ฝน - PDF Flipbook

ฝน

170 Views
99 Downloads
PDF 431,863 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


คำ�นำ� ต�มที่สำ�นักง�นคณะกรรมก�รก�รอ�ชีวศึกษ� กระทรวงศึกษ�ธิก�ร ได้กำ�หนดให้มีก�รพัฒน� หลักสูตรประก�ศนียบัตรวิช�ชีพ(ปวช.) พ.ศ. 2562เพื่อให้สอดคล้องกับก�รปฏิรูปก�รศึกษ� ต�มแผนพัฒน� เศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ แผนก�รศึกษ�แห่งช�ติ และพระร�ชบัญญัติก�ร อ�ชีวศึกษ� จึงจำ�เป็นอย่�งยิ่ง ที่ผู้เรียนในส�ย วิช�ชีพจะต้องได้รับก�รพัฒน�ให้สอดคล้องกับ ม�ตรฐ�นอ�ชีพหรือม�ตรฐ�นสมรรถนะของ แต่ละ ส�ข�อ�ชีพต�มคว�มต้องก�รตองตล�ด แรงง�นและคว�มเจริญก้�วหน้�ท�งเทคโนโลยี รองรับก�รเข้�สู่ ประช�คมอ�เซียน ทั้งด้�นคว�ม รู้ ทักษระ และคุณธรรมจริยธรรมที่เหม�ะสม กับก�รปฏิบัติง�น ก�รอยู่ร่วมกัน ในสังคม และ บูรณ�ก�รกับหลักปรัช�ญ�ของเศรษฐกิจพอ เพียง

สารบัญ ความหมายของสถิติ ข้อมูลสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำาเสนอข้อมูล

1 2 3 4-9

บทนำา

สิถิติเป็นเครื่องมือที่สำาคัญอย่างหนึ่งสำาหรับใช้ประกอบการ ตัดสินใจในการวางแผน การดำาเนินงานต่างๆ แทบทุกสาขาไม่ ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร เศรษฐ ธุรกิจ อุตสาหกรรม วิศวกรรม ตลอดจน การดำารงชีวิต ประจำาวันของคนทั่วไป ดังจะเห็นได้จากสื่ิสาร มวลชน ซึ่งได้แก่ หนังสือพิมพวิทยุ โทรทัศน์ มักจะมีข้อมูลสถิติ ต่างๆ เกี่ยวกับการเกิด การตาม การเพิ่มผลผลิตมูลค่าสินค้าส่ง ออออก อุบัติเหตุบนถนน จำานวนอาชญากรรม ปริมาณน้ำาฝน จำานวน คนที่เป็นโรคต่างๆ เป็นต้น

1. ความหมายของสถิต (Meaning of Statistics) สถิติ มีความหมายได้ 2 ประการคือ 1. สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คะเเนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง 2. สถิติ หมายถึง ศาสตร์เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ ซึ่งเรียกว่า ระเบียบวิธีการทางสถิติประกอบด้วย การเก็บ รวบรวมข้อมูล (Collection of Data) การนำาเสนอข้อมูล (Presentation of Data) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) และการตีความหมายข้อมูล (Interpretation of Data)

2. ข้อมูลสถิติ (Statistical Data) ข้อมูลถิติ หมายถึง ข้อเท็จจริงที่อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลข ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการศึกษา และข้อเท็จจริง ดังกล่าวนั้นจะต้องมีจำานวนมากพอสำาหรับแสดงถึงลักษณะของ สิ่งนั้น เพื่อที่จะนำาไปใช้ในการเปรียบเทียบและตีความหมายได้ เช่น ผลการวัดส่วนสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง

ชนิดของข้อมูล อาจจำาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็นข้อมูลที่เเสดง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปริมาณที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลข เช่น น้ำาหนัก ความสูง อายุ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitive Data) เป็นข้อมูลที่แสดง ถึงคุณลักษณะ สมบัติ สภาพ สถานะ อาจจะเป็นตัวเลขหรือ ข้อความ เช่น สิถิตประชากรจำาแนกตามเพศ

นอกจากนี้ ข้อมูลางชนิดอาจจำาเเนกตามแหล่งที่เกิดของ ข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ จากแหล่งที่เกิดของข้อมูลนั้นๆโดยตรง 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวม ได้จากแหล่งข้อมูลที่ได้รวบรวมข้อมูลเหล่านั้นไว้แล่้ว

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (collection of Data) การเก็บรวบรวมข้อมูล หมายถึง กระบวนการเพื่อจะให้ได้ข้อมูล ที่ต้องการศึกษาภ้ายใต้ขอบข่ายที่กำาหนด ในการศึกษาเกี่ยวกับข้อ มูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้น กลุ่มของข้อมูลทั้งที่อยู่ในขอบข่ายที่ต้อง การจะศึกษา ซึ่งอาจได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ หรือปรากฎการณ์ ต่างๆ เรียกว่าประชากร (Population) ส่วนค่าที่แสดงลักษณะ หรือสมบัติของประชากรเรียกว่า ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) ในกรณีที่ไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรทั้งหมดที่ ต้องการได้ อาจเนื่องจากประชากรมี จำานวนมาก ทำาให้ต้องใช้ เงิน เวลา และกำาลังคนเป็นจำานวนมากเพื่อนให้ได้ข้อมูลนั้นมา จึงไม่สะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าว ข้อมูลที่ได้มาซึ่ง เป็น ข้อมูลส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกเลือกมาใช้เพื่อเป็นตัวแทน ในการศึกษาประชากรทั้งหมดนี้เรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ส่วนค่าที่เเสดงลักษณะกรือสมบัติของกลุ่มตัวอย่างเรียกว่า ค่า สถิติ (Statistic)

วิธีเก็บรวบรวม โดยทั่วไปนั้นอาจจำาแนกออกไดเป็น 4 วิธี คือ 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทะเบียนประวัติหรือ รายงาน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่มี ช้อมูลเหล่า

นั้นอยู่แล้ว เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของนักเรียนสามารถ เก็บได้จากงานทะเบียน ทางวิทยาลัยได้บันทึกได้ ข้อมูลเกี่ยวกับ อุบัติเหตุในท้องที่แห่งหนึ่งสามารถเก็บได้จากสถานีตำารวจใน ท่้องที่นั้นๆ

3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำารวจ การเก็บ

รวบรวมข้อมูลโดยวิธีนี้ ผู้สำารวจจะต้องเตรียมแบบสำารวจไว้ล่วง หน้า และวิธีสำารวจที่จะให้ได้ข้อมูลตามแบบสำารวจที่ต้องการนั้น อาจทำาได้ 2 วิธี คือ 3.2.1 การสัมภาษณ์ วิธีนี้ผู้สำารวจจะต้องออกไปสัมภาษณ์ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ต้องการโดย เช่น บริษัทผู้ผลิตสินค้าชนิด หนึ่งต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสียของการใช้สินค้าชนิดนี้ 3.2.2 การส่งแบบสอบถาม วิธีนี้ผู้สำารวจจะต้องส่ง แบบสอบถามไปยังผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะสำารวจ เพื่อกรอกข้อมูลแล้ว ส่งกลับคืนมายังผู้สำารวจ 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง เป็นการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากผลการทดลอง ซึ่งได้เเก่ การทดลองทางด้าน วิทยาศาสตร์ การทดลองทางด้านการเกษตร การทดลองทางด้าน การแพทย์ 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสังเกต เป็นการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยผู้ทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องทำาการจด บันทึกที่ได้พบเห็นจากการสังเกต เช่น การจดบันทึกจำานวนรถ จักรยานยนต์ที่ผ่าน ณ จุดจุดหนึ่งในช่วงเวลาที่ต้องการ การจด บันทึกจำานวนคนที่ข้ามถนนโดนใช้สะพานลอย เป็นต้น

4. การนำาเสนอ (Presetation of Data) การนำาเสนอข้อมูล เป็นการนำาเสมอข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา

ได้นั้นมักจะไม่เป็นระเบียบ และรายละเอียดต่างๆ ที่ต้องการ ทราบมักปรากฏไม่ชัดเจน ทำาให้ไม่สามารถมองเห็นข้อเท็จจริง และข้อเปรียบเทียบต่างๆ ที่ต้องการทราบได้ จึงจำาเป็นจะต้อง มีการนำาเสมอข้อมูลด้วยวิธีต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นข้อเท็จจริง ที่ต้องการทราบได้อย่างชัดเจน สะดวก รวดเร็ว ทั้งได้ประโยชน์ ในด้านต่างๆ ไม่โดยง่าย วิธีการนำาเสนอข้อมูลนั้นแบ่งเป็น 2 วิธี ใหญ่ๆ ซึ่งได้แก่ การนำาเสมอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน และ การนำาเสนออย่างเป็นแบบแผน

4.1 การนำาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน(Informal Presentation) เป็นการนำาเสนอข้อมูลที่ไม่ต้องมีกฎเกณฑ์และ

แบบแผนแต่อย่างใด วิธีนิยมใช้มี 2 วิธี ดังต่อไปนี้ 4.1.1 การนำาเสนอข้อมูลในรูปบทความ เป็นการนำาเสนอ ข้อมูลที่ต้องการเสนอมาอธิบาย หรือสรุปให้ได้รายละเอียดเกี่ยว กับข้อมูลนั้นๆ

4.1.2 การนำาเสนอข้อมูลในรูปบทความกึ่งตาราง

เป็นการนำา เสนอข้อมูลที่ต้องการเสนอมาแยกข้อความและตัวเลข เพื่อให้เห็น การเปรียบเทียบได้ชัดเจน

4.2 การนำาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน (Formal Presentation) เป็นกาารนำาเสนอข้อมูลที่มีการกำาหนดระเบียบกฎต่างๆ วิธีที่ นิยมใช้มี 6 วิธี ดังต่อไปนี้ 4.2.1 การนำาเสนอข้อมูลในรูปตาราง เป็นการนำาข้อมูลมาจัดให้ อยู่ในรูปตามแนวนอน หรือเรียกว่า แถว (ROW) และตามแนว ตั้ง หรือเรียกว่า สดมภ์ (Column)

ตัวอย่าง ภาค เหนือ กลาง ตะวันออก เฉียงเหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้

รวม

จำานวนจังหวัด

เนื้อที่(ตารางกิโลเมตร)

9 22 20

93,388.73 91,582.25 168,805.50

7 5 14

34,376.45 53,695.76 59,968.68

77

501,817.37

4.2.2 การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิแท่ง

เป็นการนำา เสนอข้อมูลโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยม มุมฉากแต่ละรูปจะมีด้านกว้างเท่ากันทุกรูป ส่วนด้าน ยาวของแต่ละรูปขึ้นอยู่กับปริมาณของข้อมูล

4.2.3 การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิ รูปวงกลม (Pie Chat) เป็นแผนภูมิที่แสดงอยู่

ในลัษณะรูปวงกลม โดยเริ่มจากการคำานวณข้อมูล แต่ละชนิดที่ต้องการนำาเสนอให้อยู่ในรูปร้อยละ หลังจากนั้นก็แบ่งรูปวงกลม โดยเริ่มจากแบ่งมุมที่ จุดศูนย์กลางของวงกลมออกส่วนๆ

4.2.4 การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปภาพ (Pictogram) เป็นแผนภูมิที่ใช้รูปภาพแทนข้อมูลซึ่งต้องการนำาเสนอ เช่น ใช้รูปภาพคน 1 คน แทนประชากร 1 ล้านคน

4.2.5 การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนที่สถิติ (Statistical Map) เป็นการนำาเสนอข้อมูลโดยอาศัยหลักการทาง ภูมิศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้เห็นถึงลักษณะการเปรียบเทียบข้อมูลได้ ชัดเจนขึ้น

4.2.6 การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟเส้น เป็นวิธีที่นิยม ใช้กับข้องมูลที่เกี่ยวข้องกับเวลา ซึ่งจะทำาให้สามารถมองเห็นการ เปลี่ยนแปลงตามลำาดับก่อน-หลังของเวลาที่ข้อมูลนั้นๆ เกิดขึ้น

บรรณานุกรม

แหล่งที่มาจาก : หนังสือคณิตศาสตร์ พื้นฐาน กิ่งพร ทองใบ และคณะ.คณิตศาสตร์และแจกแจงความถี่ หน่วยที่4 พิมพ์ครั้งที่5. นทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช 2535. คณาจารย์สาขาคณิตศาสตร์และสถิติ. คณิตศาสตร์ทั่วไประดับมหาวิทยาลัย กรุงเทพ มหาลัยธรรมศาสตร์ 2530 ไพวัฒน์ วงษ์หนาม และคระ คณิตศาสตร์ ค.015-0016 กรุงเทพ : สำานักพิมพ์ ประสานมิตร ม.ป.ป มนัส ประสงค์ คณิตศาสตร์ช่วง1-2 กรุงเทพ: สำานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,2545 มนัส ประสงค์, รส.ดร. คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ. กรุงเทพฯ : จิตรวัฒน์ 2562. วินัย ธรรมศิลป์. คณิตศาสตร์ช่าง. กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ ม.ป.ป. สมศักดิ์ - ยุพิน. แบบฝึกหัด. กรุงเทพ : สำานักพิมพ์วัฒนาพาณิชม 2530. สร ชัย พิศาลบุตร. คณิตศาสตร์พาณิชยกรรม 1-2. กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม วิชาการม 2535. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนดลยี สถาบัน. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 1. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนเทคโนโลยี, 2539. (อัดสำาเนา) หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ค.203-ก.204. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2521. สุพล สุวรรณนพ และคณะ.แบบเสริมแระสบการณ์และทดสอบวัตถุประสงค์การ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ค.204. กรุงเทพ นิลสิทธิ์สถาพร และคณะ. แบบทดสอบเฉลยสอบคณิตศาสตร์ ค.311-ค.312 กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ และคณะ. คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1. กรุงเทพฯ : สำานัก พิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาคณิตศาสตร์ศาสรืประยุกต์ 2 กรุงเทพฯ สำานักพิมพ์ศุนย์ส่ง เสริมวิชาการ 2554 คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ.กรุงเทพฯ สำานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม วิชาการ2556 อุษา ศรีอักษร ดร. คณิตศาสตร์ 1. กรุงเทพฯ สำานักพิมพ์จิตรวัตน์.

น.ส. มลิษา สุทธิแก้ว ปวช2/8 เลขที่24

Data Loading...