกุมกระบอง ยืนอยู่บนแท่นสูงประมาณ 3 วา ยักษ์ที่ยืน


ด้านเหนือ (ตัวขาว) คือ สหัสเดชะ ส่วนด้านใต้ (ตัวเขียว) คือ ทศกัณฑ์ ปั้นด้วยปูนประดับกระเบื้อง






เคลือบสีเป็นลวดลายรูปลักษณะและเคร่องแต่งตัวรูปยักษ์ค่น้เป็นของทาข้นใหม่งานศิลปะท่องค ์

พญายักษ์ทั้งสองสะท้อนถึง 9 เอกลักษณ์ของพญายักษ์วัดแจ้งที่ไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน
คือ มีศีรษะตรีชั้นหมายถึง เทินกัน 3 ชั้น ยอดบนสุดเป็นหน้าเทพแสดงถึงวงศ์แห่งพระพรหม ความ

รู้และอำานาจที่ครอบงำาได้ทั้งสามโลก (สหัสเดชะ) ใบหน้านับรวมได้ 10 หน้าหมายถึง ศาสตร์ทั้ง 6


และพระเวทย์ทั้ง 4 (ทศกัณฐ์) ยืนแบบเหลี่ยมยักษ์อย่างชัดเจน คือกางขาออก ย่อเข่า เป็นลักษณะที่

แสดงถึงความแข็งแกร่งและพลังอำานาจ พละกำาลังมหาศาล ความน่าเกรงขาม พญายักษ์มีรากเหง้า


จากรามเกียรติ์วรรณกรรมของฮินดู





ด้านหน้ายักษ์ทั้ง 2 ตน มีสิงโตโบราณแกะสลักจากหิน ตั้งอยู่ด้านละ 3 ตัว ตามประวัติของการ


สร้างยักษ์วัดอรุณแต่เดิมสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3

โดยทรงโปรดให้ หลวงเทพกัน ช่างปั้นฝีมือดีเป็นผู้ปั้น ต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พุทธศักราช


2473 ในสมัยพระเดชพระคุณ พระพิมลธรรม นาค เป็นเจ้าอาวาส ได้เกิดฝนตกหนัก มีอสุนีบาต

ตกถูกยักษ์หน้าพระอุโบสถด้านทิศเหนือ คือ สหัสเดชะ พังลงมา จึงได้สร้างขึ้นใหม่เป็นยักษ์คู่


ที่มีความสวยสง่างามดั่งที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบันยักษ์วัดแจ้งหรือยักษ์ยืนวัดอรุณราชวรารามถือ









เป็นส่งศักด์สิทธ์สาคัญของวัดอรณราชวรารามท่มีตานานเล่าขานถึงปาฏิหาริย์ความศักด์สิทธ ิ ์







ของยักษโบราณสองตนน้มากมายหลายเร่องเล่าต้งแค่คร้งอดตกาลจนมาถึงยคปัจจุบัน


ทศกัณฐ์





ใบหน้าปกติมีสีเขียวแต่หากนั่งเมืองจะใช้หน้าสีทอง มี 10 พักตร์ 20

กร ใบหน้ามี 3 ชั้น ชั้นแรกเป็นหน้าปกติ 1 หน้า และมีหน้าเล็กๆ


จรงท้ายทอยอีก 3 หน้าชั้นที่ 2 เป็นหน้าเล็กๆ 4 หน้าเรียง 4 ด้าน


ชั้นที่ 3 เป็นหน้าพรหมด้านหน้าและหน้ายักษ์ด้านหลังทุกหน้าจะ

มีลักษณะปากแสยะตาโพลง สวมมงกุฎยอดชัย เป็นโอรสของท้าว


ลัสเตียน และนางรัชฏา หรืออีกนัยหนึ่งคือ นนทก กลับชาติมาเกิด

เป็นกษัตริย์กรุงลงกาองค์ ที่ 3 มีมเหสีคือ นางมณโฑ กับ นางกาล


อัคคีและมีนางสนมอีกจำานวนมาก มีโอรส 1015 องค์มีธิดา 2 องค์


ถือเป็นพญายักษ์ที่ไม่ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม และก่อเรื่องเดือดร้อน

ไปทั่ว แต่เหตุการณ์สำาคัญที่สุด คือ การลักพาตัวนางสีดา มเหสีของ


พระรามกระทั่งเกิดเปิดศึกกรุงลงกา ส่งผลต่อให้ต้องสูญเสียพี่น้อง

พัธมิตร และบริวารไปเป็นจำานวนมาก สุดท้ายทศกัณฐ์ก็ต้องตาย


ด้วยศรพระรามเมื่อหนุมานสามารถขโมยกล่องดวงใจไปได้สำาเร็จ

สหัสเดชะ





สหัสเดชะ (แปลว่า มีกำาลังนับพัน) เป็นรากษสกายสีขาว เจ้า

เมืองปางตาลมี 1000 หน้า 2000 มือ ร่างกายสูงใหญ่ดั่งเขา


อัศกรรม มีกระบองวิเศษที่พระพรหมประทานให้มีฤทธิ์คือต้น


ชี้ตายปลายชี้เป็นและได้รับพรเมื่อข้าศึกหรือศัตรูเห็นจงหนีหาย

ไปด้วยความกลัว เมื่อพญามูลพลัมรู้ว่าทศกัณญ์เพื่อนของตน


กำาลังรบกับพระรามอยู่จึงคิดจะช่วยโดยชวนสหัสเดชะพี่ชาย

ของตนไปออกรบด้วยกัน ภายหลังด้วยความชะล่าใจของตน


จึงถูกหนุมานใช้กลอุบายแปลงเป็นลิงน้อยหลอกเอากระบอง


วิเศษมาหักทิ้งและฆ่าสหัสเดชะตายในที่สุด สหัสเดชะเป็นหนึ่ง

ในยักษ์ทวารบาลสองตนที่ยืนเฝ้าประตูทางเข้าพระอุโบสถวัด


อรุณราชวรารามคู่กับทศกัณฐ์

พระอุโบสถ








พระอุโบสถสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นอาคารยกสูงหลังคาลด 2 ชั้น

มุงด้วยกระเบื้องสีเหลืองขอบเป็นกระเบื้องสีเขียวใบไม้ ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ลงรักปิดทองประดับ


กระจกแผงหน้าบันทั้งด้านหน้าและด้านหลังเป็นไม้แกะลายลงรักปิดทองและประดับกระจก รูปเทวดา

ยืนถือพระขรรค์อยู่ในปราสาท มีสังข์และคนโทน้ำาวางอยู่ในพานข้างละพาน ประดับลายกนกลงรักปิด


ทอง พระอุโบสถมีมุขยื่นทั้งด้านหน้าและด้านหลัง มีเสาระเบียงขนาดใหญ่รับเชิงชายทั้งด้านเหนือและ


ด้านใต้ บันไดและเสาบันไดเป็นหินทรายระหว่างเสารอบพระอุโบสถถึงหน้ามุขทั้งสองด้านมีกำาแพง

เตี้ยๆประดับด้วยหินสลักเป็นรูปดอกไม้ใบไม้ที่หุ้มกลองด้านหน้าระหว่างประตู





มีบุษบทยอดปรางค์ประดิษฐานพระพุทธนฤมิตรเป็นพระพุทธรูปฉลองพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ


หล้านภาลัย สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 แต่นำามาประดิษฐานในรัชกาลที่ 5 ที่หุ้มกลองด้านหลังระหว่างประตู

เป็นบุษบกยอดปรางค์มีพาน 2 ชั้นลงรักปิดทองตั้งพุ่มเทียนฐานพระอุโบสถมีลักษณะโค้งตกท้องสำาเภามีการ


ประดับลอดลายปูนปั้นลงรักปิดทอง ซุ้มประตูพระอุโบสถ 2 ประตูด้านหน้าเป็นซุ้มยอดปรางค์ แต่ซุ้มประตูด้าน

หลังทั้ง 2 ประตูเป็นซุ้มไม่มียอดเสาและผนังพระอุโบสถด้านนอกถือปูนปั้นประดับกระเบื้องจีนลายดอกไม้ร่วง


ภานในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังทั้ง 4 ด้านเป็นภาพพุทธประวัติมารผจญเวสสันดรชาดก เป็นต้น


พระประธานในพระอุโบสถมีพระนามว่า “พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก”

พระอุโบสถไม่มีกำาแพงแก้ว แต่มีพระระเบียงแทน สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มี


ทรวดทรงงดงามกว่าพระระเบียงที่อื่น ที่ผนังระเบียงมีลายเขียนเป็นซุ้มเรือนแก้วลายดอกไม้ ใบไม้ มีนกยูง

แบบจีนอยู่ตรงกลาง ด้านในพระระเบียงโดยรอบมีตุ๊กตารูปทหารเริอทำาจากหินแกรนิตสีเขียวตั้งเรียงเป็นแถว


จำานวน 144 ตัวบริเวณมุมพระอุโบสถทั้งสี่มุมมีพระเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยมทำาด้วยหินอ่อน มีซุ้ม 8 ซุ้มมียอดเป็น


ปล้องๆ เรียวขึ้นโดยสำาคัญลำาดับปลายปล้องไฉนภานในบรรจุตุ๊กจาหินแกรนิตแบบจีนอยู่ภายในจำานวน 8

ตัวเรียกว่าโป๊ยเซียน





ตุ๊กตาอับเฉาภายในวัดรุณราชวราราม












ต๊กตาหิน ศิลปะจีนท่เรียงรายอย่บริเวณวัดอรุณราชวราราม รวมถึงวัดอ่นๆ ในกรุงเทพมหานคร ย้อนกลับ
ไปสมัยรัชกาลที่ 3 เมืองไทยหรือสยามในยุคนั้นมีการค้าขายกับประเทศจีน ใช้ในการขนส่งสินค้าด้วย
เรือสำาเภา เรือสำาเภาสมัยนั้นสร้างจากไม้ที่มีน้ำาหนักเบา ใต้ท้องโกลนต้องทำาการถ่วงน้ำาหนักใต้ท้อง


เรือเพื่อรักษาเสถียรภาพของเรือสำาเภาไม่ให้เบาเกินไป เมื่อเจอคลื่นลมแรงจะโครงและอาจล่มได้ เมื่อนำา

สินค้าเต็มลำาเรือไปยังประเทศจีน ขากลับจึงไม่สามารถเดินทางกลับด้วยลำาเรือเปล่าๆได้ จึงต้องทำาการ


ถ่วงน้ำาหนักกลับมาทุกครั้ง “อับเฉา“ เหตุที่เรียกเช่นนี้สันนิษฐานว่า ห้องอับเฉานั้นอยู่บริเวณใต้ท้อง






เรือเป็นพ้นท่บรรทุกของและถ่วงนาหนักเรือด้วยในเวลาเดียวกันจึงเป็นพ้นท่เงียบเหงาท่สุดในตัวเรือ



ข้อสันนิษฐานสาเหตุการเข้ามาของรูปปั้นแกะสลักจากเมืองจีนนั้นพอสรุปได้ 3 ประการดั้งนี้


1. มาในฐานะอับเฉา บรรทุกมาเพื่อถ่วงน้ำาหนักเรือบางส่วนนำามาถวายวัดและบางส่วนนำามาจำาหน่าย

ตามความนิยม


2. มาตามรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้่าเจ้าอยู่หัวด้วยความพอพระทัยในความงดงามทั้งใน


รูปปั้นแกะสลักทรงโปรดเกล้าให้นำามาประดับเป็นรูปจำาหลักประดับวัดวาอารามต่างๆ ที่ทรงสร้างและ

ปฏิสังขรณ์


3. พ่อค้าชาวจีนเข้ามาทำาการค้ากับเมืองไทยในเวลานั้น นำามาทูลเกล้าถวายเพื่อความดีความชอบและ

เป็นการเผยแพร่ศิลปะความภาคภูมิใจในศิลปกรรมของชาติตนเอง โดยการนำามาติดกับเรือสินค้าของ


ตนเมื่อนำาสินค้ามาขาย หรือเดินทางมาซื้อสินค้ากลับไปยังประเทศของตน



พระระเบียงคด








พระระเบียงคตของพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม เป็นโบราณสถานสำาคัญของวัดอรุณ


ราชวรารามอีกสถานที่หนึ่ง กล่าวคือ พระอุโบสถของวัดอรุณราชวรารามนั้น ไม่มีกำาแพง

แก้วเหมือนวัดอื่นๆ แต่ได้สร้างเป็นพระระเบียงหรือพระวิหารคดขึ้นมาแทนกำาแพงแก้วรอบ


พระอุโบสถ ลักษณะเป็นระเบียงมีหลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลืองและสีเขียวใบไม้มี

ประตูเข้าออกอยู่กึ่งกลางพระระเบียงทั้ง 4 ทิศโดยเฉพาะด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวัน


ตกมีซุ้มจระนำาเหนือประตู หน้าบันทำาเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ประดับด้วยลายกระหนก


ลงรักปิดทอง





พระระเบียงดังกล่าวทรงโปรดให้สร้างขึ้นในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่


2 ซึ่งมีความสวยสดงดงามเป็นอย่างยิ่ง ด้านฝาหนังของพระระเบียงคตหลังนี้ เขียนลายเป็นซุ้มเรือนแก้ว


ลายดอกไม้ใบไม้ มีนกยูงแบบจีนคาบอยู่ตรงกลาง พรพุทธรูปในพระระเบียงทั้งหมด เป็นพระพุทธรูปปั้น

โบราณ ปางมารวิชัยจำานวน 120 องค์ เสาระเบียง เป็นเสาก่ออัฐถือปูนย่อเหลี่ยม บัวหัวเสาที่รับเชิงชาย


ลงรักปิดทองประดับกระจกสีทุกต้น ด้านในบานประตูทุกด้าน เป็นภาพเขียนสีรูปคนถือหางนกยูงอยู่

เหนือสัตว์ป่าหิมพานต์มีราชสีห์และคชสีห์ เป็นต้นส่วนประตูด้านนอกเป็นภาพเขียนสีลายรดน้ำา สมเด็จ


เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกล่าวชมเชยไว้ว่า “พระระเบียง มีอยู่ให้ดูได้บริบูรณ์ ทรวดทรง


งามมากกว่าพระระเบียงที่ไหนหมด เป็นศรีแห่งฝีมือในรัชกาลที่ 2 ควรชมอย่างยิ่ง“



“พระระเบียงมีอยู่ให้ดูได้สมบูรณ์

ทรวดทรงงามกว่าพระระเบียงที่ไหนหมด


เป็นศรีแห่งฝีมือในรัชกาลที่ 2 ควรชมอย่างยิ่ง”



พระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 2








ซึ่งได้จัดสร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2539 ในสมัยของ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระธรรมสิริชัย (บุญเลิศ)

เป็นเจ้าอาวาสโดยการปรารภให้สร้างของราชสกุลในพระองค์ท่านเหตุเพราะพระบาทสมเด็จพระพุทธ


เลิศหล้านภาลัยทรงมีความผูกพันและศรัทธากับวัดอรุณราชวรารามเป็นอย่างยิ่ง เมื่อครั้งพระองค์ทรง


ดำารงค์พระอิสรยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอได้เสด็จมาประทับ ณ พระราชวังเดิมแห่งนี้ พระองค์

ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานของวัดอรุณราชวรารามหมดทั้งพระอาราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ


ถึงกับทรงมีพระราชอุตสาหะปั้นหุ่นพระพักตร์พระประธานในพระอุโบสถด้วยฝีพระหัตถ์และทรงโปรด

ให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถทรงพระนามว่า พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุ


ดิลกและใต้ฐานพระประธานองค์นี้ยังเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่านอีกด้วย

แอพเดียวเที่ยวทั่ววัด






























สแกน QR Code เพื่อการเที่ยวชมความสวยสดงดงาม


ของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม


Data Loading...