อาจารย์ตัวอย่าง-อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล - PDF Flipbook

หนังสือ E-Book

116 Views
29 Downloads
PDF 19,114,407 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


Page |2

เอกสารประกอบการพิจารณาอาจารย์ตัวอย่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2565

ด้านการเรียนการสอน อาจารย์ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Page |3

คำนำ เอกสารฉบั บ นี ้ จ ั ดทำขึ ้ น ประกอบการพิ จารณาอาจารย์ต ั ว อย่ า ง ด้ า นการเรี ย นการสอน แห่ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2565 นำเสนอโดยคณะศึกษาศาสตร์ อาจารย์ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ปัจจุบันอายุ 50 ปี เข้าบรรจุทำงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2539 ในตำแหน่งครู ณ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย -สงขลานครินทร์ เป็นอาจารย์ผู้สอนแขนงวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) ในระดับปริญญาตรี และเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาโท สาขาหลักสูตรและการสอน ตำแหน่งปัจจุบัน เป็น หัวหน้าโปรแกรมคณิตศาสตร์ (ระดับปริญญาตรี) ดูแลนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้ง 5 ชั้นปี เป็นที่ปรึกษานักศึกษา ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์นักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาหลักสูตรและการสอน จำนวน 2 คน ดิฉัน มีความยิ น ดีที่ได้ร ับการเสนอชื่อจากคณะศึกษาศาสตร์ให้เป็นตัวแทนคณะ ฯ เข้ารับ การ พิจารณาในครั้งนี้ เอกสารฉบับนี้อาจไม่สมบูรณ์เท่าที่ควรหากท่านกรรมการต้องการข้อมูลประกอบเพิ่มเติม สามารถ แจ้งดิฉันได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 081 678 3539 หรืออีเมล [email protected]

ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล คณะศึกษาศาสตร์ กุมภาพันธ์ 2565

Page |4

รายการ

สารบัญ

แบบฟอร์ม ก: แบบข้อมูลเกี่ยวกับอาจารย์ตัวอย่าง

หน้า 5

แบบฟอร์ม ข: ข้อมูลสนับสนุนการเสนอชื่ออาจารย์ตัวอย่างด้านการเรียน การสอน 1. ความรู้ความสามารถในด้านการเรียนการสอน 2. พันธกิจการบริการวิชาการเพื่อสังคม การอุทิศตน/ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

8 135

3. ข้อมูลการพัฒนาอาจารย์

170

4. ข้อมูลความร่วมมือในการช่วยงานภาควิชา คณะ และมหาวิทยาลัยในการ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและงานอื่น ๆ 5. แบบสรุปผลการประเมินการสอนของ ปีการศึกษา 2560-2564 (1/2564)

201 210

Page |5

แบบฟอร์ม ก. แบบข้อมูลเกี่ยวกับอาจารย์ตัวอย่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2565 คณะ.. ..........ศึกษาศาสตร์........................ คณะศึกษาศาสตร์ ขอเสนอ นาย/นาง/นางสาว...........รัชดา.เชาวน์เสฏฐกุล........................ เป็นอาจารย์ตัวอย่างในด้าน (  ) 1. ด้านการเรียนการสอน [ ] 1.1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ [  ] 1.2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ( ) 2. ด้านการวิจัยและนวัตกรรม [ ] 2.1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ [ ] 2.2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ( ) 3. ด้านบริการวิชาการ ( ) 4. ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( ) 5. ด้านกิจการนักศึกษา ส่วนที่ 1 ประวัติส่วนตัว 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อ (นาย,นาง,นางสาว)................รัชดา........................ สกุล.............เชาวน์เสฏฐกุล.......................... 1.2 เกิดวันที่ .......9...... เดือน ......มิถุนายน...... พ.ศ.........2514........ อายุ .......50.......ปี ........8.........เดือน 1.3 ตำแหน่งปัจจุบนั 1.3.1 ชื่อตำแหน่ง....................อาจารย์..................................................................................................... 1.3.2 ระดับ .......-............. อัตราเงินเดือน .............................49,410 บาท............................................. 1.3.3 สังกัด (ระบุหน่วยงาน)......หลักสูตรปริญญาโท.หลักสูตรและการสอน.......คณะศึกษาศาสตร์........ 2. ประวัติการรับราชการ (ตั้งแต่เริ่มรับราชการจนถึงปัจจุบัน) 2.1 ตำแหน่งทางวิชาการ 2.1.1 ชื่อตำแหน่ง ............................อาจารย์............................................................ ระดับ/ชั้น .....3........ สังกัด....โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์..... ตั้งแต่ พ.ศ..2539....ถึง พ.ศ...2541... 2.1.2 ชื่อตำแหน่ง ....อาจารย์...................................................................................... ระดับ/ชัน้ .....4........ สังกัด.....โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์....... ตั้งแต่ พ.ศ..2541...ถึง พ.ศ..2545.... 2.1.3 ชื่อตำแหน่ง .....อาจารย์.................................................................................... ระดับ/ชัน้ ....5......... สังกัด.....โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.... ตั้งแต่ พ.ศ..2545..ถึง พ.ศ...2547..... 2.1.4 ชื่อตำแหน่ง ......อาจารย์..................................................................................... ระดับ/ชัน้ ...6.......... สังกัด.......โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.... ตั้งแต่ พ.ศ.....2547....ถึง พ.ศ...2549.... 2.1.5 ชื่อตำแหน่ง.....อาจารย์......................................................................................ระดับ/ชั้น ...7......... สังกัด.......โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์....ตั้งแต่ พ.ศ...2549....ถึง พ.ศ...2553.... 2.1.6 ชื่อตำแหน่ง....อาจารย์......................................................................................ระดับ/ขั้น..7...... สังกัด.........คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา............ตั้งแต่ พ.ศ...2559....ถึง พ.ศ..2561...... 2.1.7 ชื่อตำแหน่ง....อาจารย์......................................................................................ระดับ/ขั้น..7...... สังกัด..คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรปริญญาโทสาขาหลักสูตรและการสอน...ตั้งแต่ พ.ศ..2561..ถึง พ.ศ ปัจจุบัน.

Page |6

2.2 ตำแหน่งทางบริหาร (ถ้ามี) 2.2.1 ชื่อตำแหน่ง ......หัวหน้าหมวดคณิตศาสตร์.......................................... ระดับ/ชัน้ ...........4............. สังกัด.............โรงเรียนสาธิต.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์........ ตั้งแต่ พ.ศ.....2544....ถึง พ.ศ..2546.... 2.2.2 ชื่อตำแหน่ง .......หัวหน้าโปรแกรมสาขาวิชาคณิตศาสตร์.................... ระดับ/ชั้น ..........5............ สังกัด.............ภาควิชาการศึกษา..คณะศึกษาศาสตร์................. ตั้งแต่ พ.ศ..2545.....ถึง พ.ศ.....2547......... 2.2.3 ชื่อตำแหน่ง .......รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประสบการณ์วชิ าชีพ....... ระดับ/ชั้น ........6......... สังกัด.............คณะศึกษาศาสตร์.................................... ตั้งแต่ พ.ศ.....2547.....ถึง พ.ศ.....2551..... 2.2.4 ชื่อตำแหน่ง........กรรมการประจำคณะรัฐศาสตร์...................................ระดับ/ขั้น.........7.......... สังกัด.............คณะรัฐศาสตร์ ..มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์........ตั้งแต่ พ.ศ...2552....ถึง พ.ศ....2553......... 2.2.5 ชื่อตำแหน่ง.........ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์................ระดับ/ชั้น..........7............. สังกัด............คณะศึกษาศาสตร์...........................ตั้งแต่ พ.ศ.....2559..............ถึง พ.ศ....2560........ 2.2.6 ชื่อตำแหน่ง.......รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์.................ระดับ/ชัน้ ............7............. สังกัด.............คณะศึกษาศาสตร์..............................ตั้งแต่ พ.ศ.....2560..............ถึง พ.ศ....2561........ 2.2.7 ชื่อตำแหน่ง........รองคณบดีฝ่ายวิชาการและทรัพยากรการเรียนรู้.................ระดับ/ชัน้ ............-................. สังกัด............คณะศึกษาศาสตร์..............................ตั้งแต่ พ.ศ.....2561..............ถึง พ.ศ....2562........ 2.2.8 ชื่อตำแหน่ง ......หัวหน้าโปรแกรมสาขาวิชาคณิตศาสตร์....................................... ระดับ/ชั้น ........-......... สังกัด............คณะศึกษาศาสตร์.............................. ตั้งแต่ พ.ศ..2562.....ถึง พ.ศ.....ปัจจุบัน......... 2.2.9 ชื่อตำแหน่ง...คณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง Outcome Based Education ......สังกัด......สำนักงานอธิการบดี..................ตั้งแต่ พ.ศ. 2563....ถึง......ปัจจุบัน 3. ประวัติการศึกษา ให้ระบุจากวุฒิที่ได้รับสูงสุดไปหาต่ำสุด (เฉพาะระดับปริญญา) .............................................................................................................................................................................….........

สถานศึกษา ตั้งแต่-ถึง (เดือน ปี) สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะ มิ.ย.2553 - พ.ค.2559 ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชาสถิติ คณะสถิติประยุกต์ มิ.ย. 2541 - พ.ค.2543 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มิ.ย.2533 - เม.ย. 2537 ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ..........................

วุฒิที่ได้รับ ปริญญาเอก ปร.ด. (คณิตศาสตรศึกษา) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปริญญาโท วท.ม. (สถิติประยุกต์) วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์) ปริญญาตรี วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) : วิทยา ศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์)

Page |7

.............................................................................................................................................................…… ส่วนที่ 2 คำชี้แจงประกอบเพื่อนำไปใช้ในการประกาศเกียรติคุณ 1. เหตุผลที่คัดเลือกอาจารย์ผู้นี้เป็นอาจารย์ตัวอย่างทางด้านนี้เพราะ (มหาวิทยาลัยจะพิจารณาครอบคลุม ทั้งด้านความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ มนุษยสัมพันธ์กับนักศึกษาและผู้ร่วมงาน การเสียสละและอุทิศตน โดยจะ พิจารณาจากกรอบการให้ข้อมูล การเสนอชื่ออาจารย์ตัวอย่างในแต่ละด้าน ตามแบบฟอร์ม ข.ที่แนบมานี้)

ขอรับรองว่า….....ดร.รัชดา.เชาวน์เสฏฐกุล...............มีคุณสมบัติ มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความประพฤติ เหมาะสมที่จะเป็นอาจารย์ตัวอย่างดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

( .......รศ.ดร.เอกรินทร์. สังข์ทอง...........) คณบดี/ผู้อำนวยการ.........คณะศึกษาศาสตร์.............. วันที่ ........23....... เดือน ...กุมภาพันธ์...... พ.ศ. ..2565......

Page |8

แบบฟอร์ม ข: ข้อมูลสนับสนุนการเสนอชื่ออาจารย์ตัวอย่างด้านการเรียน การสอน

ข 1. ความรู้ความสามารถด้านการเรียนการสอน ความสามารถในด้านการเรียนการสอน ดิฉันมีแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนโดยยึดหลักการที่ว่า ชั้นเรียนเป็นของนักศึกษา เราจึงต้องให้ เขาเป็นเจ้าของชั้นเรียน เขาต้องมีบทบาทในชั้นเรียน เขาต้องเป็นพระเอกและนางเอก เป็นตัวเด่นในงานใน กิจกรรมของเขา เราเป็นผู้อยู่เบื้องหลัง เป็นผู้คอยสนับสนุนส่งเสบียงส่ งน้ำส่งอาหารที่เหมาะสมและเป็น ประโยชน์แก่พวกเขา แล้วให้เขาร่วมกันสรรสร้างเมนูอาหารร่วมกัน ตกแต่งตามที่ใจเขาต้องการ บางครั้งเขาใส่ ส่วนผสมมากไปน้อยไปเราก็คอยบอกคอยติคอยชมค่อยๆปรับส่วนผสมให้กลมกล่อมที่สุด และทุกคนในทีมร่วม ชื่นชมและร่วม ฉลองความสำเร็จร่วมกัน เราสร้างให้ทุกคนช่วยกันทำงานกันเป็นทีม เราคุยกันทำงานร่วมกัน ผ่านทุกช่องทางที่ทำได้และเก็บรอยยิ้มนั้นไว้เป็นพลังเป็นแรงหนุนให้ก้าวต่อไปอย่างมีความหวังเพื่อการเป็น คุณครูดีมีคุณภาพต่อไป ดิฉันสอนในรายวิชาชีพครู และรายวิชาชีพการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ รวมถึง รายวิชาการสังเกตการสอน รายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยมีวิธีการสอน ที่ตนเองยึดถือและมีความเชี่ยวชาญคือวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่เป็นการสอน อย่างกระตือรือล้น (Active Learning) ที่คอยรับฟังเสียงของผู้เรียนเป็นหลัก นั่นคือรับฟังเสียงของผู้เรียน ให้ ความสำคัญกับแนวคิดของผู้เรียนเป็นสำคัญ การดำเนินกิจกรรมทุกอย่างอยู่บนฐานของแนวคิดในชั้นเรียนเป็น สำคัญโดยครูเป็นผู้อำนวยการชั้นเรียนให้เกิดแนวคิดตามหลักการหรือเนื้อหาที่กำหนดไว้ หมายถึงมีเนื้อหาที่ กำหนดแต่ไม่กำหนดกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ดิฉันจะใช้หลักการตั้งคำถาม (Questioning) เป็นเครื่องมือ ในการดึงแนวคิดของผู้เรียน ให้เวลาและโอกาสผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ให้เวลาและโอกาสในการฝึกพูด ฝึกคิด ฝึกแสดงออกอเพราะการจะปั้นว่าที่ครูให้สวยงามนั้นต้องใช้ทั้งเวลาและความอดทนอย่างมากจึงจะ ออกมาดี การที่คุรุสภากำหนดให้มีนักศึกษาในชั้นได้ชั้นละ 30 คน ทำให้เป็นจุดดีที่ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้วิธีคิดของ นักศึกษาเป็นรายบุคคล ทำให้มีเวลาในการใส่ใจเขาในการทำงานแต่ละชิ้นได้และทำให้เข้าใจความแตกต่างของ แต่ ล ะคนได้ ม ากขึ ้ น ประกอบกั บ การที ่ ด ิ ฉ ั น ใช้ ว ิ ธ ี ก ารตั ้ ง คำถามเจาะลึ ก ลงไปๆ ในแต่ ล ะคนที ่ ถ ู ก ถาม เปรียบเสมือนถามเป็นรายบุคคล ส่งผลให้จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมได้ตรงตามความต้องการทั้งของ ผู้ส อนและผู้เรียน ดังกิจกรรมที่จัดให้กับนักศึกษาที่เรียนรายวิชา 262-201 Mathematical Learning Design ที่สอนในเทอม 1/64 ดิฉันได้จัดให้นักศึกษาออกแบบการจัดการสอนในเนื้อหาที่แตกต่า งกันแล้ว นำเสนอผลงานของตนเองทางออนไลน์ ในชื่อกิจกรรม Open the world of Math online media ในวันที่ 7 ตุลาคม 2564 รวมถึงกิจกรรมการเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้เรื่องการวิจัยเชิงคุณภาพให้กับ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ในวันที่ 14 ธันวาคม 2564 และการเรียนเชิญวิทยากรชาวต่างประเทศมาจัดกิจกรรม PSU Visiting Professor ในวัน ที่ 23 มกราคม 2565 ซึ่งทุกกิจกรรมจัดในรูป แบบออนไลน์และเปิดโอกาสให้ บุคคลภายนอกเข้าร่วม ซึ่งมีผู้ให้ความสนใจเป็นอย่างมาก การที่ดิฉันจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษานั้นเพื่อฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์จริ ง เพราะในการ ทำอาชีพครูนั้นมิใช่จะมีแต่การสอนในชั้นเรียนเท่านั้น จะต้องจัดโครงการต่างๆเป็น ดังกิจกรรมที่แสดงให้ทราบ รวมถึงการนำนักศึกษาเข้าสังเกตชั้นเรียน ไม่ว่าจะเป็นช่วงโควิดหรือช่วงปกติ หากช่วงปกติจะนำไปสังเกต โรงเรียนที่เป็นเครือข่าย และหากเป็นช่วงโควิด ก็นำนักศึกษาสังเกตชั้นเรียนทางออนไลน์ ในกิจกรรมทุกอย่างในการสอนทุกรายวิชา ดิฉันใช้การประเมินแบบพัฒนาการคือ มีเกณฑ์ในการ พัฒนาเป็นลำดับขั้นเป็นกำลังพัฒนา พัฒนา มาตรฐาน และขั้นเหนือความคาดหมาย โดยถือว่าขั้นปกติที่ทุกคน ทำได้คือขั้นพัฒนา เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพิจารณาการทำงานการส่งงาน การมีปฏิสัมพันธ์การ นำเสนอแนวคิด ที่มากพอก็จะถึงระดับมาตรฐาน และหากนักศึกษาคนใดทุ่มเทให้กับการทำงานนั้นมากเกิน

Page |9

กว่าความสามารถปกติของเขา จึงจัดว่าอยู่ในระดับเหนือความคาดหมาย แต่นั่นคือ ดิฉันจะต้องคุย คุย และคุย โดยการตั้งคำถาม การประชุม การสอบถามในการทำงานอย่างละเอียดซึ่งอาศัยเวลาอย่างมากที่จะทำให้ทราบ การจัดการเรียนการสอนของดิฉันจึงให้นักศึกษาได้นำเสนอแนวคิดของตนเองให้มากที่สุด เรียกว่า ถามคือสอน สะท้อนคือเรียน เขียนคือคิด จากที่กล่าวมาดิฉันให้ความสำคัญกับการสอนมากที่สุด หากแบ่งอัตราส่วนของ การสอน การวิจัย การ บริการวิชาการ และทำทุบำรุงศาสนาและวัฒนธรรมแล้ว ดิฉันให้คะแนนดังนี้ คือ 50 : 20 : 15 : 15 ดังที่ท่าน เห็นอยู่ในรายงานฉบับนี้ ดิฉันให้ความสำคัญกับการสอนมากที่สุด จึงมีการวิจัยไม่มาก แต่ให้ความสำคัญกับ การบริการวิชาการและการบำรุงศาสนาเท่ากัน ตามที่กล่าวมาทั้งหมดดิฉันมีไฟล์ภาพตามในเอกสารนี้ และมีคลิปสัมภาษณ์นักศึกษาถึงการสอนของ ตัวดิฉันเอง ตาม QR code (คลิปรีวิวการสอนของอาจารย์รัชดา) ทั้งหมดทั้งมวลนี้น่าจะเป็นแบบอย่างครูดี ด้านการเรียนการสอนได้บ้างไม่มากก็น้อย

QR Code รีวิวการสอนของ อาจารย์รัชดา

ภาระงานย้อนหลัง 3 ปี (เป็นภาระงานที่ทําโดยความเห็นชอบจากเจ้าสังกัด) งานสอน (โปรดระบุระดับว่า ปริญญาตรี หรือบัณฑิตศึกษา) ภาระงานสอนและนิเทศปีการศึกษา 2561 รหัสวิชา รายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ 1 261-101 FOUNDATION OF EDUCATION 261-403 TEACHERSHIP 262-411 PRACTICUM IN PROFESSIONAL EXPERIENCE 262-511 PROFESSIONAL INTERNSHIP I ภาคเรียนที่ 2 262-401 LEARNING AND INSTRUCTION MANAGEMENT 262-402 LEARNING AND INSTRUCTION MANAGEMENT 262-512 PROFESSIONAL INTERNSHIP II

ชั่วโมง/สัปดาห์/กลุ่ม

จำนวนกลุ่ม

3 4 6

2 1 30 คน

นิเทศนักศึกษา 6 นก.

5 คน

3

2

4

2

นิเทศนักศึกษา6 นก.

5 คน

P a g e | 10

ภาระงานสอนและนิเทศ ปีการศึกษา 2562 รหัสวิชา รายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ 1 117-101 KING'S PHILOSOPHY AND THE BENEFIT 261-101 TEACHING PROFESSION AND TEACHERSHIP 261-403 TEACHERSHIP 262-411 PRACTICUM IN PROFESSIONAL EXPERIENCE 262-511 PROFESSIONAL INTERNSHIP I 262-535 EXTRACURRICULAR ACTIVITIES IN MATHEMATICS (ป.บัณฑิต) ภาคเรียนที่ 2 262-305 MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEANING 262-402 LEARNING AND INSTRUCTION MANAGEMENT 262-512 PROFESSIONAL INTERNSHIP II

ชั่วโมง/สัปดาห์/กลุ่ม

จำนวนกลุ่ม

3

1

4

4

4 3

2 30 คน

นิเทศนักศึกษา 6 นก. 3

6 คน 1

4

2

4

3

นิเทศนักศึกษา 6 นก.

6 คน

P a g e | 11

ภาระงานสอนและนิเทศปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 1 261-101 262-201 262-211 262-411 262-511 262-512 ภาคเรียนที่ 2 262-111 262-203 262-305 262-402 262-403 262-512 270-502

รายวิชาที่สอน

ชั่วโมง/สัปดาห์/กล่ม

จำนวนกลุ่ม

TEACHING PROFESSION AND TEACHERSHIP MATHEMATICS LEARNING DESIGN TEACHING PRACTICUM IN SCHOOL I PRACTICUM IN PROFESSIONAL EXPERIENCE PROFESSIONAL INTERNSHIP I PROFESSIONAL INTERNSHIP II

3

4

4

1

3

1

3

1

นิเทศนักศึกษา 6 นก. นิเทศนักศึกษา 6 นก.

6 คน 1 คน

3

1

4

1

3

1

3

1

3 นิเทศนักศึกษา 6 นก. 3

1 6 คน 1

TEACHING PRACTICUM IN SCHOOL I MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEARNING MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEARNING TEACHING AND LEARNING MANAGEMENT SCHOOL MATHEMATICS PROFESSIONAL INTERNSHIP II SEMINAR IN CURRICULUM AND INSTRUCTION (ปริญญาโท)

P a g e | 12

ภาระงานสอนและนิเทศปีการศึกษา 2564 รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 1 261-101 262-201 262-211 262-309 262-311 262-411 262-511 262-512 270-503 270-699 ภาคเรียนที่ 2 262-203 262-310 262-402 262-512 270-601 270-699

รายวิชาที่สอน

ชั่วโมง/สัปดาห์/ จำนวนกลุ่ม กลุ่ม

TEACHING PROFESSION AND TEACHERSHIP MATHEMATICS LEARNING DESIGN TEACHING PRACTICUM IN SCHOOL I MATHEMATICAL PROBLEM I TEACHING PRACTICUM IN SCHOOL I PRACTICUM IN PROFESSIONAL PROFESSIONAL INTERNSHIP I PROFESSIONAL INTERNSHIP II SEMINAR IN CURRICULUM AND INST THESIS

3

2

4 3 4 3 3 6 นก. 6 นก. 1 นก. 18 นก.

1 1 1 10 คน 30 คน 6 คน 1 คน 1 2 คน

MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEA MATHEMATICAL PROBLEM II TEACHING AND LEARNING MANAGEMENT PROFESSIONAL INTERNSHIP II SEMINAR IN CURRICULUM DEVELOPM THESIS

3 4 3 6 นก. 1 นก. 18 นก.

1 1 1 6 คน 1 2 คน

ต่อไปนี้เป็นเอกสารแสดงการมีความรู้ความสามารถด้านการเรียนการสอน ตัวอย่าง 1. รายวิชา 261-101 พื้นฐานการศึกษาและความเป็นครู (FOUNDATION OF EDUCATIONTEACHERSHIP) เอกสารประกอบการสอน และการสะท้อนผล 1. รายวิชา 262-203 กระบวนการคณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ (MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEANING) และการจัดกิจกรรม PSU Professor Visiting 2021

P a g e | 13

รายละเอียดรายวิชา Course Specification ชื่อสถาบันอุดมศึกษา Name of Institution วิทยาเขต ปัตตานี Prince of Songkla University Pattani Campus

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Prince of Songkla University คณะ ศึกษาศาสตร์ Faculty of Education

[  ] รายละเอียดของรายวิชา/ชุดวิชา และการรายงานผลดำเนินการ Course/Module Specification and Report

[ ] รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม และการรายงานผลดำเนินการ Field Experience Details and Report

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป Section 1: General Information 1. รหัสและชื่อรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module title and code 261-101 วิชาชีพและความเป็นครู (Teaching Profession and Teachership) 2. จำนวนหน่วยกิต Number of credits 2(1-2-3) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา Program and categories of course/ Module [ ] หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต และวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) [  ] หลายหลักสูตร (กรณีที่เป็นรายวิชาที่เปิดสอนให้หลายหลักสูตร) Several programs (In case of providing courses for several programs) ประเภทของรายวิชา (Categories of course) ระดับปริญญาตรี Undergraduate [ ] หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education courses) [] หมวดวิชาเฉพาะ (Specific courses) [ ] หมวดวิชาเลือกเสรี (Free Elective courses) ระดับบัณฑิตศึกษา Graduate [ ] หมวดวิชาบังคับ Core courses) [ ] บังคับเลือก Elective Core courses) [ ] วิชาเฉพาะสาขา (Specific courses) [ ] หมวดวิชาเลือก (Elective courses) [ ] วิทยานิพนธ์ (Thesis) [ ] สารนิพนธ์ (Minor Thesis)

P a g e | 14

4. การจัดการเรียนการสอน Teaching and Learning management [] ดำเนินการโดยคณะ/หน่วยงาน (Managed by faculty/ department) ….ศึกษาศาสตร์…. [ ] ดำเนินการโดยหลายคณะ/หน่วยงาน (Managed by several faculties/ departments) คณะ Faculty ............................ สัดส่วนความรับผิดชอบร้อยละ (Percentages of responsibility)............... คณะ Faculty............................. สัดส่วนความรับผิดชอบร้อยละ (Percentages of responsibility)............... คณะ Faculty............................. สัดส่วนความรับผิดชอบร้อยละ (Percentages of responsibility)............... [ ] ดำเนินการโดยคณะ ร่วมกับองค์กรผู้ใช้บัณฑิต/แหล่งฝึก (Manage by a faculty with the cooperation with company or organization) 5. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/ชุดวิชา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์นิเทศ Course/Module coordinator(s) and lecturer(s)/Advisor/supervisor ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล [] อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/ชุดวิชา (Course/Module coordinators) [ ] อาจารย์ผู้สอน 1. รศ.ดร.คณิตา นิจจรัลกุล (Lecturers) 2. รศ.ดร.สุใจ ส่วนไพโรจน์ 3. ผศ.ดร.อริยา คูหา 4. ผศ.ดร.สรินฏา ปุติ. 5. ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 6. ผศ.ดร.อดิศร ศิริ 7. อาจารย์จารึก อรรถสงเคราะห์ 8. ดร.ศุภกาญจน์ บัวทิพย์ 9. ผศ.ดร.ณัฐวิทย์ พจนตันติ 6. ชั้นปีที่เรียน/ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอน Semester/Year of study ชั้นปีที่ (Year of study) 1 ภาคการศึกษา (Semester) 1 ปีการศึกษา (Academic Year) 2564 7. รายวิชาที่เกี่ยวข้อง Related Courses  ไม่มี (No)  มี (Yes)  รายวิชาบังคับก่อน (Prerequisite) ระบุ. (specify)...................................................  รายวิชาบังคับเรียนร่วม (Co-requisite) ระบุ (specify)…………………...............………  รายวิชาบังคับเรียนควบกัน (Concurrent) ระบุ (specify)……………………............…… 8. วันทีจ่ ัดทำรายละเอียดของรายวิชา ประสบการณ์ภาคสนาม และการรายงานผลดำเนินการ Date of issues วันที่ (Date) 7 เดือน (Month) พฤษภาคม พ.ศ. (Year) 2564

หมวดที่ 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชา/ชุดวิชา ประสบการณ์ภาคสนาม Section 2: Course/Module/ Field Experience Expected Learning Outcomes ผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตรและระดับรายวิชา (PLOs and CLOs)

P a g e | 15

PLOs PLO 1: รัก ศรัทธา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครู PLO 4: แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริธรรม ธำรงความ โปร่งใสของสังคม

CLOs CLO1 วิพากษ์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความสำคัญของวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครูได้ ถูกต้อง CLO 2 อภิปราย จำแนกเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมที่ครูพึงมี ภูมิใจ มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และมีพฤติกรรมหรือการปฏิบัติตนสอดคล้อง จรรยาบรรณวิชาชีพครูได้ชัดเจนและถูกต้อง CLO 3 ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู วุฒิ ภาวะของครู ไปสู่การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง PLO 5: มีความรอบรู้ในหลักการแนวคิดด้านวิชาชีพ CLO 4 ปรัชญาการศึกษา จัดประเภทวิธีการจัดการ ครู และติดตามความก้าวหน้าด้านวิชาชีพครู เรียนรู้ตามหลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนฐานของ จัดการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น (active learning) พร้อมเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ในมิติเทคโนโลยี มิติสังคม และมิติการ เรียนรู้ตลอดชีวิต PLO 11: คิดริเริ่ม และพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์ CLO5 มีภาวะผู้นำ วิเคราะห์บทบาทและหน้าที่ครู มีภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพ ด้านงานสอน และการปฏิบัติการเป็นครูแห่งการ PLO 15: สามารถทำงานเป็นทีม เป็นผู้นำผู้ตามที่ดี เรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง CLO 6 วิเคราะห์งานครูตามภาระงานของฝ่ายต่างๆ คนในชุมชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมทั้งวิเคราะห์โครงสร้างองค์กร การบริหารงาน ภาระงานบริหารวิชาการ บริหารบุคคล บริหารทั่วไป บริหารงบประมาณ และงานอื่น ๆ ในสถานศึกษา PLO 14: มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และทางสังคม มี CLO 7 วิเคราะห์ และอภิปรายพฤติกรรมและการ ความคิดเชิงบวก รับรู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เรียนรู้ของนักเรียน เพื่อให้เข้าใจและยอมรับความ แตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล PLO 18: สามารถสื่อสารกับผู้เรียนและบุคคลกลุ่ม CLO 8 รวบรวม เขียนสะท้อนคิด และนำเสนอ ต่างๆอย่างมีประสิทธิภาวะ ทั้งการพูดการเขียนและ เกี่ยวกับองค์ประกอบของชั้นเรียน การสังเกตชั้น นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆอย่าง เรียน และการบริหารจัดการชั้นเรียน เหมาะสม

1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module Learning Outcomes ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

CLO1 วิพากษ์ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับความสำคัญของวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครูได้ถูกต้อง

กลยุทธ์/วิธีการสอน Teaching Strategy/methods

กลยุทธ์/วิธีการวัดและการประเมินผล Measurement and Evaluation Strategies/methods

1. แบ่งกลุ่มทำรายงานและนำเสนอ วิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู

1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น

P a g e | 16

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการสอน Teaching Strategy/methods

2. การตอบคำถามและแสดงความ คิดเห็น 3. เน้นการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อ เวลา ความซื่อสัตย์และความ รับผิดชอบในงานที่ได้รับ มอบหมายและการแต่งกายให้ เป็นไปตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย 4. แนะนำการเขียน Journal 1. วิเคราะห์สถานการณ์ด้านวิชาชีพ CLO 2 อภิปราย จำแนกเกี่ยวกับ ครู คุณธรรม จริยธรรมที่ครูพึงมี ภูมิใจ 2. การใช้กรณีศึกษา มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และมี 3. การระดมความคิดเห็น สรุป พฤติกรรมหรือการปฏิบัติตน วิเคราะห์ สังเคราะห์ นำเสนอใน สอดคล้องจรรยาบรรณวิชาชีพครูได้ รูปแบบต่าง ๆ ชัดเจนและถูกต้อง CLO 3 ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ 1. วิเคราะห์สถานการณ์ด้านวิชาชีพ วิชาชีพครู วุฒิภาวะของครู ไปสู่การ ครู เป็นพลเมืองที่เข้มแข็งที่พร้อมเผชิญ 2. การระดมความคิดเห็น สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ นำเสนอใน ความเปลี่ยนแปลง รูปแบบต่าง ๆ 3. แสดงบทบาทสมมติในการปฏิบัติ ตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู วุฒิ ภาวะของครู ไปสู่การเป็นพลเมืองที่ เข้มแข็ง 1. ศึกษาปรัชญาทางการศึกษาเขียน CLO 4 ปรัชญาการศึกษา จัด แผนผังความคิดของปรัชญาทาง ประเภทวิธีการจัดการเรียนรู้ตาม การศึกษา หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบน 2. ศึกษาตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ ฐานของจัดการเรียนรู้อย่าง อย่างกระตือรือร้น (Active กระตือรือร้น (active learning) Learning) พร้อมเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง 3. สาธิตการจัดการเรียนรู้อย่าง (Transformative Learning) ในมิติ กระตือรือร้น (Active Learning) เทคโนโลยี มิติสังคม และมิติการ 4.ออกแบบและสร้างโรงเรียนในฝัน เรียนรู้ตลอดชีวิต CLO5 มีภาวะผู้นำ วิเคราะห์บทบาท 1. สังเกตและวิเคราะห์บทบาทและ และหน้าที่ครูด้านงานสอน และการ หน้าที่ของครูจากคลิปวิดีโอ

กลยุทธ์/วิธีการวัดและการประเมินผล Measurement and Evaluation Strategies/methods

3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน สม่ำเสมอ การตรงต่อเวลา การเข้า ร่วมกิจกรรม ความซื่อสัตย์ และการ ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย

1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. เข้าร่วมสังเกตการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียน รับฟังและ แลกเปลี่ยนการบริหารจัดการงาน โรงเรียน 5. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย

P a g e | 17

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการสอน Teaching Strategy/methods

ภาพยนตร์ตัวอย่าง บทความ หรือ หนังสือ ฯลฯ 2. นำเสนอผลการระดมความคิด 3. ลงพื้นที่จริงเพื่อสังเกตการจัดการ เรียนการสอนในชั้นเรียน รับฟังและ แลกเปลี่ยนการบริหารจัดการงาน โรงเรียน 4. บทบาทของครูที่ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ CLO 6 วิเคราะห์งานครูตามภาระ 1. สังเกตและวิเคราะห์บทบาทและ หน้าที่ของครูจากคลิปวิดีโอ งานของฝ่ายต่างๆ พร้อมทั้ง ภาพยนตร์ตัวอย่าง บทความ หรือ วิเคราะห์โครงสร้างองค์กร การ บริหารงาน ภาระงานบริหารวิชาการ หนังสือ ฯลฯ 2. นำเสนอผลการระดมความคิด บริหารบุคคล บริหารทั่วไป บริหาร 3. ลงพื้นที่จริงเพื่อสังเกตการจัดการ งบประมาณ และงานอื่น ๆ ใน เรียนการสอนในชั้นเรียน รับฟังและ สถานศึกษา แลกเปลี่ยนการบริหารจัดการงาน โรงเรียน 1. ศึกษาตัวอย่างการเรียนรู้และ CLO 7 วิเคราะห์ และอภิปราย พฤติกรรมของนักเรียน พฤติกรรมและการเรียนรู้ของ นักเรียน เพื่อให้เข้าใจและยอมรับ 2. วิเคราะห์การเรียนรู้และ พฤติกรรมของนักเรียนเพื่อหา ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้ บุคคล เหมาะสมกับผู้เรียน 1. ศึกษาและวิเคราะห์ตัวอย่างชั้น CLO 8 รวบรวม เขียนสะท้อนคิด เรียน และนำเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบ 2. สังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนตัวอย่าง ของชั้นเรียน การสังเกตชั้นเรียน 3. เขียนสะท้อนคิดจากสังเกตชั้น และการบริหารจัดการชั้นเรียน เรียนในโรงเรียนตัวอย่าง ปฏิบัติการเป็นครูแห่งการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์

กลยุทธ์/วิธีการวัดและการประเมินผล Measurement and Evaluation Strategies/methods

2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การ แสดงความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถามการแสดง ความคิดเห็น 3. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม 4. ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนตัวอย่าง 3. ประเมินการเขียนสะท้อนคิดจาก สังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนตัวอย่าง

2. เครื่องมือและน้ำหนักในการวัดและประเมินผล Measurement tools and weight distribution ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล Measurement strategies/methods

น้ำหนักคะแนน (Weighted score) ร้อยละ 100 (100 percent) 12

P a g e | 18

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล Measurement strategies/methods

- ประเมินจากความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) ในการเข้าชั้นเรียน และ การส่งงานอย่างสม่ำเสมอ - ประเมินจากการมีสว่ นร่วมในชั้นเรียน สร้างทีมงาน (Team Work) ให้มีศักยภาพเพือ่ การทำงานระบบทีม (Teamwork) ที่มีประสิทธิภาพ ในประเด็นต่างๆ เช่น (1) ความสำคัญของวิชาชีพครู (2) พัฒนาการของวิชาชีพครู (3) ประเภทและลักษณะขององค์กรวิชาชีพครู เพื่อการสะท้อนคิดการเรียนรู้วิชาชีพครู - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและ รายกลุ่มในลักษณะของ Instructional Models of Cooperative Learning - ประเมินจากการนำเสนอผลงานที่หลากหลายทั้งแบบ Informal Presentation และ Formal Presentation - การประเมินโดยอาศัยร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence based Assessment) - ประเมินจากความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate CLO 2 อภิปราย จำแนกเกี่ยวกับ คุณธรรม จริยธรรมที่ครูพึงมี ภูมิใจ มีเจต Social Responsibility) การทำงานระบบทีม (Teamwork) และการเรียนรู้แบบร่วมมือ คติที่ดีต่อวิชาชีพครู และมีพฤติกรรมหรือ (Cooperative and Collaborative Learning) การปฏิบัติตนสอดคล้องจรรยาบรรณ - ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ วิชาชีพครูได้ชดั เจนและถูกต้อง อภิปรายในประเด็นต่างๆ เช่น (1) จรรยาบรรณวิชาชีพครู (2) มาตรฐานวิชาชีพครู (3) ข้อบังคับคุรุสภา (4) วินัยของความเป็นครูมืออาชีพ เพื่อการสะท้อนคิดการเรียนรู้วิชาชีพครู (Reflective) - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่หลากหลาย และความสอดคล้อง ของการอธิบายความ และการขยายความแบบองค์รวม - เน้นการประเมินโดยบูรณาการทักษะ/สหวิทยาการ - เน้นความคิดที่ซบั ซ้อน และรู้จักใช้วิธีการนำความรู้ไป ใช้มากกว่ามีความรู้ ความจำเพียงอย่างเดียว - ประเมินการเรียนจากร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ CLO 3 ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครู วุฒิภาวะของครู ไปสูก่ ารเป็น (Evidence based Assessment) - ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ พลเมืองที่เข้มแข็ง ที่พร้อมเผชิญความ อภิปรายในประเด็นต่างๆ เช่น เปลี่ยนแปลง

น้ำหนักคะแนน (Weighted score) ร้อยละ 100 (100 percent)

CLO1 ลงความเห็น วิพากษ์ความสำคัญ ของวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครูได้ ถูกต้อง

12

12

P a g e | 19

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

CLO 4 ปรัชญาการศึกษา จัดประเภท วิธีการจัดการเรียนรู้ตามหลักการเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญบนฐานของจัดการ เรียนรู้อย่างกระตือรือร้น (active learning) พร้อมเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ในมิติเทคโนโลยี มิตสิ ังคม และมิติการเรียนรู้ตลอดชีวิต

CLO5 มีภาวะผูน้ ำ วิเคราะห์บทบาทและ หน้าที่ครูด้านงานสอน และการ ปฏิบัติการเป็นครูแห่งการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล Measurement strategies/methods

น้ำหนักคะแนน (Weighted score) ร้อยละ 100 (100 percent)

(1) วุฒิภาวะและองค์ประกอบของวิชาชีพครูขั้นสูง (2) บทบาทของครูในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและยุค ดิจิตอลกับทิศทางการศึกษายุค 4.0 อย่างยั่งยืน (3) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional Learning Community) - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่หลายหลาย และ บูรณาการทักษะ หรือสหวิทยาการ - ประเมินจากตัวอย่างชิน้ งาน (Work Samples) โดยวัดผลจากคุณภาพชิ้นงาน/ผลผลิต (Product) และ การปฏิบัติงาน (Performance) ที่ทำได้จริง - ประเมินการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู วุฒิ ภาวะของครู ไปสู่การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งตลอดทั้ง เทอมด้วยการสังเกตพฤติกรรมของความเป็นครู - ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายในประเด็นต่างๆ เช่น (1) ปรัชญาทั่วไป (2) ปรัชญาการศึกษา (3) ความสอดคล้องของปรัชญาการศึกษากับการจัดการ เรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น - รูปแบบการสอน Active Learning กับเทคนิคของการ เรียนในศตวรรษที่ 21 - การประยุกต์ใช้ Active Learning ในสถานการณ์จริง - กระบวนการเรียนรู้แบบ Passive Learning - กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning (5) เทคนิคการและวิธีการปรับพฤติกรรมที่อยู่บน พื้นฐานการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่บูรณาการทักษะ/สหวิทยาการ

12

- ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายในประเด็นต่างๆ เช่น (1) การจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน (2) การปรับพฤติกรรมในชั้นเรียน (3) การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอน 4) การให้คำแนะนำ (Coaching Instruction) และการ แสดงตัวอย่าง (Modeling)

12

P a g e | 20

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล Measurement strategies/methods

(5) เทคนิคการและวิธีการปรับพฤติกรรมที่อยู่บน พื้นฐานการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อการสะท้อนคิด การเรียนรู้วิชาชีพครู (Reflective) - บทบาทของครูที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่หลายหลาย และความสอดคล้อง ของการอธิบายความ/การขยายความแบบองค์รวม - ประเมินจากตัวอย่างชิน้ งาน (Work Samples) โดยวัดผลการปฏิบตั ิงาน (Performance) ที่ทำได้จริง - ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ภาระงาน (Task CLO 6 วิเคราะห์งานครูตามภาระงาน Analysis) การบริหารงานตามโครงสร้าง 4 ฝ่าย เช่น ของฝ่ายต่างๆ พร้อมทั้งวิเคราะห์ (1) งานบริหารวิชาการ โครงสร้างองค์กร การบริหารงาน ภาระ (2) งานบริหารทั่วไป งานบริหารวิชาการ บริหารบุคคล บริหาร (3) งานบริหารบุคคล ทั่วไป บริหารงบประมาณ และงานอื่น ๆ (4) งานบริหารงบประมาณ หรือ (5) ภาระหน้าที่การบริหารงานในโรงเรียนตาม ในสถานศึกษา กฎกระทรวงในการปฏิบัติงานตามโครงสร้างฯ - ประเมินจากความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) การทำงานระบบทีม (Teamwork) และการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative and Collaborative Learning) เพื่อการสะท้อนคิดการเรียนรู้วิชาชีพครู (Reflective) - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่หลายหลาย และความสอดคล้อง ของการอธิบายความ/การขยายความแบบองค์รวม - เน้นการประเมินโดยบูรณาการทักษะ/สหวิทยาการ - เน้นความคิดที่ซบั ซ้อน และรู้จักใช้วิธีการนำความรู้ไป ใช้มากกว่ามีความรู้ ความจำเพียงอย่างเดียว CLO 7 วิเคราะห์ และอภิปราย พฤติกรรมและการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อให้เข้าใจและยอมรับความแตกต่าง ของผู้เรียนแต่ละบุคคล

- ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป หน้าที่และ ความรับผิดชอบ ภาระงานที่พึงประสงค์ของครู เช่น (1) T (Teaching) – การสอน (2) E(Ethics) – จริยธรรม (3) A ( Academic) – วิชาการ (4) C (Cultural Heritage) – การสืบทอดวัฒนธรรม (5) H (Human Relationship) – มนุษยสัมพันธ์ - แนวความคิดการเรียนรู้และนวัตกรรมสำหรับครูเพื่อ การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21

น้ำหนักคะแนน (Weighted score) ร้อยละ 100 (100 percent)

12

16

P a g e | 21

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module CLOs

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล Measurement strategies/methods

น้ำหนักคะแนน (Weighted score) ร้อยละ 100 (100 percent)

- พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ เน้นการประเมินโดยบูรณาการทักษะ/สหวิทยาการ - เน้นความคิดที่ซบั ซ้อน และรู้จักใช้วิธีการนำความรู้ไป ใช้มากกว่ามีความรู้ ความจำเพียงอย่างเดียว CLO 8 รวบรวม เขียนสะท้อนคิด และ - ประเมินการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุปเกี่ยวกับ องค์ประกอบของชั้นเรียน เช่น นำเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบของชั้น (1) ด้านการจัดการเรียนการสอน เรียน การสังเกตชั้นเรียน และการบริหาร (2) ด้านการบริหารจัดการชัน้ เรียน จัดการชั้นเรียน (3) ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ (4) งานอืน่ ที่ได้รบั มอบหมาย - พิจารณาการนำเสนอผลการวิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายจากข้อมูลที่บูรณาการทักษะหรือสหวิทยาการ - ประเมินจากแบบประเมินการปฏิบัติเกณฑ์เชิงคุณภาพ (Scoring Rubric) - การประเมินแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment) (1) แฟ้มผลงานทีน่ ำเสนอผลงานที่ดีที่สดุ (2) แฟ้มผลงานแสดงพัฒนาการ และความก้าวหน้าของ จากตัวอย่างชิ้นงาน (Work Samples)

12

3. การให้ระดับขั้นและการตัดเกรด Grading System (ระบุข้อมูล : การให้สัญลักษณ์ เช่น S, U หรือ A, B, C, D, E และระบุเกณฑ์มาตรฐานการตัดสินให้ สัญลักษณ์แต่ละตัวอักษร) (Specify: grade symbol; S,U or A,B,C,D,E , and define the criteria considering each grade ) ระดับคะแนน 80-100 เทียบระดับขั้น A ระดับคะแนน 75-79.99 เทียบระดับขั้น B+ ระดับคะแนน 70-74.99 เทียบระดับขั้น B ระดับคะแนน 65-69.99 เทียบระดับขั้น C+ ระดับคะแนน 60-64.99 เทียบระดับขั้น C ระดับคะแนน 55-59.99 เทียบระดับขั้น D+ ระดับคะแนน 50-54.99 เทียบระดับขั้น D ระดับคะแนน 00-49.99 เทียบระดับขั้น E 4. แนวทางการอุทธรณ์ของนักศึกษา/ผู้เรียน Appeal procedure (ระบุวิธีการหรือช่องทางที่นักศึกษา/ผู้เรียนจะขออุทธรณ์ บุคลากรผู้รับการอุทธรณ์ และกระบวนการ หรือวิธีการจัดการ) (Specify appeal procedure for students and define appeal management ) Social network เครื่องมือสื่อสาร และติดต่อโดยตรงที่ผู้ประสานงานรายวิชา คือ อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล (081 678 3539) ด้วยการส่งเป็นข้อความตัวอักษร หรือข้อความเสียง เป็นผู้ดูแลรับเรื่อง จากนั้นทำ

P a g e | 22

การตรวจสอบกับคณาจารย์หรือนักศึกษาที่เกี่ยวข้องในทางที่ไม่เปิดเผยจนกว่าได้รับความกระจ่างชัดจึงชี้แจง ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ 5. คำอธิบายรายวิชา/ชุดวิชา Course/Module description (ภาษาไทย) สถานการณ์ทางคุณธรรม จริยธรรม การวิพากษ์ การให้เหตุผลเชิงจริยธรรม การแก้ไข ปัญหาเชิงจริยธรรมประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู องค์กร วิชาชีพครู วุฒิภาวะครู และความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง การพัฒนาตนเองจากการปฏิบัติงาน และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นครูที่เข้าใจและยอมรับความ แตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล ส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม เพื่อ สร้างแรงบันดาลใจ และพัฒนาผู้ เรียนให้เป็นผู้ใฝ่รู้ โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหารงาน ภาระงาน บริหารวิชาการ บริหารบุคคล บริหารทั่วไป บริหารงบประมาณ การวางแผนกลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา (ภาษาอั ง กฤษ) Moralities and ethics, including criticism and ethical reasoning, solving ethical problems; ethics of teaching profession according to the requirements suggested by Teachers’ Council of Thailand; teacher organization, teachership, teacher maturity, strong citizenship and cultivation of citizen; learning enhancement, motivation and inspiration development; creativity and innovative thinking elevation; life-long learning, self-development in working and continual learning to become knowledgeable; trendy and up-to-date; organizational structure, administrative structure, administration of academic, personnel, general and budget affairs, strategic planning, education quality development in schools 6. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ Number of hours [] สอน (Teaching) ทฤษฎี (Theory) 30 ปฏิบัติ (Practice) 15 . ศึกษาด้วยตนเอง (Self-study) 90 . ชั่วโมงการให้การปรึกษานอกเวลาเรียน (Consultation after class) ......................... [ ] ประสบการณ์ภาคสนาม (Field experience) ทฤษฎี (Theory) .................................. ปฏิบัติ (Practice) ............... ศึกษาด้วยตนเอง (Self-study)....................................... ชั่วโมงการให้การปรึกษานอกเวลาเรียน (Consultant hours after class) ................ 7. ทรัพยากร/สิ่งสนับสนุน Materials/Support - จินตนา ณ สงขลา.(2555).จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ: ทริปเปิ้ล กรุ๊ป. - วิจารณ์ พานิช. (2556). สนุกกับการเรียน ในศตวรรษที่ 21.กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. - วิจารณ์ พานิช. (2562). สอนเข้ม เพื่อศิษย์ขาดแคลน. กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล. - วิเชียร ไชยบัง.(2562). การศึกษาล้าสมัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. บุรีรัมย์: อภิชาตการพิมพ์. - วิเชียร ไชยบัง.(2562). วุฒิภาวะของความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ 12. บุรีรัมย์: อภิชาตการพิมพ์. - พิมพันธ์ เดชะคุปต์.(2557).การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. - ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และ นักรบ หมื้แสน. (2560). ความเป็นครูละกรพัฒนาครูมืออาชีพ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. - ลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

P a g e | 23

- สุคนธ์ สินธพานนท์.(2560). ครูยุคใหม่กับการจัดการเรียนรู้สู่การศึกษา 4.0. กรุงเทพฯ: หจก.9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. - อัชรา เอิบสุขสิริ. จิตวิทยาสำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. - Douglas Thomas, John Seely Brown. A New Culture of Learning. - Eric Jensen. (2562). Poor Students, Rich Teaching: Seven High-Impact Mindsets for Students from Poverty. แปลโดย ฐานันดร วงศ์กิตติธร, ลลิตา ผลผลา. กรุงเทพฯ: Bookscape.

P a g e | 24

หมวดที่ 3 แผนและผลของการดำเนินการ Section 3: Plan and Results of Teaching and Learning [] แผนดำเนินการสำหรับรายละเอียดของรายวิชา/ชุดวิชา และการรายงานผลดำเนินการ

Course/Module Specification plan and Report

1. แผนการสอน Teaching plan สัปดาห์/วัน เดือน ปี/เวลา

1-2

CLOs

CLO1 วิพากษ์ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับความสำคัญของวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครูได้ถูกต้อง (10 คะแนน)

เนื้อหา Items/content

1. ชี้แจงแนวทางการจัดการเรียน การสอน - ขอบเขตและข้อตกลงเบื้องต้น ของรายวิชา 2. วิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพ ครู 3.ความสำคัญของวิชาชีพครู และ องค์กรวิชาชีพครู 4.ขอบเขตและความหมายของ วิชาชีพครู 5. พัฒนาการของวิชาชีพครู 6.หลักการเขียนJournal

กิจกรรมการเรียนรู้/สื่อ/ทรัพยากร

-กิจกรรมรู้จักผู้เรียน:เรื่องเล่าเร้าพลัง กิจกรรมคุณเป็นใคร ผ่านZoom, Social media ที่ตกลงกับนักศึกษา -อธิบายขอบเขตเนื้อหาและข้อตกลง เบื้องต้นระหว่างการเรียนการสอน -แบ่งกลุ่มสืบค้น พัฒนาการวิชาชีพ ครู นำเสนอพัฒนาการวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู -วิพากษ์และอภิปรายร่วมกันทั้งชั้น เรียน เกี่ยวกับความสำคัญของ วิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู

การประเมิน Evaluation

ผู้สอน

- ส่งงานผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐ คณาจารย์ทำความเข้าใจกับ นักศึกษาในแต่ละกลุ่ม กุล - ประเมินจากความรับผิดชอบต่อ สังคม (CSR) ในการเข้าชัน้ เรียน และการส่งงานอย่างสม่ำเสมอ - ประเมินจากการมีสว่ นร่วมในชั้น เรียนทีมงาน(Team Work) ใน ประเด็น เช่น (1) ความสำคัญวิชาชีพครู (2) พัฒนาการวิชาชีพครู (3) ประเภทและลักษณะขององค์กร วิชาชีพครู เพื่อการสะท้อนคิดการเรียนรู้ วิชาชีพครู

P a g e | 25

สัปดาห์/วัน เดือน ปี/เวลา

3-4

5-6

CLOs

เนื้อหา Items/content

กิจกรรมการเรียนรู้/สื่อ/ทรัพยากร

การประเมิน Evaluation

- ประเมินงานทีไ่ ด้รับทัง้ รายบุคคล และรายกลุ่ม - ประเมินจากการนำเสนอผลงานที่ หลากหลาย - การประเมินโดยอาศัยร่องรอยเชิง ประจักษ์ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 1.วิเคราะห์สถานการณ์ด้านวิชาชีพ - ประเมินจากความรับผิดชอบต่อ CLO 2 อภิปราย จำแนกเกี่ยวกับ ครู (clip ต่างๆ) สังคม (CSR) ระบบทีม คุณธรรม จริยธรรมที่ครูพึงมี ภูมิใจ และมาตรฐานวิชาชีพครู เช่น (Teamwork) และการเรียนรู้แบบ 1. จรรยาบรรณวิชาชีพครู 2.การระดมความคิดเห็น สรุป มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และมี 2. มาตรฐานวิชาชีพครู สังเคราะห์นำเสนอในรูปแบบ ต่าง ๆ ร่วมมือ พฤติกรรมหรือการปฏิบัติตน - ประเมินการนำเสนอผลการ เพื่ออภิปรายร่วมกันทั้งชั้นเรียน สอดคล้องจรรยาบรรณวิชาชีพครูได้ 3. ข้อบังคับคุรุสภา 4. วินัยของความเป็นครูแบบมือ 3.แสดงบทบาทสมมติในการปฏิบัติ วิเคราะห์ สรุป และอภิปราย ชัดเจนและถูกต้อง อาชีพ ตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู วุฒิ ประเด็นต่างๆ ตามเนื้อหา และ CLO 3 ปฏิบัติตนตาม 5. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู ภาวะของครู ไปสู่การเป็นพลเมืองที่ - พิจารณาการนำเสนอผลการ จรรยาบรรณวิชาชีพครู วุฒิภาวะของ (Professional Learning เข้มแข็ง เช่นหัวข้อ การศึกษากับการ วิเคราะห์ เน้นความคิดที่ซบั ซ้อน ครู ไปสู่การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รู้จักใช้วิธีการนำความรู้ไปใช้ Community) พัฒนาสังคม (10 คะแนน) 4.สะท้อนคิดคุณธรรมจริยธรรมที่พึง มากกว่าความรู้ ความจำเพียงอย่าง เดียว ประสงค์ ปรัชญาทางการศึกษา ศึกษาปรัชญาทางการศึกษา - ประเมินจากความการเรียนรู้แบบ CLO 4 ปรัชญาการศึกษา จัด 1. ปรัชญาทั่วไป - เขียนแผนผังความคิดของปรัชญา ร่วมมือ (Collaborative Learning) ประเภทวิธีการจัดการเรียนรู้ตาม 2. ปรัชญาการศึกษา ทางการศึกษา - ประเมินการนำเสนอผลการ หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบน 3. ความสอดคล้องของ - ออกแบบและสร้างโรงเรียนในฝัน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และอภิปราย ฐานของจัดการเรียนรู้อย่าง ปรัชญาการศึกษากับการ บนฐานของปรัชญาการศึกษาที่ ในประเด็น เช่น กระตือรือร้น (active learning) จัดการเรียนการสอน นักศึกษาเห็นสมควรอย่างน้อย 3 (1) ปรัชญาทั่วไป พร้อมเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง

ผู้สอน

P a g e | 26

สัปดาห์/วัน เดือน ปี/เวลา

7-8

9

CLOs

เนื้อหา Items/content

(Transformative Learning) ในมิติ เทคโนโลยี มิติสังคม และมิติการ เรียนรู้ตลอดชีวิต CLO5 มีภาวะผูน้ ำ วิเคราะห์บทบาท และหน้าที่ครูดา้ นงานสอน และการ ปฏิบัติการเป็นครูแห่งการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์

1. บทบาทและหน้าที่ของครูต่อ ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และ สังคม 2. โครงสร้างการบริหารจัดการ สถานศึกษาและภาระงานในฝ่าย ต่าง ๆ 3. วุฒิภาวะ/องค์ประกอบของ วิชาชีพครูขั้นสูง 4. บทบาทของครูในยุค เทคโนโลยีสารสนเทศและยุค ดิจิตอลกับการศึกษา 4.0 การบริหารงาน 4 ฝ่าย เช่น CLO 6 วิเคราะห์งานครูตามภาระ 1. งานบริหารวิชาการ งานของฝ่ายต่าง ๆ พร้อมทั้ง 2. งานบริหารทั่วไป วิเคราะห์โครงสร้างองค์กร การ บริหารงาน ภาระงานบริหารวิชาการ 3. งานบริหารบุคคล บริหารบุคคล บริหารทั่วไป บริหาร 4. งานบริหารงบประมาณ หรือ 5. ภาระหน้าที่การบริหารงานใน งบประมาณ และงานอื่น ๆ ใน โรงเรียนตามกฎกระทรวง ฯ สถานศึกษา -ตัวอย่างการจัดการในโรงเรียน ต่างๆ

กิจกรรมการเรียนรู้/สื่อ/ทรัพยากร

ปรัชญา ที่สะท้อนการจัดการเรียน การสอนทั้งระบบ พร้อมนำเสนอใน รูปแบบทีน่ ักศึกษาถนัด

การประเมิน Evaluation

(2) ปรัชญาการศึกษา (3) ความสอดคล้องของ ปรัชญาการศึกษากับการจัดการ เรียนการสอน - ศึกษาตัวอย่างโครงสร้างองค์กร - ประเมินการนำเสนอผลการ - ทำ mind map โครงสร้างองค์กร วิเคราะห์ หน้าที่และความ - วิเคราะห์ วิพากษ์จากตัวอย่าง รับผิดชอบ ภาระงานที่พงึ ประสงค์ - กรณีศึกษา (วีดิทัศน์, Social ของครู เช่น media, ข่าวการศึกษา, หนังสือ (1) T (Teaching)–การสอน อ้างอิงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์) (2) E(Ethics)–จริยธรรม หรือสัมภาษณ์ครูผู้สอน (3) A (Academic) – วิชาการ (4) C (Cultural Heritage) – การ สืบทอดวัฒนธรรม (5) H (Human Relationship) – มนุษย์สัมพันธ์ เอกสารตัวอย่างการบริหารจัดการ - ประเมินการนำเสนอผลภาระงาน โรงเรียน เช่น SAR รายงานประจำปี (Task Analysis) รายงานการทำโครงการต่างๆเป็นต้น - ประเมินจากตัวอย่างชิน้ งาน / รายงานตัวอย่างการบริหารงาน โรงเรียน พร้อมการวิเคราะห์ ภาระหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ

ผู้สอน

P a g e | 27

สัปดาห์/วัน เดือน ปี/เวลา

CLOs

เนื้อหา Items/content

- ทฤษฎีทางการศึกษา ทฤษฎีจิตวิทยาการศึกษา พฤติกรรมและการเรียนรู้ของ - หลักการการเรียนรู้ นักเรียน เพื่อให้เข้าใจและยอมรับ ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล อย่างกระตือรือร้น (active

10-11-12-13 CLO 7 วิเคราะห์ และอภิปราย

กิจกรรมการเรียนรู้/สื่อ/ทรัพยากร

- เรียนรู้หลักการทฤษฎีทาง การศึกษาและจิตวิทยาการศึกษา - สังเกตและวิเคราะห์บทบาท และหน้าที่ของครูจากคลิปวิดีโอ ภาพยนตร์ตัวอย่าง บทความ learning) ที่สอดคล้องปรัชญา และหนังสือ ฯลฯ ทางการศึกษา และทฤษฎี - นำเสนอผลการระดมความคิด ทางการศึกษา เช่น - การเขียน Journal constructivism, - จัดโครงการศึกษาเรียนรู้การจัด progressivism รวมถึงการ การเรียนการสอนอย่างกระตือรือร้น เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 - แนวทางการเขียนสะท้อนคิด นอกสถานที่เพื่อศึกษาตัวอย่างที่ดีใน การจัดการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น จากการสังเกตชั้นเรียน (Active Learning) ในโรงเรียน - รูปแบบการสอน Active ประถมหรือมัธยม Learning - การเขียน Journal - การประยุกต์ใช้ Active Learning ในห้องเรียนจริง - เทคนิคและวิธีการปรับ พฤติกรรมที่อยู่บนพื้นฐานการ เรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆพอ สังเขป

การประเมิน Evaluation

- ประเมินการนำเสนอผลการ วิเคราะห์ สรุป และอภิปรายใน ประเด็น เช่น (1) รูปแบบการสอน Active Learning กับเทคนิคของการเรียน ในศตวรรษที่ 21 (2) การประยุกต์ใช้ Active Learning ในการเรียนการสอนใน สถานการณ์จริง (3) กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning (4) เทคนิคการและวิธีการปรับ พฤติกรรมที่อยู่บนพื้นฐานการ เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ - พิจารณาการนำเสนอผลการ วิเคราะห์ สรุป และ อภิปรายให้สอดคล้องกับในแต่ละ ประเด็นที่สำคัญๆ - เน้นการประเมินโดยบูรณาการ ทักษะ/สหวิทยาการ - เน้นความคิดที่ซบั ซ้อน และรู้จักใช้ วิธีการนำความรู้ไป ใช้มากกว่ามี ความรู้ ความจำเพียงอย่างเดียว

ผู้สอน

P a g e | 28

สัปดาห์/วัน เดือน ปี/เวลา

14-15

16

CLOs

เนื้อหา Items/content

CLO 8 รวบรวม เขียนสะท้อนคิด และนำเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของชั้นเรียน การสังเกตชั้นเรียน และการบริหารจัดการชั้นเรียน (10 คะแนน)

-การเรียนรู้และพฤติกรรมของ นักเรียน -การสังเกตชั้นเรียน -หลักการในการสังเกตชั้นเรียน -แนวทางการเขียนสะท้อนคิดจาก การสังเกตชั้นเรียนการรวบรวมและนำเสนอข้อ ค้นพบเกี่ยวกับความเป็นครู

สอบปลายภาค (20 คะแนน)

รวมเนื้อหาทั้งหมดโดยสรุป

กิจกรรมการเรียนรู้/สื่อ/ทรัพยากร

- ศึกษาตัวอย่างการเรียนรู้และ พฤติกรรมของนักเรียน - วิเคราะห์การเรียนรู้และพฤติกรรม ของนักเรียนเพื่อหาแนวทางในการ จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน - นำเสนอข้อค้นพบเกี่ยวกับความเป็น ครูด้วยวิธีการที่หลากหลาย - ศึกษาและวิเคราะห์ตัวอย่างชัน้ เรียน - สังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนตัวอย่าง - เขียนสะท้อนคิดจากสังเกตชัน้ เรียน ในโรงเรียนตัวอย่าง - การสอบปลายภาค

การประเมิน Evaluation

ผู้สอน

- ประเมินการนำเสนอผลการ วิเคราะห์ สรุปเกี่ยวกับ องค์ประกอบชั้นเรียน เช่น (1) ด้านการจัดการเรียนการสอน (2) ด้านการบริหารจัดการชัน้ เรียน (3) ด้านการพัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพ (4) งานอืน่ ที่ได้รบั มอบหมาย - ประเมินจากแบบประเมิน เกณฑ์ ของ Scoring Rubric ข้อสอบอัตนัย

(....ดร.รัชดา..เชาวน์เสฏฐกุล.....) ผู้รับผิดชอบ/ผู้ประสานงานรายวิชา/ชุดวิชา (Course coordinator) ...07.../........05.........../....64.......

คณาจารย์

P a g e | 29

จาก CLO 8 รวบรวม เขียนสะท้อนคิด และนำเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบของชั้นเรียน การสังเกตชั้น เรียน และการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และพฤติกรรมของนักเรียน การสังเกตชั้น เรียนหลักการในการสังเกตชั้นเรียน แนวทางการเขียนสะท้อนคิดจากการสังเกตชั้นเรียน การรวบรวมและ นำเสนอข้อค้นพบเกี่ยวกับความเป็นครู และมีกิจกรรมการสังเกตชั้นเรียนตัวอย่าง ซึ่งดิฉันเลือกให้นักศึกษาได้ สังเกตชั้นเรียนจริง ในพื้นที่จริง ในวันที่ 9 ตุลาคม 2563 นำนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาศิลปศึกษา เข้าศึกษา เรียนรู้ความเป็นครู งานครูและวิชาชีพครูในสถานที่จริง ณ โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี ซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาส เป็นโรงเรียนที่จัดว่าเป็นต้นแบบในหลายๆด้านอย่างมาก โรงเรียนที่ ครูและ ผอ. ให้ความสําคัญกับการเรียนการสอนอย่างจริงจัง ในการนี้ท่านผู้อำนวยการโรงเรียน คุณครูที่ดูแลงานฝ่ายต่างๆ ให้ความกระจ่างและตีแผ่สภาพจริงของชีวิตครูในอีกด้านที่นักศึกษาไม่เคยทราบมาก่อน หลายประเด็นไม่มีจาก ทฤษฎี ไม่มีจากการเรียนก็ได้มาทราบจากที่นี่ ดังภาพ

P a g e | 30

แบบฟอร์มบันทึกและสะท้อนผลการเรียนรู้ บันทึกการเรียนรู้วิชาชีพครูภายในโรงเรียนและสังเกตชั้นเรียน โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี วันอังคารที่ 9 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00 น. – 16.00 น. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อ.......................................................................สาขาวิชา........................................ แบบฟอร์มบันทึกการเรียนรู้ 1. องค์ประกอบของชั้นเรียน 1 ชั้นเรียนมีอะไรบ้าง 2. บทบาท พฤติกรรมการปฏิบัติต่างๆของครู นักเรียน ในการใช้หลักสูตร การสอน(วิธีสอน) การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นอย่างไร การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นอย่างไร 3. บทบาทและหน้าที่ครู ต่างๆทั้งในและนอกชั้นเรียน

P a g e | 31

ตัวอย่างเอกสารประกอบการสอนวิชา 262-101 วิชาชีพและความเป็นครู

P a g e | 32

P a g e | 33

P a g e | 34

P a g e | 35

P a g e | 36

P a g e | 37

P a g e | 38

P a g e | 39

P a g e | 40

P a g e | 41

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ปัตตานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะศึกษาศาสตร์..

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา 262-203 กระบวนการทางคณิตศาสตร์เพื่อการจัดการเรียนรู้ (Mathematical processes for learning management) 2. จำนวนหน่วยกิต 3(2-1-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา  หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี (หลักสูตร 2562)  หลายหลักสูตร (กรณีที่เป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป วิชาเลือกเสรี ที่เปิดสอนให้หลายหลักสูตร) ประเภทของรายวิชา  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  บังคับ  เลือก ในกลุ่มวิชา  ภาษา  มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระ  สาระที่ 1 ศาสตร์พระราชาและประโยชน์เพื่อนมนุษย์  สาระที่ 2 ความเป็นพลเมืองและชีวิตที่สันติ  สาระที่ 3 การเป็นผู้ประกอบการ  สาระที่ 4 การอยู่อย่างรู้เท่าทันและการรู้ดิจิทัล

P a g e | 42

     หมวดวิชาเฉพาะ ในกลุ่มวิชา

 หมวดวิชาเลือกเสรี

สาระที่ 5 การคิดเชิงระบบ การคิดเชิงตรรกะและตัวเลข สาระที่ 6 ภาษาและการสื่อสาร สาระที่ 7 สุนทรียศาสตร์และกีฬา รายวิชาเลือก

 แกน  บังคับ  เฉพาะด้าน  บังคับ  พื้นฐานวิชาชีพ  บังคับ  ชีพ  บังคับ  เอก  บังคับ  โท  บังคับ  อื่นๆ (ระบุ) …………………..………………

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล อาจารย์ผู้สอน ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 5. ชั้นปีที่เรียน/ ภาคการศึกษา/ ปีการศึกษาที่เปิดสอน ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 6. รายวิชาที่เกี่ยวข้อง (Prerequisite Subject) (ถ้ามี) (ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของอาจารย์ผู้สอนหรือโดยความเห็นชอบของภาควิชา)

 เลือก  เลือก  เลือก  เลือก  เลือก  เลือก

P a g e | 43

 ไม่มี  รายวิชา ………………………………….. (……………………….) 7. สถานที่เรียน อาคารเรียนรวม 19 และอาคารเรียนรวม 58 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต....ปัตตานี 8. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด  วันที่จัดทำรายวิชา วันที่ 20 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563  วันที่ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. อภิปราย ชี้แจงเหตุผล และอธิบายพร้อมยกตัวอย่างให้เห็นความสำคัญของทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2. เมื่อกำหนดสถานการณ์ปัญหามาให้ผู้เรียนสามารถ วินิจฉัย ตรวจสอบ พิสูจน์หรือตัดสินใจได้ว่าควรใช้ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ใด 3. สร้างสรรค์โจทย์สถานการณ์ปัญหาที่สอดคล้องหรือสนับสนุนการใช้ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทุกกระบวนการ 4. ยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ทุกกระบวนการ 5. เลือกใช้ อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 6. สร้างสรรค์และคัดเลือก แนวทางการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนตามแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม 2 .วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา -

P a g e | 44

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา (ภาษาไทย) กระบวนการมาตรฐานทางคณิตศาสตร์ ได้แก่กระบวนการแก้ปัญหา การให้เหตุผลและการพิสูจน์ การสื่อสาร การเชื่อมโยง การสร้างสรรค์ และการแสดงแทน หลักการและมาตรฐานสำหรับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียนที่แสดงให้เห็นองค์ประกอบของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในโรงเรียนที่มีคุณภา พสูง การประเมินการเรียนรู้ของ นักเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอน (ภาษาอังกฤษ) Process standard for mathematics: Problem solving, Reasoning & Proof, Communication, Connection, and Representation. Principles and standards for Mathematics teaching and learning in school level that show a factor in high-quality of school mathematics curriculum. Evaluating student learning are to guidelines for teacher and student learning management. 2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย

ปฏิบัติการ

ศึกษาด้วยตนเอง

ฝึกปฏิบัติภาคสนาม/ฝึกงาน

สอนเสริม

-

-

30 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา 30 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา 90 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังระดับรายวิชาของนักศึกษา

Section 4: Course Learning Outcomes Development

P a g e | 45

1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (Course Learning Outcomes: CLOs เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในรายวิชาแล้ว สามารถ CLO 1 อภิปราย ชี้แจงเหตุผล และอธิบายพร้อมยกตัวอย่างให้เห็นความสำคัญของทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ CLO 2 เมื่อกำหนดสถานการณ์ปัญหามาให้ผู้เรียนสามารถ วินิจฉัย ตรวจสอบ พิสูจน์หรือตัดสินใจได้ว่าควรใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใด CLO 3 สร้างโจทย์สถานการณ์ปัญหาพร้อมเสนอแนวทางการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ CLO 4 เลือกใช้ อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ CLO 5 เลือกใช้แนวทางการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนตามแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม 2. วิธีการสอน เพื่อพัฒนาความรู้ หรือทักษะในข้อ 1. และการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา กลยุทธ์/ วิธีการสอน กลยุทธ์/ วิธีการวัดและ (CLOs) การประเมินผล CLO 1 อภิปราย ชี้แจงเหตุผล และอธิบาย 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้จาก 1. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การตรงต่อเวลา สถานการณ์จริง การนำเสนอกรณีตัวอย่าง การเข้าร่วมกิจกรรม ความซื่อสัตย์ และการส่งงานที่ได้รับ พร้อมยกตัวอย่างให้เห็นความสำคัญของ 2. สร้างความรู้ความเข้าใจมโนทัศน์ของทักษะ มอบหมาย ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ชนิดต่าง ๆ 2. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3. การยกตัวอย่าง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความ 3. สังเกตจากการตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น เหมือนและความแตกต่างของกระบวนการต่าง ๆ 4. สังเกตจากากรทำงานเดี่ยวและกลุ่ม CLO 2 เมื่อกำหนดสถานการณ์ปัญหามาให้ 1.จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือประเภทต่าง ๆ 1. Authentic Assessment ผู้เรียนสามารถ วินิจฉัย ตรวจสอบ พิสูจน์ 2. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น 2. Formative and Summative Assessment หรือตัดสินใจได้ว่าควรใช้ทักษะกระบวนการ 3. Group and individual assignment 3. Group and individual Assessment ทางคณิตศาสตร์ใด 4. Reflective Practice 4. Deep Listening for Reflective Practitioner 5. Writing journal 5. Journal Writing

P a g e | 46

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs) CLO 3 สร้างสรรค์โจทย์สถานการณ์ปัญหา ที่สอดคล้องหรือสนับสนุนการใช้ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทุก กระบวนการ

กลยุทธ์/ วิธีการสอน

1. การยกตัวอย่าง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความ เหมือนและความแตกต่างของสถานการณ์ปัญหา 2. สร้าง ปรับ โจทย์สถานการณ์ปัญหาจาก ชีวิตประจำวันไปสู่โจทย์สถานการณ์ปัญหาที่ สอดคล้องหรือสนับสนุนการใช้ทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ CLO 4 ยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการ 1.จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือประเภทต่าง ๆ เรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการทาง 2. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น คณิตศาสตร์ทุกกระบวนการ 3. Group and individual assignment 4. Reflective Practice 5. Writing journal CLO 5 เลือกใช้ อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง 1.จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือประเภทต่าง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ได้ 2. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น มาตรฐานทักษะกระบวนการทาง 3. Group and individual assignment คณิตศาสตร์ 4. Reflective Practice CLO 6 สร้างสรรค์และคัดเลือก แนว 1.จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือประเภทต่าง ๆ ทางการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนตาม 2. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 3. Group and individual assignment เน้นทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ 4. Reflective Practice เหมาะสม

กลยุทธ์/ วิธีการวัดและ การประเมินผล 1. Authentic Assessment 2. Formative and Summative Assessment 3. Group and individual Assessment 4. Deep Listening for Reflective Practitioner 5. Journal Writing 1. Authentic Assessment 2. Formative and Summative Assessment 3. Group and individual Assessment 4. Deep Listening for Reflective Practitioner 5. Journal Writing 1. Authentic Assessment 2. Formative and Summative Assessment 3. Group and individual Assessment 4. Deep Listening for Reflective Practitioner 1. Authentic Assessment 2. Formative and Summative Assessment 3. Group and individual Assessment 4. Deep Listening for Reflective Practitioner

P a g e | 47

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

Section 5: Teaching and Evaluation Plan 1. แผนการสอน (Teaching Plan) สัปดาห์ที่ Week

หัวข้อ/รายละเอียด Items/content

จำนวน จำนวน จำนวนชั่วโมง ชั่วโมงสอนนี้เป็น ชั่วโมง ชั่วโมงปฏิบัติ ศึกษาด้วย การสอนแบบเชิง บรรยาย ตนเอง รุก (30) Active (30) (45) Learning

1-2

1. ชี้แจงแนวทางการจัดการเรียน การสอน ขอบเขตและข้อตกลง เบื้องต้นของรายวิชา 2. ความสำคัญของคณิตศาสตร์ 3. ความหมายและความสำคัญ ของกระบวนการทางคณิตศาสตร์

4

4

8

/

3-4

1. ความหมายของปัญหาและ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. กระบวนการแก้ปัญหา 3. ยุทธวิธีแก้ปัญหา 4. ตัวอย่างปัญหาที่ใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์

4

4

8

/

กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ Teaching & Learning activities/ teaching materials

ผู้สอน ผู้สอน Lecturer เพิม่ เติม

Additional Lecturer

- กิจกรรมทบทวนประเด็นคำถามทางการเรียน ดร.รัชดา ไม่มี การสอน เชาวน์เสฏฐกุล - อธิบายขอบเขตเนื้อหาและข้อตกลงเบื้องต้น ระหว่างการเรียนการสอน - แบ่งกลุ่มทำรายงานและนำเสนอ -งานเดี่ยวและงานกลุ่ม -การค้นคว้าความรู้จำสื่อต่างๆ - ppt -- ppt ดร.รัชดา การระดมความคิดเห็น สรุป สังเคราะห์ เชาวน์เสฏฐกุล นำเสนอในรูปแบบต่างๆ Application for Education

P a g e | 48

สัปดาห์ที่ Week

หัวข้อ/รายละเอียด Items/content

1. ความหมายของการ ให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ 2. รูปแบบของการให้เหตุผล 3. ตัวอย่างปัญหาที่ใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 7-8 1. ความหมายของการ สื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์และการนำเสนอ 2. กิจกรรมที่ส่งเสริมการ สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ 3. ตัวอย่างปัญหาที่ใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 9-10 1. ความหมายของการ เชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ 5-6

จำนวน จำนวน จำนวนชั่วโมง ชั่วโมงสอนนี้เป็น ชั่วโมง ชั่วโมงปฏิบัติ ศึกษาด้วย การสอนแบบเชิง บรรยาย ตนเอง รุก (30) Active (30) (45) Learning

กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ Teaching & Learning activities/ teaching materials

ผู้สอน ผู้สอน Lecturer เพิม่ เติม

Additional Lecturer

4

4

8

/

- ppt -ระดมความคิด - นำเสนอผลการระดมความคิด - active learning

ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4

4

8

/

- ppt วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์จากตัวอย่าง กรณีศึกษา (วีดิทัศน์, Social media, ข่าว การศึกษา, หนังสืออ้างอิงเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์) การเขียน Journal -อบรมเชิงปฏิบัติการกับผู้เชี่ยวชาญชาว ต่างประเทศ

ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4

4

8

/

- ppt

ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

P a g e | 49

สัปดาห์ที่ Week

หัวข้อ/รายละเอียด Items/content

2. รูปแบบการเชื่อมโยงทาง คณิตศาสตร์ 3.ตัวอย่างปัญหาที่ใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 11-12 1. ความหมายของการคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ 2. องค์ประกอบของความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ 3.ตัวอย่างปัญหาที่ใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 13-14 1. มาตรฐานทางด้านทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนที่มีทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์

จำนวน จำนวน จำนวนชั่วโมง ชั่วโมงสอนนี้เป็น ชั่วโมง ชั่วโมงปฏิบัติ ศึกษาด้วย การสอนแบบเชิง บรรยาย ตนเอง รุก (30) Active (30) (45) Learning

กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ Teaching & Learning activities/ teaching materials

ผู้สอน ผู้สอน Lecturer เพิม่ เติม

-การระดมความคิดเห็น สรุป สังเคราะห์ นำเสนอในรูปแบบต่างๆ -การเขียน Journal - โจทย์สถานการณ์ปัญหา 4

4

8

/

4

4

8

/

- ppt ดร.รัชดา -การระดมความคิดเห็น สรุป สังเคราะห์ เชาวน์เสฏฐกุล -นำเสนอในรูปแบบต่างๆ -Application for Education - การนำเสนอตัอย่างสถานการณ์ปัญหาที่เน้น กระบวนการทางคณิตศาสตร์ -การนำเสนอตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ - ppt ดร.รัชดา -วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์จากตัวอย่าง เชาวน์เสฏฐกุล กรณีศึกษา (วีดิทัศน์, Social media, ข่าว การศึกษา, หนังสืออ้างอิงเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์)

Additional Lecturer

P a g e | 50

สัปดาห์ที่ Week

หัวข้อ/รายละเอียด Items/content

15-16 1. แนวทางการประเมินการเรียนรู้ ของนักเรียนเพื่อเป็นแนวทางใน การจัดการเรียนการสอนและการ เรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอนที่เน้น ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์

จำนวน จำนวน จำนวนชั่วโมง ชั่วโมงสอนนี้เป็น ชั่วโมง ชั่วโมงปฏิบัติ ศึกษาด้วย การสอนแบบเชิง บรรยาย ตนเอง รุก (30) Active (30) (45) Learning

2

2

4

/

กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ Teaching & Learning activities/ teaching materials

-การเขียน Journal - ppt -วิเคราะห์ สังเคราะห์ - การนำเสนอ

2. แผนการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับรายวิชา (CLOs) 2.1 การวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ ก. การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) (ระบุกระบวนการ) หรือ โดยมีกระบวนการดังต่อไปนี้ ......... ใช้กระบวนประเมินตามสภาพจริง .................... 1. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การตรงต่อเวลา การเข้าร่วมกิจกรรม ความซื่อสัตย์ และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3. สังเกตจากการตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น 4. สังเกตจากการทำงานกลุ่ม…………………………………………………………………… ข. การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) (1) เครื่องมือและน้ำหนักในการวัดและประเมินผล

ผู้สอน ผู้สอน Lecturer เพิม่ เติม

Additional Lecturer

ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

P a g e | 51

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs) CLO 1 อภิปราย ชี้แจงเหตุผล และอธิบายพร้อมยกตัวอย่างให้ เห็นความสำคัญของทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ CLO 2 เมื่อกำหนดสถานการณ์ปัญหามาให้ผู้เรียนสามารถ วินิจฉัย ตรวจสอบ พิสูจน์หรือตัดสินใจได้ว่าควรใช้ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ใด CLO 3 สร้างสรรค์โจทย์สถานการณ์ปัญหาที่สอดคล้องหรือ สนับสนุนการใช้ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทุก กระบวนการ CLO 4 ยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ทุกกระบวนการ

กลยุทธ์/วิธีการวัดผล 1. นำเสนอรายบุคคล/กลุ่ม 2. การสอบข้อเขียน 3. รายงานรายบุคคล 1.การสังเกต สอบข้อเขียนรายบุคคล/กลุ่ม 2.นำเสนอรายบุคคล/กลุ่ม 3. เพื่อนประเมินเพื่อน 1.เพื่อนประเมินเพื่อน 2.สอบข้อเขียน 3.ตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการต่าง ๆ 1. ตรวจสอบความถูกต้อง สอดคล้องของกิจกรรมที่ นำเสนอ 2. การระดมความคิดเห็น และการนำเสนอรายกลุ่ม 3. บทบาทสมมติ 1. ประเมินความถูกต้องของงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการตอบคำถาม การแสดงความ คิดเห็น สังเกตจากการทำงานกลุ่ม

CLO 5 เลือกใช้ อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนให้ได้มาตรฐานทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ CLO 6 สร้างสรรค์และคัดเลือก แนวทางการประเมินการเรียนรู้ 1. ตรวจสอบความถูกต้องของกิจกรรมที่สอดคล้อง ของนักเรียนตามแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น กับกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม 2. การทำงานกลุ่ม/รายงานกลุ่ม

กลยุทธ์/วิธีการวัดและ การประเมินผล ร้อยละ 100 10

20

20

20

15

15

P a g e | 52

(2) การให้ระดับขั้นและการตัดเกรด (ระบุข้อมูล : การให้สัญลักษณ์ เช่น S, U หรือ A, B, C, D, E และระบุเกณฑ์มาตรฐานการตัดสินให้สัญลักษณ์แต่ละตัวอักษร) ระดับคะแนน 80-100 เทียบระดับขั้น A ระดับคะแนน 75-79.99 เทียบระดับขั้น B+ ระดับคะแนน 70-74.99 เทียบระดับขั้น B ระดับคะแนน 65-69.99 เทียบระดับขั้น C+ ระดับคะแนน 60-64.99 เทียบระดับขั้น C ระดับคะแนน 55-59.99 เทียบระดับขั้น D+ ระดับคะแนน 50-54.99 เทียบระดับขั้น D ระดับคะแนน 00-49.99 เทียบระดับขั้น E 3. การอุทธรณ์ของนักศึกษา (ระบุวิธีการหรือช่องทางที่นักศึกษาจะขออุทธรณ์ต่อรายวิชา บุคลากรผู้รับการอุทธรณ์ และกระบวนการหรือวิธีการจัดการ) Social network, โทรศัพท์, เอกสาร นักศึกษาสามารถร้องเรียนหรือสอบถามได้แชทกลุ่มในเฟสบุ๊คตลอดเวลา หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตำราและเอกสารหลัก (Required textbooks and materials) กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทย จำกัด. ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์และคณะ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ในโรงเรียนโดยกระบวนการทางคณิตศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (2549). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์: การใช้วิธีการพัฒนากระบวนการคิดของนักเรียนแบบ Open Approach เพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพครู คณิตศาสตร์แบบ Lesson Study Approach รั ช ดา เชาวน์ เ สฏฐกุ ล (2559). การพั ฒ นาครู เ ป็ น ครู น ั ก วิ จ ั ย ในบริ บ ทการศึ ก ษาชั ้ น เรี ย นและวิ ธ ี ก ารแบบเปิ ด . วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาศึ ก ษาศาสตรดุ ษ ฎีบ ั ณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิจารณ์ พานิช. (2560). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสยามกัมมาจล. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ส.เจริญการพิมพ์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). ครูคณิตศาสตร์มืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

P a g e | 53

เทคโนโลยี. Isoda, M., Stephen, M., Ohara, Y., & Miyakawa, T. (2007). Japanese Lesson Study in Mathematics: Its’ Impact, diversity and Potential for Educational Improvement. Singapore: World Scientific. Isoda, M. & Katagiri, S. (2012). Mathematical Thinking: How to Develop it in the Classroom. In Monographs on Lesson Study for Teaching Mathematics and Sciences, Vol.1, Singapore: World Scientific. Schoenfeld, Alan H. (1985). Mathematical Problem Solving. USA: Academic Press INC. Polya, G. (1957). How to solve it. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. National Council of Teacher of Mathematics. (1993). Research Ideas for the classroom: High school mathematics. Patricia S. Wilson, Editor. New York: Macmillan Publishing Company. National Council of Teacher of Mathematics. (2007). The Open-Ended Approach: A new Proposal for Teaching Mathematics. Jerry P. Becker and Shigeru Shimada, Editor. Virginia: Library of Congress Cataloging-in-Publication Data. 2. เอกสารอื่นๆ Other materials: website http://www.edugains.ca/resources/LearningMaterials/MathProcesses/MathProcessessPackage.pdf https://www.math.ucdavis.edu/~emsilvia/math21c/nchapter1.pdf

P a g e | 54

ดิฉันได้กำหนดกิจกรรมในสัปดาห์ที่ 7-8 ให้มี การอบรมเชิงปฏิบัติการกับผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ ดังนั้นจึงได้ทำโครงการ “PSU Open Mobility” “PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program” ร่วมกับทางมหาวิทยาลัย ในหัวข้อเรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากร โดย Dr.Yeap Ban Har จากประเทศสิงคโปร์ ดังหนังสือเชิญด้านล่างนี้ กำหนดจัดในวันที่ 23 มกราคม 2565 กำหนดในสัปดาห์ที่ 8 ของภาคการศึกษา

P a g e | 55

โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม

โดยมีนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่เรียนวิชา Mathematical Process for Learning Management เป็นผู้ดำเนินการ หลัก ประชาสัมพันธ์ผ่าน เฟซบุ๊คเพจ่าขาวิชาคณิตศาสตร์ ม.อ. ปัตตานี และ เฟซบุ๊คส่วนตัวของ ดิฉัน Rachada Chaovasetthakul มีผู้สนใจเข้าร่วทลงทะเบียน 634 คน และมีคนเข้าร่วมประเมินผลการจัด กิจกรรม 423 คน ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ลิงค์สำหรับเปิดวิดิโอประมวลภาพกิจกรรมและไลฟ์สดของโครงการ “PSU Open Mobility” “PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program” จัดโดย คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชา คณิตศาสตร์ หัวข้อเรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากร โดย Dr. Yeap Ban Har, Singapore ประมวลภาพกิจกรรมและบันทึกกิจกรรม https://fb.watch/beESjg4Dn7/ Live Facebook https://fb.watch/bfrZoIrCxg/

P a g e | 56

P a g e | 57

รายงานการจัดโครงการ “PSU Open Mobility” “PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program” จัดโดย คณะศึกษาศาสตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาคณิตศาสตร หัวขอเรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากร โดย Dr.Yeap Ban Har, Singapore Zoom Meeting ID : 999 004 1306 และถายทอดสดผาน Faceboo Live : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

เวลา 08.30-08.45 น. ลงทะเบียนและชี้เเจงกําหนดการ โดย นางสาวนาญา มัจฉาเวช และนายฮัมซะฮ หมานหมีน นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร คณะศึกษาศาสตร ชั้นปที่ 2 พิธีกร

เวลา 08.45-09.00 น. เปดโครงการ

โดย รศ.ดร.เอกรินทร สังขทอง คณบดีคณะศึกษาศาสตร

P a g e | 58

เวลา 09.00-09.10 น. เเนะนําวิทยากร โดย นางสาวนาญา มัจฉาเวช และนายฮัมซะฮ หมานหมีน พิธีกร

เวลา 09.10-11.40 น. บรรยายหัวขอ "Mathematical process in daily life and its applications into classrooms" โดย Dr.Yeap Ban Har

P a g e | 59

ตัวอย่างหน้าจอการบรรยายทางซูม

ตัวอย่างหน้าจอการบรรยายทาง เฟซบุ๊ค คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

P a g e | 60

เวลา 11.40-12.00 น. ชวง Q&A และกลาวปดโครงการ

ตัวอยางเกียรติบัตรผูเขารวมโครงการ

P a g e | 61

รายงานการประเมินผลการจัดกิจกรรมผ่านแบบประเมินออนไลน์หลังการจัดกิจกรรมสิ้นสุด “PSU Open Mobility” “PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program” จัดโดย คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หัวข้อเรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากร โดย Dr.Yeap Ban Har, การจัดกิจกรรมครั้งนี้เนื่องจากมีผู้ให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก ผู้จัดโดยคณะศึกษาศาสตร์จึงอนุญาต ให้ถ่ายทอดสดทางเพจคณะศึกษาศาสตร์ LIVE FB: คณะศึกษาศาสตร์ ในวันเวลาดังกล่าว รวมถึงการดำเนิน การสดในห้องสตูดิโอของคณะศึกษาศาสตร์ด้วย ดังภาพการจัดกิจกรรมที่แนบมาด้วยนี้ รวมถึงการออนไลน์ ผ่านระบบซูม ZOOM ID 91964368904 ในวันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น. โดยมีผล การประเมินดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายงานผลการสำรวจข้อมูลจากการทำแบบประเมิน 423 คน จากผู้ลงทะเบียนทั้งสิ้น 634 คน มีดังต่อไปนี้ 1. การจำแนกเพศของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 423 คน เป็นเพศหญิง จำนวน 312 คน คิดเป็นร้อย ละ 73.8 และเพศชาย 111 คน คิดเป็นร้อยละ 26.2

2. สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี้ 1) นักศึกษา 361 คน คิดเป็นร้อยละ 85.3

2) อาจารย์มหาวิทยาลัย 17 คน คิดเป็นร้อยละ 4

3) ครูโรงเรียนประถม 12 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8

4) ครูโรงเรียนมัธยม 32 คน คิดเป็นร้อยละ 7.6

P a g e | 62

3. ช่วงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ระหว่าง 18-23 ปี จำนวน 339 คน คิดเป็นร้อยละ 80.1 อยู่ระหว่าง 24-30 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 อยู่ระหว่าง 31-35 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.7 อยู่ ระหว่าง 36-40 ปี จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 อยู่ระหว่าง 41-45 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 อยู่ระหว่าง 46-50 ปี จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8 และมากกว่า 50 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.7

4. ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามแบ่งเป็นระดับปริญญาตรี 362 คน คิดเป็นร้อยละ 85.6 ระดับ ปริญญาโท 41 คน คิดเป็นร้อยละ 9.7 ระดับปริญญาเอก 20 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7

5. สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่ตอบแบบสอบถามมี จำนวน 213 คน ประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 28.2 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 32.9 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 19.7 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และนักศึกษาที่ระดับการศึกษาสูงกว่าชั้นปีที่ 4 จำนวน 9 คน ร้อยละ 4.2

P a g e | 63

6. นักศึกษาปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ที่ตอบแบบสอบถามมีจำนวน 153 คน ประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 41.8 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 24.8 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 20.9 และนักศึกษาที่ระดับการศึกษาสูงกว่าชั้นปีที่ 4 จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6

สรุปข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามเป็นร้อยละ 73.8 เป็นเพศ หญิง โดยร้อยละ 85.3 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพเป็นนักศึกษา และร้อยละ 80.1 ของผู้ตอบ แบบสอบถามมีอายุ 18-23 ปี ซึ่งร้อยละ 85.6 อยู่ในระดับปริญญาตรี ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจกิจกรรมที่ท่านได้เข้าร่วม 1= พอใจน้อยที่สุด 2= พอใจน้อย 3= พอใจ 4= พอใจมาก 5= พอใจมากที่สุด รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. 1. ความรู้ ความสามารถของวิทยากร/ อาจารย์ 2. ความเป็นนานาชาติของวิทยากร/ อาจารย์ 3. ความน่าสนใจ ความทันสมัย และความเป็นนานาชาติของกิจกรรมที่ จัด 4. กิจกรรมส่งเสริมสมรรถนะความเป็นนานาชาติให้แก่ท่าน 5. กิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์ความเป็นนานาชาติของมหาวิทยาลัย 6. ความรู้ทางวิชาการที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม 7. ทักษะอื่น (นอกเหนือจากความรู้ทางวิชาการ) ที่รับจากการเข้าร่วม กิจกรรม 8. ความเหมาะสมของรูปแบบการจัดกิจกรรม 9. ความเหมาะสมของเวลาที่การจัดกิจกรรม 10. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมในภาพรวม คะแนนรวมเฉลี่ย ความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 93

4.78 4.81 4.68

0.46 0.42 0.53

ระดับ ความพึงพอใจ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

4.66 4.66 4.62 4.46

0.54 0.53 0.59 0.68

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

4.55 4.57 4.66 4.65

0.64 0.60 0.54 0.55

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

P a g e | 64

สรุปข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการในภาพรวมอยู่ที่ร้อยละ 93 มีระดับความพึงพอใจทุกข้อ ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.65 และระดับความพึงพอใจเรียงจากมากไปน้อย พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีความพึงพอใจ ในหัวข้อความคิดเห็นด้านความเป็นนานาชาติของวิทยากร (ค่าเฉลี่ย 4.81) รองลงมาความคิดเห็นด้านความรู้ ความสามารถของวิทยากร (ค่าเฉลี่ย 4.78) และความคิดเห็นเกี่ยวกับความ น่าสนใจ ความทันสมัยและความเป็นนานาชาติของกิจกรรมที่จัด (ค่าเฉลี่ย 4.68) และความคิดเห็น เกี่ยวกับ กิจกรรมส่งเสริมสมรรถนะความเป็นนานาชาติให้แก่ท่านกิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์ความเป็นนานาชาติของ มหาวิทยาลัย และความพึงพอใจต่อกิจกรรมในภาพรวม(ค่าเฉลี่ย 4.66) และความคิดเห็นด้านความรู้ทาง วิชาการที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม(ค่าเฉลี่ย 4.62) และความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเวลาที่การจัด กิจกรรม (ค่าเฉลี่ย 4.57) และความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของรูปแบบการจัดกิจกรรม (ค่าเฉลี่ย 4.55) และความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะอื่น (นอกเหนือจากความรู้ทางวิชาการ) ที่รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม (ค่าเฉลี่ย 4.46) สรุปและอภิปรายผล ในการจัดกิจกรรม การบรรยายเรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากรโดย Dr. Yeap Ban Har จากประเทศสิงคโปร์ มีจำนวนผู้ลงทะเบียนทั้งสิ้น 634 คน มีคนเข้าร่วมทำแบบประเมินทั้งสิ้น 423 คน คิดเป็นร้อยละ 67.1 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สัดส่วนสถานภาพ ของผู ้ เ ข้ า ร่ ว มส่ ว นใหญ่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ท ั ้ ง จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ แ ละ มหาวิทยาลัยอื่นที่ได้รับทราบข่าวสาร รวมถึงมีคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยอื่นอีกหลายมหาวิทยาลัย อาท มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ร าษฏร์ ธ านี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นต้น รวมถึงคุณครูผู้สอนในโรงเรียนต่างๆในภาคใต้และภาคอื่นๆของไทย การที่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมากนั้น เนื่องด้วยวิทยากรเป็นผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ เข้า ร่วมกิจกรรมต่างๆในหลายประเทศ ทั้งการทำวิจัยด้านคณิตศาสตร์ศึกษา และเป็นที่ปรึกษาในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในหลากหลายสถาบัน รวมถึงสถาบันการศึกษาในประเทศไทย อาทิ มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นต้น รวมถึงท่านเป็น ผู้อำนวยการหลักสูตรการศึกษาและการพัฒนาของ โรงเรียนในสิงคโปร์ และโรงเรียน Singapore International School ในประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ และนครราชสีมา รวมทั้งท่านสามารถรับฟังภาษาไทยได้เข้าใจ งนั้นผู้เข้าร่วมสามารถสอบถามเป็นภาษาไทยได้ ทำให้ลดปัญหาความยุ่งยากทางด้านภาษาลงได้อย่างมาก การประเมินในส่วนของความพึงพอใจในการจัดโครงการทั้ง 10 รายการพบว่า มีผลการประเมินโดย รวมอยู่ที่ร้อยละ 93 ซึ่งมีผลการประเมินในระดับมากที่สุดทุกรายการ รายการที่มากที่สุดคือ พอใจ ในหัวข้อ ความคิดเห็น ด้านความเป็น นานาชาติข องวิท ยากร (ค่าเฉลี่ย 4.81) รองลงมาความคิดเห็ นด้านความรู้ ความสามารถของวิทยากร (ค่าเฉลี่ย 4.78) และความคิดเห็นเกี่ยวกับความน่าสนใจ ความทันสมัยและความ เป็นนานาชาติของกิจกรรมที่จัด (ค่าเฉลี่ย 4.68) ข้อเสนอแนะจากผู้ตอบแบบสอบถาม จากผู้เข้าร่วมโครงการ โดยสรุปจากการทำแบบสอบถามในส่วนของข้อเสนอแนะ มีดังนี้ − ควรมีการจัดโครงการนี้ต่อไป − ควรมีการประชาสัมพันธ์ของกิจกรรมนี้ให้คนภายนอกได้รู้จัก และรับรู้ได้มากกว่านี้ − ควรจัดกิจกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศในรูปแบบออนไลน์

P a g e | 65

สาระความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม องค์ความรู้ที่นักศึกษาได้รับมีมากมายหลายประการ ที่สำคัญที่สุดคือการเห็นความสำคัญของการสอน คณิตศาสตร์ที่ต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ คณิตศาสตร์อย่างมีความหมาย และเป็นการสร้างความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์ให้ง่ายขึ้น สอนคณิตให้ง่ายขึ้น และเข้าใจได้ไม่ยากนั่นเอง โดยมีรายละเอียดตามไฟล์การสะท้อนผลของนักศึกษาดังแนบ เกียรติบัตรการเข้าร่วมกิจกรรม โดยในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ผู้ทำแบบประเมินจะได้รับเกียรติบัตรการเข้าร่วมโดยมีคณบดีเป็นผู้ลงนาม ร่วมกับรองคณบดีฝ่ายบัณฑิต นวัตกรรมและวิเทศสัมพันธ์ดังภาพตัวอย่างต่อไปนี้ -------------------------------------------------------

เมื่อจัดกิจกรรมเสร็จแล้ว สัปดาห์ต่อมา ได้ให้นักศึกษาสะท้อนผลการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ โดยมีประเด็นหลักในการสะท้อนคิด คือ 1. เล่า/บรรยายสิ่งที่ตนเองได้มีส่วนร่วมดำเนินการ 2. ความรู้/ประสบการณ์ที่ตนเองได้รับ 3. สิ่งที่ประทับใจ/สิ่งที่ควรปรับปรุงพัฒนา ดิฉันได้ให้เวลาแสดงความคิดเห็นคนละ 2-3 นาที และเขียนสิ่งที่พูดนั้นประกอบภาพส่งในสัปดาห์ ถัดไป ซึ่งพบว่านักศึกษาสะท้อนคิดตามความเป็นจริง โดยจะเห็นได้ว่าคนที่มีส่วนร่วมน้อยที่สุด จะเขียนน้อย เขียนไม่ออก ทำให้ผู้สอนสามารถประเมินการร่วมกิจกรรม การทุ่มเทงานการร่วมมือกันทำงานได้ชัดเจน ดังรายละเอียด ดิฉันได้ให้นักศึกษาแบ่งทีมทำงานเป็นฝ่ายต่างๆ แล้วประชุมทีมใหญ่ทีมย่อยเพื่อติดตามงานและให้ ข้อเสนอแนะการทำงานทุกฝ่าย ท่านผู้อ่านข้อเขียนของนักศึกษาจะเห็นภาพการทำงานและการปรับแก้งาน หลายครั้งหลายครา จนเสร็จสิ้นการทำงาน

P a g e | 66

แบบสะท้อนผลการเรียนรู้จากโครงการ “PSU Open Mobility” “PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program” จัดโดย คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หัวข้อ เรื่อง Mathematical process in daily life and its applications into classrooms วิทยากร โดย Dr. Yeap Ban Har, Singapore จากการจัด โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ในหั ว ข้ อ “Mathematical

process in daily life and its applications into classrooms” ในส่วนของการเตรียมงาน หลังจากได้รับ มอบหมายงานในการจัดโครงการครั้งนี้ ได้มีการแบ่งการทำงานออกเป็นฝ่ายต่าง ๆ เพื่อเป็นการแบ่งภาระงาน ซึ่งการแบ่งงานเป็นฝ่ายในลักษณะนี้จะทำให้นักศึกษาได้ทำงานอย่างทั่วถึงและสามารถเป็นพื้นที่และโอกาศให้ นักศึกษาได้แสดงความสามารถ ทักษะ และศักยภาพของนักศึกษา เมื่อมีการทำงานเป็นฝ่ายต่าง ๆ ดังนั้นการ ประสานงานกันถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เห็นได้ว่าการทำงานจะที่เกิ ดจากหลายความคิดร่วมกันนั้น ทำให้ มีไอเดียที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ในส่วนการทำงานเบื้องหลังของการLiveสดที่ห้องสตูดิโอของคณะ มีปัญหา บ้างบางส่วนแสดงให้เห็นเลยว่าการเตรียมงานนั้นจะต้องมองอย่างละเอียดรอบคอบ มองถึงความจริงที่จะ เกิดขึ้นสิ่งที่ต้องเตรียมในงานและคาดการณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งทางทีมงานและฝ่ายที่รับผิดชอบก็สามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีและสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ส่วนของอุปสรรค ข้อผิดพลาดก็ต้องนำไปพัฒนาปรับปรุง ในโครงการถัดไป วิทยากรมีความชำนาญการในการบรรยายและถ่ายทอดความรู้เป็นอย่างมาก การใช้ภาษาสามารถ เข้าใจและฟังได้ง่าย ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสำคัญของทัศนคติต่อคณิตศาสตร์ที่เปลี่ยนไป การมองความเป็น คณิตศาสตร์ และการนำไปใช้ เมื่อเรามีความเข้าใจในกระบวนการคณิตศาสตร์แล้วจะทำให้เราได้เข้าใจ กระบวนการคิดของนักเรียนอีกด้วย วิทยากรได้ยกตัวอย่างหลายรูปแบบ อาทิเช่นการหาร ที่ได้ได้มีเพียงหาร สั้นหรือหารยาวเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้การบวก ลบ คูณ หาร เข้ามาคิดได้ ซึ่งในบางวิธีนั้นได้คำตอบเร็วกว่า และคำตอบเดียวกัน หากเป็นการสอนในไทยสมัยก่อน คุณครูมักบอกว่าผิด อีกทั้งได้แลกเปลี่ยนการเรียนการ สอนในไทยและต่างประเทศอีกด้วย ถือเป็นการเปิดมุมมองและประสบการณ์ใหม่ๆมากยิ่งขึ้น อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ เห็นและแปลกตานั้นคือ แอพลิเคชั่น สื่อการสอนคณิตศาสตร์ ที่มีความแปลกตา และวิทยากรได้แนะนำเพื่อไป ต่อยอดได้อีกด้วย โดยมีการสะท้อนผลสิ่งที่ได้รับจากนักศึกษาในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ รายบุคคลดังนี้ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงาน ในโครงการนี้ดิฉันได้รับหน้าที่ในฝ่ายประเมิน ซึ่งจะออกแบบประเมินผล การทำรายงาน จึงต้องทำหน้าที่ ร่ ว มกั บ ฝ่ า ยลงทะเบี ยน ได้ ม ี ก ารประสานงานกั น และเนื ่ อ งจากเราทำงานแบบออนไลน์ จึ ง ทำให้ ก าร ประสานงานอาจจะไม่ได้ดีเท่าที่ควร แต่เพื่ อน ๆ ทุกคนก็ช่วยกันทำงานนี้ได้อย่างดี งานออกมาดีมาก ดิฉันขอ ชื่นชมเพื่อน ๆ ทุกคนสำหรับการทำงานในครั้งนี้ สิ่งที่ได้เรียนจากวิทยากร Dr.Yeap Ban Har - ได้ความรู้ และมุมมองที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ แม้ว่าโจทย์คณิตศาสตร์จะมีคำตอบเพียงคำตอบ เดียว แต่วิธีคิดหาคำตอบสามารถหาคำตอบได้หลายวิธี ไม่จำเป็นต้องทำวิธีเดียวแบบที่อาจารย์ส อน สามารถคิดนอกกรอบเพื่อหาคำตอบในแบบที่เราเข้าใจได้

P a g e | 67

- ได้ป รับ ทัศนคติในการเรียนคณิต ศาสตร์ ไม่ใช่เรียนเพื่อการสอบแข่ งขั น เพียงอย่า งเดีย ว แต่เรียน คณิตศาสตร์เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพราะทุกอย่างในชีวิตประจำวันของเราล้วน เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น - ได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการสอนคณิตศาสตร์ ที่ไม่จำเป็นว่าจะต้องมีแค่โจทย์และตัวเลขเท่านั้น แต่ อาจารย์สอนให้รู้จักการนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์เป็นรูปภาพ สัญลักษณ์ ที่ทำให้สามารถเข้าใจได้ง่าย ยิ่งขึ้น ทำให้นักเรียนไม่รู้สึกเบื่อกับการเรียนคณิตศาสตร์ ภาพบรรยากาศการทำงานแบบออนไซต์

นางสาวกรรณิกา เกตุแก้ว รหัสนักศึกษา 6320114001 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ เลขที่ 1 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ( ฝ่ายพิธีการ ) 1. การทำงานของแต่ละฝ่ายทุกคนต้องเข้าใจการทำงานในฝ่ายของตนเอง เข้าใจหน้าที่ของตนเอง ซึ่งการที่ ทุกคนต่างเข้าใจหน้าที่ของตนเองนั้นจะมีส่วนช่วยอย่างยิ่งในการทำงานให้ราบรื่นไปได้ 2.การประสานในการทำงานถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ในกรณีงานใหญ่หากแต่ละฝ่ายไม่ประสานงานร่วมกัน หรือสมาชิกในแต่ละฝ่ายไม่ประสานงานร่วมกัน ก็จะทำให้เกิดปัญหาได้ เช่น เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน เกิด การทำงานซ้ำ ๆ 3. ทุกการทำงานย่อมเกิดความผิดพลาดได้เสมอ สิ่งที่ท้าทายที่สุดคือการหาวิธีในการก้าวข้ามปั ญหา และ เรียนรู้จากปัญหานั้น ๆ ยิ่งเจอปัญหาจะทำให้เราเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น สิ่งที่ได้รับจากการบรรยายโดยวิทยากร Dr. Yeap Ban Har 1. Mathematical Problem Solving ประกอบด้วย - Metacognition การตระหนักรู้และเข้าใจกระบวนการคิดของตนเอง - Process ซึ่งประกอบด้วย การให้เหตุผล การสื่อสาร การเชื่อมโยง ทักษะการคิด - Concept ซึ่งผู้เรียนจะต้องเข้าใจเนื้อหาคุณสมบัติ และความสัมพันธ์ เข้าใจการดำเนินการต่าง ๆ - Skill ซึ่งทักษะที่ผู้เรียนต้องเกิดคือเกิดความชำนาญในการดำเนินการมองรูปแบบ และสามารถเลือกใช้ เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา

P a g e | 68

- Attitudes ทัศนคติที่ผู้เรียนเกิดคือมีความเชื่อ ความมั่นใจ แรงจูงใจ ความสนใจ และมีความอุตสาหะ 2. ตัวอย่างการสอนโดยใช้ Problem Solving

3.การแก้ไขปัญหากรณีนักเรียนไม่เข้าใจ 3.1 Concrete materials การใช้สื่อที่เป็นรูปธรรมเพื่อแสดงให้นักเรียนเห็น จะเห็นว่าหากเราใช้สื่อที่เป็น รูปธรรมแล้วนักเรียนจะเกิดความเข้าใจที่ดียิ่งขึ้น เกิดทัศนคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ เพราะมองเห็นว่ามันอยู่ใน ชีวิตจริง 3.2 Visual conversation ใช้การสนทนาด้วยรูปภาพ 3.3 Explore การให้นักเรียนได้เป็นผู้ลงมือในการทำกิจกรรมด้วยตัวของนักเรียนเอง ซึ่งทำให้นักเรียนได้ เกิดองค์ความรู้ เป็นเจ้าของความรู้นั้น ๆ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับการจัดการเรียนรู้แบบ Open Approach ที่ให้นักเรียนได้เป็นผู้ทำกิจกรรมนั้นด้วยตนเองจาก สถานการณ์ปัญหาของครูผู้สอน 4. การเรียนการสอนของไทยควรแก้ไขอะไรบ้าง 4.1 Style การจัดการเรียนการสอนของไทยนั้นจะให้นักเรียนแก้ไขปัญหาหลังจากที่ครูผู้สอนสอนเสร็จ ผ่านการทำแบบฝึกหัด ซึ่งในการทางกลับกัน ครูผู้สอนสามารถนำปัญหาหรือสถานการณ์ปัญหามาเป็นตัว เริ่มต้นในการสอนได้ 4.2 ครูผู้สอนสามารถใช้ปัญหาเป็นหนึ่งในเครื่องมือของการจัดการเรียนรู้ได้ 4.3 ครูผู้สอนต้องเตรียมความพร้อมก่อนการสอนเสมอ โดยยึดถือความรู้ที่มีอยู่เดิมของผู้เรียนเป็นที่ตั้ง เพื่อ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เก่าและความรู้ใหม่ที่ผู้สอนจะสอนได้ ซึ่งเมื่อ เกิดการเชื่อมโยงความรู้แล้ว ก็จะเกิดการต่อยอดได้ 4.4 สิ่งสำคัญคือการเปลี่ยนแปลง Culture of classroom ของไทย จากเด็กเป็นผู้รับความรู้กลายมาเป็นผู้ ลงมือทำกิจกรรม เป็นผู้สร้างองค์ ความรู้ด้วยตัวของนักเรียนเอง ส่วนครูจากการเป็นผู้ให้ความรู้ กลายมา เป็นผู้อำนวยความสะดวกแทน

P a g e | 69

5. Visualization " What the mind see that the eyes cannot " กล่ า วคื อ เป็ น สิ ่ ง ที ่ จ ิ ต ใจเรามองเห็ น แต่ ต าเราไม่ สามารถมองเห็นได้โดยตรง เป็นการกล่าวถึงการสร้างภาพ แผนผัง หรือ ภาพเคลื่อนไหว ใช้ในการสื่อสาร แทนข้อความ โดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้ทั้งในทางรูปธรรม และนามธรรม ซึ่งเราสามารถนำ Visualization มาใช้ได้กับทุก ๆ เรื่อง ยกตัวอย่างเช่น ในวิชาฟิสิกส์ จะเห็นว่าเรื่องไฟฟ้า เรื่องแรง เราไม่สามารถมองเห็น มันได้ด้วยตาเปล่า แต่เราสามารถใช้จินตนาการในการสร้างแบบรูป ซึ่งทำให้เราสามารถเข้าใจมันได้ 6. ตัวอย่างการใช้ Visualization ในวิชาคณิตศาสตร์

6.1 โจทย์ ให้เส้นตรง AB มีความยาว 29 เซนติเมตร และมีสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 รูป จงหาเส้นรอบรูปของ โจทย์ โดยจะเห็นว่าข้อนี้สามารถใช้visualization ในการแก้ไขปัญหาได้ 6.2 วิธีแก้ไขปัญหา คือการมองเส้นสีเขียวยาว 29 เซนติเมตร มองเส้นสีส้มรวมกันยาว 29 เซนติเมตร (จากการสังเกตว่ามันยาวเท่ากับเส้นสีเขียวเมื่อรวมกัน) มองเส้นสีแดงรวมกันยาว 29 เซนติเมตร (เนื่องจากเป็นด้านของสี่เหลี่ยมจัตุรัส) มองเส้นสีดำรวมกันยาว 29 เซนติเมตร (เนื่องจากเป็นด้านของสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ซึ่งความยาวรอบรูปของรูปนี้คือ 29 x4=116 เซนติเมตร ซึ่งกล่าวคือเรานำการแก้ไขปัญหาโดยใช้ visualization มาใช้โดยไม่จำเป็นต้องใช้การวัด หรือใช้ ความรู้ทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงเลย 7. ตัวอย่างเรื่องการคูณ การหาร

P a g e | 70

จากตัวอย่างจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าไม่ว่าการคูณหรือการหารสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของเศษส่วนได้ 8. สรุปสาระสำคัญจากการฟัง 8.1 การจัดการเรียนการสอนสิ่งที่ต้องนำมาควบคู่ด้วยคือการใช้จิตวิทยาจะเห็นได้ว่าตัวอย่างจากการ บรรยายมีการนำ ทฤษฎีของ Bruner หรือ ทฤษฎีของ Vygotsgy มาใช้เป็นต้น 8.1 กระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นกระบวนการที่เจอได้ในชีวิตประจำวัน 8.2 การที่น ักเรียนมองเห็น รูป แบบในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ จะช่ว ยให้นักเรียนสามารถเข้าใจ คณิตศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น ส่งผลการการเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้ 8.3 การใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม การใช้ภาพ การใช้ภาษา และการถามเพื่อกระตุ้นการคิด การให้นักเรียนได้ แสดงแนวคิดของตนเอง จะช่วยในการเรียนคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี นายเฉลิมศักดิ์ นกแก้ว รหัสนักศึกษา 6320114002 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 2 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้จากการทำงาน จากการที่ผมนั้นอยู่ฝ่ายประสานงาน ผมเห็นว่า ทุกคนพอทำงานจริงนั้นไม่ใช่เล่นๆเลย ทุกคนนั้นให้ ความร่วมมือในการทำงานกันหมด ถึงแม้ว่าที่ทำนั้นจะผิดพลาดอยู่บ้างเราก็ค่อยๆปรับแก้ไป เห็นได้จาก โปสเตอร์ที่แก้กันแล้วแก้กันอีกและอื่นๆอีกมากมาย ก็อย่างที่คนเคยกล่าวไว้ว่า “คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่ เคยทำอะไรเลย” ดังนั้นผมเชื่อว่า ในงานหน้ามันจะต้องออกมาดีแน่นอน การนำไปใช้ แบ่งเวลาให้เป็นว่าไหนเวลาเล่นไหนเวลางาน สิ่งที่ได้จาก Dr .Yeap Ban Har -ผมได้คำตอบที่ ผมค้างคาใจมานาน คำถามที่ผมค้างคาใจคือ บางคนคิดว่าเรียนคณิตศาสตร์นั้นเพื่อ สอบอย่างเดียว Dr. บอกว่า เราต้องมองในมุมเขาครับ ว่า เขาเรียนเพื่อเอาเกรดหรือเรียนเพื่อเอาความรู้

P a g e | 71

ถ้าเขาเรียนเพื่อเอาเกรด Dr.บอกว่าให้ปล่อยเขาไปครับเพื่อที่จะให้เขานั้นมีอนาคตที่ไกลกว่าเดิม ส่วนถ้าเขา เรียนเพื่อเอาความรู้นั้นเราจะบอกว่า คิดแบบนี้นั้นมันผิดเพราะว่า คณิตศาสตร์นั้นมันอยู่รอบตัวเรามันไม่ได้อยู่ แค่ในข้อสอบ ดังนั้นเราต้องสอนคนกลุ่มนี้โดยให้เขาเน้นประยุกต์ ไม่ใช่เน้นสอบ -ได้เทคนิคใหม่ๆในการสอน Dr.นั้นพยายามสอนให้เห็นภาพ สอนให้เด็กคิดเป็น Dr.นั้นไม่อยากให้เด็ก นั้นแค่จำสูตรอย่างเดียว แต่สอนให้เด็กประยุกต์ การนำไปใช้ นำไปใช้กับนักเรียนในการออกแบบสื่อการสอนและประยุกต์ไปกับการเรียนการสอน

ภาพ ก ภาพการทำงานของ นายชนาธิป ทองดียิ่ง ณ ห้อง สตูดิโอ อยู่มุมล่างซ้ายสุด

ภาพ ข ภาพ นายชนาธิป ทองดียิ่ง ขณะอยู่ใน zoom นายชนาธิป ทองดียิ่ง รหัสนักศึกษา 6320114003 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่3

P a g e | 72

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program กระบวนการคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันและการนำไปใช้ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษาและผู้เข้าร่วมเข้าใจการสอนในชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงเป็นการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในการเรียนการสอนในต่างประเทศ เพื่อให้ สามารถปรับใช้ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลที่ดีมากยิ่งขึ้น สิ่งที่ได้เรียนรู้ เหมือนเป็นการทบทวนความรู้เดิมที่เรียนที่ได้เรียนมาในรูปแบบใหม่ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น เกี่ยวกับกระบวนการคณิตศาสตร์และองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของวิทยากร ท่านอธิบายได้ละเอียด มีการอ้างอิงถึงความหมายที่หลากหลายมีการยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น เช่นการสอนโดยใช้ Problem Solving ท่านอธิบายหมดทุกหัว ข้อและยกตัว อย่ างให้ฟัง หรือให้ดูภาพตัว อย่าง ทำให้เข้าใจมากขึ้น และ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและต่อยอดในอนาคตได้ โดยสรุปหัวข้อหลักที่ได้เรียน ดังนี้ 1. การใช้ตัวอย่างจากกระบวนการคณิตศาสตร์ เช่น problem solving, visualization และ generalization เพื่ออธิบายให้เห็นว่า กระบวนการเหล่านี้ถูกใช้ในชีวิตประจำวัน 2. การกระตุ้นศักยภาพนักเรียนในการใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ ดีและเห็นความเกี่ยวข้องระหว่างโลกจริงกับโลกคณิตศาสตร์ได้ ทำให้นักเรียนมีทัศนคติต่อคณิตศาสตร์ดีขึ้น 3. การสร้างรูปแบบของห้องเรียนมีผลกระทบต่อนักเรียน ดังนั้นควรสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อการ เรียนรู้ เช่น การใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม การใช้ภาพ ภาษาและการตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นการคิด การให้นักเรียนได้ แสดงแนวคิดของตนเอง การสำรวจ การสะท้อนคิด หรือจะเป็นการใช้บทสนทนาและการมีปฏิสัมพันธ์ กับ นักเรียน เป็นต้น การทำงานร่วมกัน มีการแบ่งฝ่ายงานอย่างชัดเจน ทำให้แต่ละฝ่ายสามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว อาจจะมีปัญหาให้ได้ แก้กันบ้าง แต่ถือเป็นการเรียนรู้เพื่อต่อยอดในอนาคต ส่านที่สำคัญที่สุดคือการประสานงาน จะเห็นได้ว่าแต่ละ ฝ่ายมีการแบ่งงานและให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอด จนทำให้งานผ่านไปด้วยดี

รูปภาพการประชุมก่อนการจัดกิจกรรม วันที่ 28 ธันวาคม 2564

P a g e | 73

รูปภาพระหว่างการบรรยาย โดย Dr.Yeap Ban Har ภายใต้หัวข้อ กระบวนการคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันและการนำไปใช้ นางสาวซัลวานี เซ็ง รหัสนักศึกษา 6320114004 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 4

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program เมื่อได้สอบถามเด็กนักเรียนว่าชอบคณิตศาสตร์ไหม? มากกว่า 50% จะตอบว่าไม่ชอบ ทีนี้ผู้สอนต้องตั้งคำถาม กับตัวเองแล้วว่าทำไมนักเรียนถึงไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ และจากการบรรยายโดย Dr.Yeap ban har อาจารย์ ได้กล่าวไว้หนึ่งประโยชน์ การเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ และดิฉันได้นำมาคิดต่อยอดต่อ ดิฉันมองว่า ไม่ใช่แค่นักเรียนอย่างเดียวที่ต้องเปลี่ยนทัศนคติกีคณิตศาสตร์ แต่ผู้สอนเองก็ต้องเปลี่ยนเช่นกัน และดิฉันมอง ว่าการเปลี่ยนทัศนคติของผู้สอนนั้นเป็นสิ่งที่ยากเนื่องจากผู้สอนได้ซึมซับกับการเรียนคณิตศาสตร์ในรู ป แบบเดิมๆที่มีแต่ตัวเลข และเมื่อถามต่อว่าจะเปลี่ยนทัศนคติของเด็กอย่างไร? โดยใช้ความสามรถของเด็กเอง เช่น มองพัฒนาการของ เด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กในวัยนี้จะจดจำภาพ จดจำสถานการณ์ มากกว่าตัวเลข หรือ ตัวอักษร ดังนั้น ผู้สอน ต้องออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กนักเรีย น อย่างการใช้ Problem solving ที่เป็น รูปแบบการเรียนแบบหลักที่สิงคโปร์ได้ใช้ในการจัดการเรียนรู้ จากการบรรยายเมื่อวานอาจารย์Dr.Yeap ban har ได้ใช้ภาษาอังกฤษที่ฟังง่ายจึงทำให้นักศึกษาและ ผู้เข้าร่วมฟังออกจึงไม่เกิดความเบื่อหน่ายอีกทั้งยังส่งเสริมทัศนคติด้านบวกด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา ด้านการทำงาน(ฝ่ายทะเบียน) เป็น ครั้งแรกของหนูส ำหรับ การทำงานในฝ่ายทะเบียน ทำให้ได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ เช่น การทำ แบบฟอร์มลงทะเบียน และการออกแบบเกียรติบัตร แน่นอนว่าการทำงานในครั้งแรกก็ไม่ได้ดีสมบูรณ์ 100% เช่นการทำเกียรติบัตรพบว่าไม่ควรใส่ที่ครอปที่ชื่อและนามสกุล เนื่องจากแต่ละคนก็จะมีชื่อและนามสกุลที่ยาว แตกต่างกันไป และการทำคิวอาร์โค้ดที่จะทำอย่างไรให้เวลาสแกนแล้วไม่ติดโฆษณา ทำให้ในการทำงานรอบนี้ ได้รับบทเรียน และหนูจะนำบทเรียนในครั้งนี้ไปต่อยอดและปรับปรุงต่อไป

P a g e | 74

ภาพประกอบกิจกรรม

Pics: Mathematical process

pics: Dr.Rachada with Dr.Yeap ban har

นางสาวซูวัยบะฮ์ หะยีเจะและ รหัสนักศึกษา 6320114005 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 5 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้จากการทำงาน ในส่วนงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ ภายในฝ่ายมีการแบ่งหน้าที่กันไม่ว่าจะเป็น poster background คลิปประมวลผล และบันทึกภาพวีดีโอ ซึ่งของดิฉันได้ทำโปสเตอร์กับอัซฟานซึ่งในการทำคือไม่ง่ายเลย เพราะปกติไม่เคยทำงานในส่วนนี้เลย ในการทำ poster ก็มีเพื่อนหลายคนทักมาให้คำปรึกษาและก็เข้ามาช่วย และก็ต้องขอบคุณเพื่อนเอกจนได้ poster ที่สมบูรณ์เสร็จออกมา และแน่นอนว่าในแต่ละฝ่ายก็อาจมีบางฝ่ายที่ ไม่เคยทำมาก่อน แต่เพราะความตั้งใจและมุ่งมันในการทำงานของแต่ละฝ่ายจึงทำให้งานล่วงได้ด้วยดี และต้องขอบคุณอัซฟานที่ช่วยกันทำ poster ทั้ง 2 ชิ้นออกมาจนเสร็จ เพราะถ้าให้ดิฉันทำคนเดียวคงไม่ได้ ออกมาแบบนี้ เพราะในเรื่องเชดสีดิฉันไม่ค่อยเก่งในเรื่องนี้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำงานในครั้งนี้ - ความสามัคคีในการทำงานร่วมกันภายในฝ่ายและฝ่ายอื่นๆ -การแก้ไขปัญหาที่พบเจอในการทำงาน -ความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลาย

รูปภาพ poster

P a g e | 75

รูปภาพ background ด้านความรู้จากวิทยากร ในส่วนของวิทยากรคือเนื้อหาสาระแน่นมาก เตรียมเนื้อหาสาระมาพร้อม เข้ามาก่อนเวลาเพื่อเตรียมความ พร้อมซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดี แต่ส่วนตัวไม่ค่อยเก่งอังกฤษ ทำให้รู้สึกเสียดายมากๆ แต่ก็มีบางช่วงเวลาที่เข้าใจ ถึงไม่มากแต่ก็เป็นประโยชน์มากในการเรียนรู้ใหม่ๆ และในการที่ เราไม่ถนัดอังกฤษทำให้เรายิ่งกระตือรืนร้นที่ จะอยากเข้าใจขึ้น จึงมีการนำไปแปลคำศัพท์ในส่วนที่ตัวเองไม่ค่อยเข้าใจซึ่งเป็นผลดีต่อตัวเองในการเรียนรู้ คำศัพท์ใหม่ๆ อย่างไรก็ตามถือเป็นการบรรยายที่รู้สึกประทับใจมาก ทำให้เราได้เรียนรู้ถึงความรู้ใหม่ๆจากที่ไม่ เคยมีมาก่อน และเข้าใจเนื้อหาสาระ กระบวนการคิดมากยิ่งขึ้น แล้วในส่วนคำถามที่ดิฉันถามในแชทตอนไลฟ์ วันนี้อาจารย์ตอบกลับมาส่วนตัวทางคอมเม้นให้ด้วย ทำให้รู้สึกเป็นกันเองมากๆ และสุดท้ายก็ต้องขอบคุณเพื่อนทุกๆฝ่ายคือทำงานกันได้อย่างเต็มที่มาก ซึ่งงานเมื่อวานจะไม่ผ่านไปได้ด้วยดีหากไม่มีการทำงานเป็นทีมของเพื่อนๆทุกฝ่าย สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ อาจารย์ดร. รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่มอบโอกาสให้มีโครงการดีๆ และดิฉันหวังว่าจะมีโอกาสได้ทำโครงการอีก ในสิ่งที่ดีก็ทำให้ดีต่อไปในส่วนที่ต้องแก้ไขก็จะพัฒนาต่อไป นางสาวตัสนีม ยังสมัน รหัสนักศึกษา 6320114007 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ เลขที่ 6 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ประเด็นการเรียนรู้ 1. ความรู้

บันทึกสะท้อนการเรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้ 1. Problem solving เป็ น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ ที ่ สุ ด สำหรั บ Mathematical Process ที ่ จ ะทำให้ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การคิดทางคณิตศาสตร์ไม่มีกรอบความคิดที่ แน่นอน สามารถคิดได้อย่างอิสระ ดังนั้นการ จัดการเรียนการสอนของครู ต้ องไม่เ ป็น สิ ่ ง ที่ จำกัดความคิดของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ใช้ความคิดของตนเอง แลกเปลี่ยนความคิด กับเพื่อนในชั้นเรียน โดยที่ไม่สร้างแบบแผนใน

การนำไปประยุกต์ใช้ / ปรับปรุง แก้ไข 1. ปรับความคิดของตนเองว่าครูไม่ใช่ ศูนย์กลางของความรู้ผู้เรียนจะเรียนรู้ ได้ดีจากการใช้ความคิดของตนเองใน การแก้ปัญหา 2. ใช้ Problem solving ในการสอน เพื่อให้ผู้เรียนคิดด้วยตนเอง ไม่ใช่สอน วิธีแก้ปัญหาให้กับผู้เรียน เพราะจะเป็น การจำกัดความคิดของผู้เรียน 3. วางแผนการจัดการเรียนการสอน จากเรื่องง่ายที่จะทำให้ผู้เรียนมองเห็น

P a g e | 76

การเรียนรู้ของผู้เรียนว่าจะต้องได้รับความรู้จาก การฟังครูสอนเท่านั้น 3. Visualization ส่งเสริมให้เกิด Imagination ซึ่งเมื่อมองเห็นภาพแล้วก็จะนำไปสู่การมองเห็น วิธีที่จะแก้ปัญหาและเข้าใจสิ่งนั้นได้เป็นอย่างดี 4. สื่อที่ใช้ในการสอนเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยให้ ผู้เรียนมองเห็นภาพและเข้าใจสิ่งที่เรียนมากขึ้น 2. การทำงาน 1. การประสานงานเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้งาน เป็ น ไปในทางเดี ย วกั น ซึ ่ ง อาศั ย ทั ก ษะการ สื่อสารและการรับสารที่ดีที่จะทำให้ทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับสารเข้าใจสารตรงกัน 2. การเตรียมตัวที่ดีและความสามัคคีจะทำให้ งานออกมามีข้อบกพร่องน้อยที่สุด 3. การแบ่ ง หน้ า ที ่ ใ นการทำงานที ่ ช ั ด เจน เป็นสิ่งที่ดีเพราะช่วยให้การทำงานเป็นระบบ 4. การทำงานกับคนที่มีประสบการณ์กับสิ่ง ๆ นั ้ น จะช่ ว ยให้ ก ารทำงานเป็ น ไปได้ ง ่ า ยและ ราบรื่นมากขึ้น 5. ปั ญ หาสามารถเกิ ด ขึ ้ น ได้ ต ลอดเวลา ดังนั้น ทักษะการแก้ป ัญหาเฉพาะหน้ าที่ ด ี จึ ง จำเป็นสำหรับการทำงาน ภาพตัวอย่างการสอนให้ผู้เรียนมองเห็นภาพและเข้าใจง่าย

2

ภาพและเข้ า ใจพื ้ น ฐานในสิ่ ง ที่ เ รียน อย่างถ่องแท้ จึงจะสามารถต่อยอดไป เรื่องที่ซับซ้อนได้ง่ายขึ้น 4. ใช้สื่อการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเข้าใจ ง่ า ยและอำนวยความสะดวกในการ แก้ปัญหาให้กับผู้เรียน 1. ปรับ ปรุงการประสานงานเพื ่ อ ให้ งานครั้งต่อไปดียิ่งขึ้น และเกิดปัญหา น้อยที่สุด 2. การแบ่ ง หน้ า ที ่ ใ นการทำงานที่ ชั ด เจนเป็ น สิ ่ ง ที ่ ด ี แต่ ก ็ ย ั ง คงต้ อ งมี การพูดคุยกันเพื่อให้งานสอดคล้องกัน และได้ในสิ่งที่ดีที่สุด

การหารโดยใช้หลักการแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน จะได้ส่วนละ 3

1 3

การหารโดยที่ไม่ต้องใช้การตั้งหาร คือการแยกค่าให้หลักต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนที่ 3 หารลงตัว นำมาหาร ด้วย 3 แล้วนำค่าที่ได้มาบวกกัน

P a g e | 77

ภาพตัวอย่างการทำงาน

เบื้องหลังฉากของพิธีกร

การทำงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค

ชี้แจงกำหนดการให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค

สังเกตการณ์ผ่านโปรแกรม zoom

นางสาวนูรซากีรีน เจะอารง รหัสนักศึกษา6320114008 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ เลขที่ 7 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program -สิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ความรู้สึกที่ได้ร่วมทำงานกับเพื่อน ๆ ในเอก และอีกหลายฝ่ายจากนอกเอก คือ รู้สึกตื่นเต้นมาก ตั้งแต่ก่อนเริ่มงาน เนื่องจากงานนี้เป็นงานที่ใหญ่มาก แอบกังวลว่าตัวเองจะช่วยเหลือเพื่อนได้มากน้อยแค่ไหน ระหว่างทางแต่ละฝ่ายอาจเจอปัญหาในหลายๆรูปแบบ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าทุกคนเก่งมาก ช่วยกันแก้ปัญหา ตั ้ ง แต่ ก ่ อ นเริ ่ ม งานจนกระทั ่ ง สิ ้ น สุ ด การทำงาน พอถึ ง วั น งานจริ ง ๆ เห็ น ได้ เ ลยว่ า เพื ่ อ นๆ สามั ค คี กั น มาก ช่วยเหลือกันและกัน สัพพอร์ตระหว่างกัน ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนที่มา on-site หรือ on-line ทุกคนต่างก็ทำ หน้าที่ของตนเองได้ดีมากๆ ภูมิใจในตัวทุกคน บรรยากาศในซูมเองก็คึกคักมาก เพราะจะสังเกตได้เลยว่ายอด คนดูค่อนข้างคงที่ และเนื้อหาสาระเป็นที่น่าสนใจของผู้คนหลายๆคน หลังจากที่จบงานแล้ว ได้เห็นรอยยิ้ม ของอาจารย์และเพื่อนๆทุกคน ทำให้รู้ว่างานนี้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ อาจารย์เองก็สนับสนุนพวกเราทุกคนได้ ดีมาก มอบความรู้ และความอบอุ่นให้ทุกคนเปรียบเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน หนูภูมิใจกับหลายเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นในการจัดงานครั้งนี้มากค่ะ

P a g e | 78

-สิ่งที่ได้รับจากการฟังบรรยายของ Dr.Yeap Ban Har วิทยากรของเรามากความรู้และประสบการณ์ บรรยายได้น่าฟังมาก อัดแน่นไปด้วยความรู้ ไม่ว่าจะ เป็นการแปลงสัญลักษณ์ ให้อยู่ในรูปแบบของการคิดให้เป็นรูปภาพ เพื่อให้เห็นภาพมากยิ่งขึ้น ถือเป็นไอเดียที่ น่าสนใจ และมีประโยชน์ต่อการนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนอย่างมาก อีกทั้งวิทยากรยังมีเทคนิคการพูด ให้ดึงดูดผู้ฟัง มีบุคลิกภาพ และทัศนคติที่ดี เป็นที่น่าชื่นชมของผู้ที่มารับความรู้ในงาน และจากการฟังบรรยาย ในครั้งนี้ทำให้หนูรู้สึกอยากฝึกฝนภาษาอังกฤษของตัวเองมากยิ่งขึ้น เพราะในโลกภายนอก เราจะพบเจอ ภาษาอังกฤษเยอะมาก ดังนั้นการเอาตัวรอดที่สำคัญ คือการเรียนรู้คำศัพท์ให้ มาก อย่างน้อยทำให้เราเข้าใจ ภาพรวมถึงจะไม่เข้าใจทุกๆ คำเหมือนเจ้าของภาษาก็ตาม

ภาพบรรยากาศของการทำงานแบบ on-site นางสาวนูรูลฮูดา สะแม รหัสนักศึกษา 6320114009 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 8

P a g e | 79

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program จากการจัดกิจกรรม PSU 2021 Virtual Professor Program ครั้งนี้ ได้รับทั้งความรู้และทักษะในการ ทำงานในด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ด้านการทำงาน จากการทำหน้าที่ในฝ่ายทะเบียน มีสมาชิกในฝ่ายทะเบียนสามารถทำแบบฟอร์มได้ จึงชื่น ชมเนื่องจากเป็นคนที่ไม่ถนัดในการสร้างแบบสอบถามจึงหาความรู้เพิ่มเติม ในขั้นตอนแรกจึงเป็นการศึกษา การสร้างแบบฟอร์มจากแหล่งต่างๆ เช่นจากอินเตอร์เน็ตและแบบฟอร์มในการจัดกิจกรรมครั้งก่อน ว่าการ สร้างแบบฟอร์ม ต้องทำอย่างไร ต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้างเพื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรมที่ทำ ต่อมาเป็นการ ออกแบบเกียรติบัตรร่วมกับสมาชิกในฝ่าย มีการปรังแก้หลายครั้ง และได้แบบเกียรติ บัตรจำนวนมากจนจน สุดท้ายก็ได้แบบเกียรติบัตรที่สวยงามและเหมาะสมกับกิจกรรมในครั้งนี้ และต่อมาเป็นการสร้าง Point ประวัติของ Dr. Yeap Ban Har ร่วมกับสมาชิกในฝ่าย และมีปัญหาในการสรุปข้อมูลเนื่องจากไม่ถนัดกับ ข้อความภาษาอังกฤษ แต่ต้องขอขอบคุณเพื่อนที่เป็นสมาชิกอีกฝ่ายช่วยอธิบายและสรุปข้อมูลที่สำคัญ -ด้านการบรรยายจาก Dr. Yeap Ban Har จากกิจกรรมสังเกตได้ว่า Dr. Yeap Ban Har มีบุคลิกที่ดีมากๆ มีความเป็นระเบียบ เป็นการให้ความรู้ที่ยอดเยี่ยมมากๆ ในการนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เช่น รูปแบบสื่อการสอน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ที่เน้นการใช้รูปภาพ การสร้างภาพ ในการ แก้ปัญหาหรือหาคำตอบ และที่สำคัญสามารถนำไปให้ได้จริงในชีวิตประจำวันอีกด้วย -ด้า นภาพรวมของงาน เป็นสิ่งที่มหัศจรรย์ที่สุด คือเป็นกิจกรรมที่มีผู้คนสนใจเป็นจำนวนมาก จำนวน ประมาณ 500 ท่าน ซึ่งนับได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ใหญ่มากและรวมถึงเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ ซึ่งคิดว่าท่านใดที่ได้ เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้จะไม่ผิดหวังแน่นอนค่ะ จากกิจกรรมได้เห็นถึงการทำงานร่วมกันและความพยายามของ เพื่อนในคณะเอกคณิตศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ทำให้กิจกรรมครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และที่สำคัญต้องขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.รัชดา เชาวน์เสฎฐกุล ที่ได้จัดกิจกรรมครั้งนี้ขึ้น ทำให้ได้รับความรู้และทักษะในด้านต่าง ๆ เพิ่ม มากขึ้น

การหารโดยใช้หลักการแบ่งส่วนที่เท่า ๆ กัน

การสอนโดยให้ปัญหาแก่ผู้เรียนของการคูณ

P a g e | 80

ภาพตัวอย่างการทำ Point และออกแบบเกียรติบัตร นางสาวนูไรณี หาบหา รหัสนักศึกษา 6320114010 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 9

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program

ภาพ : การร่วมกิจกรรมและร่วมทำงานในวันที่ 23 มกราคม 2565 ▪ ด้านการทำงาน

ได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม ได้เห็นความเต็มที่กับงานของเพื่อน ๆ ที่เมื่อพบปัญหาก็พร้อมทำงาน และแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว โดยตนเองนั้นทำหน้าที่ภายในฝ่ายทะเบียน ซึ่งงานที่ได้รับมอบหมาย คือ การทำ เกียรติบัตรและ Power Point นำเสนอประวัติของวิทยากร ปัญหาที่ เกิดขึ้นในการทำงานโดยส่วนตัว คือ การ ทำงานช้าและการคิดงานไม่ออกภายใต้ความกดดัน จึงทำให้ออกแบบเกียรติบัตรไปหลายแบบเพื่อให้เพื่อนใน ฝ่ายเลือก ซึ่งแบบที่เพื่อนเลือกเป็นแบบที่เพื่อนในฝ่ายเคยทำไว้แล้ว ทำให้รู้สึกว่างานในส่วนนี้ตนเองจะต้อง พัฒนาให้มากขึ้น ในส่วน Power Point ที่เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษทำให้การทำงานชะงักอยู่บ่อยครั้ง แต่ก็ได้ เพื่อนทั้งในฝ่ายและนอกฝ่ายคอยให้ความช่วยเหลือทำให้งานออกมาดี วันงานได้มีโอกาสไปทำงานที่หน้างาน รู้สึกตื่นเต้นและแปลกใหม่สำหรับตนเอง เพราะไม่เคยมาทำ หน้าที่หรือมีความเกี่ยวข้องกับงานในลักษณะนี้ ได้เห็นการทำงานและประสบการณ์ต่าง ๆ ผ่านการดูเพื่อน ๆ

P a g e | 81

พี่ ๆ ทำงาน เพราะตนเองยังไม่ค่อยได้ช่วยงานในวันนั้นมากนัก อาจเป็นเพราะฝ่ายที่ทำหรืออาจเป็นเพราะ ความสามารถของตนเองที่มีไม่มากพอที่จะรู้หรือเข้าใจงานในตรงนั้นซึ่งยังต้องเรียนรู้และพัฒนาต่อไป ▪ ด้านความรู้ ในส่วนของความรู้ที่อาจารย์ยะบันฮามอบให้ ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษแต่เป็นภาษาอังกฤษที่ฟังง่าย เพราะอาจารย์มีการเว้นช่วงจังหวะในการพูดที่ดี มีการใช้คำศัพท์ที่ง่ายฟังออกชัดเจน แต่ถึงอย่างนั้นยังมี บางส่วนที่ไม่เข้าใจอยู่ แต่โชคดีที่ มีเพื่อนช่วยแปลให้บ้าง สิ่งที่ได้เรียนรู้หลัก ๆ คือ การเข้าใจ Mathematical process มากขึ้น(ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่อาจารย์สอน) การสอนให้คิดแบบเห็นภาพ สอนให้เกิดจินตนาการโดย การใช้สื่อและคำพูดที่เข้าใจง่าย ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ดีทำให้เข้าใจคณิตศาสตร์มากขึ้น เ ปิดโอกาสให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้และคิดอย่างสร้างสรรค์หลากหลาย นอกจากนี้ยังได้รู้จักแอปใหม่ ๆ ที่อาจารย์ใช้งาน คือ Braining Camp และเว็บไซต์ที่เป็นประโยชน์ คือ Math Learning Center และขณะบรรยายมีการพู ดถึง นักจิตวิทยา ได้แก่ เพียเจต์ บรูเนอร์ เป็นต้น ทำให้ตอกย้ำความสำคัญของจิตยาที่ได้เรียนในเทอมที่ผ่านมา เพราะนำไปสู่การเข้าใจผู้เรียนและนำไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่ดีและเหมาะสมกับตัวผู้เรียน นางสาวมาติกา ทองจืด รหัสนักศึกษา 6320114011 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 10 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program การเรียนรู้จากโครงการนี้ ทำให้ได้ฝึกการทำงานร่วมกับคนจำนวนมาก ได้รู้ว่าตนเองมีจุดบกพร่อง ตรงไหน ควรพัฒนาทักษะด้านไหน ทำให้ได้รู้ว่าภาษาอังกฤษมีความสำคัญต่อชีวิตเรามากแค่ไหน เพราะ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล เป็นเครื่องมือที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ได้มากมาย อย่างเช่นใน โครงการนี้ถ้าเรามีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษคงเข้าใจสิ่งที่วิทยากรจะสื่อสารมากยิ่งขึ้น และได้รับประโยชน์ จากโครงการนี้แบบเต็มเม็ดเต็มหน่วยมากกว่านี้ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวิทยากร การสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญมากในการเรียนคณิตศาสตร์ มีบางช่วงบางตอนของการ บรรยายอาจารย์ได้บอกว่า บางครั้งคำถามนั้นง่ายๆแต่การสื่อสารที่ผิดพลาดทำให้ทำดูยากและตอบไม่ได้ การสอนให้เขาคิดเป็น ให้นักเรียนจัดระเบียบความคิดของตนเองได้ทำให้การเรียนคณิตศาสตร์ของเขามี ประสิทธิภาพมากกว่าการที่เราสอนเขาเป็นสเต็ปตามเรา นายมูฮำหมัดอัฟฟาน มะดีเยาะ รหัสนักศึกษา 6320114012 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 11

P a g e | 82

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program 1.สิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ( ฝ่ายประเมินผล ) ในช่วงแรกได้มีการวางแผนการทำแบบประเมิน ช่วยกันคิดคำถามเพิ่มเติม แก้ไขคำถามเพื่อให้สอดคล้องกับ บริบทกับโครงการที่จะทำ เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด -19 การจัดโครงการจึงดำเนินการในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้สอดคล้องกับบริบท จึงต้องปรับเปลี่ยน และแก้ไขคำถามให้สอดคล้องกับบริบท ในช่วงก่อนการประเมินได้เกิดปัญหา จึงทำให้สมาชิกในฝ่ายได้เรียนรู้ และแก้ไขปัญหากันเฉพาะหน้าได้ทันกับ เวลาการประเมิน ในช่วงการประเมินได้ประสบกับปัญหา คือ เมื่อผู้เข้าร่วมการประเมินได้ทำแบบประเมินไป ถึงจำนวน หนึ่งร้อยคน พบว่า คนหลังจากนั้นไม่ได้รับเกียรติบัตร ทางฝ่ายการประเมินเลยทำการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าคือ การส่งไดรฟ์รายชื่อรวมเกียรติบัตรของทุกคนให้กับทุกคน โดยมีการได้รับการช่วยเหลือจาก เพื่อนต่างฝ่ายและเพื่อน ๆ ภายในฝ่ายจึงทำให้แก้ไขปัญหา และสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทำให้เรียนรู้ที่จะแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า และฝึกการทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีในการที่จะนำไปต่อยอดในการทำงานในอนาคตได้มี โอกาสได้มาทำงานออนไซต์ ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่ไม่เคยได้พบเจอ หรือสัมผัส เช่น การที่ได้เห็นฝ่ายเทคนิค และเพื่อน ๆ ฝ่ายไอที ได้ดำเนินการในเรื่องของกระบวนการไลฟ์สด และในการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ จึงทำให้ได้ เปิดมุมมองใหม่ ๆ และได้เรียนรู้การทำงานเบื้องหลังของการจัดโครงการภายใต้รูปแบบออนไลน์ ได้เห็น ความสุข และรอยยิ้มของเพื่อน ๆ อาจารย์ ได้เห็นถึงกระบวนการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่พบเจอ ไม่ว่าจะเป็น เสียงสะท้อนในตอนวิทยากรได้มีการบรรยาย ก็ได้รับการช่วยเหลือจากเพื่อนทางบ้านในการบอกกล่าว ถึง ปัญหาต่าง ๆ จึงทำให้เห็นว่า ไม่ว่าจะทำงานหน้างาน หรือจะอยู่ทางบ้านก็มีความสำคัญไม่ต่างกัน หากขาด ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง คงไม่ได้ หากจะให้เปรียบเทีย บ ก็คงเหมือนรถคันนึง ซึ่งมีกลไกการ ทำงานต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน หากส่วนใดขาด หรือหายไป คงไม่สมบูรณ์ หรือใช้งานไม่ได้ เช่นกันกับโครงการนี้ ทุกฝ่ายและทุกส่วนล้วนมีความสำคัญ ทุกคนตั้งใจ และเต็มที่เป็นอย่างมาก เพราะโครงการที่จัดขึ้นในครั้งนี้ ถือ เป็นงานใหญ่มาก ๆ และมีผู้สนใจเป็นจำนวนมาก และผลที่ออกมาก็เป็นสิ่งที่หน้าพอใจ เพราะได้ทำบรรลุตาม วัตถุประสงค์ งานนี้จะสำเร็จไม่ได้เลย หากขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง

ภาพบรรยากาศเบื้องหลังการทำงานออนไซต์ ในโครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professer Program ณ วันที่ 23 มกราคม 2563

P a g e | 83

2 . สิ่งที่ได้รับจากวิทยากร Dr.Yeap Ban Har ในการฟัง Dr.Yeap Ban Har บรรยายเนื่องจากเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนตัวไม่ได้เก่งภาษาอังกฤษ จึงทำให้แปล ได้บ้าง ไม่ได้บ้างแต่จะอาศัยการดูรูปภาพ ดูโจทย์ปัญหาที่อาจารย์เตรียมมาแล้วนำมาคิดวิเคราะห์ทำเป็นความ เข้าใจของตนเองโดยปริยาย แต่จะเห็นได้ว่าการใช้รูปภาพ การวิเคราะห์รูปภาพให้เกี่ยวโยงกับชีวิตประจำวัน ทำให้เราสามารถเข้าใจคณิตศาสตร์ จะเห็นได้ว่า Dr.Yeap Ban Har เป็นวิทยากรที่มีความสามารถที่หลากหลาย มีการเตรียมพร้อมที่ดีมาก ๆ มีสื่อ การสอนที่น่าสนใจ ภาษาที่เข้าใจง่าย ใช้รูปภาพในการบรรยาย ทำให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ทำ ให้เข้าใจขั้นตอนการสอนในชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเห็นคุณค่าของการสอนที่เน้น กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อนำสิ่งที่ได้ไปใช้ในอนาคต ทำให้ปรับทัศนคติในการเรียนคณิตศาสตร์ คือ การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ใช่ เรียนเพื่อที่จะนำไปสอบเพียงอย่าง เดียว แต่เรียนเพื่อที่จะให้เราได้เห็นภาพ ในการนำเหตุการณ์จากชีวิตประจำวันก็จะทำให้ผู้เรียนสามารถเห็น ภาพและเข้าใจได้มากยิ่งขึ้น ได้เข้าใจว่าการเรียนการสอนในห้องเรียนนั้นต้องควบคู่ไปกับการใช้จิตวิทยาในการสอนนักเรียน เพื่อให้เกิดการ เรียนการสอนที่ทำให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น การใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม การใช้ภาพ การใช้ภาษา และการถามเพื่อกระตุ้นการคิด การให้นักเรียนได้แสดง แนวคิดของตนเอง จะช่วยในการเรียนคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ อาจารย์ดร. รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่ได้จัดโครงการนี้ และได้มอบโอกาสให้นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ได้เป็นทีมงานในการจัดโครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professer Program ในครั้งนี้

ภาพบรรยากาศในไลฟ์สดโครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professer Program ณ วันที่ 23 มกราคม 2563 นางสาวรัตติกานต์ ถนอมภูมิ รหัสนักศึกษา 6320114013 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่ 12

P a g e | 84

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program • ด้านการทำงาน/จัดทำโครงการ ในการจัดทำโครงการครั้งนี้ มีการแบ่งฝ่ายในการทำงานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น แต่ละฝ่ายมีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี ซึ่งแต่ละคนมีความกล้าที่จะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันมากขึ้น และการทำงานร่วมกันในครั้งนี้ถือเป็นโอกาสที่ได้เปิดประสบการณ์ใหม่ๆ รู้จักเรียนรู้ทักษะการทำงานต่างๆ เช่น รู้จักวิธีการทำแบบฟอร์มต่างๆ จากเดิมที่ไม่เคยได้ลองทำ ซึ่งในการทำครั้งนี้ เพื่อนๆให้ความร่วมมือเป็น อย่างมาก โดยที่ในโครงการนี้ ดิฉันได้รับมอบหมายงานให้รับผิดชอบฝ่ายทะเบียน ภาระงานหลักๆที่ต้องทำ ได้แก่ แบบฟอร์มลงทะเบียน เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งจากเดิมไม่รู้วิธีการทำว่าต้องทำอย่างไร ทำให้ ต้องไปค้นคว้าหาข้อมูล วิธีการทำต่างๆ ทำให้ได้รู้วิธีการทำที่ถูกต้อง ถือได้ว่าเป็นความรู้ใหม่ที่สามารถนำไป ต่อยอดในวันข้างหน้าได้อีก สุดท้ายนี้ สิ่งที่ควรมีในการจัดทำโครงการครั้งต่อไป คือ การประสานงานที่ดีและ ชัดเจน เพื่อที่ทุกคนจะได้เข้าใจตรงกันมากยิ่งขึ้น • สิ่งที่ได้รับจากวิทยากร Dr.Yeap Ban Har ได้เรียนรู้ว่าคณิตศาสตร์ไม่ควรที่จะทำให้มันเป็นเรื่องยาก โดยที่ครูผู้สอนไม่ควรที่จะตีกรอบความคิด นักเรียน หรือพยายามที่จะให้นักเรียนคิดตามในแบบที่ครูคิด ครูผู้สอนควรให้อิสระในความคิดแก่นักเรียน ให้ นักเรียนได้คิดในฉบับของตัวเอง หรือมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียน ซึ่งในรูปแบบการสอน ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ครูควรที่จะสอนให้เกิดภาพเพื่อที่จะให้เข้าใจถึงเนื้อหามากยิ่งขึ้น และการสอนที่ดีควร สอนให้นักเรียนได้รู้ถึงการนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้ ซึ่งในการจัดการเรียนการสอน “สื่อ” ถือเป็นเครื่องมือ สำคัญอีกหนึ่งอย่างที่จะสามารถช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ดี ถ้าหากมีสื่อที่ดี ก็จะทำให้ผู้เรียนรู้สึก สนใจหรืออยากรู้ถึงเนื้อหานั้นๆ เป็นพิเศษ

บรรยากาศการทำงานหน้างาน

P a g e | 85

บรรยากาศผู้เข้าร่วมกิจกรรมทาง Facebook

นางสาววันนาเดีย แวดอเล๊าะ รหัสนักศึกษา 6320114014 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่ 13

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมครั้งนี้ - การเตรียมงาน การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ประกอบด้วยหลายๆ ฝ่ายที่ทำงานร่วมกัน ซึ่งทุกฝ่ายทำงานอย่าง เต็มที่ และทำได้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ - ฝ่ายที่ได้รับผิดชอบ คือ ฝ่ายทะเบียน โดยมีหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบ คือ การทำแบบฟอร์มลงทะเบียนเข้า ร่วมกิจกรรม ทำเกียรติบัตร และประวัติของ Dr.Yeap Ban Har ซึ่งงานที่ต้องรับผิดชอบนี้ มีบางงานที่ไม่เคย ได้ทำ ก็ทำให้ได้เรียนรู้การทำงาน หาข้อมูล เพื่อที่จะทำให้งานในครั้งนี้ออกมาที่สุด แต่ก็อาจจะยั งมีสิ่งที่ต้อง ปรับปรุงบ้างเล็กน้อย คือ ในเรื่องของการประสานงานว่าใครทำหน้าที่อะไรให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น - ความรู้ที่ได้จาก Dr.Yeap Ban Har 1. Problem solving เป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งประเทศสิงคโปร์ก็ใช้ Problem solving เป็นหลักในการจัดการเรียนรู้ 2. คณิตศาสตร์ไม่ได้อยู่แค่ในข้อสอบ แต่คณิตศาสตร์อยู่ในชีวิตประจำวัน 3. มีการใช้จิตวิทยาในการสอน และมีการนำเอาทฤษฎีต่างๆ ของนักจิตวิทยามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4. ทำให้เห็นถึงหลักการคิด เพื่อหาคำตอบทางคณิตศาสตร์ ว่าสามารถหาได้หลายรูปแบบ ไม่จำเป็นต้องยึด หลักการคิดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง นอกจากนี้ Dr.Yeap Ban Har ใช้รูปภาพในการแสดงแทนทางคณิตศาสตร์ ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น ซึ่งในส่วนนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงๆได้ เพราะว่า จะทำให้ นักเรียนเห็นภาพ และเข้าใจมากขึ้น และที่สำคัญ จะเห็นได้ว่า Dr.Yeap Ban Har ใช้ภาษาอังกฤษในการ บรรยาย แต่ทำให้หลายๆ คนเข้าใจในสิ่งที่ท่านสื่อออกมา เนื่องจาก ท่านได้เขียนอธิบาย และใช้สื่อรูปภาพ ประกอบการอธิบาย ทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น

P a g e | 86

ใช้วิธีการแยกคิด หารทีละส่วน คือ ถ้าจากที่เคยเรียน จะใช้วิธีการตั้งหารปกติ คือ นำ 351 ตั้ง แล้วหารด้วย 3 จากนั้นดำเนินการตามขึ้นตอน ปกติ แต่จากที่ Dr. Yeap Ban Har ได้สอน ทำให้หาคำตอบได้เร็วขึ้น เนื่องจาก สามารถมองออกได้ง่ายขึ้น นั่นเอง นางสาววันอาซีซะห์ จูลี รหัสนักศึกษา 6320114015 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่ 14 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ด้านการทำงาน ในกิจกรรมนี้ ตัวผมเองได้ทำหน้าที่ในฝ่ายควบคุม ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมดูแลหน้างานและดำเนิน กิจกรรมให้เป็นไปตามกำหนดการที่ควรจะเป็น และมีหน้าที่ในการทำคลิปวิดีโอแนะนำกิจกรรม และวิทยากร ซึ่งตัวผมและทีมเองก็คิดว่าดีพอสมควรแล้ว แต่เมื่อได้นำไปให้เพื่อนๆเอกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ได้ดู และวิเคราะห์แล้ว ก็พบว่ามันยังมีสิ่งที่ต้องแก้ไขอีกเยอะ ทั้งโทนสีที่ไม่เข้ากัน ความยาวของวิดีโอ ความช้าใน แต่ละช็อต ในงานนี้ต้องขอบคุณเพื่อนเอกเทคโนฯมากที่ให้คำแนะนำ และมีความเป็นมืออาชีพมากๆ ให้ตัวผม เองได้มองเป็นแบบอย่างในการทำงานได้เยอะมากจริงๆ วันจัดกิจกรรม วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ.2565 ตัวผมเองได้รับหน้าที่ในการจัดการดูแลในห้อง zoom หรือทำหน้าที่เป็น host นั่นเอง มีหน้าที่ในการกำกับสมาชิกใน zoom ไม่ให้เกิดการวุ่นวาย ซึ่งนี่เป็น ครั้งแรกของผมจริงๆ ที่ได้ทำหน้าที่นี้ และไม่ได้มีความเชี่ยวชาญทางด้านอุปกรณ์ที่ใช้ ทำให้เกิดปัญหา ติดๆขัดๆอยู่ หรือเมื่อไหร่ที่เกิดปัญหาขึ้น เช่น เสียงในช่องทาง facebook เกิดอาการสะท้อน หรือ ในช่วงที่ วิทยากรแชร์สกรีนโดยไม่บอกไม่กล่าว ตัวผมเองก็แสดงอาการทำอะไม่ถูกจริงๆ เนื่องจากไม่ถนัดในกรใช้ โปรแกรม zoom นี่จึงเกิดจากการไม่มีประสบการณ์ของตัวผมเอง ผมจึงได้เรียนรู้ว่า การจะทำอะไร ก็จำเน ต้องเรียนรู้ให้ถี่ถ้วน หรือเรียนรู้ให้ถึงขั้นชำนาญได้ก็ยิ่งดี ด้านบุคลิคภาพ จากกิจกรรมที่ผ่านมา ตัวผมเองมีหน้าที่ในการนั่งควบคุม zoom ทำให้ผมได้สังเกตถึงบุคลิคต่างๆ ของ Dr.Yeap Ban Har

P a g e | 87

ซึ่งตลอดทั้งกิจกรรม Dr.Yeap Ban Har มีบุคลิคภาพที่ดีมาก ทั้งแววตา ท่าทาง รอยยิ้ม และการแต่งตัว ซึ่ง Dr.Yeap Ban Har มีแววตาที่สดใสอยุ่ตลอดเวลา ให้ความรู้สึกน่าค้นหาน่ามอง ยิ้มแย้มตลอดเวลา ทำให้ผู้ฟัง เกิดความรู้สึกสนใจไม่น่าเบื่อ เป็นแบบอย่างที่ดีด้านบุคลิคภาพได้เลยครับ ด้านวิชาการ Visual conversation. Dr.Yeap Ban Har พูดตลอดว่า ให้สนทนาคณิตศาสตร์ด้วยรูปภาพ มันจะ เป็นการเสริมมความเข้าใจให้กับผู้เรียนได้มากยิ่งขึ้น ซึ่งจาดตัวผมเองจากการที่ได้มองคณิตศาสตร์เป็นรูปภาพ ตามวิธีของ Dr.Yeap Ban Har ผมกลับมองว่าคณิตศาสตร์ กลับเป้นเรื่องที่มองออกได้ง่ายๆซะอย่างงั้น ผมจะ ยกตัวอย่างการคูณ และอสมการกำลังสองที่ Dr.Yeap Ban Har ทำการหยิบยกมาเป็นตัวอย่างให้เราศึกษา ในกรณีการคูณ Dr.Yeap Ban Har ได้ยกรูปสี่เหลี่ยมหนึ่งหน่วย มาเพื่อแสดงความหมายของการคูณ เช่น 12= 2*6. ความหมายคือ สี่เหลี่ยมมีทั้งหมด สองแถว โดยเรียงแถวละ หกช่อง 12=4*3 ความหมายคือ สี่เหลี่มมีทั้งหมด สี่แถว โดยเรียงแถวละ สามช่อง

ในกรณีอสมการกำลังสอง Dr.Yeap Ban Har ได้ยกตัวอย่างโจทย์ คือ x2+5x+6 เราจะมอง x2 เป็น สี่เหลี่ยมด้านเท่า x*x และมอง x เป็นสี่เหลี่ยมผื่นผ้า มีด้านยาวคือ x และด้านกว้างคือ 1 และมอง 1 เป็น สี่เห ลี่มด้านเท่า 1*1 จะได้

P a g e | 88

ถ้าสามารถจัดรูปสี่เหลี่ยมของอสมการกำลังสองให้อยู่ในรูป ของสี่เหลี่ยมได้ จะสามารถแยกตัว ประกอบของอสมการนั้นได้ โดยให้มองจากสี่เหลี่ยมของ x2 เป็นหลัก ดังนั้น x2+5x+6 = (x+3)(x+2) นายศิระพงษ์ สุรินทร์ รหัสนักศึกษา 6320114016 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 15

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program - การปรับทัศนคติในการเข้าใจคณิตศาสตร์ ไม่ใช่การเรียนคณิตศาสตร์ที่นำไปสอบเพียงอย่างเดียว เเต่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้ กลับกันการสอนโดยที่จำลองสถานการณ์ หรือการ ทำให้ผู้เรียนเห็นภาพ จากเหตุการณ์ที่มาจากชีวิตประจำวันก็จะทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น - การใช้ภาษาหรือคำพูดที่ เข้าใจได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก

จากภาพ วิทยากรได้กล่าวถึงการหารสองเป็นการแบ่งครึ่งมากกว่าการใช้คำว่าสลับจากหารเป็นคูณ -มุมมองการคิดที่เปิดกว้างทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีเสน่ห์ มีคำตอบเพียงคำตอบเดียว เเต่สามารถคิดได้หลายวิธี ซึ่งการคิดเเล้วเเต่มุมมองการเเก้ปัญหา ครูไม่ควรกำหนดรูปแแบบการคิดที่ตายตัว ต้องมาเส้นทางนี้ทางเดียวเท่านั้น หรือการกำหนด pattern การคิดที่ต้องไปเป็น step เสมอไป

ทำให้เห็นมุมมองการคิดแบบที่อาจแตกต่างจากแบบแผน แต่สามารถได้คำตอบเหมือนกัน -วิทยากรได้เน้น ในเรื่องของ Problem solving การแก้ไขปัญหา การที่นักเรียนจะสามารถเเก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ได้ นักเรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเป็นอย่างน้อย เพื่อนำมาเเก้ปัญหา เชื่อมโยงไปยัง

P a g e | 89

การตั้งโจทย์เเบบฝึกควรมีการตั้งโจทย์เบื้องต้น เเล้วเพิ่มความซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ เพื่อจะให้นักเรียนได้นำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาได้ -การใช้ Visualization สิ่งที่ใจคิด แต่ตาไม่สามารถมองเห็นได้ จิตใจสามารถจินตนาการ หรือนึก ภาพในใจได้ ซึ่งเป็นการสร้างมโนภาพ โดยไม่ได้เขียนหรือทดใด ๆ -ในการสร้างสื่อที่มีภาพประกอบ มีภาพ มีเเผนผัง ภาพเคลื่อนไหว ที่สื่อถึงเรื่องที่จะสอนจะทำให้ สามารถเข้าใจได้ง่าย ใช้เเทนการเขียนอธิบายเป็นข้อความ อาจมีการจำลอง หรือกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จากประสบการณ์ชีวิต เพื่อให้เชื่อมโยงไปหาเนื้อหาได้ง่ายขึ้น ด้านวิทยากร ใช้ภาษาอังกฤษที่สามารถเข้าใจได้ง่าย เเละยังมีภาพประกอบการอธิบาย เพื่อให้ผู้ฟังสามารถ มองเห็นภาพ เเละเข้าใจในสารที่วิทยากรต้องการที่จะบรรยาย ด้านการทำงาน การสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งการจัดโครงการครั้งนี้เป็นการจัดโครงการแบบออนไลน์ จึงไม่แปลกที่จะ เกิดความผิดพลาดทางการสื่อสาร เเต่ชื่นชมเพื่อน ๆ คณะผู้จัดโครงการมีการเเก้ไขปัญหาได้ดี มีการให้กำลังใจ กันทุกครั้ง เมื่อมีจุดที่ต้องเเก้ไข ฝ่ายที่กระผมรับผิดชอบคือฝ่ายประชาสัมพันธ์ ได้รับมอบหมายงาน Background Zoom ซึ่งถือ เป็นงานเเรกที่เป็นการออกแบบอินโฟกราฟฟิค ซึ่งไม่ได้มีประสบการณ์ด้านนี้มาก่อน ทำให้เมื่อทำออกมาแล้ว ต้องเพิ่มเติม หรือปรับเเก้ ซึ่งการทำออกมาเเล้ว มีการยืนยันรูปเเบบแล้วส่งให้กับคณะผู้จัดทำแล้วเเต่ยังมีจุด ต้องปรับแก้ ทำให้วันจริงมีการใช้ background zoom หลายรูปแบบ ดังนั้นควรส่งรูปแแบบที่ถูกต้อง สมบูรณ์

ก็ต่อเมื่อได้รับการยืนยันจากทุกฝ่ายก่อน ประมวลภาพการทำงานฝ่ายการออกแบบ Background Zoom นายอดิเทพ สารบุตร รหัสนักศึกษา 6320114017 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 16

P a g e | 90

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม(ฝ่ายควบคุม) - การทำงานเราต้องสามัคคีและประสานระหว่างกันให้ดี ให้เข้าใจตรงกัน - ปัญหาหรือความผิดพลาดต่าง ๆ เป็นประสบการณ์ให้ผู้จัดงานทุกคนเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้ในอนาคต - ทุกคนทุกฝ่ายมีความสำคัญ หากไม่มีฝ่ายใดฝ่ายนึงงานครั้งนี้คงไม่สามารถสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี - สิ่งที่ควรมีในการจัดงานครั้งต่อ ๆ ไป คือการวางธีมของงาน ครั้งนี้มีจุดประสงค์ของงานแล้ว แต่ ควรเพิ่มการวางแผนว่าผู้เข้าร่วมจะรู้สึกอย่างไรกับงาน โดยการใช้สี,การออกแบบสื่อต่าง ๆ เพื่อให้งานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ด้านความรู้ที่ได้จากวิทยากร Dr. Yeap Ban Har - สิงคโปร์ใช้ problem solving เป็นหัวใจสำคัญของหลักสูตร ซึ่งประเทศต่าง ๆ ก็มีอยู่ในหลักสูตร เช่นเดียวกันแต่ต่างกันตรงที่จะจัดให้อยู่ในส่วนไหนของหลักสูตร - ครูควรสอนโดยใช้การแก้ปัญหามาช่วยในการสอน ไม่ใช่สอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหา ทำเช่นนี้ จึงจะทำให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการเรียน ซึ่งโรงเรียนส่วนใหญ่ในไทยใช้แบบหลังอยู่ - ในเรื่องของความเชื่อครูควรเชื่อมั่นในตัวผู้เรียนว่าผู้เรียนสามารถทำได้ ไม่ควรคิดไปก่อนว่าผู้เรียน จะทำไม่ได้ และความคิดต่าง ๆ ของนักเรียนครูไม่สามารถเปลี่ยนได้โดยใช้การพูด แต่ควรทำให้ ผู้เรียนเห็นจึงจะสามารถเปลี่ยนมุมมองความคิดของผู้เรียนต่อการเรียนได้ - Not students do not good in Mathematics but they cannot understand teacher’s explanation ไม่ใช่ผู้เรียนไม่เก่งวิชาคณิตศาสตร์ แต่ผู้เรียนไม่เข้าในคำอธิบายของครูต่างหาก ดังนั้นครูควรใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม (concrete materials) ต่าง ๆ เช่น diagrams, model ฯลฯ ซึ่งเป็นทฤษฎีของ Bruner และใช้การสนทนาที่ทำให้เห็นภาพ (visuals conversation) ซึ่งเป็น ทฤษฎีของ Vygotsky มาช่วยในการสอน - อย่าใช้ภาษาต่างดาวกับผู้เรียน อย่าทำให้เรื่องง่ายเป็นเรื่องยาก เช่น การหารที่มักจะสอนว่าถ้า อะไรหารด้วย 2 อยู่ก็เท่ากับจำนวนนั้นคูณด้วยเศษ 1 ส่วน 2 หรือที่พูดง่าย ๆ คือ เปลี่ยนหารเป็น คูณและกลับเศษเป็นส่วน ซึ่งมักจะบอกให้ผู้เรียนจำวิธีนี้ เพราะมันเป็นกฎ ทั้งที่เป็นวิธีการที่ไม่ ถูกต้องและทำให้ผู้เรียนเข้าถึงได้ยากขึ้น ซึ่งความจริงแล้วสามารถอธิบายได้ว่า เพราะการหารคือ การแบ่งให้เท่า ๆ กัน ดังนั้น หากหารด้วย 2 ก็คือการหาครึ่งหนึ่งของสิ่งที่มีอยู่ ครึ่งหนึ่ง สามารถ 1 เขียนให้อยู่ในรูป , ของ หมายถึง การคูณ 2

P a g e | 91

- ห้ามพูดกับผู้เรียนว่า “เงียบ หยุดคุย และฟังครูพูด” มันไม่ใช่สิ่งที่ดี - Procedure, steps, tricks, formula not be able to use them (ขั้นตอนกระบวนการ เคล็ด - ลับ กฎ สูตร ไม่ควรใช้ในการสอน) แต่ควรใช้การคิด เพราะเราคิดทุกวัน

- Visualization คื อ สิ ่ ง ที ่ ใ จ/ความคิ ด มองเห็ น แต่ ต าไม่ ส ามารถมองเห็ น ได้ เช่ น อะตอ ม, สนามแม่เหล็ก,ระบบย่อยอาหาร ฯลฯ - การสอนโดยใช้ problem solving อยู่ช่วงแรกของคาบ คือให้ปัญหาแก่ผู้เรียนและให้เวลาผู้เรียน ในการคิด เป็นการใช้ processing time ของ Piaget ทำให้ผู้เรียนได้คิดด้วยตนเอง เพราะวิธีการ ให้ได้มาซึ่งคำตอบของวิชาคณิตศาสตร์มีหลากหลาย ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนมีความคิดที่ต่างกัน

- ในห้องเรียนครูควรยินดีที่จะฟังคำพูดของผู้เรียน ไม่ใช่ฟังแล้วบอก/ตัดสินผู้เรียนว่าถูกหรือผิด - การใช้คณิตศาสต์ในชีวิตประจำวัน คือการนำเอากระบวนการทางคณิตศาสตร์มาใช้ เพราะขณะ เล่นบาสคงไม่มีใครมานั่งคำนวณพาราโบลา แม้ว่าการเคลื่อนที่ของลูกบาสจะเป็นแบบพาราโบลา ก็ตาม แต่เรานำกระบวนการที่ใช้ในการเรียนคณิตศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การคิดเลข ตอนรอเงินทอนจากพนักงาน เราใช้กระบวนการ visualization ในการคิด คงไม่มานั่งหารใน กระดาษเหมือนตอนเรียน - สมองของคนเรามองหา pattern มาตั้งแต่เกิด และสมองก็ถูกออกแบบให้สามารถเอาชีวิตรอดได้

P a g e | 92

- We good in Mathematics because we use Mathematics เราเก่งคณิตศาสตร์เพราะเราใช้ คณิตศาสตร นางสาวอาฏียา หยีมะเหรบ รหัสนักศึกษา 6320114018 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 17 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ภาพรวมของการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ได้ ร่วมกันจัดเตรียมงานเป็นระยะเวลาร่วมเดือน เริ่มตั้งแต่การประชุมวางแผนการทำงาน แบ่งฝ่ายการทำงาน และชี้แจงหน้าที่รับผิดชอบ จากนั้นร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งในระหว่างการทำงานมีปัญหาหลาย ๆ อย่างเกิดขึ้น แต่ปัญหาเหล่านั้นผ่านมาได้ด้วยการพูดคุย สอบถาม และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ดิฉันคิดว่าสิ่งนี้ ถือเป็นสิ่งสำคัญในการทำงานเป็นทีมที่จะทำให้งานประสบความสำเร็จตามที่คาดหวัง ส่วนในฝ่ายงานของดิฉัน ดิฉันรับหน้าที่อยู่ฝ่ายงานประเมินผล เริ่มต้นการทำงานด้วยการประชุม พูดคุยถึงงานที่จะต้องทำ เนื่องด้วยเป็นงานระดับนานาชาติ การทำแบบประเมินจึงต้องมีภาษากลางที่ใช้ในการ สื่อสาร ซึ่งก็คือ ภาษาอังกฤษ โดยเรียนรู้จากตัวอย่างแบบประเมินก่อน ๆ ของทางมหาวิทยาลัย มาปรับและ ร่วมกันคิดข้อประเมินให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของโครงการที่จะทำ จากนั้นทำเป็นภาษาอังกฤษ และให้ เพื่อนสาขาวิชาภาษาอังกฤษช่วยตรวจสอบความถูกต้อง นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้การใช้งาน Google form จาก สมาชิกในฝ่ายที่ใช้งานเป็นและได้ศึกษาหาความรู้ ใหม่หลายอย่างที่จะทำให้งานประเมินมีประสิทธิภาพและ ทันสมัยมากขึ้น การฟังบรรยายจาก Dr.Yeap Ban Har ถือเป็นการบรรยายที่มีความแปลกใหม่สำหรับตัวของดิฉัน เนื่องจากเป็นการบรรยายที่ใช้ภาษาอังกฤษที่ตนเองไม่ค่อยถนัด มีหลายส่วนที่ไม่เข้าใจ แต่ด้วยวิธีที่การอธิบาย ของผู้บรรยายที่อธิบายอย่างเป็นรูปธรรม สามารถทำให้ดิฉันเข้าใจได้จากภาพ สัญลักษณ์ และตัวเลขที่อธิบาย ที่สำคัญได้ซึมซับแนวความคิดหลาย ๆ อย่างที่สามารถนำไปปรับใช้หรือต่อยอดต่อไปได้ เช่น ในเรื่องของการ เชื่อมโยงการบวก การคูณ ที่มันเกิดขึ้นได้จากหลายแนวความคิดด้วยกัน สะท้อนให้นึกถึงความแตกต่างทาง ความคิดของนักเรียนในห้องเรียนได้เป็นอย่างดี และที่ชื่นชอบเป็นพิเศษคือในเรื่องของการใช้พื้นที่สี่เหลี่ยม อธิบายการแยกตัวประกอบ มันทำให้เห็นภาพในมุมมองที่ต่างออกไป จากเดิมที่เข้าใจจากการใช้ส มบัติ พีชคณิตและสูตรที่ถูกคิดค้นให้ง่ายต่อการคิดเท่านั้น นอกจากนี้กิจกรรมครั้งนี้ยังเป็นการสร้างเสริมพฤติกรรมทางด้านบวกให้แก่ดิฉันในการที่จะศึกษา ภาษาที่สองหรือสามต่อไป เพราะภาษาจะเป็นสิ่งที่จะนำทางให้ดิฉันไปสู่คลังความรู้ใหม่ ๆ ให้ได้ศึกษาอีก มากมาย สุดท้ายนี้ขอขอบคุณอาจารย์ที่ได้ให้โอกาสพวกเราได้ร่วมจัดกิจกรรมในครั้งนี้ นับเป็นประสบการณ์ที่ดี มาก ๆ อีกครั้งหนึ่งในชีวิตของดิฉัน ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รุ่นพี่และรุ่นน้องใน สาขาวิชา ที่ให้ความสนใจกับกิจกรรมในครั้งนี้ และที่ขาดไม่ได้คือขอบคุณเพื่อนทุกคนในสาขาวิชาที่ทุ่มเทกับ งานในครั้งนี้ ผ่านบททดสอบต่าง ๆ มาด้วยกัน จนงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวังไว้

P a g e | 93

ประชุมการทำงาน ฝ่ายประเมิน 22-12-2564

บรรยายโดย Dr.Yeap Ban Har 23-01-2565 ทางเพจคณะศึกษาศาสตร์

นางสาวอาทิตญา ศรศิษ รหัสนักศึกษา 6320114019 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 18 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังบรรยายหัวข้อ Mathematical process in daily life and its applications into classroom - ได้เปลี่ยนมุมมองในการสอนคณิตศาสตร์ใหม่ จากที่เราสอนคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาเป็นการสอน คณิตศาสตร์โดยนำมาจากปัญหาที่เราเจอได้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้นักเรียนที่ได้เรียนวิชา คณิตศาสตร์นั้นได้เข้าใจว่า เราเรียนคณิตศาสตร์ไปเพื่ออะไร - ได้เข้าใจการสอนคณิตศาสตร์ในเรื่องการหารให้ง่ายขึ้น โดยให้เห็นภาพว่ามันมาจากไหนยังไง ต่างจาก ที่เราได้เรียนมาตลอดที่ต้องเปลี่ยนหารเป็นคูณ กลับเศษเป็นส่วนยุ่งยากมาก แต่พออาจารย์ Dr. Yeap Ban Har สอนออกมาขนาดเป็นภาษาอังกฤษเรายังเข้าใจได้อย่างรวดเร็วและเข้าใจที่มาของ การหารด้วยว่ามันเป็นการแบ่ง

P a g e | 94

- ได้เข้าใจเทคนิคการสอนแบบการใช้รูปภาพ หรือสื่อที่ทำให้เห็นภาพว่าตรงนี้มันมาได้ไง เช่น การคูณที่ มีการใช้แอบพลิเคชันแสดงให้นักเรียนเห็นว่าทำไม คูณกันแล้วต้องได้เท่านี้ การหารที่แสดงภาพการ แบ่งว่าแบ่งยังไง ทำไมหารแล้วได้เท่านี้ - ได้เข้าใจว่าการเรียนการสอนในห้องเรียนนั้นต้องควบคู่ไปกับการใช้จิตวิทยาในการสอนนักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนการสอนที่ทำให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น - ทำให้ผมได้ฝึกภาษาอังกฤษจากการพูดของอาจารย์ที่ฟังได้ง่าย และเข้าใจ ถึงจะมีบ้างคำที่ไม่เข้าใจ และยังทำให้ผมอยากไปฝึกภาษาอังกฤษเพิ่ม สิ่งที่รับจากการจัดโครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program - ผมได้อยู่ฝ่ายพิธีการ และได้รับเลือกจากเพื่อน ๆ ให้เป็นพิธีกร ทำให้ผมได้ฝึกการพูดเพิ่มเพราะส่วนตัว เป็นคนค่อนข้างพูดไม่เก่ง กิจกรรมนี้ทำให้ผมมีความกล้าที่จะพูดมากขึ้น - ได้เข้าใจการจัดกิจกรรมว่าเวลาเราจัดกิจกรรมขึ้นมากิจกรรมหนึ่งนั้นต้องทำงานก่อนถึงวันจริงเยอะ มาก ทั้งเขียนโครงการ เขียนกำหนดการ เขียนคำพูดเปิดให้ประธานโครงการ เตรียมสคริปต์ให้พิธีกร โดยเพื่อนในฝ่ายให้ความช่วยเหลือกันดีมาก - ได้ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม สร้างความสามัคคีกันในสาขากันด้วย และได้เห็นถึงความสามารถของเพื่อน ๆ ในสาขาว่าแต่ละคนนั้นมีของ รอแค่เวทีที่จะปล่อยของออกมา ซึ่งงานนี้ก็ทำให้เพื่อน ๆ ได้แสดง ความสามารถที่มี - ได้ฝึกทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพราะระหว่างเตรียมโครงการก็มีข้อผิดพลาดอยู่เรื่อย ๆ เมื่อ เจอข้อผิดพลาดนั้น ๆ เพื่อนในสาขาก็ค่อยช่วยเหลือและแก้ไขข้อผิดพลาดนั้นได้ ภาพระหว่างทำงาน

ภาพขณะทำหน้าที่

เป็นพิธีกร

ภาพบรรยากาศในโครงการ

P a g e | 95

ภาพเบื้องหลังขณะจัดโครงการ นายฮัมซะฮ์ หมานหมีน รหัสนักศึกษา6320114020 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 19 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ( ฝ่ายประเมิน ) โครงการนี้เป็นโครงการที่ใหญ่และเป็นนานาชาติที่สุดของสาขาคณิตศาสตร์ และเป็นโครงการที่ได้รับ การตอบรับจากผู้เข้าร่วมเป็นอย่างมาก ซึ่งมีผู้ลงทะเบียนทั้งหมดประมาณ 500 คน ในโครงการนี้ดิฉันมีหน้าที่ ที่จะต้องรับผิดชอบในฝ่ายประเมิน โดยฝ่ายประเมินได้ปรึกษาและวางแผนการทำแบบฟอร์มการประเมินกันใน ช่วงแรกและช่วยกันปรับแก้ให้แบบฟอร์มออกมาครอบคลุมและดีที่สุด เมื่อแบบฟอร์มการประเมินเสร็จแล้วก็ จะต้องทำการเชื่อมแบบฟอร์มกับเกียรติบัตรซึ่งจะต้องประสานงานกับฝ่ายทะเบียนเนื่องจากฝ่ายทะเบียนมี หน้าที่ทำเกียรติบ ัตร เมื่อได้เกียรติบ ัตรจากฝ่า ยทะเบียนแล้ว ก็น ำมาเชื่ อมระบบกับ แบบฟอร์ มที่ ท ำไว้ เพื่อที่จะให้ผู้ประเมินได้รับเกียรติบัตรทันทีหลังจากทำแบบประเมิน เมื่อเชื่อมแบบฟอร์มกับเกียรติบัตรเสร็จ แล้วได้เกิดปัญหา คือ 1. ชื่อของผู้เข้าร่วมบางท่านยาวทำให้ล้นช่องข้อความแสดงชื่อ ทำให้เรียนรู้ว่าในครั้ง ถัดไปไม่ควรจำกัดช่องแสดงชื่อ 2. ระบบสามารถส่งเกียรติบัตรไปยังเมลของผู้ประเมินได้เพียงวันละ 150 คน ซึ่งแก้ปัญหาโดยการส่งไดร์ฟเกียรติบัตรไปยังเมลของผู้ทำแบบประเมิน ถึงแม้ในการทำงานจะมีอุปสรรคอยู่ บ้างแต่ก็ทำงานออกมาได้อย่างสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี สิ่งที่ได้รับจากวิทยากร Dr. Yeap Ban Har จากการฟังบรรยายจาก Dr. Yeap Ban Har เนื่องจากเป็นการบรรยายที่ใช้ภาษอังกฤษซึ่งเป็นสิ่งที่ ดิฉันไม่ค่อยถนัดทำให้มีบางส่วนที่ไม่ค่อยเข้าใจ แต่จะดูภาพและนำมาทำความเข้าใจซึ่ง Dr. Yeap Ban Har ก็ พยายามใช้คำศัพท์ที่เข้าใจง่ายและมีการพูดภาษาไทยในบางประโยค Dr. Yeap Ban Har ทำให้เห็นว่าเรา สามารถนำรูปภาพมาใช้อธิบายคณิตศาสตร์ให้เข้าใจและเห็นภาพมากยิ่งขึ้น

ปรับแก้ระบบเกียรติบัตร

ภาพบรรยากาศการทำงานออนไซต์

นางสาวฮานี ลายู รหัสนักศึกษา 6320114021 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 20

P a g e | 96

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดโครงการครั้งนี้ -ด้านการทำงาน : ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกันกันเพื่อนๆในสาขา จะเห็นได้ว่าทุกคนทุ่มเทกับโครงการในครั้งนี้ มากๆ มีการแบ่งฝ่ายต่างๆได้อย่างชัดเจนทำให้การทำงานมีความสะดวกและราบรื่น แต่ถึงแม้จะเกิดปัญหา ขึ้นมาทุกคนก็ช่วยกันแก้ไข และทำงานของตัวเองได้อย่างดี งานนี้จะสำเร็จไม่ได้ถ้าหากขาดฝ่ายในฝ่ายหนึ่งไป ซึ่งตัวหนูเองได้รับหน้าที่อยู่ฝ่ายพิธีการ จะแบ่งงานย่อยออกเป็น พิธีกร ผู้กล่าวรายงาน คำกล่าวรายงาน กำหนดการของโครงการ สำหรับส่วนของกำหนดการมีการเกิดปัญหาอยู่เล็กน้อย คือต้องมีการแก้ชื่อ แก้วัน เวลา แต่ก็ผ่านไปด้วยดี และในส่วนความยากและสิ่งที่หนูได้เรียนรู้จากการทำกำหนดการคือ ต้องมีการคุยกัน ภายในฝ่ายว่าต้องกำหนดเวลาอย่างไรให้เหมาะสมตามที่กำหนดไว้ และต้องพยายามอย่าให้เกินเวลา และสิ่งที่ สำคัญคือต้องรู้ว่าภายในโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้าง ซึ่งต้องเรียบเรียงให้เหมาะสมเพื่อไม่ให้กิจกรรมน่าเบื่อ เกินไป -ด้านความรู้ที่ได้รับจาก Dr.Yeap Ban Har : Dr.Yeap Ban Har เป็นวิทยากรที่มีความรู้หลากหลายด้าน มีการเตรียมพร้อมที่ดีมาก นำเสนอได้ อย่างน่าสนใจ พูดด้วยภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย ชัดถ้อยชัดคำ สีหน้ายิ้มแย้ม สามารถดึงดูดผู้ฟังให้ดูได้อย่าง ไม่น่าเบื่อ ได้เห็นเลยว่าทำยังไงให้การสอนไม่น่าเบื่อ ซึง่ สามารถนำไปใช้ได้ในอนาคต ความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์ที่ Dr.Yeap Ban Har ได้อธิบายจะเห็นได้ชัดว่าเป็นการใช้การแสดงแทน รูปภาพในการอธิบายหรือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เห็นภาพและเข้าใจได้มากขึ้น ซึ่งได้สังเกตจาก ตัวเองคือเป็นคนที่ฟังภาษาอังกฤษไม่ค่อยถนัดแต่เมื่อได้ฟังบรรยายของDr.Yeap Ban Har ทำให้สามารถคิด ตามและเข้าใจได้ ด้วยรูปภาพที่ได้อธิบายไว้ สื่อการสอนของ Dr.Yeap Ban Har เป็นสื่อที่น่าสนใจและดีมากๆ ถ้าหากได้ออกไปเป็นครูในอนาคต ได้รู้เลยว่าสื่อการสอนเป็นตัวช่วยที่ดีในการทำให้นักเรียนสนใจ เข้าใจได้ง่าย และอยากจะเรียนมากยิ่งขึ้น -ตัวอย่างสิ่งที่ได้เรียนรู้

จะเห็นได้ว่าในหนึ่งปัญหามีวิธีคิดหรือแนวคิดในการแก้ไขปัญหาได้หลากหลายแบบ ดังภาพข้างต้นคือ มีสี่เหลี่ยมทั้งหมด 12 อัน สามารถทำเป็นประโยชน์สัญลักษณ์การคูณได้หลายแบบ คือ 2 rows of 6 ได้ 2 * 6 = 12 , 4 rows of 3 ได้ 4 * 3 = 12 , 3 rows of 4 ได้ 3 * 4 = 12

P a g e | 97

สำหรับเรื่องสมการเป็นที่สิ่งหนูประทับใจมากเพราะไม่คิดว่าเรื่องสมการสามารถทำให้เป็นรูปภาพใน การอธิบายให้เข้าใจได้ ซึ่งจากส่วนนี้หนูคิดว่าเห็นภาพและเข้าใจมากๆ จากรูปภาพที่3คือการ x^2 + 5 สามารถที่จะทำให้เป็น x(x + 5) ได้โดยการสังเกตจากภาพ

สำหรับโจทย์ข้างต้น เป็นโจทย์ที่เราคุ้นเคยกับการแก้โจทย์โดยการ “เปลี่ยนจากหารเป็นคูณกลับเศษเป็นส่วน” ซึ่งก็ไม่รู้ว่าทำไมจึงต้องคิดแบบนี้ เพราะมาจากการจำมาจากการเรียนที่ผ่านๆมา จนได้มาฟังของ Dr.Yeap Ban Har สอนการหาอีกวิธีที่ง่ายและเห็นภาพ คือ 2/3 มาจากการบวกของ 1/3 + 1/3 แล้วหารด้วยสอง แสดงว่าแบ่ง 2 (โดย Dr.Yeap Ban Har ใช้คำพูดว่าแชร์) ซึ่งก็เท่ากับว่า 1/3 (ถ้าเปรียบเทียบกับการแบ่งให้คน สองคน คือได้คนละ1/3) คำตอบคือ 1/3 นางสาวฮิจรียะห์ มะตาเฮ รหัสนักศึกษา6320114022 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่21 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ด้านการทำงาน -ตัวผมทำงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ซึ่งภายในฝ่ายมีการแบ่งงานที่ชัดเจนคือ poster background บันทึกภาพวิดีโอ และ คลิปประมวลผล ซึ่งผมมีหน้าที่ในการทำคลิปประมวลผล และผมคิดว่าเป็นหน้าที่ที่ท้า ทายเพราะผมไม่ได้ถนัดในด้านนี้ และผมก็คิดว่าเพื่อนคนอื่น ๆในฝ่ายก็ไม่ได้มีความถนัดในงานด้านนี้แต่ผมก็ เชื่อว่าเพื่อนๆทุกคนทำงานกันอย่างเต็มที่ และผมอยากขอบคุณเพื่อนๆภายในฝ่ายที่สามารถผ่านอุปสรรคหรือ ปัญหาต่างมาได้และทำงานออกมาได้ดี อาจจะมีล้าช้าไปบ้าง ต้องปรับต้องแก้หลายรอบแต่เพื่อนทุกคนคือเก่ง มาก นอกจากนี้ผมคิดว่าไม่ได้มีเฉพาะแค่ฝ่ายผม ฝ่ายอื่น ๆ ก็ต้องมีงานที่ต้องปรับต้องแก้และเพื่อนๆก็พยายาม ทำงานอย่างเต็มที่ ซึ่งผมของชื่นชมเพื่อนๆทุกคน ทุกคนเก่งมาก ๆ ครับ

รูปภาพ poster

รูปภาพ background

P a g e | 98

-การช่วยงานโครงการในวันที่23 คือผมมีหน้าที่ในการถ่ายภาพและบรรยากาศต่าง ๆ ในวันจัด โครงการ ซึ่งก่อนหน้านี้วันที่20 ได้มีการนัดประชุมจัดสถานที่และมอบหมายงาน ซึ่งผมและเพื่อนอีก6คนติด ธุระ และผมอยากขอโทษเพื่อนๆและขอบคุณเพื่อนๆที่เข้าใจ จากนั้นก่อนถึงวันจัดโครงการผมก็รู้สึกประหม่า เพราะไม่ทราบว่าตนเองต้องทำอะไรบ้าง ตนเองจะทำงานได้ไหมเพราะเป็นงานที่ใหญ่ กลัวไม่สามารถช่วย เพื่อนได้ แต่เมื่อถึงถึงวันจริงคือเพื่อนทุกคนหน้างานตั้งใจทำงานและช่วยเหลือกันดีมากแม้จะเจอปัญหาบ้างก็ ตาม และผมอยากชมเพื่อนที่รับหน้าที่พิธีกรทั้ง2คน เพื่อนทั้ง2 คือ เก่งมาก ๆ นอกจากนี้ยังชอบคุณพี่ๆและ อาจารย์ที่คอยให้คำชี้แนะและช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ

รูปภาพ เบื้องหลังวันจัดโครงการ ด้านความรู้และสิ่งที่ได้รับจาก Dr. Yeap Ban Har -สิ่งที่ได้รับคือการเปลี่ยนแนวคิดหรือมุมมองของนักเรียนในการเรียน และ Dr. Yeap Ban Har ยังสมารถนกระบวนทางคณิตศาสตร์ มาแสดงเป็นรูปภาพเพื่อเป็นการแสดงแนวคิดหรือทำให้นักเรียน เข้าใจได้ง่ายขึ้น และผมคิดว่าอาจารย์เป็นคนที่เก่งมากเลยครับ ช่วงตอบคำถามคืออาจารย์ก็สามารถตอบ คำตอบได้ทุกอย่างและตอบอย่างเข้าใจ และที่สำคัญคือผมคิดว่าอาจารย์เป็นคนที่กันเองมาก โดยปกติทั่วไปผม ไม่เคยเห็นวิทยากรท่านไหนจะมาตอบคอมเม้นในไลฟ์แต่ Dr. Yeap Ban Har ตอบคำถามและคำติชมในคอม เม้นด้วยครับ

รูปภาพ โจทย์ที่ Dr. Yeap Ban Har ให้หาคำตอบ

P a g e | 99

สุดท้ายนี้ผมขอขอบคุณอาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่มอบโอกาสให้แกพวกเราทุกคนช่วยกันจัดทำโครงการ นี้ โดยมีอาจารย์เป็นคนคอยควบคุมและช่วยเหลือ และผมก็อยากให้อาจารย์จัดโครงการที่ดีแบบนี้อีกเยอะๆ ครับ ซึ่งพวกผมทุกคนจะนำประสบการณ์ที่ได้จากการจัดทำโครงการในครั้งนี้มาปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ครับ

รูปภาพ บรรยากาศเมื่อโครงการเสร็จ นายกุลพงษ์ หยงสตาร์ รหัสนักศึกษา 6320114071 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่22 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงาน ซึ่งโครงการในครั้งนี้ดิฉันได้มีโอกาสเป็นประธานของโครงการ งานแรกในชีวิตของดิฉัน ได้เห็นการ ทำงานของฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายประสาน ฝ่ายควบคุม ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายประเมิน ฝ่าย ทะเบียน ชื่นชมเพื่อนๆทุกคน ที่มีความรับผิดชอบสูง เพราะการทำงานมักจะมี งานที่แก้ หรือมีงานที่มีการ อัพเดทตลอด เพื่อนๆแต่ละฝ่ายจะมีการรับฟัง แล้วนำไปทำงานได้ อย่างรวดเร็ว ถึงแม้ว่าการทำงานอาจจะมี ติดขัดบ้าง แต่ทุกอย่างก็ล้วนออกมาด้วยดี ได้เห็นการทำงานกันเป็นทีมมากยิ่งขึ้น เพราะการทำงานไม่ใช่เราที่ เป็นคนทำเพียงคนเดียว แต่เมื่อได้รับสาร หรือว่าได้รับสิ่งที่เราจะต้องทำ แล้วนำมากระจายงานให้แต่ละฝ่าย มีการพูดคุยกันมากยิ่งขึ้น การได้ทำงานนี้ได้มีการพูดคุยกับเพื่อน ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันซึ่งกัน และกัน ซึ่งอีกหนึ่งหน้าที่ของดิฉันคือ ฝ่ายพิธีการ รับผิดชอบในการทำกำหนดการ ได้เรียนรู้จากฝ่าย การสร้าง กำหนดการที่ดิฉันไม่เคยทำมาก่อน ได้มีการคิดว่าจะต้องทำอะไรบ้างในช่วงเวลาไหน วางแผนให้งานในวันที่23

P a g e | 100

มกราคม 2563 เกิดขึ้นตามเวลาที่เหมาะสม ได้เรียนรู้งานในฝ่ายพิธีการ และดีใจมากที่เพื่อนในฝ่าย ช่วยเหลือ กัน พร้อมที่จะสนับสนุน พร้อมที่จะช่วยตลอด ขอขอบคุณเพื่อนๆที่ไปหน้างานในวันที่ 23 มกราคม 2563 เพราะการไปทำงานหน้างานจะมี ความ ละเอียดของงานที่มากกว่า ขอขอบคุณเพื่อนๆที่เสียสละเวลา และขอขอบคุณเพื่อนๆที่อยู่ทางบ้าน ที่จะคอย รายงานตลอดว่ามีอุปสรรคอะไรบ้าง เช่น ไม่ได้ยินเสียง เสียงสะท้อน เป็นต้น ทำให้เห็นได้ว่าทุกๆคน มี ความสำคัญมากๆ ในงานนี้จะขาดใครไปมิได้เลย อุปสรรคที่เกิดขึ้น เช่น เสียงหาย เสียงในการถ่ายทอดสดที่เป็นเสียงสะท้อน การประสานงานที่ไม่ ตรงกันเป็นต้น ซึ่งอุปสรรคที่เกิดขึ้นมีการแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นประสบการณ์ที่ดีให้กับ ดิฉันเอง ให้มีทักษะการแก้ปัญหาที่ดี และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ มีไหวพริบ ปฏิภาณ สิ่งที่ได้จากการฟัง Dr.Yeap Ban Har เปลี่ยนทัศนคติทั้งครูและนักเรียน โดยเริ่มจากครูก่อน สร้างห้องเรียนให้มีความสุข เปลี่ยนมุมมอง ใหม่ ให้ครูเป็นคนที่คอยอำนวยความสะดวกแทน ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ที่ให้ความรู้เพียงอย่างเดียว เปลี่ยนทัศนคติ ของนักเรียนกับวิชาคณิตศาสตร์ ที่ไม่ใช่อยู่แค่ในห้องเรียน และการหาคำตอบของคณิตศาสตร์ที่หลากหลาย ไม่ได้ยึดติดในการแก้ปัญหา เพียงแค่วิธีเดียวเพื่อให้นักเรียนสามารถมีความคิดที่แตกต่างได้ ให้นักเรี ยนคิดว่า คณิตศาสตร์อยู่ในชีวิตประจำวัน ครูผู้สอนต้องมีการเตรียมความรู้ มีการเชื่องโยงความรู้เดิมและความรู้ใหม่ เข้าด้วยกัน มีสื่อการสอนที่ดี ทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น การเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นสิ่งสำคัญ โดยใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม การใช้ภาพ การใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และการถาม คำถามที่ส่งเสริม การ สร้างรูปภาพ และการดูรูปแบบ มีการใช้การสนทนาและการโต้ตอบระหว่างนักเรียน มีปฏิสัมพันธ์ ใช้การ สะท้อนกลับ โดยใช้ตัวอย่างกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เช่น การแก้ปัญหา การใช้รูปภาพ โดยให้นักเรียน แก้ปัญหา โดยใช้รูปภาพ และการมองเห็นรูปแบบในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ที่จะช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ คณิตศาสตร์ได้ดีและเชื่อมโยงกับโลกแห่งความเป็นจริง Dr.Yeap Ban Har เป็นวิทยากรที่มีความสามารถที่หลากหลาย มีการเตรียมพร้อมที่ดีมากๆ มีสื่อการ สอนที่น่าใจ ภาษาที่เข้าใจง่าย ใช้รูปภาพในการบรรยาย ทำให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ง่ายมากยิ่งขึ้น และดิฉันเอง คิดว่าดิฉันบรรลุเป้าหมายของโครงการที่เข้าใจขั้นตอนการสอนในชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเห็นคุณค่าของการสอนที่เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อนำสิ่งที่ได้ไปใช้ในอนาคต นำไปใช้ในการ ปฏิบัติการสอน และนำสิ่งที่ได้ไปใช้ในการสอน สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ อาจารย์ดร. รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่มอบโอกาสให้มีโครงการดีๆแบบนี้ และดิฉัน หวังว่าจะมีโอกาสได้ทำโครงการอีก จะนำสิ่งที่ได้ไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆขึ้นต่อไป ภาพความรู้ที่ได้จากวิทยากร Dr.Yeap Ban Har

กระบวนการ problem solving การแก้ปัญหา หลักกระบวนการที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งสิงค์โปร ใช้เป็นหัวใจสำคัญของหลักสูตร

P a g e | 101

การใช้รูปภาพ ที่สามารถทำให้นักเรียนสามารถมองเห็นได้ง่าย ทำให้ได้เห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์ไม่ได้มีแค่ประโยคสัญลักษณ์เพียงอย่างเดียว

สื่อการสอนที่น่าสนใจ มีความเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าใจ มองเห็นปัญหาที่เป็นภาพได้ง่ายขึ้น

ภาพบรรยากาศในโครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professer Program ณ วันที่ 23 มกราคนางสาว

นางสาวซันเดีย ไชยมล กำลังกล่าวเปิดโครงการ นางสาวซันเดีย ไชยมล ขณะอยู่ใน zoom นางสาวซันเดีย ไชยมล รหัสนักศึกษา 6320114072 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่23

P a g e | 102

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ด้านการทำงาน การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ได้มีการแบ่งงานออกเป็นฝ่ายๆ ตามหน้าที่และความรับผิดชอบ แต่ละฝ่ายมี ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งระหว่างทางอาจจะมีปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ แต่ทุกฝ่ายก็ ช่วยกันและพยายยามแก้ให้ออกมาดีที่สุด ในการทำงานเป็นทีม เมื่อแต่ละฝ่ายได้รับงานที่ต้องรับผิดชอบ ก็อาจ แยกกันออกทำงานของแต่ละฝ่าย ซึ่งก็จะมีการประชุมเพื่อติดตามสถานะการทำงานของแต่ละฝ่ายอยู่เสมอ ๆ เพื่อให้ทราบว่าแต่ละฝ่ายนั้นทำงานไปได้อย่างราบรื่นหรือไม่ หรือมีปัญหาติดขัดตรงจุดไหน เพื่อที่จะได้ช่วยกัน แก้ปัญหา ทำให้งานบรรลุผลได้ตามกำหนดเวลาที่ตั้งเป้าหมายไว้ การทำกิจกรรมในครั้งนี้ได้รับหน้าที่เป็นผู้บันทึกภาพและวิดีโอ ทั้งในวันงานและการประชุมแต่ละครั้ง โดยงานที่ได้รับมอบหมายนั้น อาจจะเป็นที่ค่อนข้างง่าย และเกิดปัญหาได้น้อย แต่ก็มีปัญหาอยู่ เช่นบันทึก วิดีโอแล้วไม่มีเสียง ซึ่งได้แก้ปัญหาโดยการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต ทำให้ได้รู้ข้อมูลในส่วนตรงนี้ เพิ่มเติม ด้านความรู้จากวิทยากร ถึงแม้การบรรยายในครั้งนี้จะเป็นการบรรยายที่ภาษาอังกฤษโดยทั้งหมด แต่วิทยากรมีการใช้ ภาษาอังกฤษที่สามารถเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้คนที่ไม่เก่งภาษาอังกฤษ สามารถที่จะเข้าใจบ้างไม่มากน้อย อีกอย่างวิทยากรมีการใช้สื่อในการบรรยายที่เข้าใจได้ง่าย ไม่ซับซ้อน มีการยกตัวอย่างทั้งที่เป็นภาพประกอบ และโจทย์ปัญหาที่เข้าใจง่าย และเห็นภาพ ตัวอย่างการบรรยายที่เห็นจากสไลด์แล้วสามารถเข้าใจได้ หากฟังการบรรยายภาษาอังกฤษไม่เข้าใจ ภาพแรกจะเป็นการหาคำตอบโดยการหารยาว ถือว่าเป็นวิธีที่คนส่วนใหญ่จะใช้ ซึ่งวิธีนี้ เป็น วิธีการหาคำตอบที่ค่อนข้างซับซ้อน มีลำดับขั้นตอนที่ค่อนข้างยุ่งยาก ส่วนภาพที่สองจะเป็นการหาคำตอบโดย

การแบ่งเลขออกเป็นส่วนๆเพื่อนที่จะได้เลขที่สามารถหารแล้วลงตัว แล้วสุดท้ายเอาเลขทั้งหมดมาบวกกัน ซึ่ง วิธีนี้ เป็นวิธีการหาที่หลายๆคนยังไม่เคยรู้ วิธีการหานี้จะเป็นวิธีที่สามารถหาคำตอบได้ง่าย ไม่ซับซ้อน จะได้ตัว เลขที่ลงตัวสามารถหาคำตอบได้ง่าย จากที่วิทยากรได้บรรยายจะเห็นได้ว่า การหาคำตอบทางคณิตศาสตร์ สามารถหาได้หลากหลายวิธี นางสาวซารีนา มาแจ รหัสนักศึกษา 6320114073 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่24

P a g e | 103

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program • สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงานร่วมกัน ในการจัดโครงการในครั้งนี้จะเห็นได้ว่าเพื่อน ๆ ทุกคนตั้งใจ และทุ่มเทกับโครงการเป็นอย่างมาก ทุก ฝ่ายต่างทำหน้าที่ของตนเองได้เป็นอย่างที่ เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด มีการแบ่งหน้าที่ได้อย่างชัดเจน ทำงาน อย่างเป็นระบบ เมื่อพบปัญหาเพื่อน ๆ ทุกคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน พร้อมให้ความร่วมมือตลอดในช่วงของ การเตรียมโครงการ • สิ่งที่ได้เรียนรู้ฝ่ายทะเบียน ในส่วนงานฝ่ายดิฉันได้รับหน้าที่ทำงานในฝ่ายทะเบียน ภาระงานที่ต้องรับผิดชอบ ได้แก่ ออกแบบ เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำแบบฟอร์มการลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ และจัดทำประวัติของท่าน วิทยากร Dr.Yeap Ban Har ในรูปแบบภาษาอังกฤษ ซึ่งดิฉันได้รับหน้าที่สร้างแบบฟอร์มการลงทะเบียน โดยมี เพื่อน ๆ ในฝ่ายช่วยกันหาข้อมูลและวิธีการสร้างแบบฟอร์ม เนื่องจากไม่ได้สร้างแบบฟอร์มมานานพอสมควร และได้ช่วยเพื่อน ๆ ในการลองเปรียบเทียบสีในการทำเกียรติบัตร และแก้ไขเกียรติบัตรให้สมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะ ทำได้ โดยในการทำงานฝ่ายในครั้งนี้ถือว่าเป็นโครงการแรกที่ได้ทำหน้าที่ในฝ่ายทะเบียน จึงได้เรียนรู้หลาย ๆ อย่าง ซึ่งประสบการณ์ และการทำงานในครั้งนี้สามารถเป็นเครื่องมือที่สามารถไปต่อยอดในอนาคตได้ • ปัญหาที่พบในการทำงานฝ่ายทะเบียน พบปัญหาเกี่ยวกับการลงทะเบียน ซึ่งในการสร้างแบบฟอร์มลงทะเบียนในครั้งนี้ดิฉันได้ใช้ google drive ของตนเอง โดยไม่ได้ตรวจสอบว่าพื้นที่จัดเก็บข้อมูลใน google drive ยังเหลือพื้นที่อีกหรือไม่ ซึ่งช่วง ใกล้ๆ ที่โครงการจะจัดขึ้น ได้พบปัญหาคือ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมลงทะเบียนไม่สามารถลงทะเบียนได้ เนื่องจากมีผู้ ลงทะเบียนเป็นจำนวนมาก จึงทำให้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลเหลือน้อย โดยมีเพื่อนจากฝ่ายอื่น ๆ ได้มาถามถึง ปัญหาดังกล่าว ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และช่วยกันแก้ปัญหาจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี อีกทั้งพบปัญหาว่าการทำเกียรติบัตรไม่ควรใส่กรอบบริเวณชื่อและนามสกุล เนื่องจากแต่ละคนก็จะมี ชื่อและนามสกุลที่มีความยาวแตกต่างกันไป และการทำคิวอาร์โค้ดที่จะทำอย่างไรให้เวลาสแกนแล้วไม่มี โฆษณา ซึ่งดิฉันพบว่าการทำโครงการในครั้งนี้ไม่เพียงแต่ฝ่ายดิฉันเท่านั้นที่รับผิดชอบ แต่มีเพื่อน ๆ ที่คอย ตรวจสอบอยู่เสมอ ซึ่งถึงว่าเป็นบทเรียนอันล้ำค่า ที่ดิฉันจะเก็บไว้เป็นบทเรียน เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด เช่นเดิมอีกในอนาคต และสามารถมองเห็นถึงศักยภาพของตนเองและเพื่อนในการทำงานร่วมกัน • สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการบรรยายโดยวิทยากร Dr.Yeap Ban Har

P a g e | 104

ลำดับแรกเลยต้องชื่นชมท่านวิทยากร มีการบรรยายโดยใช้น้ำเสียงที่น่าฟังและบุคลิกที่ดี ยิ้มแย้ม ทำให้ดึงดูด ผู้ฟัง ไม่เกิดความน่าเบื่อ นอกจากนี้เนื่องจากจากการฟังบรรยายท่านวิทยากร Dr. Yeap Ban Har มีการ บรรยายโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งก่อนเริ่มโครงการดิฉันคิดว่าจะมีการสื่อสารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ปะปนกันไป แต่ไม่เป็นอย่างที่คิด แต่เมื่อได้ฟังแล้วภาษาที่ท่านใช้ไม่ใช่ภาษาที่เป็นคำศัพท์ระดับสูงมาก ไม่ ซับซ้อน ซึ่งถือว่าท่านเข้าใจถึงบริบทและความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยบางคำอาจไม่คุ้นชิน แต่ก็สามารถนำไปแปลภาษาได้ และท่านมีความพร้อมในด้านสื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการบรรยายใน ครั้งนี้ และได้อธิบายโดยการใช้รูปภาพแทน จึงทำให้นักศึกษาสามารถเข้าใจในสิ่งที่ท่านพยายามที่จะสื่อสารกับ ผู้เข้าร่วมได้เป็นอย่างดี

ประชุมวางแผนการทำงาน และถามความคืบหน้า

ร่วมกันออกแบบเกียรติบัตร

. จำนวนผู้สนใจเข้าร่วม โครงการในครั้งนี้ ทั้งหมด 634 คน ร่วมกันจัดทำประวัติของท่านวิทยากร Dr. Yeap Ban Har. นางสาวซาอีเราะห์ มะ รหัสนักศึกษา 6320114074 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 25 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ด้านการทำงาน ในส่วนของการเตรียมงาน หลังจากได้รับมอบหมายงานในการจัดโครงการครั้งนี้ ได้มีการแบ่งการ ทำงานออกเป็นฝ่ายต่าง ๆ เพื่อเป็นการแบ่งภาระงาน ซึ่งการแบ่งงานเป็นฝ่ายในลักษณะนี้จะทำให้นักศึกษาได้

P a g e | 105

ทำงานอย่างทั่วถึงและสามารถเป็นพื้นที่และโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถ ทักษะ และศักยภาพ ของนักศึกษา เมื่อมีการทำงานเป็นฝ่ายต่าง ๆ ดังนั้นการประสานงานกันถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เห็นได้ว่า การทำงานจะที่เกิดจากหลายความคิดร่วมกันนั้น ทำให้มีไอเดียที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ในส่วนการทำงาน เบื้องหลังของการLiveสดที่ห้องสตูดิโอของคณะ มีปัญหาบ้างบางส่วนแสดงให้เห็นเลยว่าการเตรียมงานนั้น จะต้องมองอย่างละเอียดรอบคอบ มองถึงความจริงที่จะเกิดขึ้นสิ่งที่ต้องเตรียมในงานและคาดการณ์ปัญหาที่ จะเกิดขึ้น ซึ่งทางทีมงานและฝ่ายที่รับผิดชอบก็สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีและสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ส่วนของอุปสรรค ข้อผิดพลาดก็ต้องนำไปพัฒนาปรับปรุงในโครงการถัดไป ในส่วนของหนูที่เป็นพิธีกร และเป็นผู้ประสานงานในบางส่วน เห็นได้เลยว่าการประสานงานที่ไม่ ตรงกันนั้นทำให้เกิดปัญหาและการเข้าใจผิดได้ง่าย การได้รับหน้าที่เป็นพิธีกรในโครงการนี้ที่เป็นนานาชาติ ถือ เป็นความท้าทายเป็นอย่างมาก แต่การที่เราเตรียมตัวมาก่อนมันสามารถทำให้เราลดความตื่นเต้นและสามารถ ทำหน้าที่ต่อไปได้ และการมีพิธีกรคู่ทำให้มีความอุ่นใจมากขึ้น ด้านความมรู้จากวิทยากร วิทยากรมีความชำนาญการในการบรรยายและถ่ายทอดความรู้เป็นอย่างมาก การใช้ภาษาสามารถ เข้าใจและฟังได้ง่าย ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสำคัญของทัศนคติต่อคณิตศาสตร์ที่เปลี่ยนไป การมองความเป็น คณิตศาสตร์ และการนำไปใช้ เมื่อเรามีความเข้าใจในกระบวนการคณิตศาสตร์แล้วจะทำให้เราได้เข้าใจ กระบวนการคิดของนักเรียนอีกด้วย วิทยากรได้ยกตัวอย่างหลายรูปแบบ อาทิเช่นการหาร ที่ได้ได้มีเพียงหาร สั้นหรือหารยาวเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้การบวก ลบ คูณ หาร เข้ามาคิดได้ ซึ่งในบางวิธีนั้นได้คำตอบเร็วกว่า และคำตอบเดียวกัน หากเป็นการสอนในไทยสมัยก่อน คุณครูมักบอกว่าผิด อีกทั้งได้แลกเปลี่ยนการเรียนการ สอนในไทยและต่างประเทศอีกด้วย ถือเป็นการเปิดมุมมองและประสบการณ์ใหม่ๆมากยิ่งขึ้น อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ เห็นและแปลกตานั้นคือ แอพลิเคชั่น สื่อการสอนคณิตศาสตร์ ที่มีความแปลกตา และวิทยากรได้แนะนำเพื่อไป ต่อยอดได้อีกด้วย

นางสาวนาญา มัจฉาเวช รหัสนักศึกษา 6320114075 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 26

P a g e | 106

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ - ด้านการทำงาน (1) การเตรียมงาน: จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ มีการเตรียมงานตั้งแต่การแบ่งฝ่าย ซึ่งประกอบด้วย 6 ฝ่าย ดังนี้ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายควบคุม ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายประเมิน และฝ่ายทะเบียน ซึ่ง แต่ละฝ่าย จะมีหน้าที่ที่แตกต่างกัน มีการแบ่งงานที่ชัดเจน ซึ่งทุกฝ่ายได้รับผิดชอบหน้าที่ของฝ่ายตนเองและ ทำงานด้วยความทุ่มเทและตั้งใจ ทำให้งานออกมาสมบูร ณ์ ซึ่งในบางฝ่ายงานอาจประสบกับปัญหาหรื อ อุปสรรค แต่เพื่อนทุกคนในฝ่ายและในสาขาให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำให้สามารถแก้ปัญหา เฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นได้ดี และงานที่ออกมาผ่านไปได้อย่างราบรื่น (2) ฝ่ายงานที่รับผิดชอบ: กิจกรรมในครั้งนี้ หนูได้รับผิดชอบงานในฝ่ายพิธีการ ซึ่งถือเป็นการทำงาน ที่แปลกใหม่เพราะไม่เคยทำงานในฝ่ายนี้มาก่อน ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานในฝ่ายพิธีการมากขึ้น ซึ่ง ฝ่ายพิธีการจะมีการแบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกในฝ่ายอย่างชัดเจน งานในฝ่ายนี้ประกอบด้วย งานพิธีกร การเขียน กำหนดการ การเขียนสคริปต์พิธีกร การเขียนคำกล่าวเปิด-ปิดโครงการ การเขียนคำกล่าวรายงาน และการทำ เล่มโครงการ ซึ่งเพื่อนในฝ่ายให้ความร่วมมือและทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้ดี ในการทำงานในครั้งนี้มีปัญหาเกิดขึ้น เล็กน้อย เช่น การแก้กำหนดการ การเขียนโดยใช้ภาษาทางการ ซึ่งในส่วนนี้มีอุปสรรคคือ ไม่มั่นใจกับคำที่ใช้ เป็นภาษาทางการหรือไม่ แต่ได้รับความช่วยเหลือในการตรวจทานจากเพื่อนในฝ่าย และอาจารย์รัชดา (3) ความรู้สึกเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม: กิจกรรมในครั้งนี้เป็นกิจกรรมที่ใหญ่มากสำหรับหนู ซึ่งได้ รับผิดชอบในฝ่ายที่ตนเองไม่เคยทำมาก่อน ทำให้มีการกังวลว่าจะทำมันออกมาได้ดีหรือไม่ แต่ก็ได้รับกำลังใจ และความช่วยเหลือจากเพื่อนๆ ทำให้การทำงานออกมาดี จากการทำกิจกรรมในครั้งนี้จะเห็นได้ว่าเพื่อนทุกคน ในสาขามีความตั้งใจและทุ่มเทอย่างมาก แม้ มีอุปสรรคบ้าง แต่ทุกคนก็ช่วยกันเสนอความคิดเห็นให้ความ ร่วมมือ จนทำให้กิจกรรมในครั้งนี้ออกมาดี จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้รู้ว่าการประสานงานและการสื่อสารที่ดีมีความสำคัญมาก และการแก้ปัญหา เฉพาะหน้าถือเป็นทักษะที่สำคัญเช่นกัน การทำงานในครั้งนี้หนูอยากขอบคุ ณตัวเองและเพื่อนในสาขาที่ตั้งใจ และทุ่มเท มีความรับผิดชอบในฝ่ายของตนเองเป็นอย่างดี ขอบคุณเพื่อนที่สละเวลาไปทำหน้าที่หน้างาน และ ที่ขาดไม่ได้คืออยากขอบคุณ อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่มอบโอกาสให้พวกหนูได้ทำกิจกรรมดีๆในครั้งนี้ - ด้านความรู้ที่ได้รับจากการบรรยายโดยวิทยากร “ Dr. Yeap Ban Har ” (1) เนื้อหาสาระ จากการฟั ง บรรยายในครั ้ ง นี ้ จ ะเห็ น ได้ ว ่ า อาจารย์ Yeap Ban Har ได้ บ รรยาย เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนทัศนคติในการเรียนคณิตศาสตร์ การที่จะเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีเราต้องรู้ว่าเราเรียนไป เพื่ออะไร และสามารถนำไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันได้ เพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักในการเรียนรู้ ซึ่ง ในการเรียนการสอนจะต้องตระหนักถึงกระบวนการคิดแก้ปัญหา สอนให้มองไปที่ปัญหา โดยในกระบวนการ คิดและแก้ปัญหานั้นต้องเรียนรู้และลงมือทำด้วยความเข้าใจ ไม่ใช่การท่องจำ นำมาคิดเชื่อมโยงอย่างมีเหตุผล ผู้สอนควรสอนโดย ใช้สื่อที่น่าสนใจมีความเหมาะสมกับช่วงวัย จากการบรรยายมีการใช้การแสดงแทนโดยใช้ภาพประกอบกับการ บรรยายทำให้ผู้ฟังเห็นภาพชัดเจนและสามารถคิดตามได้แม้การบรรยายจะเป็นภาษาอังกฤษ มีการยกตัวอย่าง ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย จากการยกตัวอย่างทำให้รู้ว่าการหาคำตอบทางคณิตศาสตร์ไม่ควรตีกรอบความคิดของ

P a g e | 107

ผู้เรียน หรือจำกัดวิธีการคิดเพราะคำตอบที่ถูกต้องอาจไม่ใช่คำตอบที่ดีที่สุด แต่คำตอบที่ดีและมีประสิทธิภาพ คือคำตอบที่มาจากกระบวนการคิดวิเคราะห์ที่หลากหลายของผู้เรียน ยกตัวอย่าง การหาร 351 ในขณะที่ฟังบรรยายวิธีแรกที่หนูทำคือการตั้งหาร แต่ของอาจารย์คือการ แยกคิด โดยการหารทีละส่วน เมื่อคิดตามและลองทำดูทำให้รู้ว่าวิธีคิดนี้เป็นวิธีที่แปลกใหม่และในมุมมองของ หนูคิดว่ามันเป็นวิธีที่สามารถมองเห็นภาพและเข้าใจง่าย

(2) การนำไปประยุกต์ใช้ สามารถนำไปต่อยอดในอนาคตได้ คือเมื่อออกไปฝึกสอน หรือออกไปปฏิบัติการสอนจริงในอนาคต ผู้สอนควรปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์แบบเดิมๆของตนเองและนักเรียน ให้มองเห็นความสำคัญ เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เลือกใช้ สื่อที่น่าสนใจมีความหลากหลายและเหมาะกับช่วงวัย ใช้คำพูดในการสอนที่ สามารถเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน เน้นการให้ผู้เรียนเข้าใจมากกว่าการท่องจำ ให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิดและ เชื่อมโยง โดยไม่ควรตีกรอบคำตอบ หรือจำกัดความคิดของผู้เรียน ไม่ควรมองที่คำตอบแต่ให้มองที่ความ หลากหลายของวิธีคิดแก้ปัญหา (3) ความรู้สึกเกี่ยวกับการบรรยาย จากการฟังบรรยายจะเห็นได้ว่าอาจารย์ Yeap Ban Har มีการบรรยายโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งใน ความคิดแรกของหนูคือต้องไม่เข้าใจและน่าเบื่อแน่ๆ แต่เมื่อได้ฟังกลับเปลี่ยนความคิดเพราะอาจารย์ได้ใช้ ภาษาอังกฤษที่สามารถเข้าใจได้ง่าย และมีการใช้สื่อที่น่าสนใจ ประกอบกับการยกตัวอย่างที่สามารถเห็นภาพ และเข้าใจง่าย มีการบรรยายโดยใช้น้ำเสียงที่น่าฟังและบุคลิกที่ดี ยิ้มแย้ม ทำให้ดึงดูดผู้ฟัง ไม่เกิดความน่าเบื่อ นางสาวลัดดาวัลย์ กูสนั่น รหัสนักศึกษา6320114077 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที27 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรม 1. ด้านการทำงาน จากการเข้าร่วมทำกิจกรรมในครั้งนี้ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย คือ การทำงานฝ่าย ประเมินผล ซึ่งมีโอกาสได้ติดต่อประสานงานร่วมกันกับฝ่ายลงทะเบียน ซึ่งทำให้มีโอกาสได้พัฒนา ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น และพัฒนาความสามารถด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีจากการ ใช้ Google Forms ในการประเมินผลกิจกรรมในครั้งนี้ 2. ด้านการแก้ไขปัญหา จากการทำงานฝ่ายประเมินผล พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ปัญหาโฆษณาใน Google Forms และปัญหาผู้ประเมินผลไม่ได้รับเกียรติบัตรตอบกลับจากอีเมล ซึ่งเมื่อรับทราบ ปัญหาทางผู้จัดทำแบบประเมินได้หาวิธีการแก้ปัญหาจนสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านั้นให้สามารถ บรรลุผลสำเร็จไปได้ด้วยดี

P a g e | 108

3. ด้านวิชาการ จากการรับฟังบรรยายความรู้จาก Dr. Yeap Ban Har ส่งผลให้เกิดกระบวนการ เรียนรู้ที่หลากหลาย โดยอาจารย์ได้แสดงแนวความคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยมุ่งเน้นเรื่องของการใช้การแสดงแทนรูปภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ เช่น การ เรียนรู้เรื่องการคูณโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาอธิบายวิธีการหาคำตอบของปัญหาเหล่านั้นและใช้ รูปสี่เหลี่ยมขนาดต่าง ๆ มาหาคำตอบของอสมการ อีกทั้งยังได้เรียนรู้ถึงรูปแบบของการเรียนการ สอนในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนได้ลงมือทำ ลงมือ ปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง

การใช้ Visualization ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

รูปแบบการแก้ปัญหาการหารโดยใช้การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน

การใช้รูปสี่เหลี่ยมอธิบายเรื่องการคูณ นายวรวิทย์ อินกรด รหัสนักศึกษา6320114078 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ เลขที่ 28

P a g e | 109

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ความรู้ที่ได้รับจากโครงการนี้ สิ่งที่โดดเด่น คือ อาจารย์ Dr.Yeab Ban Har สามารถนำกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ คูณ หาร) มาแสดงเป็นรูปภาพ แทนการการสั้น สั้นยาว การจัดกลุ่มเป็นรูปภาพเพื่อให้สามารถดำเนินการและทำ ความเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น เราสามารถมองคณิตศาสตร์ให้ง่ายยิ่งขึ้น ไม่มีกระบวนการการอะไรซับซ้อนเหมือนที่ เคยเรียนมาและได้เปิดมุมมองใหม่ๆในการมองคณิตศาสตร์ ประสบการณ์การทำงานจากโครงการนี้ - เบื้องหลังการทำงาน เริ่มตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รู้ว่าจะจัดโครงการนี้ อาจารย์อธิบายรายละเอียดและ มอบหมายงาน เพื่อน ๆ ในเอกเริ่มประชุมและร่วมกันแสดงความคิดเห็น ร่วมกันวางแผน แบ่ง งาน แสดงให้เห็นถึงความสามัคคีกันภายในเอก ในเวลาที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเกิดปัญหา เพื่อนที่อยู่ ต่างฝ่ายพร้อมช่วยเหลืออย่างเต็มที่และรับรู้ได้ว่าทีมงานทุกคนมีความตั้งใจในการทำโครงการให้ ออกมาดีที่สุด - การทำงานแบบ on site โดยโครงการนี้เป็นโครงการแรกที่นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มีโอกาสทำงาน แบบ on site ซึ่งในระหว่างการทำงานมีปัญหา เช่น Email ที่ส่งให้แก่ผู้เข้าร่วม ลิงก์เข้าร่วมซูมไม่ ตรงกับรหัสซูม ทำให้ได้เรียนรู้การแก้ปัญหา การประสานงานกับหลายฝ่าย ปัญหาระหว่างไลฟ์สด ทำให้เห็นถึงความสำคัญของทีมงานที่รับชมผ่านช่องทาง Facebook หากไม่มีการสื่อสารระหว่าง คนทำงานแบบออนไลน์กับคนทำงานแบบ on site เราไม่สามารถรับรู้และแก้ปัญหานั้นได้ ส่งผล ให้ทุกปัญหาที่เกิดขึ้นลุล่วงไปได้ด้วยดีภายในเวลาไม่กี่นาทีและผลตอบรับของโครงการนี้อยู่ใน ระดับดีมาก ภาพประกอบการดำเนินงานตลอดโครงการ

เบื้องหลังการทำงาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขงานในแต่ละฝ่าย โดยเพื่อน ๆ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และ เสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ

P a g e | 110

แก้ปัญหาลิงก์ซูมไม่ตรงกับรหัสซูม โดยการแก้ไขและส่ง Email ใหม่ไปยังผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 278 คน นางสาววิไลพร คำสอน รหัสนักศึกษา 6320114079 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 29 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ความรู้สึกจากโครงการนี้ จากสิ่งที่ได้เข้าร่วมโครงการเมื่อวานทำให้ผมได้ตระหนักถึงการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก ทำ ให้ผมรู้ถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษเนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการระดับนานาชาติ วิทยากรที่มาบรรยาย จะบรรยายเป็นภาษาอังกฤษซึ่งส่วนตัวผมเป็นคนนึงที่ด้อยภาษานี้เป็นอย่างมากหรือแทบไม่เข้าใจภาษานี้เลยก็ ว่าได้ เมื่อได้มาฟังบรรยายทำให้ผมไม่เข้าใจอะไรเลย ซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้ผมไม่ได้รับความรู้หรือได้ความรู้จาก การบรรยายในครั้งนี้น้อยมาก และนั้นเป็นสิ่งที่ผมรู้สึกเสียดายและเสียใจที่ตัวเองได้มีโอกาสมาฟังบรรยายจาก วิทยากรที่ได้ชื่อว่ามีการจัดเรียนการสอนได้ดี แต่ผมกลับได้รับความรู้ไม่มากเท่าที่ควร ยิ่งได้ฟังจากที่เพื่อนๆเล่า มาว่าได้ความรู้จากโครงการนี้ในหลายๆอย่าง ยิ่งทำให้ผมรู้สึกเสียดายมากขึ้นไปอีก ดังนั้นหลังจากจบโครงการ นี้ผมรู้สึกว่าตัวเองต้องเก่ง ต้องเข้าใจภาษาอังกฤษให้ได้ เพื่อให้ได้รับความรู้อย่างกว้างมากยิ่งขึ้น ด้านการทำงาน ผมทำงานอยู่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ รับหน้าที่ทำbackground โดยเป็นงานใหม่ของตัวเองเพราะว่า ส่วนตัวไม่เคยทำงานในด้านการออกแบบเลย นับว่าเป็นประสบการณ์การทำงานใหม่ที่ตัวเองได้ทำซึ่งงานนี้จะ หนักในช่วงแรกๆของการทำงาน เนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการที่ใหญ่มาก ดังนั้นจะต้องมีการแก้ ไข Backgroundอยู่บ่อยครั้งเพื่อจะให้งานออกมาดีที่สุด ส่วนสิ่งผมต้องแก้ไขก็คือในเรื่องของการสื่อสารกัน ระหว่างเพื่อนๆทำให้เพื่อนบางคนสับสบว่า Backgroundที่แก้เสร็จสมบูรณ์คืออันไหน ซึ่งเป็นเรื่องที่ผมจะต้อง ปรับปรุงและพัฒนาในงานต่อๆไป และผมก็ขอชื่นชมเพื่อนๆที่คอยช่วยเหลือเพื่อนๆอยู่เสมอเมื่อยามเพื่อนคน ใดคนหนึ่งประสบปัญหา สุดท้ายนี้ก็ต้องขอบคุณอาจารย์เป็นอย่างยิ่งที่มอบโอกาสให้พวกผมได้จัดโครงการในระดับนานาชาติ ทำให้พวกผมได้มีประสบการณ์การทำงานเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำไปต่อยอดใช้ในอนาคตได้ นายสุลัยมาน แม็ง รหัสนักศึกษา6320114080 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 30

P a g e | 111

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก Dr.Yeap Ban Har Dr.Yeap Ban Har เป็นวิทยากรที่มีความรู้แน่นตัว พร้อมที่ให้ความแก่ทุกคน สื่อสารภาษาอังกฤษที่ เข้าใจได้ง่าย และได้อธิบายเป็นการแสดงแทนรูปภาพ เพื่อให้เห็นภาพและเข้าใจมากขึ้น ยกตัวอย่างที่เข้าใจได้ ง่าย มีการใช้จิตวิทยาในการสอน Dr.Yeap Ban Har ได้เรียนรู้กระบวนการสอนในทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเป็น ตัวเลขอย่างเดียว เราสามารถมองคณิตศาสตร์ให้อยู่ในรูปภาพ และเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อทำให้เข้าใจ คณิตศาสตร์ได้อย่างมากขึ้น สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงาน ดิฉันได้รับหน้าที่ในส่วนของฝ่ายพิธีการ ซึ่งจะทำหน้าที่เกี่ยวกับ พิธีกร คำกล่าวเปิดงาน คำกล่าวปิด งาน กำหนดการโครงการต่าง ๆ ได้เกิดปัญหาในระหว่างการทำงาน มีการแก้วันเวลาเล็กๆน้อยๆ และพวกเรา ในฝ่ายพิธีกาก็ช่วยกันแก้ปัญหาในส่วนนี้ได้อย่างสำเร็จสมบูรณ์ ได้เรียนรู้ในเรื่องการทำงานเป็นกลุ่ม ทำงานกับ ผู้คนมากมาย ซึ่งไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด และได้แบ่งหน้าที่ออกเป็นแต่ละฝ่ายได้อย่างชัดเจน เพื่อนของตัวเองอย่าง เต็มที่ มีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ความรู้สึกแรกที่ได้รู้ว่า ได้มีการเชิญวิทยากราต่างประเทศ Dr.Yeap Ban Har รู้สึกกังวลเป็นอย่าง มากเรื่องภาษา เราจะสื่อสารรู้เรื่องไหม จะเข้าใจในสิ่งที่ Dr.Yeap Ban Har บรรยายไหม ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษา เป็นเรื่องสำคัญเป็นอย่างมากในการจัดกิจกรรมโครงการครั้งนี้ ส่วนตัวดิฉันไม่ค่อยถนัดภาษาอังกฤษ ซึ่งก็เป็น ปัญหาใหญ่สำหรับดิฉัน เสียดายโอกาสในส่วนนี้มาก ทำให้ดิฉันมีความสนใจอยากเรียนภาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น อยากสื่อสารภาษาอังกฤษให้เข้าใจ สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณ อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ทีจ่ ัดโครงการนี้ขึ้นมาได้เรียนรู้หลาย ๆ อย่าง และได้ทำในสิ่งไม่เคยทำมาก่อน ขอบคุณเพื่อน ๆ และอยากจะบอกกับเพื่อนทุกคนว่า “ทุกคนเก่งๆมาก เลยน่ะ” ที่ผ่านกิจกรรมโครงการในครั้งนี้มาได้ ถึงแม้จะมีการแก้ไขหรือพบจบเจอปัญหาต่าง ๆ พวกเราทำ โครงการนี้ได้สำเร็จ ขอบคุณค่ะ นางสาวอะฏียะห์ อาแซ รหัสนักศึกษา 6320114081 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ เลขที่ 31

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ด้านการทำงาน - ส่วนตัวแล้วตนเองได้รับหน้าที่ทำงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ซึ่งภายในจะแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน คือ 1.poster 2.background 3.บันทึกภาพ 4.คลิปประมวลผล ภายในก็จะให้เพื่อนได้โหวตกันว่าใครจะทำอะไรกันบ้าง ซึ่ง ในส่วนของผมจะทำโปสเตอร์คู่กับตัสนีม ซึ่งตนเองและตัสนีมไม่เคยทำหน้าที่ด้านนี้มาก่อน ไม่ค่อยเก่งด้าน ความคิดสร้างสรรค์

P a g e | 112

ระหว่างที่ทำก็เลยทำให้ต้องแก้หลายๆรอบ แต่ถึงจะเป็นแบบนั้นก็ยังมีเพื่อนๆคอยช่วยเหลือเราตลอด ถามว่า เป็นยังไงบ้าง คอยถามความคืบหน้า ติดอะไรตรงไหนไหม ซึ่งคู่เราก็ติดตรงที่การออกแบบ แต่ก็มีเพื่อนที่อยู ฝ่ายอื่นเข้ามาช่วย ไม่ว่าจะเป็นไอริณ แบมัง กีบะห์ หลายๆคนที่ผมไม่ได้เอ่ยชื่อ คือเพื่อนๆก็พยายามช่วยเหลือ เราเพื่อให้งานมันสามารถดำเนินต่อไปได้ และเพื่อให้งานออกมาดีที่สุด ซึ่งในส่วนนี้ก็ต้องขอบคุณเพื่อนๆทุกคน ที่พยายามกันอย่างเต็มที่ ทุ่มเทกับงานเพื่อให้เนื้องานออกมาดีที่สุด

รูปภาพ Poster

ด้านความรู้จากวิทยากร - ในการฟัง Dr.Yeap Ban Har บรรยายเนื่องจากเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนตัวไม่ได้เก่งภาษาอังกฤษ แต่ด้วย ความที่อาจารย์เขาวางตัวเป็นกันเอง พยายามสื่อสารใช้ภาษาที่เด็กสามารถเข้าถึงทำให้ตนที่ไม่ค่อยเก่งด้าน ภาษานั้นก็เข้าใจบ้างในบางประโยคพยายามจับประเด็นที่อาจารย์เขาพยายามจะสื่อ ซึ่งก็ต้องชื่นชมอาจารย์ ท่านอีกอย่างหนึ่งเลยก็คือ อาจารย์ท่านได้ใช้รูปภาพเข้ามาช่วยในการบรรยาย ทำให้เด็กที่ไม่เก่งด้านภาษา อย่างเราสามารถเข้าถึงสิ่งที่อาจารย์ท่านพยายามจะสื่อ พยายามทำให้เด็กๆเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เกิดการ วิเคราะห์ เมื่อนำคณิตศาสตร์มาเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันแล้ว ทำให้เราสามารถเข้าใจคณิตศาสตร์ได้มาก ยิ่งขึ้น ในส่วนของการบรรยายที่ผมประทับใจมากที่สุดคือเรื่องการสอนที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิด การแก้ปัญหามาก่อนจะทำให้ตัวเด็กนั้นเกิดการเรียนรู้มากกว่าที่คุณครู อาจารย์ ได้วาง แนวทางให้กับเด็ก แล้วให้เด็กเดินตามทางที่ตนเองได้วางไว้ สุดท้ายนี้ผมขอขอบคุณอาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ที่มอบโอกาสและทำให้เกิดงานดีๆแบบนี้ขึ้นมา

P a g e | 113

รูปภาพ กระบวนการ Problem solving การแก้ปัญหา หลักกระบวนการที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน ที่สิงค์โปรใช้เป็นหัวใจสำ นายอัซฟาน เบ็ญเจ๊ะวัน รหัสนักศึกษา 6320114082 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 32 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program สะท้อนคิดจากกิจกรรม เมื่อรู้ว่าเอกคณิตศาสตร์จะมีงานบรรยายโดยอาจารย์จากต่างประเทศ พวกเราก็มีความตื่นเต้นเป็น อย่างมาก เนื่องจากในเทอมที่แล้วเราก็ได้มีกิจกรรมเสนอแผนการเรียนรู้ของแต่ละคนที่เป็นงานเอก เป็นงาน ใหญ่ในเทอมที่ 1 และเป็นงานใหญ่งานแรกของเอกคณิตศาสตร์เนื่องจากมีคนเข้ามาชมเป็นจำนวนมาก พอมา ในวันนี้กลับเป็นงานที่ใหญ่ยิ่งกว่าเนื่องจากมีการเชิญอาจารย์จากต่างประเทศมาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ วิธีการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ในตอนแรกเพื่อนในห้องได้มีการแบ่งหน้าที่ออกเป็นฝ่ายต่างๆ ซึ่งผมได้อยู่อยู่ประสานงาน เนื่องจากที่ ผมอยู่ฝ่ายประสานงานผมได้เข้าไปดูการทำงานของแต่ละกลุ่มและเห็นว่าแต่ละกลุ่มตั้งใจทำงาน มีความจริงจัง เป็นอย่างมาก ทำให้กลุ่มที่ผมอยู่นั้นดูสบายกว่ากลุ่มอื่นมาก ผมได้ทำงานกับชนาและเพื่อนอีกหนึ่งคนทำหน้าที่ ประสานงานกับเพื่อนในความคืบหน้าของแต่ละกลุ่ม และถ่ายทอดคำสั่งจากอาจารย์ให้เพื่อน รวบรวมงานใส่ ในไดรฟ์เดียวกัน ผมเป็นคนที่ไม่ชอบพูดเลยรู้สึกไม่ดีเนื่องจากไปสั่งเพื่อนในการทำงาน ผมรู้สึกว่าเพื่อนทำงาน หนักกว่าผม แต่ผมมีหน้าที่แค่ดูความคืบหน้าผมเลยรู้สึกไม่ดี แต่ผมก็ได้ชนาในการเป็นหัวหน้ากลุ่มสั่งงานให้ผม ทำ ทำให้งานคืบหน้าและประสบความสำเร็จได้ ผมอยากจะขอโทษเพื่อนๆในห้องเนื่องจากฝ่ายประสานงาน ทำหน้าที่ได้ไม่ค่อยดีงานเลยออกมาได้อย่างยากลำบาก แต่เพื่อนๆกลับทำมันให้ออกมาดีมาก ผมขอโทษครับ ผมจะใช้ประสบการณ์ในการทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นที่ผ่านมาสองงานแล้วไประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและ งานหน้าให้ออกมาดีกว่านี้ และผมจะพยายามทำหน้าที่ให้ดีกว่านี้ ทำงานให้หนักกว่านี้ ในการฟังอาจารย์ต่างประเทศบรรยายเนื่องจากเป็นภาษาอังกฤษ ผมจึงฟังรู้เรื่องบ้างไม่รู้เรื่องบ้างแต่ จะอาศัยการดูรูปภาพ ดูโจทย์ปัญหาที่อาจารย์เตรียมมาแล้วนำมาคิดวิเคราะห์ทำเป็นความเข้าใจของตนเองซึ่ง ไม่รู้ว่าถูกหรือผิด แต่จะเห็นได้ว่าการใช้รูปภาพ การวิเคราะห์รูปภาพให้เกี่ยวโยงกับชีวิตประจำวันทำให้เรา สามารถเข้าใจคณิตศาสตร์ได้ เนื่องจากประเทศไทยเรียนเพื่อใช้ในการสอบแข่งขัน เน้นท่องจำเป็นส่วนใหญ่ทำ ให้เด็กไม่เข้าใจในคณิตศาสตร์และเราควรสอนคณิตศาสตร์อย่างไรดี อาจารย์เลยตอบว่าให้ส อนในการ แก้ปัญหาโดยให้นักเรียนได้ลงมือทำด้วยตัวเอง ครูจะเป็นคนคอยกระตุ้น ออกแบบการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยวิธีการนี้ครูจะ พยายามให้หนักเนื่องจากมันเป็นวิธีที่ม่ายที่จะออกแบบกิจกรรมการเรียนได้ โดยต้องให้นักเรียนได้เชื่อมโยง ความรู้เก่ากับความรู้ใหม่ ใช้ความรู้เก่ามาต่อยอดให้ได้ความรู้ใหม่ เน้นการลงมือ การคิดวิเคราะห์ของนักเรียน การประยุกต์ใช้เนื่องจากในอนาคตผมจบไปเป็นครู ผมก็สามารถนำวิธีดังกล่าวไปออกแบบการการ สอนให้กับนักเรียนของผมได้ เน้นเข้าใจไม่เน้นท่องจำ เรียนเพื่อความรู้ไม่ใช่คะแนน อาจทำให้คณิตศาสตร์เป็น

P a g e | 114

เรื่องสนุกสนานจองนักเรียนของผมได้ อาจจะเปิดมุมมองใหม่ๆเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียน ทำให้ นักเรียนไม่เกลียดคณิตศาสตร์

การบรรยายการสอนให้ผู้เรียนเห็นภาพ

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ใชีวิตประจำวัน

นายอัสมีน โอมณี รหัสนักศึกษา6320114083 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่ 33 สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ถึงอาจารย์รัชดา จากการได้รับมอบหมายให้ทำงานนี้ อย่างแรกเลยต้องขอบคุณอาจารย์รัชดามาก ที่มอบโอกาสดีๆ ให้กับหนูและเพื่อนๆนะคะ อาจารย์ได้สอนให้พวกหนูได้รู้จักกับการทำงานจริง ๆ ได้ให้รู้จักคิด ออกแบบ และ แก้ปัญหากันเอง โดยที่ไม่ได้ตีกรอบความคิดว่าต้องมีอะไรบ้าง ต้องทำอะไรบ้าง สิ่งนี้ทำให้นักศึกษาไม่เครียด และยังเป็นการปลดปล่อยไอเดียของนักศึกษาได้เต็มที่ และอาจารย์ไม่ใช่แค่อธิบายเรื่อง open approach อย่างเดียว แต่อาจารย์ก็ปฏิบั ติให้เห็นด้วย ทำให้หนูได้เข้าใจอย่างลึกซึ้งว่าจริงๆ แล้ว Open approach คือ อะไร และจากที่ตั้งคำถามตลอดว่าเรียนไปจะไปใช้ประโยชน์อะไรได้ จนมางานนี้ทำให้หนูรู้สึกว่า ความรู้ตรงนี้ สามารถนำไปใช้ได้ ตรงนั้นก็ใช้ได้ และที่สำคัญงานนี้ สอนให้หนูสามารถทำงานกับผู้อื่นได้ เพราะสิ่งเหล่านี้มัน การทำงานจริง ถึงเพื่อนๆ จากงานที่ได้รับมอบหมาย หนูได้รับหน้าที่ในฝ่ายประสานงาน โดยมีนายชนาธิป ทองดียิ่ง เป็นหัวหน้า ฝ่าย ส่วนตัวไม่ค่อยได้มีบทบาทมากนัก เพราะส่วนมากหัวหน้าฝ่ายจะเป็นคนบทำเอง มีส่วนเล็กๆน้อยๆ ที่ แจกจ่ายงานให้เพื่อนร่วมทีม ก็ต้องขอบคุณหัวหน้าฝ่ายมากๆ ที่ยอมทำงานหนัก และช่วยเป็นตัวแทนของฝ่าย ประสานงานทำหน้าที่ได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนี้เพื่อนฝ่ายอื่นต่างก็ทำงานหน้าที่ของตัวเองได้ดีมาก มีการ พูดคุยภายในกลุ่มได้ดี และไม่เคยท้อในการแก้งานเลย ไม่มีใครเกี่ยงงาน มีแต่ช่วยๆกันทำ และที่สำหรับก็ตอ้ ง ขอบคุณเพื่อนที่เป็นพิธีกรทั้งสองคนมาก ที่เสียสละเป็นตัวแทนให้กับเอกเรา และสองคนก็ทำได้ดีมากๆเลยค่ะ งานนี้จะเป็นไปไม่ได้เลย ถ้าขาดคนใดคนหนึ่งไป งานนี้ก็อาจจะไม่สามารถผ่านไปได้ด้วยดีแบบนี้ค่ะ ถึงDr. Yeap Ban Har อย่างแรกเลยต้องชื่นชมท่านที่เข้าใจว่านักศึกษาส่วนใหญ่ฟังภาษาอังกฤษไม่ค่อยได้ ท่านจึงเลือกใช้ คำศัพท์ที่เข้าใจง่าย และท่านมีความพร้อมในด้านสื่อและอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการบรรยาย ท่านสามารถใช้ รูปภาพอธิบายคำพูดของท่านได้ ทำให้นักศึกษาสามารถเข้าใจในสิ่งที่ท่านจะสื่ อ แม้จะฟังไม่ออกก็ตาม และ นอกจากเรื่องภาษาแล้วนั้น เนื้อหาที่ท่านเตรียมมา ก็ทำให้หนูอึ้งมากๆ เพราะบางข้อวิธีทำของหนูที่ทำเดิม ๆ

P a g e | 115

มันกลับดูยาก สับซ้อน แต่ของท่านคือ ง่าย สั้น เข้าใจง่าย มีที่มาที่ไป และถ้านำความรู้จากท่านไปสอนนักเรียน ของตัวเองคงจะเข้าใจง่ายมากๆเลยค่ะ ถึงตัวเอง สำหรับตัวเองแล้วนั้นมีการเรียนรู้หลายอย่าง หลายด้านด้วยกัน ทั้งการทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้การ ใช้เทคโนโลยี เรียนรู้การรู้จักคิด และแก้ปัญหา และจากงานนี้เองทำให้หนูมีพัฒนาที่เพิ่มขึ้นจากเดิมเยอะมากๆ นอกจากได้เรียนรู้การเป็นเบื้อหลังแล้วนั้น ยังได้รับความรู้ดีๆ จาก Dr. Yeap Ban Har ซึ่งเป็นเนื้อหาเดิม ๆ ที่ มีวิธีการคิดใหม่ๆ คิดให้ง่าย และเร็วขึ้นค่ะ ภาพบรรยากาศ

อ.รัชดา อาจารย์ประจำวิชา Mathematics Process

ตัวแทนเอกในการเป็นพิธีกร

สื่อการสอนของ Dr. Yeap Ban Har

นางสาวอาฟีซา แวซู รหัสนักศึกษา 6320114084 ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่34

P a g e | 116

สะท้อนผลการเรียนรู้จากกิจกรรม Mathematical process in daily life and its applications into classrooms ภายใต้โครงการ PSU 2021 Virtual Visiting Professor Program ภาพที่ 1 คือภาพบรรยากาศของผู้ที่สนใจเข้ารวมกิจกรรมภายในซูมผ่านไลฟ์สด

ภาพที่ 2 คือ ภาพช่วงท้ายของกิจกรรม

สะท้อนการเรียนรู้ ด้านความรู้ การสอนที่ดีขึ้นอยู่กับทัศนคติของผู้สอนและผู้เรียน แต่อันดับแรกในการปรับทัศนคติต้องเริ่มมาจากตัว ของครูผู้สอน วิทยากรให้ความสำคัญกับการใช้สื่อในการเรียนการสอนเพราะทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ใช้ รูปภาพเป็นสื่อในการสอนเป็นหลัก ครูสอนโดยใช้การแก้ปัญหามาช่วย ด้านการทำงานเป็นทีม มีการวางแผนการทำงานเป็นอย่างดี แบ่งหน้าที่การทำงานเป็นอย่างดี ฝ่ายงานแต่ละฝ่ายทำงานในฝ่าย งานของตนเองเป็นอย่างดี ทุกคนตั้งใจและให้ความสำคัญกับการทำงานของตนเองมาก ในส่วนของฝ่ายงานประชาสัมพันธ์ มีการแบ่งงานย่อยๆออกเป็น 4 ฝ่ายด้วยกัน คือ ฝ่ายภาพพื้นหลัง ฝ่ายภาพโพสเตอร์ ฝ่ายบันทึกภาพและวิดีโอขณะจัดกิจกรรมและฝ่ายประมวลผลการจัดกิจกรรม ส่วนตัวได้รับ หน้าที่ในฝ่ายบันทึกภาพและวิดีโอขณะจัดกิจกรรม รู้สึกเป็นงานที่ตื่นเต้นมากและถือได้ว่าเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ แล้วเป็นงานที่ต้องใช้ความสามัคคีในการทำงานรวมกันเป็นอย่างมาก ประโยชน์ที่ได้รับ - ความสามัคคีในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม - ได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลาย ได้เรียนรู้สื่อการสอนแบบใหม่ๆ - ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นทำให้ทุกคนได้รับประสบการณ์มากขึ้น ไว้ใช้ในการแก้ปัญหาในครั้งต่อไป - การแบ่งหน้าที่ในการทำงานเป็นอย่างดี แต่ในครั้งหน้าควรมีการประสานงานในฝ่ายต่างๆให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น นางสาวอารีญา หมัดอาดัม รหัสนักศึกษา 6320114085 ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เลขที่35

P a g e | 117

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203

เอกสารประกอบการสอน

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ (Mathematical processes for learning management)

เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นอย่างย่อเพื่อให้ทราบภาพรวมของ เนื้อหาบางส่วนในรายวิชา สารบัญ

หน้า

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้

118

การแก้ปัญหา

120

ยุทธวิธีการแก้ปัญหา

122

การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

119

การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

122

การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์

130

ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์

131

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีทักษะ/กระบวนการคณิตศาสตร์

132

ตัวย่างโจทย์เพื่อการเรียนรู้กระบวนการทางคณิตศาสตร์(เพิ่มเติม)

134

P a g e | 118

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ (Mathematical processes for learning management) ความหมายของคณิตศาสตร์ Mathematics as an experimental, inductive science. Both aspects are as old as the science of mathematics itself. But the second aspect is new in one respect; mathematics “in status nascent,” in the process of being invented, has never before been presented in quite this manner to the student, or to the teacher himself, or to the general public. (Polya, 1957, p. vii) Hans Freudenthal 1 9 6 0 s distinguish mathematization into two different types of mathematical activity-horizontal mathematizing and vertical mathematizing. (cite in Lyn D. English. Handbook of International Research in Mathematics Education, 2002, p. 89) Mathematics is an exploratory science that seeks to understand every kind of patternpatterns that occur in nature, patterns invented by the human mind, and even patterns created by other patterns (Lynn Arthur Steen. On The Shoulders of Giants, 1990 p. 8) ความหมายของกระบวนการต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ MATHEMATICS AS PROBLEM SOLVING - use, with increasing confidence, problem-solving approaches to investigate and understand mathematical content - apply integrated mathematical problem-solving strategies to solve problems from within and outside mathematics - recognize and formulate problems from situations within and outside mathematics - apply the process of mathematical modeling to real-world problem situations (NCTM, Curriculum and Evaluation Standards for School Mathematics, 1989)

P a g e | 119

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 กระบวนการต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ (Mathematical processes)

Problem Solving The process of applying a variety of appropriate strategies based on information provided, referenced, recalled, or developed. Students require frequent opportunities to formulate, grapple with, & solve complex problems that involve a significant amount of effort. Reasoning & Proof Making and investigating mathematical conjectures. Developing arguments and proofs. Students who reason and think analytically tend to note patterns, structure, or regularities in both real-world and mathematical situations. Communications Organizing mathematical thinking coherently and clearly to peers, teachers and others. Using the language of math to express mathematical ideas precisely. Communicating Mathematics - Organize and consolidate your mathematical thinking through communication; - Communicate your mathematical thinking coherently and clearly to peers, teachers, and others; - Analyze and evaluate the mathematical thinking and strategies of others; - Use the language of mathematics to express mathematical ideas precisely.

P a g e | 120

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 Representions Creating and using multiple representations to organize, record, and communicate mathematical ideas. Using models and interpreting mathematical phenomena to significantly expand the capacity to model and interpret physical, social, and mathematical phenomena. Connections Recognizing and using connections among math ideas as well as with other subjects such as the physical sciences, engineering, social sciences & business. Understanding how mathematical ideas interconnect and build on one another to produce a coherent whole.

Problem solving (การแก้ปัญหา)

1. Meaning of Problem, Problem solving, Mathematical Problem Solving (ความหมายของปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์) ปัญหา คือ สิ่งที่ไม่รู้ สถานการณ์ที่เผชิญอยู่ แต่หาวิธีแก้ไม่ได้ อุปสรรค คำถาม ข้อสงสัย สิ่งที่มาขัดขวาง ความราบรื่นในการทำสิ่งต่าง ๆ สถานการณ์ที่ เหนือ/ต่ำกว่าความคาดหมาย ไม่ปกติ และสถานการณ์ที่ไม่ เป็นไปตามที่คาดหวัง ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง สถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ซึ่ งเผชิญอยู่และต้องการหาคำตอบ โดยที่ยังไม่รู้วิธีการหรือขั้นตอนที่จะได้คำตอบของสถานการณ์นั้นทันที การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึงกระบวนการในการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอน/ กระบวนการแก้ปัญหา ยุทธวิธีแก้ปัญหา และประสบการณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในการค้นหาคำต อบของปัญหาทาง คณิตศาสตร์ 2. Process of mathematical problem solving by George Polya (กระบวนการแก้ปัญหา ของโพลยา) Step 1: Understanding the problem (ทำความเข้าใจปัญหา) • Learn the necessary underlying mathematical concepts Consider the terminology and notation used in the problem. - What sort of a problem is it? - What is being asked? - What do the terms mean? - Is there enough information or is more information needed? - What is known or unknown? • Rephrase the problem in your own words. • Write down specific examples of the conditions given in the problem. Step 2: Devising a plan (วางแผนแก้ปัญหา) You must start somewhere so try something. How are you going to attack the problem? Possible strategies: (i. e. reach into your bag of tricks.)

P a g e | 121

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 - Draw pictures - Use a variable and choose helpful names for variables or unknowns. - Be systematic. - Solve a simpler version of the problem. - Guess and check. Trial and error. Guess and test. (Guessing is OK.) - Look for a pattern or patterns. - Make a list. Once you understand what the problem is, if you are stumped or stuck, set the problem aside for a while. Your subconscious mind may keep working on it. Moving on to think about other things may help you stay relaxed, flexible, and creative rather than becoming tense, frustrated, and forced in your efforts to solve the problem. Step 3: Carry out the plan (ดำเนินการตามแผน) Once you have an idea for a new approach, jot it down immediately. When you have time, try it out and see if it leads to a solution. If the plan does not seem to be working, then start over and try another approach. Often the first approach does not work. Do not worry, just because an approach does not work, it does not mean you did it wrong. Step 4: Looking back (ตรวจสอบผล) Once you have a potential solution, check to see if it works. - Did you answer the question? - Is your result reasonable? - Double check to make sure that all of the conditions related to the problem are satisfied. - Double check any computations involved in finding your solution. If you find that your solution does not work, there may only be a simple mistake. Try to fix or modify your current attempt before scrapping it. Remember what you tried—it is likely that at least part of it will end up being useful. Is there another way of doing the problem which may be simpler? (You need to become flexible in your thinking. There usually is not one right way.) Can the problem or method be generalized so as to be useful for future problems? Remember, problem solving is as much an art as it is a science. 3. Strategies for mathematical problem solving (กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์) Remember Some of the Possible Strategies Given Earlier - Draw pictures - Use a variable and choose helpful names for variables or unknowns.

P a g e | 122

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 - Be systematic. - Solve a simpler version of the problem. - Guess and check. Trial and error. Guess and test. (Guessing is OK.) - Look for a pattern or patterns. - Make a list. 4. Examples for mathematics solving the problem (ตัวอย่างการใช้คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา) • Mr. Jones has a total of 25 chickens and cows on his farm. How many of each does he have if all together there are 76 feet? • Place the digits 8, 10, 11, 12, and 13 in the circles to make the sums across and vertically equal 31.

• Old McDonald has 250 chickens and goats in the barnyard. Altogether there are 760 feet . How many of each animal does he have? Make sure you use Polya’s 4 problem solving steps. ยุทธวิธีการแก้ปัญหา ที่พบได้บ่อย 1. การค้นหาแบบรูป 2. การสร้างตาราง 3. การเขียนภาพหรือแผนภาพ 4. การแจงกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด 5. การคาดเดาและตรวจสอบ 6. การทำงานแบบย้อนกลับ 7. การเขียนสมการ 8. การเปลี่ยนมุมมอง 9. การแบ่งเป็นปัญหาย่อย 10.การให้เหตุผลทางตรรกศาสตร์ 11. การให้เหตุผลทางอ้อม

ยุทธวิธีการแก้ปัญหา

P a g e | 123

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 1. การค้นหาแบบรูป เป็นการวิเคราะห์ปัญหาและค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีลักษณะเป็นระบบหรือเป็นแบบรูปใน สถานการณ์ปัญหานั้นๆแล้วคาดเดาคำตอบ ซึ่งคำตอบที่ได้จะยอมรับว่าเป็นคำตอบที่ถูกต้องแล้วเมื่อผ่านการ ตรวจสอบยืนยัน ยุทธวิธีนี้มักใช้แก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเรื่องจำนวนและเราขาคณิต การฝึกฝนการค้นหาแบบรูปใน เรื่องดังกล่าวเป็นประจำ จะช่วยนักเรียนในการพัฒนาความรู้สึกเชิงจำนวนและทักษะการสื่อสาร ซึ่งเป็นทักษะ ที่ช่วยให้นักเรียนสามารถประมาณและคาดคะเนจำนวนโดยยังไม่ต้องคิดคำนวณก่อน ตลอดจนสามารถ สะท้อนความรู้ความเข้าใจในแนวคิดทางคณิตศาสตร์และกระบวนการคิดของตนได้ ตัวอย่างโจทย์ที่มีชื่อเสียง โดยการแก้ปัญหาของเด็กชาย ฟรีดริช เกาส์ (Carl Friedrich Gauss) 2. การสร้างตาราง เป็นการจัดระบบข้อมูลใส่ในตารางที่สร้างขึ้น จะช่วยในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ อันจะนำไปสู่การ ค้นพบแบบรูปหรือข้อชี้แนะอื่นๆ ตลอดจนช่ว ยให้ไม่หลงลืมหรือสันสนในกรณีใดกรณีหนึ่ง เมื่อต้องแสดงกรณี ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของปัญหา ตัวอย่างโจทย์เช่น ในร้านขายของชำแห่งหนึ่งมีขนมราคาแตกต่างกันอยู่ 3 ชนิด ชนิดที่หนึ่งราคาชิ้นละ 2 บาท ชนิดที่สองและสามราคาชิ้นละ 5 บาทและ 10 บาทตามลำดับ วันหนึ่งมีแม่และลูกชายคู่หนึ่งเข้ามาซื้อ ของในร้านแห่งนี้ ลูกชายเห็นขนมและอยากได้ จึงร้องขอให้แม่ซื้อให้ แม่อนุญาต และบอกให้ลูกชายเลือกหยิบ ขนมเองตามใจชอบมา 3 ชิ้น อยากทราบว่าแม่จะต้องจ่ายเงินเป็นค่าขนมให้ลูกชายเป็นจำนวนเงินเท่าไรบ้าง 3. การเขียนภาพหรือแผนภาพ การเขียนภาพหรือแผนภาพ เป็นการอธิบายสถานการณ์และแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆของ ปัญหาด้วยภาพหรือแผนภาพ ซึ่งการเขียนภาพหรือแผนภาพจะช่วยให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้น และบางครั้งก็ สามารถหาคำตอบของปัญหาได้โดยตรงจากภาพหรือแผนภาพนั้น ตัวอย่างโจทย์เช่น แพะตัวหนึ่ง เจ้าของใช้เชือกผู กติดไว้ที่โคนเสาของโรงนาซึ่งมีหญ้าอ่อนเขียวขจีอยู่ รอบๆ โรงนา ถ้าเชือกที่ผูกแพะนั้นมีความยาว 15 เมตร บริเวณพื้นโรงนามีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด กว้าง 6 เมตร และยาว 9 เมตร อยากทราบว่าบริเวณนั้นแพะสามารถกินหญ้าได้มากที่สุดนั้นมีพื้นที่เป็นเท่าไร 4. การแจงกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด เป็นการจัดระบบข้อมูล โดยแยกเป็นกรณีๆที่เกิดขึ้นทั้งหมด ในการแจงกรณีที่เป็นไปได้ทั้ งหมด นักเรียนอาจขจัดกรณีที่ไม่ใช่ออกก่อน แล้วค่อยค้นหาระบบหรือแบบรูปของกรณีที่เหลืออยู่ ซึ่งถ้าไม่มีระบบใน การแจงกรณีที่เหมาะสมยุทธวิธีนี้ก็จะไม่มีประสิทธิภาพ ยุทธวิธีนี้จะใช้ได้ดีถ้าปัญหานั้นมีจำนวนกรณีที่เป็นไป ได้แน่นอน ซึ่งบางครั้งเราอาจใช้การค้นหาแบบรูปและการสร้างตารางมาช่วยในการแจงกรณีด้วยก็ได้ ตัวอย่างโจทย์เช่น ครอบครัวมีสุขและครอบครัวสุขล้นเป็นเพื่อนบ้านกัน สนามหญ้าหน้าบ้านของแต่ละ ครอบครัวมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวโดยรอบ 24 เมตรเท่ากัน ถ้าพื้นที่ของสนามหญ้าของ ทั้งสองครอบครัวต่างกันอยู่ 8 ตารางเมตร ความกว้างและความยาวของสนามหญ้าทั้งสองครอบครัวเป็น จำนวนเต็มเมตร อยากทรายว่าพื้นที่ของสนามหญ้าของทั้งสองครอบครัวรวมกันเป็นเท่าไร 5. การคาดเดาและตรวจสอบ การคาดเดาและตรวจสอบ เป็นการพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขต่างๆที่ปัญหากำหนดผสมผสานกับ ประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้อง มาสร้างข้อความคาดการณ์ แล้วตรวจสอบความถูกต้องของข้อความคาดการณ์

P a g e | 124

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 นั้น ถ้าการคาดเดาไม่ถูกต้องก็คาดเดาใหม่ โดยอาศัยประโยชน์จากความไม่ถูกต้องของการคาดเดาใ นครั้ง แรกๆ เป็นกรอบในการคาดเดาคำตอบปัญหาในครั้งต่อไป นักเรียนควรคาดเดาอย่างมีเหตุผลและมีทิศทาง เพื่อให้สิ่งที่คาดเดานั้นเข้าใกล้คำตอบที่ต้องการมากที่สุด ตัวอย่างโจทย์เช่น สมพงษ์ซื้อขนมปังสองชนิดเพื่อมาขายในงานโรงเรียน เขาตั้งราคาขายขนมปังชนิด แรกในราคาชิ้นละ 10 บาท และชนิดที่สองในราคาชิ้นละ 15 บาทถ้าเขาขายขนมปังชนิดแรกไปจำนวนหนึ่ง ขายชนิดที่สองไปอีกเป็นจำนวนครึ่งหนึ่งของจำนวนขนมปังชนิดแรก และได้เงินรวม 875 บาท จงหาว่าเขา ขายขนมปัง แต่ละชนิดไปอย่างละกี่ชิ้น Reasoning and Proof (การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์) ความหมายของการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กระบวนการการคิดทางคณิตศาสตร์ที่ต้องอาศัยการคิดวิเคราะห์ และ / หรือความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการรวบรวมข้อเท็จจริง/ข้อความ/แนวคิด/สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ ต่างๆ แจกแจงความสัมพันธ์ หรือการเชื่อมโยง เพื่อทำให้เกิดข้อเท็จจริงหรือสถานการณ์ใหม่ รูปแบบของการให้เหตุผล 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มี ความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณี ทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อย ๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุป เป็นกรณีทั่วไป เป็นกระบวนการที่ใช้การสังเกตหรือการทดลองหลายๆ ครั้งแล้วรวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่ จะนำไปสู่ข้อสรุปซึ่งเชื่อว่า น่าจะถูกต้อง น่าจะเป็นจริง มีความเป็นไปได้มากที่สุดแต่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่าเป็นจริง และยังไม่พบข้อขัดแย้ง เรียกข้อสรุปนั้นว่า ข้อความคาดการณ์ ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย • แก้วตาสังเกตว่าในวันที่โรงเรียนเปิด คุณครูนวลศรีซึ่งมีบ้านอยู่ท้ายซอย จะขับรถผ่านบ้านของแก้วตา ไปโรงเรียนทุกเช้าประมาณ 7.00 น. แต่ว ัน นี้ส ายแล้ว แก้ว ตายังไม่เห็นคุณครูนวลศรีขับ รถไป โรงเรียน แก้วตาจึงสรุปเป็นข้อความคาดการณ์ว่า วันนี้เป็นวันที่โรงเรียนหยุด • สุนทรี พบว่า ทุกครั้งที่คุณแม่ไปซื้อก๋วยเตี๋ยวผัดไทยจะมีต้นกุยช่ายมาด้วยทุกครั้ง จึงสรุปว่า ก๋วยเตี๋ยว ผัดไทยต้องมีต้นกุยช่าย • ชาวสวนมะม่วงสังเกตมาหลายปีพบว่า ถ้าปีใดมีหมอกมาก ปีนั้นจะได้ผลผลิตน้อย เขาจึงสรุปว่าหมอก เป็นสาเหตุที่ทำให้ผลผลิตน้อย ต่อมามีชาวสวนหลายคนทดลองฉีดน้ำล้างช่อมะม่วง เมื่อมีหมอกมากๆ พบว่าจะได้ผลผลิตมากขึ้นจึงสรุปว่า การล้างช่อมะม่วงตอนมีหมอกมากๆ จะทำให้ได้ผลผลิตมากขึ้น • นายสมบัติ พบว่า ทุกครั้งที่ทำความดีจะมีความสบายใจ จึงสรุปผลว่า การทำความดีจะทำให้เกิด ความสบายใจ ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย • ในการทดลองชิมส้มในตะกร้าของพ่อค้า เหตุ 1.ลูกที่ 1 รสชาติหวาน

P a g e | 125

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 2.ลูกที่ 2 รสชาติหวาน 3.ลูกที่ 3 รสชาติหวาน ผลสรุป ส้มที่อยู่ในตะกร้า เป็นส้มที่มีรสหวาน • จงใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยสรุปผลเกี่ยวกับผลบวกของจำนวนคู่สองจำนวน 0 +2 = 2 (จำนวนคู่) 2+4 = 6 (จำนวนคู่) 4+6 = 10 (จำนวนคู่) 6+8 = 14 (จำนวนคู่) 8+10 = 18 (จำนวนคู่) สรุปผลว่า ผลบวกของจำนวนคู่สองจำนวนเป็นจำนวนคู่ ข้อสังเกต ➢ การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปจากเหตุหลาย ๆ เหตุโดยถือหลักความจริงของ เหตุจากส่วนย่อยหรือส่วนเฉพาะไปสู่การสรุปความจริงที่เป็นส่วนใหญ่หรือส่วนรวม โดยที่เหตุผล ลักษณะนี้จะประกอบไปด้วย ข้อความ 2 กลุ่มคือ ข้อความที่เป็นส่วนของเหตุและข้อความที่เป็น ข้อสรุป โดยกลุ่มของข้อความที่เป็นเหตุจะทำให้เกิดข้อสรุปของข้อความในกลุ่มหลัง ➢ เราสามารถกล่าวได้ว่าการให้เหตุผลแบบอุปนัยมีลักษณะการนำความรู้ที่ได้จากการตัดสินใจจาก ประสบการณ์หลาย ๆ ครั้ ง การสังเกต หรือการทดลองหลาย ๆ ครั้งมาเป็นเหตุย่อยหรือสมมติฐาน ต่าง ๆ แล้ว นำมาสรุป เป็ น คุณสมบัติ ข องส่ว นรวมทั้ งหมดเป็น ข้อ ความหรื อ ความรู้ ทั ่ว ไปซึ ่ ง จะ ครอบคลุมไปถึงสิ่งที่ยังไม่มีประสบการณ์หรือยังไม่ได้กล่าวอีกด้วย ข้อจำกัด ➢ ข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบอุปนั ยที่ยอมรับว่าเป็นจริงนั้นอาจจะเกิดข้อขัดแย้งกับข้อความที่ เป็นเหตุที่เรายังไม่ได้อ้างไว้ก่อนเพราะข้อความที่เป็นเหตุยังมีอยู่อีกมากจำนวนไม่จำกัด ➢ จากการสังเกตข้อเท็จจริงจากเหตุหรือสมมุติฐานในเหตุการณ์หรือตัวอย่างที่หามา แล้วนำมาสรุปเป็น การวางนัยทั่วไปอาจจะไม่ใช่ข้อสรุปที่ถูกต้องก็ได้เพราะอาจมีตัวอย่างที่ไม่เป็นไปตามข้อสรุปที่ได้มา ใหม่แน่นอนกว่าทำให้ข้อสรุปนั้นผิดไป ➢ ข้อสรุปที่มาจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการวางนัยทั่วไปซึ่งไม่ได้ให้ความจริงกับเราได้ร้อย เปอร์เซ็นต์ข้อสรุปนี้อาจจะถูกต้องหรือผิดก็ได้และเป็นเพียงข้อสรุปที่มีความจริงว่าจะเป็นสิ่งที่จะ ถูกต้องเท่านั้น 2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธี การให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็น ข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อย ข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบ นิ ร นั ย นั ้ น จะเป็ น ข้อ สรุป ที ่ อ ยู ่ ใ นขอบเขตของเหตุเ ท่ า นั ้ น จะเป็น ข้ อ สรุ ป ที่ ก ว้า งหรื อ เกิ น กว่ า เหตุไ ม่ได้ ประกอบด้วยข้อความ 2 กลุ่มโดยข้อความกลุ่มแรกเป็นข้อความที่เป็นเหตุ เหตุอาจมีหลายๆ เหตุ หลายๆ ข้อความ และข้อความกลุ่มที่สองจะเป็นข้อสรุป ข้อความในกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองจะต้องมีความสัมพันธ์กัน และเป็นกระบวนการที่ยกเอาสิ่งที่รู้ว่าเป็นจริงหรือยอมรับว่าเป็ นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ แล้วใช้เหตุผลตามหลัก

P a g e | 126

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 ตรรกศาสตร์อ้างจากสิ่งที่รู้ว่าเป็นจริงนั้นเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เพิ่มเติมขึ้นมาใหม่ ประกอบด้วยส่วน สำคัญ 2 ส่วน คือ • เหตุหรือสมมติฐาน ซึ่งหมายถึง สิ่งที่เป็นจริงหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ ได้แก่ คำอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์ ทฤษฎีบทที่พิสูจน์ แล้ว กฎหรือสมบัติต่างๆ • ผลหรือผลสรุป ซึ่งหมายถึง ข้อสรุปที่ได้จากเหตุหรือสมมติฐาน ในทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลแบบนิรนัย ประกอบด้วย • คำอนิยาม หมายถึง คำที่เราไม่ให้ความหมายหรือให้ความหมายไม่ได้ แต่เข้าใจความหมาย ได้ โดยอาศั ย การรั บ รู ้ จ ากประสบการณ์ ความคุ ้ น เคย หรื อ สมบั ต ิ ท ี ่ เ ข้ า ใจตรงกั น เช่น กำหนดให้คำว่า จุด เส้น และระนาบ เป็นคำอนิยามในเรขาคณิตแบบยุคลิด • บทนิยาม หมายถึง ข้อความแสดงความหมายหรือคำจำกัดความของคำที่ต้องการ โดย อาศัยคำอนิยาม บทนิยามหรือสมบัติต่างๆที่เคยทราบมาแล้ว เช่น กำหนดบทนิยามว่า รูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส คือ รูปที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน และมีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก • สั จ พจน์ หมายถึ ง ข้ อ ความที ่ เ รายอมรั บ หรื อ ตกลงว่ า เป็ น จริ ง โดยไม่ ต ้ อ ง พิสูจน์ เช่น กำหนดให้ข้อความว่า ระหว่างจุดสองจุดใดๆจะมีส่วนของเส้นตรงเชื่อม เป็น สัจพจน์ในเรขาคณิตแบบยุคลิด • ทฤษฎีบท หมายถึง ข้อความที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงซึ่งในการพิสูจน์อาจใช้บทนิยาม สัจพจน์ หรือทฤษฎีบทอื่นๆที่ได้พิสูจน์ไว้ก่อนแล้ว มาอ้างอิงในการพิสูจน์ ข้อความที่เป็น ทฤษฎีบทควรเป็นข้อความที่สำคัญ มักนำไปอ้างอิงในการพิสูจน์ข้อความอื่นๆหรือนำไปใช้ แก้ปัญหาต่อไป ข้อจำกัด ➢ การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการให้เหตุผลที่มีขนาดใหญ่ซึ่งกำหนด เป็นการวางนัยทั่วไปและมีเหตุรอง เป็นเหตุการณ์เฉพาะเพื่อนำไปสู่ข้อสรุป ดังนั้นเหตุจะเป็นข้อความหรือสมมุติฐานฐานใด ๆ ที่อาจเป็น จริงหรือไม่จริงในชีวิตประจำวันก็ได้ แต่ถ้าข้อความนั้นไม่จริงก็จะทำให้เกิ ดข้อเสียหายแก่ข้อสรุป เนื่องจากเหตุผลแบบนิรนัยจะสรุปผลในขอบเขตของเหตุที่กำหนดไว้เท่านั้น ➢ การให้เหตุผลแบบนิรนัยไม่สามารถสรุปผลตามที่คาดหวังไว้ได้ต้องสรุปให้เป็นไปตามเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้เท่านั้น ดังเช่น เหตุ 1. นกทุกชนิดบินได้ 2. เพนกวิน เป็นนกชนิดหนึ่ง ผลสรุป นกเพนกวินบินได้ ➢ เมื่อเราใช้วิธีการให้เหตุผลแบบนิรนัยเพียงอย่างเดียวจะทำให้วิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าได้อย่างช้า มากหรือไม่ก้าวหน้าเลย เพราะว่าความรู้ทั่วไปที่จะมาเป็นการวางนัยทั่วไปจะใช้เวลาที่ยาวนานมาก เพราะเป็นความรู้ที่ถูกต้องจากผู้รู้ในสมัยก่อนๆ ซึ่ง มีอยู่ไม่มากนักการใช้ความรู้ที่มีอยู่แบบเดิมมาใช้

P a g e | 127

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 โดยไม่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่เพิ่มเติมนั้นจะเป็นผลให้ไม่เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการหรือก้าวหน้า ได้อย่างช้ามาก ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย • เหตุ 1. สัตว์ทุกชนิดต้องตาย 2. มนุษย์เป็นสัตว์ 3. ดำเป็นมนุษย์ ผลสรุป ดำต้องตาย • เหตุ 1. จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว เรียกว่า จำนวนคี่ 2. X เป็นจำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว ผลสรุป x ไม่เป็นจำนวนคี่ • เหตุ 1. เด็กที่ขาดสารไอโอดีน ทุกคนเป็นโรคคอพอก 2. เด็กที่อยู่ในท้องถิ่นที่ห่างไกลจากทะเลทุกคนขาดสารไอโอดีน 3. หมู่บ้าน ก อยู่ห่างไกลจากทะเล 4. เด็กชายต้น อยู่ในหมู่บ้าน ก ผลสรุป เด็กชายต้นเป็นโรคคอพอก • เหตุ 1. รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมที่ฐานมีขนาดเท่ากัน 2 มุม 2. รูปสามเหลี่ยมมุมฉากเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากัน 2 มุม ผลสรุป รูปสามเหลี่ยมมุมฉากเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว Communication and Representation (การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ) การสื่อสาร เป็นกระบวนการถ่ายทอดข่าวสารจากผู้ส่งสาร (source) ไปยังผู้รับสาร (receiver)โดย นำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร (channel) ต่างๆได้แก่ การอ่าน การพูด การฟัง การเขียน การดู และ การ แสดงท่าทาง โอยอาจไม่ใช้สื่อ หรือใช้สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสารหรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ และอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างการนำเสนอและแสดงแทนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ • ความหมายของตัวเลข คืออะไร (สัญลักษณ์แทนจำนวนพิจารณา แค่ความหมายก็กล่าวถึง สัญญะ (sign)) • Mr. Dang has a total of 25 chickens and cows on his farm. How many of each does he have if all together there are 76 feet? (แปลไทย : ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของนายแดง มีแม่ไก่และ วัวรวมกันทั้งหมด 25 ตัว อยากทราบว่าเขามีสัตว์ทั้งสองชนิดอย่างละกี่ตัวหากมีเท้าสัตว์ทั้งหมด รวมกัน 76 เท้า) - การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

P a g e | 128

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 เป็นกระบวนการสื่อสารที่นอกจากนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร การฟัง การพูด การอ่าน การ เขียน การดู และการแสดงท่าทางตามปกติแล้ว ยังเป็นการสื่อสารชนิดพิเศษ โดยมีการใช้สัญลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ สมการ อสมการ ฟังก์ชัน และแบบจำลอง เป็นต้น มาช่วยในการสื่อความหมายด้วย การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ จะมีประสิทธิภาพถ้าการสื่ อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการ นำเสนอนั้นมีจุดมุ่งหมายเนื้อหาแนวคิด ความคิดเห็นหรือกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และรูปแบบของการ สื่อความหมายที่ชัดเจน ตลอดจนครู เพื่อนนักเรียนหรือผู้เกี่ยวข้องมีเจตนาที่จะรับข่าวสารและมีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน - ครูควรให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ดังนี้ 1. การมีส่วนร่วมอย่างกระฉับกระเฉง (active participation) ให้นักเรียนได้มีโอกาสซักถาม นำเสนอ อธิบายแนวคิดของตนเอง หรือเหตุผลของตนเอง รวมถึงได้ลงมือปฏิบัติ 2. มีโอกาสทราบผลการกระทำทันที (immediate feedback)ให้นักเรียนได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง ที่ควรจะได้รับการแก้ไข ภายในคาบเรียนนั้น 3. มีความรู้สึกภาคภูมิใจและประสบการณ์ที่เป็นความสำเร็จ ในที่นี้คือการให้นักเรียนทุกคนในชั้น เรียนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างอิสระ โดยไม่ต้องกลัวผิด 4. มีโอกาสได้รับสารทีละน้อยตามลำดับขั้นตอน (gradual approximation)นักเรียนควรได้รับสาร จากง่ายไปยาก จนเข้าใจเนื้อหา - ตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมการสื่อสารและสื่อความหมาย 1. การสืบสวนสอบสวน 2. การเขียนอนุทิน (writing journal) 3. การเขียนรายงาน 4. การเขียนโปสเตอร์ - กระบวนการสืบสวนสอบสวน เพื่อนำไปสู่ความรู้ใหม่

P a g e | 129

- โจทย์ฝึกการสืบสวนสอบสวนเพื่อการนำเสนอ • เมืองใหญ่ทั่วโลก บนถนนหรือทางเท้าจะมีแผ่นเหล็กหรือแผ่นคอนกรีตเป็นฝาปิดช่องทางหรือบ่อที่ขุด ลึกลงไปใต้ดิน เพื่อดำเนินการซ่อมบำรุงสายไฟฟ้าหรือสายโทรศัพท์ที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายอยู่ใต้ ดิน เรียกช่องทางหรือบ่อนั้นว่า บ่อซ่อมบำรุง (manhole หรือ maintenance hole) ซึ่งมีลักษณะ เป็นทรงกระบอกหรือปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก และเรียกแผ่นโลหะหรือแผ่นคอนกรีตที่ปิดฝานั้นว่า ฝา ปิดบ่อซ่อมบำรุง (manhole cover หรือ maintenance cover) ซึ่งมักมีลักษณะและขนาดใกล้เคียง กับลักษณะและขนาดหน้าตัดของบ่อซ่อมบำรุง ลักษณะของฝาปิดท่อซ่อมบำรุงที่เห็นกันบ่อย ได้แก่ แผ่นวงกลมและแผ่นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก - ตัวอย่างการตั้งคำถาม การสืบหาคำอธิบาย • คำถามว่าฝาปิดท่อซ่อมบำรุงเป็นวัสดุใดแข็งแรงที่สุดเพราะเหตุใด แล้วตอบว่าเป็นหินอุกกาบาต เป็น ต้น ซึ่งจากการค้นหาคำตอบพบว่า เป็นไปไม่ได้ เพราะ ... • ทำฝาปิดท่อซ่อมบำรุง เวลารถขับผ่านแล้วมีเสียงดนตรีได้หรือไม่ - ขั้นตอนของการสะท้อนคิด การสะท้อนคิดที่ Gibbs ได้เสนอไว้ ประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1. การบรรยายที่เกิดจากความรู้สึกที่กำลังเผชิญกับสถานการณ์นั้น ๆ 2. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน โดยการสะท้อนการคิดจากการสังเกต ความรู้สึก และการ รับรู้ 3. การประเมินวิเคราะห์ประสบการณ์ร่วมกันว่าเป็นไปในทางดีหรือไม่ดี 4. ร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์โดยภาพรวม

P a g e | 130

ตัวตัอย่วอย่ างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิ างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ตศาสตร์เพืเพื ่อการจั ่อการจั ดการเรี ดการเรี ยนรูยนรู ้ 262-203 ้ 262-203 5. สรุปแนวคิดและวิธีแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยใช้เหตุผลประกอบ 6. การวางแผนเพื่อนำไปใช้ Connection in Mathematics (การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์) เป็นทักษะ/กระบวนการที่ครูควรจัดให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เพราะ การที่นักเรียนเห็นการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ จะส่งเสริมให้นักเรียนเห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาต่างๆทาง คณิตศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ได้ลึกซึ้งและยาวนานขึ้น ตลอดจนช่วยให้นักเรียนเห็นว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีคุณค่า น่าสนใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ ความหมายของทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ - อัมพร ม้าคนอง - ความสามารถของผู้เรียนในการสัมพันธ์ความรู้หรือปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ เรียนมาเข้ากับความรู้ ปัญหา หรือสถานการณ์ อื่นๆ ที่ตนพบ - ตวงพร พุ่มเสนาะ - กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่นําความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ที่มีอยู่เดิม และประสบการณ์ที่มีมาผสมผสานหรือมาสัมพันธ์กันทําให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ลักษณะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน (อัมพร ม้าคนอง) การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ที่นิยมใช้ในห้องเรียนมี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. การเชื่อมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับคณิตศาสตร์ เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ องค์ความรู้ หรือ กระบวนการภายในคณิตศาสตร์ 2. การเชื่อมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ เป็นการเชื่อมโยงความรู้ หรือกระบวนการทาง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อนื่ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกันและ 3. การเชื่อมโยงระหวางคณิตศาสตร์กับชีวิตประจําวัน เป็นการเชื่อมโยงความรู้หรือกระบวนการทาง คณิตศาสตร์กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงใน ชีวิตประจําวัน แนวคิด Evitts 1. การเชื ่ อ มโยงเชิ ง โมเดล (modeling connections) เป็ น สิ ่ ง ที ่ เ ชื ่ อ มต่ อ ระหว่ า งโลกของ คณิตศาสตร์และโลกของความเป็นจริงของนักเรียน 2. การเชื่อมโยงเชิงโครงสร้าง(structural connections) คือ การอาศัยดูโครงสร้างที่เหมือนกัน จากแนวคิดทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกันระหว่าง สองแนวคิดจากการวางลำดับของเนื้อหา 3. การเชื ่ อ มโยงทางการแสดงแทน (representational connections) หมายถึ ง การแสดง ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ที่แทนความเข้าใจของนักเรียนซึ่งแสดงในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟ แผนภูมิ จำนวน สัญลักษณ์รูปภาพ และภาษาพูด

P a g e | 131

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 4. การเชื่อมโยงเกี่ยวกับขั้นตอนและความคิดรวบยอด (procedure- concept connections) คือ ความสัมพันธ์ของความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด และที่เป็นขั้นตอน ซึ่งแต่ละคนสามารถอธิบายหรือลงมือ กระทำ เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักการ สูตร การรับรู้ เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 5. การเชื่อมโยงระหว่างสาระของคณิตศาสตร์ (connection between strands of mathematics) เป็นการมองจากสถานการณ์ปัญหา แล้ววิเคราะห์จาก สถานการณ์ปัญหาเพื่อสามารถอ้างอิงสิ่งที่ทำ ไปยัง เนื้อหาคณิตศาสตร์ Mathematical Creativity (ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์) เป็นทักษะและกระบวนการที่นักเรียนควรได้เรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ครูควร จัดเวลาและโอกาสนให้นักเรียนได้มีโอกาสคิด อันเป็นพื้นฐานในการสร้างความคิดสร้างสรรค์ หากไม่มีเวลาให้ คิด คำว่าความคิดสร้างสรรค์จะไม่บังเกิด ครูต้องคอยรับฟังแนวคิดที่แตกต่างของผู้เรียน ไม่ปิดกั้นแนวคิดที่ แตกต่าง ความหมายของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามารถที่จะประมวล ข้อมูลผ่านทักษะการคิด เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผลใน แนวทางใหม่ๆ อย่างหลากหลายไม่มีที่สิ้นสุด เป็นกระบวนการคิดที่อาศัยความรู้พื้นฐาน จินตนาการ และ วิจารณญาณ ในการพัฒนาหรือคิดค้นองค์ความรู้หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานที่สูงกว่าความคิดพื้นๆ เพียงเล็กน้อย ไปจนกระทั่งเป็นความคิดที่อยู่ในระดับสูงมาก บางครั้งมากจนไร้ขอบเขตจำกัด คนอื่นคิดไปไม่ถึง จนมองดู เหมือนว่าเป็นการเพ้อฝัน ระดับของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ร ะดับ พื้น ฐาน เป็น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นกับ ผู้คนเกือบ ตลอดเวลาเมื่อต้องการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือแก้ปัญหาที่ใช้วิธีการไม่ยุ่งยาก เช่น การเดินป่าหรือเดิน ทางไกลในสมัยก่อนที่ยังไม่มีความสะดวกในการเดินทาง การเตรียมข้าวปลาอาหารไม่อาจนำภาชนะถ้วยชาม ไปได้ ชาวบ้านจึงมีการหุงข้าวโดยใช้กระบอกไม้ไผ่แทนหม้อข้าวซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นข้าวหลาม แต่ผลของ การแก้ปัญหานั้นเมื่อพัฒนาต่อยอด จะได้นวัตกรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ระดับสูง เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่ส่งผลกระทบหรือก่อประโยชน์ที่ กว้างขวางต่อมวลมนุษย์ เช่น การคิดสร้างเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ระดับสูงในทางคณิตศาสตร์ ผลงานของนักคณิตศาสตร์ที่เป็นผู้ให้กำเนิด วิชาการบางแขนงทางคณิตศาสตร์ เช่น วิชาแคลคูลัส ซึ่งเป็นวิชาหนึ่งที่มีประโยชน์อย่างมากในการศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทฤษฎีกราฟที่มีประโยชน์ในการวางผังงานจัดระบบการขนส่งหรือลอจิสติกส์

องค์ประกอบที่สำคัญที่นำไปสู่ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1. ความคิดคล่อง (fluency) หมายถึง ความสามารถในการคิดเพื่อให้ได้คำตอบจำนวนมากที่ แตกต่างกันหรือหลากหลายวิธี (ในเวลาจำกัด)

P a g e | 132

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 2. ความคิดยืดหยุ่น (flexibility) ความสามารถในการคิดปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ คิด ออกมาหลายประเภท หลายชนิด คิดแล้วเลือก / นำไปใช้ให้ตรงกับสถานการณ์หรือเงื่อนไขที่กำหนด 3. ความคิดริเริ่ม (originality) ความสามารถในการคิดเพื่อให้ได้ความคิดที่มีลักษณะแปลกใหม่ แตกต่าง(ไม่เหมือนใคร) จากความคิดพื้นๆ เป็นความคิดที่เกิดขึ้นครั้งแรกที่แตกต่างจากความคิดพื้นๆ ที่มีอยู่ เดิม และอาจไม่เคยมีใครนึกหรือคิดมาก่อน อาจคิดต่อจากของเดิมแล้วออกมาไม่เหมือนใคร ผู้ที่มีความคิด ริเริ่มจะต้องมีความกล้าคิดนอกกรอบ กล้าลองเพื่อทดสอบความคิดของตน และบ่อยครั้งที่ต้องอาศัยความคิด จินตนาการในการประยุกต์ 4. ความคิดละเอียดลออ (elaboration) ความสามารถในการคิดเพื่อให้ได้ความคิดที่มีรายละเอียด อย่างลุ่มลึกหลายแง่มุมของแต่ละคำตอบของปัญหาจนกระทั่งสามารถสร้างผลงานหรือชิ้นงานขึ้นมาได้สำเร็จ สามารถอธิบายรายละเอียดวิธีคิดและการคิดในขั้นตอนต่าง ๆ ได้ ขยายแนวคิดเดิมให้ละเอียดขึ้น แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีทักษะ/กระบวนการคณิตศาสตร์ สิ่งที่ครูต้องเตรียม และเข้าใจเป็นเบื้องตน เพื่อเตรียมการจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ 1. ต้องเข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ทางด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อย่างถ่องแท้ 2. ตีความมาตรฐานเหล่านั้น ออกมาเป็น กิจกรรมการเรียนการสอนที่มีทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ ที่สอดคล้องกับ วัย พื้นความรู้เดิม และสิ่งแวดล้อมต่างๆ 3. การประเมินผลที่คำนึงถึงทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้วย แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีทักษะ/กระบวนการคณิตศาสตร์ พิจารณาใน 3 ส่วนของการสอนคือ 1. การเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอน 2. การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน 3. การประเมินผล กิจกรรมการเรียนการสอน (problem solving classroom) กิจกรรมการเรียนการสอนผ่านการแก้ปัญหา ลักษณะที่ดีของปัญหาที่ส่งเสริมทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 1. ปัญหาดึงดูดความสนใจและท้าทายความสามารถของนักเรียน ไม่ง่ายหรือยากเกินไป 2. ปัญหาแปลกใหม่และปัญหาที่ไม่คุ้นเคย ครูอาจปรับเปลี่ยนแง่มุมให้ต่างจากเดิม 3. ปัญหาที่มีสถานการณ์ทั้งในคณิตศาสตร์และในบริบทอื่น 4. ปัญหาในสถานการณ์จริง 5.ปัญหาที่ส่งเสริมกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 6.ปัญหาที่ใช้ยุทธวิธีการแก้ปัญหาได้มากกว่าหนึ่งยุทธวิธี 7.ปัญหาที่ส่งเสริมการสำรวจ สืบสวน สร้างข้อความคาดการณ์ อธิบาย และตัดสินข้อสรุปใน กรณีทั่วไป ข้อควรคำนึงเพิ่มเติม 1. ครูควรตระหนักว่า การพัฒนาทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เป็นเรื่องที่ต้องฝึกให้นักเรียนคิด และลงมอปฏิบัติจนเกิดเป็นความสามารถและความชำนาญตามวัยและระดับพัฒนาการของนักเรียน

P a g e | 133

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 2. ครูควรให้นักเรียนพัฒนาทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 3. ครูควรวิเคราะห์และวางแผนว่าสถานการณ์ปัญหาหรือกิจกรรมนั้น ในแต่ละขั้นตอนจะให้นั กเรียนใช้ ความรู้อะไร ใช้อย่างไร และพัฒนาทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ใดบ้าง การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ หรือการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม 2. ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 3. ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิด อธิบายในสิ่งที่ตนคิดและนำเสนออย่างอิสระ 4. ครูควรยอมรับความคิดเห็นของนักเรียนไม่ว่าจะถูกหรือผิด 5. สนับสนุนให้นักเรียนเริ่มต้นคิดหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเองก่อน 6. สนับสนุนให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติแก้ปัญหาตามขั้นตอนและกระบวนการแก้ปัญหา 7. สนับสนุนให้นักเรียนใช้ยุทธวิธีแก้ปัญหามากกว่าหนึ่งยุทธวิธี 8. ครูควรสนับสนุนให้นักเรียนสำรวจ สืบสวน สร้างข้อความคาดการณ์ อธิบายและตัดสินข้อสรุป กรณ๊ทั่วไปของตนเอง 9. สนับสนุนให้นักเรียนใช้ช่องทางการสื่อสารได้มากกว่าหนึ่งช่องทาง ในการนำเสนอยุทธวิธีและ กระบวนการแก้ปัญหา 10. สนับสนุนให้นักเรียนลงมอปฏิบัติแก้ปัญหาทั้งในคณิตศาสตร์และบริบทอื่น 11. สนับสนุนให้นักเรียนสร้างปัญหาทางคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 12. สนับสนุนให้นักเรียนรับรู้กระบวนการคิดของตนเอง 13. ครูควรเปิดอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับยุทธวิธีในการแก้ปัญหา การประเมินผล เพื่อให้การประเมินมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ครูจะต้อ ง บูรณาการการประเมินผลความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์และการประเมินทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยยึดหลักการดังนี้ 1. การประเมินต้องมีวัตถุประสงค์ของการประเมินผลที่ชัดเจน 1.1 ประเมินเพื่อวินิจฉัยจุดเด่นจุดด้อยของนักเรียน 1.2 ประเมินเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน 1.3 ประเมินเพื่อตัดสินหรือสรุปผลการเรียนการสอน 1.4 ประเมินเพื่อจัดประเภท 1.5 ประเมินเพื่อพยากรณ์ 2. การประเมินผลต้องทำอย่างต่อเนื่องและควบคู่ไปกับการเรียนการสอน มีการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 3. ต้องเลือกใช้เครื่องมือและวิธีการวัดที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียน รอบด้าน 4. ต้องมีข้อสอบที่มีลักษณะคำถามแบบเจาะลึกแนวคิด ยุทธวิธีและกระบวนการแก้ปัญหาของ นักเรียน 5. ต้องใช้การสังเกตและการใช้คำถามควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน

P a g e | 134

ตัวอย่างเอกสารประกอบกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ 262-203 6. ต้องส่งเสริมให้นักเรียนเขียนอนุทินเพื่อสะท้อนกระบวนการคิดของตนเอง 7. ต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่เป็นระบบและชัดเจน ตัวย่างโจทย์เพื่อการเรียนรู้กระบวนการทางคณิตศาสตร์(เพิ่มเติม) จงแสดงยุทธวิธีและวิธีการในการหาคำตอบ ในโจทย์ปัญหาต่อไปนี้

1. จงหาผลบวกของจำนวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง 100 2. ในร้านขายของชำแห่งหนึ่งมีขนมราคาแตกต่างกันอยู่ 3 ชนิด ชนิดที่หนึ่งราคาชิ้นละ 2 บาท ชนิดที่สองและสามราคาชิ้นละ 5 บาทและ 10 บาทตามลำดับ วันหนึ่งมีแม่และลูก ชายคู่ หนึ่งเข้ามาซื้อของในร้านแห่งนี้ ลูกชายเห็นขนมและอยากได้ จึงร้องขอให้แม่ซื้อให้ แม่อนุญาต และบอกให้ลูกชายเลือกหยิบขนมเองตามใจชอบมา 3 ชิ้น อยากทราบว่าแม่ จะต้องจ่ายเงิน เป็นค่าขนมให้ลูกชายเป็นจำนวนเงินเท่าไรบ้าง

3. แพะตัวหนึ่ง เจ้าของใช้เชือกผูกติดไว้ที่โคนเสาของโรงนาซึ่งมีหญ้าอ่อนเขียวขจีอยู่รอบๆ โรงนา ถ้าเชือกที่ผูกแพะนั้นมีความยาว 15 เมตร บริเวณพื้นโรงนามีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 6 เมตร และยาว 9 เมตร อยากทราบว่าบริเวณนั้นแพะสามารถ กินหญ้าได้ มากที่สุดนั้นมีพื้นที่เป็นเท่าไร

4. ครอบครัวมีสุขและครอบครัวสุขล้นเป็นเพื่อนบ้านกัน สนามหญ้าหน้าบ้านของแต่ละ ครอบครัวมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวโดยรอบ 24 เมตรเท่ากัน ถ้าพื้นที่ ของสนามหญ้า ของทั้งสองครอบครัว ต่างกันอยู่ 8 ตารางเมตร ความกว้างและความยาว ของสนามหญ้าทั้งสองครอบครัวรวมกันเป็นเท่าไร

5. สมพงษ์ซื้อขนมปังสองชนิดเพื่อมาขายในงานโรงเรียน เขาตั้งราคาขายขนมปังชนิดแรกใน ราคาชิ้นละ 10 บาท และชนิดที่สองในราคาชิ้นละ 15 บาทถ้าเขาขายขนมปังชนิดแรกไป จำนวนหนึ่ง ขายชนิดที่สองไปอีกเป็นจำนวนครึ่งหนึ่งของจำนวนขนมปังชนิดแรก และได้ เงินรวม 875 บาท จงหาว่าเขาขายขนมปัง แต่ละชนิดไปอย่างละกี่ชิ้น (กรณีนี้นักเรียนไม่มี ความรู้ พื้นฐานเรื่องสมการเพียงพอ) -----------------------------------------

P a g e | 135

พันธกิจการบริการวิชาการเพื่อสังคม ของ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ท่านอาจารย์ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ และน้องๆเครือข่ายจากมหาวิทยาลัยต่างๆ อบรม Lesson Study และ Open Approach ตุลาคม 2559 จ.ปัตตานี

งาน WALS (World of Lesson Study) ปี 2015 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

รศ.ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (โบว์สีแดง) ครูผู้เป็นแรงบันดาลใจ ในการใช้นวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด (การ ประชุมวิชาการคณิตศาสตรศึกษาครั้งที่ 6 ณ ม.อ.ปัตตานี 15-17 ก.พ. 63)

P a g e | 136

กิจกรรมการบริการวิชาการ 1. การอบรมให้ความรู้การใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) และสังเกตชั้นเรียน แก่โรงเรียนบ้านปาลอบาต๊ะ จังหวัดนราธิวาส วันที่ 15 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

P a g e | 137

2. การอบรมทบทวนการใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ให้แก่โรงเรียนบ้านบาละ จังหวัดยะลา วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2563

P a g e | 138

3. การให้ความรู้การเขียนแผนบูรณาการให้แก่โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง จังหวัดปัตตานี ณ ห้อง 10305 คณะศึกษาศาสตร์ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2563

P a g e | 139

4. การนิเทศชั้นเรียนที่สอนโดยใช้การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) แก่โรงเรียนบ้านกะรุบี โรงเรียนบ้านโตะบาลา โรงเรียนบ้านตือเบาะ จังหวัดปัตตานี โรงเรียนบ้านกะรุบี วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563

P a g e | 140

สังเกตชั้นเรียนและสะท้อนผล โรงเรียนบ้านกะรุบี วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2563

P a g e | 141

5. การนิเทศชั้นเรียนและอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ตามแนวทางวิธีสอนแบบ เปิดให้แก่โรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรณวิทย์ จังหวัดปัตตานี วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 142

วันที่ 28 ตุลาคม 2563 นำนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สังเกตการทำงานจริงในโรงเรียน

P a g e | 143

P a g e | 144

วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2563 ให้ความรู้เนื้อหาในหนังสือเรียนญี่ปุ่นแก้ครูโรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรณวิทย์ ณ ห้อง 10305 คณะศึกษาศาสตร์

สังเกตชั้นเรียน โรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรณ วิทย์ วันที่ 29 มกราคม 2563

P a g e | 145

สังเกตชั้นเรียน โรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรณวิทย์ วันที่ 29 มกราคม 2563

P a g e | 146

6. การนิเทศชั้นเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ให้กับโรงเรียนต่างๆในภาคใต้ ทั้งรัฐและเอกชน โรงเรียนซอลีฮียะห์ วันที่ 13 ธันวาคม 2563 (เอกชน) อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี

นิเทศชั้นเรียนโรงเรียนศรีทักษิณ ชั้น ป. 1 วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563 จ.นราธิวาส (เอกชน)

P a g e | 147

โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563 อ.หนองจิกจ.ปัตตานี (โรงเรียนขยายโอกาส)

P a g e | 148

7. การร่วมพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (อบจ.)

P a g e | 149

8. โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนการจัดการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้น เรียน Lesson Study และวิธีการแบบเปิด Open Approach ให้กับโรงเรียนในสังกัด องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดปัตตานี จำนวน 2 โรงเรียน ทางออนไลน์ ผ่านระบบซูม ในวันที่ 10 เมษายน 2563

P a g e | 150

10. ร่วมการเปิดชั้นเรียน Lesson Study และวิธีการแบบเปิด Open Approach ของโรงเรียนในสังกัด อบจ.ปัตตานี โรงเรียนบ้านตะบิงตีงี อ.มายอ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 151

สังเกตชั้นเรียน โรงเรียนบ้านตะบิงตีงี

P a g e | 152

11. ร่วมการเปิดชั้นเรียน Lesson Study และวิธีการแบบเปิด Open Approach ของโรงเรียนในสังกัด อบจ.ปัตตานี โรงเรียนบ้านเขาตูม วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 153

สังเกตชั้นเรียน โรงเรียนบ้านเขาตูม วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2563

โรงเรียนบ้านเขาตูม

P a g e | 154

12. นำนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาศิลปศึกษา เข้าศึกษาเรียนรู้ความเป็นครู งานครูและวิชาชีพครู ในสถานที่จริง ณ โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง โรงเรียนที่จัดว่าเป็นต้นแบบในหลายๆด้านและเป็นโรงเรียน ที่มีนวัตกรรมการสอนด้วยวิธีการแบบเปิด (open approach) โรงเรียนที่มีระบบการพัฒนา

กระบวนการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ (whole school approach) ด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (lesson study) วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 155

P a g e | 156

13. ร่วมประชุมรับฟังผลการดำเนินงาน ภาพความสำเร็จ ผลสะท้อนจากการวิจัย ติดตาม ประเมินผล การ ยกระดับคุณภาพโรงเรียน ลดความเหลื่อมล้ำ: ก้าวต่อไปอย่างต่อเนื่อง ของ กสศ. วันที่ 26 – 27 กันยายน พ.ศ.2563

P a g e | 157

14. การเปิดชั้นเรียนภายใต้การสนับสนุนของ กสศ. โครงการพัฒนาครูและโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ดำเนินงานโดยหน่วยพัฒนาของมหาวิทยาลัยขอนแก่นและสถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูสำหรับ อาเซียน โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2563

P a g e | 158

15. เข้าร่วมการประชุมกับ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เรื่อง ยกระดับคุณภาพ โรงเรียน ลดความเหลื่อมล้ำ” ของภาคใต้ วันที่ 17-18 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 159

16. นำนักศึกษาปี 1 กับการเข้าโรงเรียนครั้งแรก สังเกตชั้นเรียนที่โรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรณวิทย์ จัด Live Classroom ให้นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ได้สังเกตรวมทั้งสะท้อนผลการเรียนรู้ครั้งแรก. วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2563

P a g e | 160

17. ร่วมกิจกรรมเปิดชั้นเรียนที่โรงเรียนสังกัด อบจ. ปัตตานี โรงเรียนบ้านตะบิงตีงี อ.มายอ จ.ปัตตานี ใน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563

P a g e | 161

18. จัดการประชุมวิชาการระดับชาติด้านคณิตศาสตรศึกษา ครั้งที่ 6 คณิตศาสตร์ระดับโรงเรียนแนวใหม่ ใน Digital Era New School Mathematics in Digital Era วันที่ 15 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563

P a g e | 162

กิจกรรม ณ โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี วันศุกร์ที่ 25 ธันวาคม 2563 อาจารย์ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้เข้า ร่วมการประชุมผู้ปกครองนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 และแนะนำการเขียนแผนบูรณาการสาระวิชาต่างๆในแต่ละช่วง ชั้น อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเองกับคุณครู ก่อนที่จะมีการอบรมวิธีการสอนแบบเปิดให้กับคุณครูทั้งโรงเรียนทุก กลุ่มสาระต่อไป การที่โรงเรียนบ้านคอลอตันหยงได้ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด ให้กับบุตร หลานของผู้ปกครองนั้น ทำให้นักเรียนเรียนอย่างสนุกสนานและมีความสุข อยากมาโรงเรียนทุกวัน โดยเฉพาะ วันศุกร์ และวันพุธซึ่งมีกิจกรรมบูรณาการกลุ่มสาระวิชาต่างๆเข้าด้วยกัน ทำให้นักเรียนมีความสุขในการมา เรียนและได้ความรู้ตามที่ตนสนใจตามความถนัด กล่าวคือ ในทุกวันศุกร์เป็นวันจัดกิจกรรม Friday Free Day สำหรับน้องอนุบาล วันพุธเป็นกิจกรรม Fun Day Free Day สำหรับช่วงชั้นที่ 1 และ 2 ภาพบรรยากาศการประชุมผู้ปกครอง ช่วงชั้นที่ 1 โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อ.หนองจิก จ. ปัตตานี

P a g e | 163

ภาพบรรยากาศกิจกรรม Friday Free Day (วันศุกร์ที่ 25 ธันวาคม 2563) สำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย

ผลงานนักเรียนวันนี้ จากกิจกรรมเรื่อง พระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง

P a g e | 164

บรรยากาศ การแนะนำ

การเขียนแผนบูรณาการในแต่ละช่วงชั้นให้กับหัวหน้าและตัวแทนแต่ละช่วงชั้น โดยการจัดทำเป็นแผนหน้าเดียว คล้ายกับแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิดที่ใช้อยู่ปกติ บรรยากาศ เป็นไปอย่างเป็นกันเอง คุณครูไม่เครียด และซักถามได้ตลอดเวลา โดยมีผู้อำนวยการคอยสังเกตอย่างใกล้ชิด

ในการนี้ โค้ชพูดคุยกับคุณครูจนถึงเวลาเลิกเรียน จึงได้เข้าร่วมกิจกรรมปล่อยแถวนักเรียนกลับบ้านในตอนเย็น พร้อมกับคุณครูที่โรงเรียน

P a g e | 165

ภาระงานบริการวิชาการและการเข้าร่วมประชุมวิชาการ อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล และนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์จัดค่าย PSU Smart Kids คณิตแคมป์ ร่วมกับสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา

P a g e | 166

เป็นวิทยากรให้ความรู้การพัฒนา หลักสูตรโรงเรียนวรพัฒน์ วันที่ 30 เมษายน 2564 ทางออนไลน์

เป็นวิทยากรวิพากษ์งานวิจัยในโครงการ สร้างนักวิจัยใหม่ ในฐานะกรรมการ ศูนย์วิจัยพัฒนศึกษาศาสตร์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2564

P a g e | 167

เป็นวิทยากรสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ให้กับโรงเรียนอิบนูอัฟฟานบูรวิทย์ วันที่ 23 มีนาคม 2564

ร่วมประชุมและเยี่ยมเยี่ยนโรง เรียนบ้านเขาตูม ในฐานะ กรรมการศึกษาขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 ช่วงบ่าย

P a g e | 168

เข้าร่วมการประชุมวิชาการด้านคณิตศาสตรศึกษาครั้งที่ 7 (TSMEd 7) วันที่ 26-27 มีนาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

P a g e | 169

ลงพื้นที่โรงเรียนบ้านตะบิงตีงี 25 กุมภาพันธ์ที่ 2564 ร่วมกับกรรมการการศึกษาขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดปัตตานี สำรวจ รับทราบข้อมูลของโรงเรียนในทุกมิติ เพื่อนำมาเป็นองค์ประกอบในการ พัฒนาโรงเรียนต่อไป โดยเฉพาะมิติการเรียนรู้ของนักเรียน ตะบิง=ตลิ่ง ตีงี=สูงหรือที่สูง โรงเรียนบ้านตะบิงตีงี=โรงเรียนบ้านตลิ่งสูง

*********************************************

P a g e | 170 แบบฟอร์ม ข: ข้อมูลสนับสนุนการเสนอชื่ออาจารย์ตัวอย่างด้านการเรียน การสอน ข .2. ข้อมูลการพัฒนาอาจารย์ และผลงานทางวิชาการ การพัฒนาสื่อการสอน วิธีการและกระบวนจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และการพัฒนาผู้เรียน ในเรื่องของการอุทิศตนและการเป็นผู้นำทางวิชาการนั้น ดิฉันเป็นเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสอน ด้ ว ยวิ ธ ี ก ารแบบเปิ ด (Open Approach) ในรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ร ะดั บ ประถมศึ ก ษา ซึ ่ ง เป็ น ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาจากกการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตรศึกษาที่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีที่ปรึกษาคือ ท่านรองศาสตราจารย์ ดร. ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ อดีตคณบดีคณะ ศึกษาศาสตร์ ปัจจุบันเป็นรองอธิการบดีฝ่ายจัดการศึกษาและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งท่านเป็น ผู้นำความรู้นี้เข้ามาปรับใช้ในประเทศไทย ดิฉันเป็นลูกศิษย์ จึงนำความรู้นี้มาปรับใช้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นวิธีการสอนคณิตศาสตร์รูปแบบใหม่ ใช้ ความรู้และแนวทางการสอนจาก หนังสือเรียนญี่ปุ่น ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 เป็นหลัก ตามรูป รวมทั้งการพัฒนาครูด้วยกระบวนการศึกษาชั้ น เรียน (Lesson Study) ที่มีขั้นตอนกระบวนการให้ครูทำงานร่วมกัน ร่วมกันสร้างแผนการสอน ร่วมกันสังเกตชั้น เรียน ร่วมกันสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอน และร่วมกันเฉลิมฉลองความสำเร็จที่ทำมาด้วยกัน ตามบทความ และภาพที่จะแสดงให้เห็นต่อไปนี้ รวมถึงการที่ดิฉันได้เป็นเจ้ าภาพจัดการประชุมวิชาการด้านคณิตศาสตรศึกษา ครั้งที่ 6 ที่จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 15-17 กุมภาพันธ์ 2563 ช่วงที่กำลังมีโควิดระบาดมาถึงภาคใต้ ก่อนที่จะมีการ ประกาศปิดประเทศในสองสัปดาห์ต่อมา และการเป็นสมาชิกสมาคมคณิตศาสตรศึกษา เข้าร่วมเป็นทีมงานจัด ประชุมวิชาการคณิตศาสตรศึกษา ทุกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 1 ถึงครั้งที่ 8 ที่ผ่านมาที่จัดที่จังหวัดลำปาง เรียกได้ว่าเป็น หนึ่งในกลุ่มคนของประเทศที่สร้างความเคลื่อนไหวด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์อย่างจริงจัง ร่วมกับสมาคม คณิตศาสตรศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนาพัฒนาวิชาชีพครูแห่งอาเซียน และหน่วยงานภาคีเครือข่ายอีกหลาย หน่วยงาน ซึ่งมีการทำงานร่วมกับหน่วยงานหลักคือสมาคมคณิตศาสตรศึกษา และศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นนั่นเอง ดังรายงานและภาพประกอบคร่าวๆต่อไปนี้ ภาพแรกของการทำงานด้านการพัฒนาชั้นเรียนคณิตศาสตร์ด้วยการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และ วิธีการแบบเปิด (Open Approach) เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2558 เป็นการร่วมมือกับวิทยาเขตปัตตานีโดยท่านรอง อธิการบดีวิทยาเขตปัต ตานี (รศ.อิ่มจิต เลิศพงษ์ส มบัติ ) และท่านที่ปรึกษารอง อธิการบดีวิทยาเขตปัต ตานี ในสมัยนั้น (ผศ.สมปอง ทอง ผ่อง) และอดีตรองอธิการบดี ฝ่ายแผนงาน (ผศ.ดร.นพพร เหรียญทอง) ได้มีความเห็นชอบที่จะให้ อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ทดลองใช้ หนังสือเรียนญี่ปุ่นกับโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดปัตตานี ในภาพคือการไปแนะนำการเริ่มต้นทำทาง

P a g e | 171 โรงเรียนทราบความประสงค์ที่จะใช้วิธีการแบบเปิดในโรงเรียน และภาพต่อมาคือการที่ท่าน ศาสตรจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน ผู้ซึ่งรู้จักกับอาจารย์ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ ได้มาประชุมร่วมกับทีมโรงเรียนสาธิตอิสลามศึกษา ให้ใช้ วิธีการแบบเปิดในโรงเรียนสาธิตอิสลามด้วย (ประชุมเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2558)

ต่อไปเป็นบทความที่กำลังดำเนินการจัดทำเป็น Book chapter ของคณะศึกษาศาสตร์ ผ่านการตรวจสอบตาม ระบบของงานวิชาการเรียบร้อย อยู่ในระหว่างการดำเนินการจัดพิมพ์เป็นหนังสือของทางคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งมี ลิงค์ผลงานการพัฒนาโรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อ.หนองจิก ปัตตานี ในนั้นด้วย

P a g e | 172 วิธีการแบบเปิดและการศึกษาชั้นเรียนในบริบท 3 จังหวัดชายแดนใต้ Open Approach and Lesson Study in 3 southern borders provinces รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล คณะศึกษาศาสตร์ ม.อ. ปัตตานี บทคัดย่อ โครงสร้างของงานเขียนชิ้นนี้แบ่งเป็นสองส่วน โดยส่วนแรกมุ่งเน้นนำเสนอความหมายของนวัตกรรม วิธีการแบบเปิด (Open Approach) และการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) จากต้นกำเนิดของทั้งสองนวัตกรรม ในประเทศไทยโดย รองศาสตราจารย์ ดร. ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ รองอธิการบดีฝ่า ยการศึกษาและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้นำนวัตกรรมนี้มาจากประเทศญี่ปุ่น และการให้ความหมายจากภาคปฏิบัติของผู้เขียนที่มี ประสบการณ์การใช้นวัตกรรมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้มาตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษา 2559 จวบจนปัจจุบัน รวมระยะเวลา 4 ปีแห่งความท้าทายการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยที่ปฏิบัติหน้าที่สอนและบริการ วิชาการโดยใช้ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกมาใช้พัฒนาท้องถิ่นที่ตนทำงานอย่างต่อเนื่อง ส่วนที่สองเป็นการฉายภาพความสำเร็จของการนำนวัตกรรมนี้ไปใช้พลิกฟื้นโรงเรียนให้ก้าวหน้าไปจากเดิม อย่างมาก นำเสนอตัวอย่างพร้อมภาพการปฏิบัติจริงในโรงเรียนตัวอย่างในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ให้รายละเอียดการ ดำเนินการแต่ละขั้นของวิธีการสอนด้วยวิธีการแบบเปิด และการดำเนินการการศึกษาชั้นเรียน พร้อมยกตัวอย่าง ผลที่เกิดจากการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการดำเนินงานร่วมกันของทีมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study Team) ที่เข้มแข็งของทางโรงเรียน และได้แนบลิงค์วีดิทัศน์สำหรับผู้ส นใจศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การ ดำเนินการด้านการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดในจังหวัดปัตตานีที่ดำเนินการโดยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีผู้เขียนเป็นหัวหอกในการดำเนินการพัฒนา เพื่อยืนยันผลการดำเนินการตาม หลักการของนวัตกรรมที่สามารถเห็นได้อย่างชัดแจ้งและเรียนรู้ได้ตลอดเวลา

P a g e | 173 วิธีการแบบเปิดและการศึกษาชั้นเรียนในบริบท 3 จังหวัดชายแดนใต้ การเริ่มต้นของแนวทางการสอนที่เรียกว่า “วิธีการแบบเปิด” หรือ ภาษาอังกฤษใช้ว่า Open Approach และ คำว่า “การศึกษาชั้นเรียน” ที่ใช้ตามคำว่า Lesson Study ซึ่งหากแปลตามคำภาษาอังกฤษแล้วอาจไม่ตรง ตามความหมาย แต่คำนี้มีที่มาและประวัติที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยเป็นอย่างมาก ผู้เขียนเรียบเรียงความเป็นมาตามลำดับโดยย่อดังต่อไปนี้ การเริ่มต้นของวิธีการแบบเปิดมีจุดเริ่มต้นมาจากความพยายามของประเทศญี่ปุ่นที่จะสอนและประเมิน การคิดทางคณิตศาสตร์ (Mathematical thinking) ซึ่งปรากฏในหลักสูตรการเรียนการสอนของประเทศญี่ปุ่นในปี 1957 (Ueda, 2013 อ้างถึงใน ไมตรี อินประสิทธิ์, 2557) นั่นคือครั้งแรกของจุดกำเนิดของOpen Approach โดย ประเทศญี่ปุ่นใช้ความพยายามอยู่มากกว่า 10 ปี เพื่อค้นหาวิธีการที่จะสอนการคิดทางคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน จน ในที่สุดทศวรรษที่ 1970 ประเทศญี่ปุ่นได้สร้างการสอนการคิดทางคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการที่เน้นให้นักเรียนเผชิญ กั บ ปั ญ หาแบบปลายเปิ ด ซึ ่ ง วิ ธ ี ก ารสอนดั ง กล่ า วรู ้ จ ั ก กั น ในนามของวิ ธ ี ก ารแบบปลายเปิ ด ( Open-ended approach) (Shimada & Becker,1977) โดยการเปิดนั้นหมายถึงสิ่งสำคัญในชั้นเรียนดังต่อไปนี้ (Nohda, 1984) 1. การเปิดใจของนักเรียนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ (Open Up the Hearts of Students toward Mathematics) กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดทั้งมวลของผู้เรียนควรเป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนมีเครื่องมือที่จะเปิดทางไปสู่การ เรียนรู้ในอนาคตและสร้างความสามารถให้ผู้เรียนได้มีคุณสมบัติจำเป็นที่จะทำให้พวกเขาประสบผลสำเร็จ ซึ่งไม่ จำเป็นที่จะเป็นบริบทวิชาคณิตศาสตร์เสมอไป ในขณะเดียวกันในส่วนบทบาทของโรงเรียน ควรพิจารณาว่าจะทำ อย่างไรเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนแต่ละคนค้นหาแนวทางการใช้ชีวิตสำหรับตนเองaทำอย่างไรที่จะสร้างความเชื่อมั่น ได้ว่ากิจกรรมทางการศึกษาทุกชนิดสามารถเป็นสภาพแวดล้อมที่ดีที่สุดสำหรับการเรียนรู้และเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างสูงสุดเต็มตามศักยภาพ เมื่อกล่าวถึงการสอนคณิตศาสตร์โดยทั่วไปครูมักได้รับการคาดหวังว่าจะต้องมีหน้าที่ช่วยเหลือให้นักเรียน เข้าใจ มีหน้าที่ขยายความเพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับแนวคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะ ทำได้ เพื่อหวังให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์และเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ด้วย แต่การสอนคณิตศาสตร์ ดังกล่าวเป็น การสอนในแนวทางรูป แบบเดิมที่ครูไม่สามารถเปิดใจนักเรียนให้ชอบคณิตศาสตร์ได้ ถึงแม้ว่า กระบวนการและผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์จะน่าสนใจอย่างยิ่งสำหรับครู การสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนคณิตศาสตร์ในแนวทางที่ ตอบสนองความสามารถของพวกเขาควบคู่ไปกับระดับของการตัดสินใจด้วยตนเองในการที่จะเรียนรู้ของพวกเขา และสามารถขยายหรือเพิ่มเติมคุณภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับคณิตศาสตร์ได้หรือกล่าวได้ว่าครูที่

P a g e | 174 ใช้วิธีการแบบเปิดในการสอนจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพยายาม ทำความเข้าใจแนวคิดของนักเรียนให้มากที่สุดเท่ าที่ จะทำได้ ทำให้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ขึ้นไปอยู่ในระดับสูงขึ้นโดยเปิด โอกาสให้นักเรียนใช้การเจรจาต่อรองเกี่ยวกับแนวคิดทางคณิตศาสตร์กับนักเรียนคนอื่นหรือโดยอาศัยการชี้แนะ ของครูนอกจากนี้ครูที่ใช้วิธีการแบบเปิดต้องสนับสนุนให้นักเรียนมีการบริหารจัดการตนเองเพื่อขยายต่อกิจกรรม ในเชิงคณิตศาสตร์ ดังนั้นการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดจึงมุ่งเน้นที่จะเปิดใจของนักเรียนต่อคณิตศาสตร์มากกว่า เน้นการสอนเนื้อหาให้ครบ 2. การเปิดและชนิดของปัญหา (Openness and Types of problems) วิธีการแบบปลายเปิด (Open-ended approach) ที่นำเสนอโดยชิมะดะตอนนั้นจะเน้นว่าปัญหา ไม่ได้สิ้นสุดที่คำตอบๆเดียว ชิมะดะและเพื่อนร่วมงานของเขา (อ้างถึงใน ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์, 2557) มุ่งเน้นการ จัดชั้นเรียนที่อาศัยประโยชน์จากการมีคำตอบถูกต้องหลายคำตอบแต่ในวิธีการแบบเปิด (Open-approach Method) ความหมายของการเปิดได้รับการพิจารณาในมุมมองที่กว้างกว่าวิธีการแบบปลายเปิดกล่าวคือวิธีการ แบบเปิดยอมรับทั้งกรณีที่ปัญหาเป็นแบบปลายเปิดคือมีคำตอบได้หลากหลายแล้วยังยอมรับเรื่องการที่ปัญหาหนึ่ง มีปัญหาอีกหลายปัญหารวมอยู่ในปัญหานั้นด้วย จากการขยายแง่มุมเหล่านี้ทำให้แก้ปัญหาเรื่องความยากของการ สร้างปัญหาแบบปลายเปิดได้ ยิ่งไปกว่านั้นการเปิดตามแบบของวิธีการแบบเปิดนั้นยังทำให้มีความเป็นไปได้ที่จะ สร้างโอกาสสำหรับนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกันและมีความต้องการแตกต่างกันในการเข้าร่วมชั้นเรียน การได้มาซึ่งแนวทางคำตอบด้วยตั วเองอย่างหลากหลายทำให้นักเรียนต้องสรุปคำตอบต่าง ๆ จากมุมมองเกี่ยวกับ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ของตนเองด้วยตนเอง (Nohda, 1984 อ้างถึงใน ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์, 2557) ปัญหาที่ใช้ในวิธีการแบบเปิดมักเป็นปัญหาที่นักเรียนไม่เคยประสบมาก่อน (non-routine problems) ดังนั้นโดยอาศัยความหมายของการเปิดดังที่อธิบายไว้ข้างต้นทำให้สามารถจำแนกลักษณะของปัญหาปลายเปิด ออกได้เป็นสามชนิดคือ 1. กระบวนการ(Process is open) 2. เปิดผลลัพธ์เปิด (end products are open) 3. แนวทางการพัฒนาปัญหาเปิด(ways to develop I am open) 3. การประเมินแนวทางคำตอบของนักเรียน (Evaluation of Students’ Responses) เป้าหมายของวิธีการแบบเปิด ไม่ใช่เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องแต่เพียงอย่างเดียวแต่เพื่อการส่งเสริม แนวทางการคิดทางคณิตศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ซึ่งในความเป็นจริงมิใช่เรื่องง่ายนักสำหรับครู ที่จะประเมินความหลากหลายของแนวทางคำตอบของนักเรียน การประเมินแนวทางคำตอบของนักเรียนสามารถ พิจารณาได้จากเกณฑ์ดังต่อไปนี้ - จำนวนของคำตอบหรือแนวทางในการแก้ปัญหาของนักเรียนแต่ละคนสร้างขึ้นมามีมากน้อยเพียงใด (fluency) - ความแตกต่างของแนวคิดทางคณิตศาสตร์ที่นักเรียนแต่ละคนค้นพบมีมากน้อยเพียงใด (flexibility) - ความเป็นต้นแบบหรือแนวคิดริเริ่มของนักเรียนอยู่ระดับใด (originality) - การนำเสนอแนวคิดของนักเรียนมีความชัดเจนและง่ายเพียงใด (Elegance)

P a g e | 175 ซึ่งเกณฑ์เหล่านี้ควรได้รับการพิจารณาทุกครั้งที่มีการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และควรได้รับ การประเมินทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สำหรับประเทศไทยวิธีการแบบเปิดถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกโดย ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (254 6) และถูก นำเข้ามาภายใต้ชื่อ “วิธีการแบบเปิด” (Open Approach) โดยตัดคำว่า ”-ended” ออก เพื่อความสะดวกใน การเรียกชื่อ ปีพุทธศักราช 2545 ถึง 2548 เป็นช่วงแรกของการนำความหมายของวิธีการแบบเปิดไปใช้เนื่องจาก ยังเป็นแนวคิดที่ใหม่มากจึงใช้ในฐานะที่เป็นนวัตกรรมที่ใช้ปัญหาปลายเปิดมาเป็นหลักสำหรับสร้างกิจกรรมการ เรียนรู้ หรือกล่าวได้ว่าเป็นการใช้ปัญหาปลายเปิด (Open ended problems) ในฐานะเป็นสถานการณ์ปัญหา (problem situation) เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการบูรณาการองค์ประกอบสาระการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ในหลักสูตร ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (2557) มองว่ากิจกรรมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ปัญหาปลายเปิด สามารถ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงคุณลักษณะที่สำคัญของหลักสูตรสามประการได้กล่ าวคือปัญหาปลายเปิดที่เป็นสถานการณ์ ปัญหาในชีวิตจริงของนักเรียนสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของการจัดการเรียนรู้ได้ดังภาพประกอบด้านล่าง

ทักษะ/ กระบวนการ เนื้อหา สาระ

คุณลักษณะ ที่พึง ประสงค์

ภาพที่ 1 แสดงการบูรณาการองค์ประกอบสาระการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ปัญหา การสอนปกติในโรงเรียนแบบเดิมยังเป็นการสอนให้บรรลุองค์ประกอบของสาระการเรียนรู้ทั้งสามอย่าง แยกจากกัน บางแห่งสอนโดยเน้นการครบเนื้อหาเป็นหลัก แต่การสอนที่ใช้กิจกรรมทางคณิตศาสตร์ที่ส ร้าง สถานการณ์ปัญหาให้เป็นปัญหาปลายเปิดเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ทั้งสามองค์ประกอบเกิ ดขึ้นได้จริง ในขณะที่ นักเรียนเข้ามาเผชิญสถานการณ์ปัญหาและแก้ปัญหาที่ตัวเองค้นพบหรือสร้างขึ้นด้วยตัวเอง และสถานการณ์ ปัญหาเองก็สามารถเป็นหน่วยบูรณาการองค์ประกอบของสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้อีกด้วย

P a g e | 176 ต่อมาราวปี 2553 ไมตรี อินประสิทธิ์ (2557) ได้แนะนำการใช้วิธีการแบบเปิดในฐานะที่เป็นแนวทางการ สอน (teaching approach) โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนอยู่สี่ขั้นตอนได้แก่ 1) การนำเสนอโจทย์ ปัญหาปลายเปิดให้กับนักเรียน 2) นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตัวเองในรูปแบบต่าง ๆ โดยครูเปลี่ยนบทบาทไปเป็นผู้ สังเกต รวบรวมแนวคิดของนัก เรียน 3) การอภิปรายทั้งชั้นเรียน (Whole class discussion) โดยครูทำหน้าที่ สนับสนุนการอภิปรายและเปรียบเทียบแนวคิดต่าง ๆ ของนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และ 4) การสรุปเพื่อ เชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน สิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในขั้นนี้คือครูไม่ได้มีหน้าที่สรุปหรือนำความคิด ของตัวเองเข้าไปสรุปแต่เป็นการสรุปในลักษณะของการร่วมกันทั้งชั้นเรียนในการตีความขยายความหรือเชื่อมโยง แนวคิดต่าง ๆ ของนักเรียนที่เกิดขึ้นในคาบนี้และคาบก่อนหน้า นำเสนอสถานการณ์ปัญหา เพื่อให้กลายเป็น ปัญหาของนักเรียน (student’s problematics) สรุปวิธีการเรียน (how to) จากแนวคิดของ นักเรียน (สรุปโดยเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน ที่ เกิดขึ้นในชั้นเรียน)

นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการแก้ปัญหา ครูสังเกต/บันทึกการแก้ปัญหาของนักเรียน

อภิปรายและเปรียบเทียบแนวคิดของนักเรียน ที่เกิดขึ้นเพื่อให้เป็นแนวคิดของชั้นเรียน

ภาพที่ 2 แสดง 4 ขั้นของวิธีการแบบเปิด (Becker and Shimada, 1997 อ้างถึงใน ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์, (2557)) การใช้วิธีการแบบเปิดดังที่ได้กล่าวมาส่งผลกระทบอย่างมากต่อองค์ประกอบหลายอย่างในการทำงาน ภาคปฏิบัติของครูได้แก่การพยายามสร้างสถานการณ์ปัญหาโดยใช้ปัญหาปลายเปิดในรูปกิจกรรมทำให้ครูพัฒนา กระบวนการสร้างปัญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนในชั้นเรียนที่ตนเองสอนตั วกิจกรรมที่พัฒนา ต่อมาจากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวทำให้กิจกรรมทางคณิตศาสตร์ดังกล่าวมีความหมายต่อนักเรียนและทำให้ นักเรียนจำนวนมากค่อยค่อยเข้ามาเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ได้มากขึ้นซึ่งทำให้กิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนในการใช้วิธีการแบบเปิด ในฐานะที่เป็นแนวทางการสอนทำให้ครูต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองอย่างมากโดยในขั้นที่สองของการ สอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดครูต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้ที่เคยบรรยายหรือให้ความรู้ผู้เรียนมาเป็นผู้ที่คอยสังเกต บันทึกแนวคิดของนักเรียนในขณะที่นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ซึ่งการจะทำอย่างนี้ได้ในขั้นตอนการวางแผนการ สอนครูต้องมาร่วมกับทีมทำงาน (ทีมการศึกษาชั้นเรียน) คาดคะเนหรือคาดการณ์แนวคิดของนักเรียนที่จะมีต่อ สถานการณ์ปัญหาที่เตรียมมา ทำให้ในช่วงการสังเกตการแก้ปัญหาของนักเรียนครูทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้ประเมิน แนวคิดของนักเรียนเพื่อใช้ประกอบการสอนตลอดเวลาและทักษะใหม่เหล่านี้มีส่วนส่งเสริมกระบวนการทำวิจัยใน ชั้นเรียนอย่างมาก

P a g e | 177 ประวัติเกี่ยวกับการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ในประเทศไทย โดยย่อ ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (2557) กล่าวว่า การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เริ่มต้นที่ประเทศญี่ปุ่นราว ปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงรอยต่อระหว่างยุค เอโดะ (Edo period) และต้นรัชสมัยเมจิ ราวปี ค.ศ. 1868 ซึ่งเป็น ยุคที่ประเทศญี่ปุ่นมีการปฏิรูปประเทศมากมายหลายด้านรวมถึงด้านการจัดการเรียนการสอนที่ต้องการสร้างกำลัง พลให้เป็นช่างฝีมือระดับสูงจนในปี 1872 รัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการถือว่าหนังสือการสอนแบบเปสตาลอซซี่ (Pestalozzi) เป็นต้นแบบหรือโมเดลการสอนของประเทศ ซึ่งภายในเล่มประกอบด้วยการแนะนำการใช้สื่อ แนว ทางการสังเกตชั้นเรียน และการวิเคราะห์บทเรียน รวมถึงการเปิดชั้นเรียน (Open Class) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ การศึกษาชั้นเรียนก็เกิดในยุคสมัยเมจินี่เอง การพัฒนาและเผยแพร่วิธีการสอนนี้ได้เรียนรู้จากการศึกษาชั้นเรียนของกลุ่มครูในทุกระดับ ตั้งแต่ใน โรงเรียนเดียวกัน ระหว่างโรงเรียน และในระดับ ประเทศ และในช่วงปี 1920 เป็นต้นมาญี่ป ุ่นได้นำปรัชญา การศึกษาของ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) มาปรับใช้ทำให้เกิดการสอนเรื่องใหม่ๆ สนับสนุนกลุ่มครูแบบเพื่อน ช่วยเพื่อนหรือกลุ่มครูช่วยกันได้มากขึ้น ทำให้เกิดการอภิปรายในชั้นเรียน การสร้างคำถามด้วยตนเองของครู การ ค้นหาวิธีการสร้างคำถามใหม่ๆ การตรวจสอบคำตอบ การคัดเลือกคำถามที่เหมาะสมเพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจน จึง เกิดเป็นเวทีสำหรับการสอนที่เน้นการแก้ปัญหา (Problem Solving) ที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก ในฐานะที่เป็น ต้นแบบการสอนแบบคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ซึ่งการศึกษาชั้นเรียนทำให้เกิดการอภิปรายชั้นเรียนในทุก แง่มุม และเป็นการสอนที่กลุ่มครูได้ตรวจสอบการสอนของตนเองอย่างละเอียด ชั้นเรียนแบบนี้จึงทำให้เกิดทั้ง แนวคิดที่ก่อให้เกิดประโยชน์และไม่ก่อประโยชน์ จึงทำให้เกิดการตระหนักถึงสิ่งที่รู้แล้วและที่ยังไม่รู้ และได้ พยายามสร้างความรู้ใหม่จึงทำให้ชั้นเรียนแบบนี้ประสบผลสำเร็จ ทั้งๆที่มีอุปสรรคข้อขัดแย้งและ ความท้าทาย ต่างๆก็ตาม เหตุผลหนึ่งที่ทำให้เป็นเช่นนั้นคือกลุ่มครูได้เข้าไปสังเกตชั้นเรียนที่เน้นการแก้ปัญหาจะเกิดความ ประทับใจที่ได้เห็นนักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการแก้ปัญหา ซึ่งเป็นสิ่งที่ครูญี่ปุ่นต้องการ ให้นักเรียนได้แก้ปัญหา ต่างๆด้วยตัวเอง จนกลายเป็นวิธีการหลักในการสอนคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่นจวบจนปัจจุบัน การนำระบบการพัฒนาวิชาชีพครูแบบที่เรียกว่าการศึกษาชั้นเรียนมาปรับใช้ในประเทศญี่ปุ่น มีความ แตกต่างและหลากหลายขึ้นกับการนำไปใช้ของแต่ละโรงเรียน เช่นเดียวกันเมื่อ รศ.ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ นำมาใช้ในประเทศไทยจึงมีการปรับให้เข้ากับบริบทประเทศไทย มีประวัติความเป็นมาคร่าวๆ โดยเริ่มต้นจากที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ ได้ไปศึกษาระดับปริญญาโท และเอกที่ประเทศญี่ปุ่น จึงได้นำ หลักการแนวคิดวิธีการสอนตามแนวทางของญี่ปุ่นมาเผยแพร่ให้กับระบบการศึกษาในประเทศไทย เริ่มที่คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี พ.ศ. 2545 ได้เริ่มที่นักศึกษากลุ่มที่สนใจนำความรู้ด้านการสอนด้วยวิธีการ แบบเปิดในวิชาฝึกสอน จำนวน 15 คน ในโรงเรียนประถม จังหวัดขอนแก่น จากนั้นได้ขยายแนวทางการสอนด้วย วิธีการแบบเปิดไปยังศึกษานิเทศก์ กลุ่มครูและผู้บริหารต่าง ๆ พร้อมกับการจัดตั้งศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา ในปี พ.ศ. 2546 และมีการเปิดหลักสูตรปริญญาโทคณิตศาสตรศึกษา ที่เป็นการเริ่มต้นการจุดประกายการศึกษาชั้น เรียนและวิธีการแบบเปิดอย่างทรงพลังไปทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการเปิดหลักสูตร ปริญญาเอกสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษาขึ้น และผู้เขียนได้เข้าศึกษาต่อในสาขานี้ในปีการศึกษา 2553 นับเป็นรุ่นที่

P a g e | 178 5 ในระดับปริญญาดุษฏีบัณฑิต ทำให้ผู้เขียนได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ในเรื่องการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบ เปิดจากผู้ริเริ่มโดยตรง โดยที่ การศึกษาชั้นเรียนมีขั้นตอนที่นำมาปรับใช้ในประเทศไทยดังนี้คือ 1) การร่วมมือกัน ออกแบบบทเรียนวิจัย (Plan) 2) การร่วมมือกันสังเกตบทเรียนวิจัย (Do) 3) การร่วมมือกันอภิปรายและสะท้อน ผลบทเรียน (See) ดังภาพที่ 3

การร่วมมือกัน ออกแบบบทเรียน วิจัย (Plan)

การร่วมมือกัน อภิปรายและ สะท้อนผลบทเรียน วิจัย (See)

การร่วมมือกัน สังเกตบทเรียน วิจัย (Do)

ภาพที่ 3 แสดงขั้นตอนของการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ที่นำมาปรับใช้ในประเทศไทย (ไมตรี อินทร์ ประสิทธิ์, 2557) การดำเนินการตามวงจรการศึกษาชั้นเรียนจัดเป็นการพัฒนาวิชาชีพครูในระดับชั้นเรียน ด้วยกลุ่มครูที่ รวมตัวกันศึกษาชั้นเรียนของตนเอง สะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนเพื่อปรับการเรียนการสอนของตนเองให้ ไปสู่ชั้นเรียนปฏิรูป ที่ไม่ใช่การสอนแบบเดิมที่ครูเตรียมการสอนคนเดียว เข้าชั้นเรียนมาแล้วให้ตัวอย่าง ให้นักเรียน คิดตามตัวอย่าง จากนั้นให้การบ้าน เริ่มชั้นเรียนด้วยการเฉลยการบ้าน เป็นต้น เปลี่ยนไปเป็นชั้นเรียนที่นักเรีย น เป็นคนสร้างตัวอย่างด้วยตัวเอง ซึ่งเกิดจากการใช้สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดมาเป็นประเด็นเปิดเรื่องในช่วงต้น ของคาบเรียน โดยเป็นสถานการณ์ปัญหาที่มีเนื้อเรื่องในบริบทชีวิตจริงของนักเรียน ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ จึงได้นำ วิธีการแบบเปิด (Open Approach) ซึ่งใช้ปัญหาปลายเปิดในกิจกรรมทางคณิตศาสตร์มาปรับใช้กับการศึกษาชั้น เรียน (Lesson Study) โดยใช้ในฐานะเป็นวิธีการสอน (teaching approach) ภายใต้กระบวนการศึกษาชั้นเรียน ดังภาพที่ 4

P a g e | 179

นำเสนอปัญหา ปลายเปิด สรุปโดยเชื่อมโยง แนวคิดทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดขึ้นของนักเรียน

นักเรียนเรียนรู้ ด้วยตนเองผ่าน การแก้ปัญหา

อภิปรายและ เปรียบเทียบ ร่วมกันทั้งชั้นเรียน

Plan

See

Do

ภาพที่ 4 ขั้นตอนของวิธีการแบบเปิด 4 ขั้นตอนที่ผนวกเข้ากับการศึกษาชั้นเรียนปรับจากแนวคิดของไมตรี อินทร์ ประสิทธิ์ (Inprasitha, 2011) การดำเนิ น การนวั ต กรรมการศึ ก ษาชั ้ น เรี ย นและวิ ธ ี ก ารแบบเปิ ด ในสามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดในมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ เกิดขึ้นที่วิทยาเขต ปัตตานีเป็นลำดับแรก โดยมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 มาจากการที่ ศาสตราจารย์ ดร.กนก วงศ์ตระหง่าน กรรมการสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในขณะนั้น ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการปรับใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้น เรียนและวิธีการแบบเปิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของประเทศไทยจึงได้ปรึกษาหารือกับรอง ศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อิน ประสิทธิ์เพื่ อจะให้ ดร.รัช ดา เชาวน์เสฏฐกุล ซึ่งเป็นอาจารย์ป ระจำของคณะ ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกอยู่ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้นำ นวัตกรรมนี้มาใช้พัฒนาให้กับ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศาสตราจารย์ ดร.

P a g e | 180 กนก วงศ์ตระหง่าน จึงได้ปรึกษาหารือกับรองศาสตราจารย์อิ่มจิต เลิศพงศ์สมบัติ ซึ่งเป็นรองอธิการบดีวิทยาเขต ปัตตานีในการนำนวัตกรรมเหล่านี้มาใช้โดยการสนับสนุนของมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ และหน่วยงานทางการ ศึกษาในพื้นที่ อาทิ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และกระทรวงศึกษาธิการส่วนหน้า (ปัจจุบันคือศูนย์ประสานการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปบ. จชต.)) จากจำนวนทั้งหมด 108 โรงเรียนให้มี การนำร่องใช้นวัตกรรมนี้จำนวน 9 โรงเรียนโดยคัดเลือกมาจังหวัดละสามโรงเรียน เขตพื้นที่ละ 1 โรงเรียน เพื่อ เป็นการพัฒนานำร่องการใช้นวัตกรรมนี้ในสามจังหวัดภาคใต้ ภายใต้โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมี ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุลเป็นผู้ดำเนินการร่วมกับภาคี เครือข่ายภายในมหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้ง 3 จังหวัด คือจังหวีดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ร่วมกับคณะครู ผู้บริหารจากทั้ง 9 โรงเรียน รวมถึงศึกษานิเทศก์ที่ดูแลโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัด ตั้งแต่ปลายปี 2559 ถึงปี 2561 เป็นระยะเวลาเกือบ 3 ปี โดยได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากวิทยาเขตปัตตานี ศอ.บต. และศึกษาธิการส่วนหน้า และได้รับการสนับสนุนพื้นที่การทำงานของ บุคลากรในโครงการที่คณะศึกษาศาสตร์ และเพื่อความต่อเนื่องของการพัฒนา ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล จึงได้นำ ทั้ง 9 โรงเรียนเข้าสู่โครงการวิจัยโดยงบประมาณของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในโครงการวิจัยการพัฒนา รูปแบบการยกระดับผลการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขยายโอกาส: กรณีศึกษานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและ วิธีการแบบเปิด ในปีงบประมาณ 2561-2562 และขยายโครงการต่อเนื่องถึงปี 2564 (ขณะที่เขียนบทความนี้ การ ดำเนินงานวิจัยยังไม่สิ้นสุด) การดำเนินการการใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดในโรงเรียนนำร่อง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างโรงเรียนนำร่องในจังหวัดปัตตานี ซึ่งผู้เขียนมีโอกาสเข้าไปสัมผัสใกล้ชิดกับครู และ ผู้บริหาร และลงพื้นที่โรงเรียนบ่อยครั้ง ทำให้เห็นแง่มุมการดำเนินการต่าง ๆ ที่มีความชัดเจนมากโรงเรียนหนึ่ง รวมถึงผู้บริหารและครูมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาโรงเรียนอย่างมากได้แก่ โรงเรียนบ้านคอลอตันหยง อำเภอหนอง จิก ห่างออกไปจากตัวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีประมาณ 22 กิโลเมตร เดิมเล่ากันว่าเป็นเขต พื้นที่สีแดง แต่ในปัจจุบันเป็นพื้นที่สีเหลือง มีนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนนักเรี ยน ประมาณ 330 คน

P a g e | 181 ทางโรงเรียน ได้ดำเนินการใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด เริ่มต้นด้วยการอบรม ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการในชั้นเรียน โดยเริ่มตั้งแต่การอบรมทำความเข้าใจหลักการทฤษฎีของ lesson study และ open approach รวมถึงสื่อหลักที่ใช้ในโครงการ ซึ่ง ได้แก่หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ญี่ปุ่น ที่มี เนื้อหาคณิตศาสตร์และแนวทางการสอนที่ส่งเสริม วิ ธ ี ก ารแบบเปิ ด และสนั บ สนุ น ให้ ผ ู ้ เ รี ย นคิ ด แก้ ป ั ญ หา รวมถึ ง มี ต ัว อย่ างสถานการณ์ป ัญหา ปลายเปิ ด ที ่ ส อดคล้ อ งกั บ เนื ้ อ หาในบทเรี ย น คณิตศาสตร์และเข้าถึงแนวคิดของนักเรียนได้อย่าง ดี มาเป็นตัวชูโรงหลักในการจัดการเรียนการสอน ด้วยวิธีการแบบเปิดดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 หน้าปกหนังสือเรียนญี่ปุ่นแปลเป็นไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และประถมศึกษาปีที่ 4 โดยนำร่องใช้กับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และประถมศึกษาปีที่ 4 (ทางขวาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1) ดำเนินการ แปลโดยศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อครบภาคการศึกษาที่ 1 แล้วจึงขยายไปยังชั้นอื่นๆ ต่อไป วงจรการดำเนินการการศึกษาชั้นเรียนของโรงเรียนบ้านคอลอตันหยง เป็นไปตามขั้นตอนต่างๆของ การศึกษาชั้นเรียน ดังต่อไปนี้ 1. ผู้อำนวยการโรงเรียนเชิญครูทุกคนในโรงเรียนประชุมร่วมกันเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการจัดการเรียการ สอนแนวใหม่ในวิชาคณิตศาสตร์ ครูฝ่ายวิชาการดำเนินการจัดตารางสอนให้ครูในกลุ่มสาระได้มีเวลาว่าง ตรงกันเพื่อมาร่วมสังเกตครูในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ สัปดาห์ละอย่างน้อย 2 วัน 2. จัดสรรเวลาในการประชุมโรงเรียนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยให้มีการรายงานการปฏิบัติงานการ จัดการสอนด้วยวิธีการแบบเปิด หรือสะท้อนผลชั้นเรียนชั้นใดชั้นหนึ่งที่ผ่านมา 3. จัดทีมการศึ กษาชั้น เรีย นเป็น ช่ว งชั ้น ประถมศึ ก ษาตอนต้น และประถมศึ ก ษาตอนปลาย โดยมี ค รู คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นหัวหน้าทีมในช่วงชั้นที่ 1 แล้วมีครูสาระอื่นมาช่วยจัดทำสื่อการ เรียนรู้ และมีครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นหัวหน้าทีมการศึกษาชั้นเรียนของช่วงชั้นที่ 2 และครูผู้สอนมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นหลักในการดำเนินการของทีมการศึกษาชั้นเรียนระดับมัธยม

P a g e | 182 4. ครูในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์นัดวันประชุมร่วมกันเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และคาบที่จะสังเกตการสอน ของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยเป็นวันพฤหัสบดีช่วงบ่าย 3 เป็นต้นไปเป็นช่วงของการพบกันเพื่อ ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน 5. ลงมือปฏิบัติจริง โดยในการร่วมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ในราย สัปดาห์ มักมีผู้อำนวยการโรงเรียนมาร่วมรับฟังด้วยเสมอ การดำเนินการตามขั้นตอนวิธีสอนด้วยวิธีการแบบเปิด ในแต่ละขั้นมีรายละเอียดการดำเนินการดังนี้ เมื่อทีมการศึกษาชั้นเรียนได้ดำเนินการวางแผนการสอนร่วมกันแล้ว จะมีครูคนหนึ่งในทีม ปกติแล้ว คือครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 4 เป็นผู้สอน แล้วมีทีมครู (ทีมการศึกษาชั้นเรียน) 2-3 คนมาร่วมสังเกตการจัดการ เรียนรู้ โดยในขั้นการสอนตามวิธีการแบบเปิดนั้นครูผู้สอนได้ดำเนินการดังนี้ 1. ขั้นนำเสนอปัญหาปลายเปิด ในขั้นนี้ ครูนำสถานการณ์ที่ใกล้ตัวนักเรียนมาเป็นสถานการณ์เริ่มต้น ให้นักเรียนได้สังเกตจากภาพ หรือสื่อที่เป็นสื่อหลักของคุณครูในตอนเริ่มคาบประมาณ 10 นาที โดยให้นักเรียน สังเกตสิ่งที่ครูนำมาประกอบการสอนเป็นสื่อจริงคือ ช็อคโกแลต รับประทานได้

ภาพที่ 6 แสดงขั้นการนำเสนอสถานการณ์ปัญหาปลายเปิดเรื่องกฎของการหารชั้น ป. 4 จากภาพที่ 6 ครูสนทนาเกี่ยวกับขนมที่เด็กๆชอบรับประทานพร้อมทั้งนำช็อกโกแลตที่ครูเตรียมไว้มาวางบนโต๊ะ ครูเล่าสถานการณ์ปัญหา “ครูมีช็อกโกแลต 24 ชิ้น แบ่งให้นักเรียน X คน คนละเท่าๆกัน เด็กแต่ละคนจะได้รับ ช็อกโกแลตคนละกี่ชิ้น”ครูติดคำสั่งบนกระดานและให้นักเรียนอ่านคำสั่งพร้อมกัน คำสั่ง : ให้นักเรียนแสดงวิธีการหาคำตอบว่า “เด็กแต่ละคนจะได้รับช็อกโกแลตคนละเท่าไหร่” ให้ได้หลากหลายวิธี ที่สุด จากนั้นครูแจกใบกิจกรรมและใบงานพร้อมทั้งช็อกโกแลตที่ต้องการให้นักเรียนช่วยกันแบ่ง

P a g e | 183 ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (25 นาที)

ภาพที่ 7 ขั้นที่ 2 นักเรียนเรียรู้ด้วยตนเอง ทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล นักเรียนแต่ละกลุ่มแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง นักเรียนเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติตามสถานการณ์ปัญหาในรูปคำสั่งที่ ได้ปรึกษากับสมาชิกกลุ่มตนเองเพื่อหาวิธีการ รวมทั้งความรู้ที่จะสามารถไปใช้ในการแก้ปัญหาแต่ละหัวข้อได้ นักเรียนใช้อุปกรณ์ที่ครูแจกในการหาวิธีการแก้ปัญหาอย่ างเหมาะสม ในขั้นนี้นักเรียนจะมีอิสระในการคิดและลง มือจัดกระทำกับสื่อและอุปกรณ์ต่างๆที่ครูจัดมาให้ตามจินตนาการและการวางแผนการใช้อุปกรณ์เพื่อสร้างแนวคิด ของตนเองได้เต็มที่ โดยไม่มีครูเข้ามาควบคุมหรือชี้นำการคิดของเขา ขั้นที่ 3 นำเสนอและอภิปรายทั้งชั้นเรียน (15 นาที)

ภาพที่ 8 ขั้นที่ 3 การอภิปรายแนวคิดที่เกิดขึ้นร่วมกันทั้งชั้นเรียน

P a g e | 184 ครูให้นักเรียนนำใบกิจกรรมไปติดบนกระดาน แล้วพิจารณาแนวคิดที่นักเรียนใช้แก้สถานการณ์ปัญหาและ ให้นักเรียนออกมานำเสนอในสิ่งที่นักเรียนคิดและทำในในกิจกรรม ระหว่างที่นักเรียนนำเสนอครูแสดงแนวคิดของ นักเรียนบนกระดานครูกระตุ้นนักเรียนด้วยคำถาม โดยครูให้นักเรียนสั'เกตและร่วมกันพิจารณาวิธีการและแนวคิด ของเพื่อนกลุ่มอื่นๆแล้วเปรียบเทียบกับแนวคิดของตนเอง ว่ามีจุดใดเหมือนหรือแตกต่าง และวิธีการที่แต่ละกลุ่ม คิดนั้นเป็นอย่างไร ขั้นที่ 4 สรุปโดยการเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน (10 นาที)

ภาพที่ 9 ขั้นที่ 4 การสรุปโดยเชื่อมโยง แนวคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน

ครูสรุปความคิดของของนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้ ความหมายของการหาร วิธีที่นักเรียนใช้ทั้งหมด วิธีทั้งหมดที่นักเรียนใช้ วิธีใดบ้างที่นักเรียนคิดว่า ง่ายและสะดวกที่สุด กฎการหาร (กฎของตัวหารและคำตอบ) กฎของตัวหารและคำตอบ : ถ้าตัวหารเพิ่มขึ้น คำตอบจะลดลง ถ้าตัวหารเพิ่มขึ้น 2 เท่า คำตอบก็จะลดลง 2 เท่าเช่นกัน โดยครูผู้สอนสังเกตการณ์การทำกิจกรรมของนักเรียน แนวคิด ลำดับขั้นตอนการทำงานของ นักเรียนเพื่อนำแนวคิดของนักเรียนมาอภิปรายให้นักเรียนทั้งชั้นได้เรียนรู้ร่วมกัน พร้อมประเมินแนวคิดของ นักเรียนไปในตัวด้วย หลังจากที่ครูดำเนินการสอนครบทั้ง 4 ขั้นตอน ตามวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ได้มีการสะท้อนผลการ จัดการเรียนรู้ตามแนวทางการพัฒนาวิชาชีพครูด้วยการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) โดยมีผู้สังเกตการสอน ครูผู้สอน ผู้อำนวยการโรงเรียน และผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกันสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้เพื่อหาข้อสรุป และผลลัพธ์ที่ ได้จากการสอน เพื่อนำมาปรับปรุงการสอนในครั้งต่อไป

P a g e | 185

ภาพที่ 10 การสะท้อนผลการจัดการ เรียนรู้ร่วมกันในทีมการศึกษาชั้นเรียน ของโรงเรียนบ้านคอลอตันหยง

ที่กล่าวมานี้คือตัวอย่างการทำงานของโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด กรณี โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ดูแล นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการทำงานใน พื้นที่จังหวัดปัตตานี อันเป็นที่ตั้งของ ม.อ. วิทยาเขตแรกของสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นที่ ผู้ปฏิบัติงานพึงสร้างประโยชน์และคุณค่าให้ไว้แก่หน่วยงาน ทั้งนี้ท่านที่สนใจ สามารถเข้าชมวีดิทัศน์การพัฒนา โรงเรียนบ้านคอลอตันหยงได้ที่ลิงค์ด้านล่างนี้ https://sites.google.com/view/lessonstudy-openapproach-pnpsu/ และนี้คือภาพเกียรติบัตรที่โรงเรียนได้รับหลังจากที่ดำเนินงานมา 2-3 ปี จากเดิมที่ผลการสอบของนักเรียนอยู่รั้ง ท้ายเสมอๆ แต่เมื่อทางโรงเรียนใช้นวัตกรรมนี้จึงบังเกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่เห็นในเกียรติบัตร ที่ส่งผลให้ นักเรียนแสดงผลงานได้เป็นที่น่าพอใจ และเกิดความภาคภูมิใจแก่ครูและผู้บริหารโรงเรียนที่ได้ดำเนินการพัฒนา โรงเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดมาอย่างต่อเนื่อง

ภาพที่ 11 เกียรติบัตรแสดงค่าเฉลี่ย O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 สูงเป็นลำดับที่ 2 ของ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1

P a g e | 186 สรุปความหมายของวิธีการแบบเปิด (Open Approach) และการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ใน บทความนี้หมายถึง กระบวนการในการร่วมกันพัฒนาชั้นเรียนคณิตศาสตร์ด้วยกลุ่มครูและผู้บริหารที่มีความ ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน (Learning Together) เพื่อพัฒนาคุณภาพการคิดของนักเรียนให้เกิดทักษะการคิดขั้นสูง และมุ่งสร้างวัฒนธรรมในการทำงานของครูไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ (Professional Teacher) *******************************************

P a g e | 187 อ้างอิง ชิน ฮิโตะทสึมะทสึ และคณะ (2553). เรียนคณิตศาสตร์กบั เพื่อนๆ คณิตศาสตร์สำหรับระดับชั้น ประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 [Study with Your Friend: MATHEMATICS for Elementary School, 1st grade ] (ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ และอรรค อินทร์ประสิทธิ์, แปล). ศูนย์วิจัยคณิตศาสตร ศึกษา. (ต้นฉบับ พิมพ์ปี ค.ศ. 2005). ชิน ฮิโตะทสึมะทสึ และคณะ (2553). เรียนคณิตศาสตร์กบั เพื่อนๆ คณิตศาสตร์สำหรับระดับชั้น ประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 [Study with Your Friend: MATHEMATICS for Elementary School, 4th grade ] (ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ และอรรค อินทร์ประสิทธิ์, แปล). ศูนย์วิจัยคณิตศาสตร ศึกษา. (ต้นฉบับ พิมพ์ปี ค.ศ. 2005). ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์และคณะ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ในโรงเรียนโดยเน้น กระบวนการทางคณิตศาสตร์. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์ ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์. (2557). กระบวนการแก้ปัญหาในคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน. ขอนแก่น. ศูนย์วิจัย คณิตศาสตรศึกษา. รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล (2559). การพัฒนาครูเป็นครูนักวิจัย ในบริบทการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น Becker, J. & Shimada, S. (1997). The Open-ended approach: A new proposal for teaching mathematics. Reston, VA: NCTM. Fernandez, C., Cannon, J. & Choksi, S. (2003). A U.S.-Japan lesson study collaboration reveals critical lenses for examining practice. Teaching and Learning Education, 19(2). 171-185. Inprasitha. M. (1997). Problem Solving: A basis to reform mathematics instruction. Journal of The National Research Council of Thailand, 29(2), 221-259. Inprasitha. M. (2004). Movement of lesson study in Thailand. Proceedings of 10th International Congress on Mathematical Education. pp.53-60. Copenhagen: Denmark. Inprasitha. M. (2011). One Feature of Adaptive Lesson Study in Thailand: Designing a Learning Unit. Journal of Science and Mathematics Education in Southeast Asia, 34(1), 47-66. Nohda, N. (1984). The Heart of the “Open-Approach” in mathematics teaching. In T.Kawaguchi (Ed.) Proceedings of the ICMI-JSME Regional Conference on mathematics Education, JSME Tokyo. Nohda, N. (1998). Teaching and Learning by “Open-Approach Method” in Mathematics classroom Activities. Proceedings of the 30th Japan Society for Mathematical Education Conference. Osaka University of Education. *****************************************************************

P a g e | 188

ข 2. ข้อมูลสนับสนุน

ข้อมูลผลงานวิจัยในรอบ 5 ปี ผลงานทางวิชาการ และการพัฒนาสื่อการสอน - ยุวิตา นิสัน คณิตา นิจจรัลกุล รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล อลิสรา ชมชื่น อับดุลรอพา สาแล อัจฉรา สัปปพันธ์ และอาหวัง ล่านุ้ย. (2562). ผลการใช้เกมในการพัฒนาความสามารถในการคูณจำนวนสองหลักกับจานวนสองหลัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โครงการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่6 “Innovative Research and Education beyond the Future ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฏาคม 2562 โรงแรมหรรษาเจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หน้า 747-756 - มัฮยุดดีน สาเม๊าะ คณิตา นิจจรัลกุล รัชดา เชาวน์เสฎฐกุล อับดุลรอพา สาแล อัจฉรา สัปปพันธ์ อาหวัง ล่านุ้ย. (2562). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอาหรับด้วยการสอนแบบบทบาทสมมุติของนักเรียนมัธยมศึกษาชั้น ปีที่ 4 โครงการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่6 “Innovative Research and Education beyond the Future” ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฏาคม 2562 โรงแรมหรรษาเจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หน้า 817-827 - พาดีล๊ะห์ สามะ คณิตา นิจจรัลกุล รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล อัจฉรา สัปปพันธ์ อับดุลรอพา สาแล และ อา หวัง ล่านุ้ย. (2562). ผลการสอนแบบร่วมมือโดยใช้สื่อการสอนแบบสามมิติเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาอาหรับของนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง ปีที่1. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 6 “Innovative Research and Education beyond the Future” ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฏาคม 2562 โรมแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หน้า 1036-1046 - ยุทธกร สืบจักษะและรัชดา เชาวน์เสฏฐกุ. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ พึงพอใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบสมการเชิงเส้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกำแพง วิทยา โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มช่วยรายบุคคล (TAI) การประชุมวิชาการด้านคณิตศาสตรศึกษา ครั้งที่ 6 โดยสมาคมคณิตศาสตรศึกษา “คณิตศาสตร์ระดับโรงเรียนแนวใหม่ใน Digital Era” วันที่ 15-17 กุมภาพันธ์ 2563 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หน้า 49 ชนกพร บุญผลึก และรัชดา เชาวน์เสฏฐกุล. (2563). ผลการจัดการเรียนรู้รูปแบบ SSCS ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องโจทย์ปัญหาทศนิยมและเศษส่วน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 6 “Moving Towards Innovative, Transformative, and Equitable Education” ระหว่างวันที่ 2-3 กรกฎาคม 2563 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หน้า 326-336. ผลงานวิชาการประเภทอื่นๆ (ย้อนหลังภายใน 5 ปี) ได้แก่ หนังสือ เอกรินทร์ สังข์ทอง, รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล, จิรวัฒน์ ตันสกุล และสุพรรษา สุวรรณาชาตรี. การ พัฒนากระบวนทัศน์ รูปแบบ และกลไกการพัฒนาครู ในลักษณะเครือข่ายเชิงพื้นที่ 5 พื้นที่ กรณีศึกษาคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2563). สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

P a g e | 189

- งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล, ธีระยุทธ รัชชะ, จิระวัฒน์ ตันสกุล และ ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ. การพัฒนา รูปแบบการยกระดับผลการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขยายโอกาส: กรณีศึกษานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) งบประมาณจาก วช. ต่อเนื่องปี 2562-2563 - รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล, วรลักษณ์ ชูกำเนิด, อลิสรา ชมชื่น. ชุมชนการเรียนรู้พัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษาสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดปัตตานี (รับทุนคณะศึกษาศาสตร์ 2564-2565) - อลิสรา ชมชื่น, รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล,จารึก อรรถสงเคราะห์, นพรัฐ เสน่ห์. การพัฒนานวัตกรรม การเรียนรู้ของโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมในจังหวัดปัตตานีเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนโดยใช้ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและชุมชนนักปฏิบัติ (Professional learning community : PLC) ภายใต้ โครงการวิจัย การพัฒนากลไกความร่วมมือในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อยกระดับ คุณภาพ การศึกษาด้วยนวัตกรรมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดปัตตานี (Pattani Sandbox) ตาม โครงการริเริ่มสำคัญ (Flagship Project) ปีงบประมาณ 2564 ของ บพท.

ข้อมูลนวัตกรรมทางการสอนที่สำคัญ ซึ่งอยู่ในขั้นกำลังพัฒนา ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิดที่เน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ แผนหน้าเดียว และการวางแผนการใช้กระดานดำ ดังต่อไปนี้

P a g e | 190

แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 8/80 ของการสอน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน 1.นางสาวมุทิตา ปราบโรค 2.ดร.รัชดา เชาวน์เสฎฐกุล 3.นางสาวกัตติกา ราชแสง 4.นางสาวจริยา ทักษิณาวาณิชย์ 5.นางสาวมีมี่ ลีลานนท์ ชื่อผู้บันทึก นางสาว.......................... ชื่อผู้สอน นางสาว......................... หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง วงกลมและทรงกลม กิจกรรมเรื่อง “เจ้าวงกลมมันเป็นยังไงนะ”

วันที่ 21 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์

คาบที่ 1/8

จำนวน 8 คาบ จำนวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1/2565

1.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ 1.มาตรฐาน ค ๒.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติ และสามมิติ 2.มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1.2 ตัวชี้วัด ค ๒.๑ ป.4/1 รู้ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม 2.เป้าหมายของบทเรียนระดับหน่วยการเรียนรู้และเป้าหมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหน่วยการเรียนรู้ เป้าหมายของบทเรียนระดับหน่วยการเรียน 1.นักเรียนรู้จักรูปวงกลมและทรงกลม 2.รู้ส่วนประกอบของวงกลมและทรงกลม 3.รู้วิธีการสร้างรูปวงกลม และรู้จักอุปกรณ์สำหรับการสร้างรูปวงกลม 4.สามารถสร้างรูปวงกลมได้ด้วยตัวเอง 5.สามารถนำรูปวงกลมไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันได้ เป้าหมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหน่วยการเรียนรู้นั้น 1.สามารถรับรู้ความเป็นวงกลม - รับรู้ได้ว่าความเท่าเทียมของระยะห่างจากเสากับตำแหน่งการยืนคือ รัศมี

P a g e | 191

- รับรู้ได้ว่าตำแหน่งการยืนคือ เส้นรอบวง - รับรู้ได้ว่าเสาหรือหลักคือ จุดศูนย์กลาง 2.รู้ส่วนประกอบของวงกลม 3. ขั้นตอนการสร้างสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด 3.1 เนื้อหาสาระ(K) ทักษะกระบวนการ(P) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) ที่ต้องการจะเน้นในสถานการณ์ ปัญหาปลายเปิดของหน่วยการเรียนรู้นี้ 3.1.1 เนื้อหาสาระ (Knowledge) รูปวงกลม ประกอบด้วย จุดศูนย์กลาง รัศมี และเส้นรอบรูปหรือเส้นรอบวง จุดศูนย์กลาง คือ เป็นจุดที่อยู่ตรงกลางของวงกลม และห่างจากเส้นรอบวงเท่ากันตลอด รัศมี คือ ส่วนของเส้นตรงจากจุดศูนย์กลางไปยังเส้นรอบวง ซึ่งรัศมีแต่ละเส้นมีความยาวเท่ากัน เส้นรอบวง คือ ความยาวโดยรอบของวงกลม 3.1.2 ทักษะกระบวนการ (Process) ทางคณิตศาสตร์ 1. การแก้ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการเล่นเกม โดยที่มีความคิดหาวิธีในการยังไงให้ทุกคนมีโอกาสใน การโยนห่วงเท่า ๆ กันทุกคน 2. การเชื่อมโยง สามารถนำความรู้เรื่องวงกลมมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ และมองเห็นว่าการยืนเป็นวงกลม มีความยุติธรรมในการโยนห่วงมากที่สุด 3. การให้เหตุผลในกระบวนการหรือวิธีการแก้ปัญหาในการเล่นเกมได้ บอกได้ว่าทำไมจึงยืนเป็นวงกลม และไม่ยืนแบบอื่น 4. การนำเสนอ สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการแก้ปัญหาที่เชื่อมโยงกับเรื่องวงกลมได้ วาดรูปการยืนแบบ ต่างๆได้ 5. การสื่อสาร สามารถพูดได้เพื่อสื่อความหมาย อธิบายวิธีการแก้ปัญหาในส่วนต่างๆได้ บอกได้ว่า ระยะห่างของจุดกลางหรือเสาหลักตรงกลางกับปลายเท้าเพื่อนๆหมายถึงความยาวรัศมี เป็นต้น 3.1.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ (Attitude) 1. รู้จักการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนได้ 2. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3. มีความกล้าแสดงออก 4. มีความสามัคคีและร่วมมือกันทำงาน 5. มีระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ 3.2 คำสำคัญ คำสำคัญ จุดศูนย์กลาง คือ เสาหรือหลักที่นักเรียนยืนล้อมรอบเพื่อโยนห่วงให้ลง เส้นรอบวง คือ ตำแหน่งของนักเรียนที่ยืนล้อมรอบเสา รัศมี คือ ระยะห่างของเสากับตำแหน่งการยืนของนักเรียน

P a g e | 192

ธรรมชาติของความคิดหรือกระบวนการคิดของนักเรียน นักเรียนจะมีการยืนตามตำแหน่งที่ตัวเองต้องการ เช่น นักเรียนบางคนยืนใกล้เสา และบางคนอาจยืนไกลเสา สำหรับการยืนของนักเรียนอาจไม่เป็นในแนวเดียวกัน 3.3 คำสั่งที่ชัดเจนและนักเรียนเข้าใจได้ง่ายๆที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา คาบที่ 1/8 คำสั่ง จะยืนยังไงให้ทุกคนมีโอกาสในการโยนห่วงเท่า ๆ กันทุกคน 3.4 การสร้างหรือออกแบบสื่อให้สัมพันธ์กับคำสั่งในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด คาบที่ 1 สื่อหลัก : อุปกรณ์ในการเล่นเกม ได้แก่ เสาหลัก ห่วง คล้ายการยืนในภาพ

สื่อเสริม : เพลงตบมือให้ดัง อุปกรณ์ในการเล่นเกม กระดาษสำหรับคำตอบของนักเรียน ใบงาน 3.5 การกำหนดเวลาที่ใช้ในแต่ละคำสั่ง และการกำหนดคาบพร้อมกับเป้าหมายของบทเรียนของแต่ละคาบ ลำดับขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอน 1.ขั้นนำเสนอปัญหา (10 นาที) 1.ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมละลายพฤติกรรมโดยมีชื่อกิจกรรมว่า “ตบมือด้วยกัน” มีเนื้อร้องดังนี้ “ตบ มือให้ดังอย่ามัวนั่งนิ่งเฉย ตบมือกันเถิดเอย อย่าเฉยน่ะพวกเรา ตบมือให้ดังจะเจ็บก็ชั่งประไร จะเจ็บก็ชั่งประไร ตบมือกัน 2 คน ตบมือกัน 2 คน ตบมือให้ดังอย่ามัวนั่ งนิ่งเฉย ตบมือกันเถิดเอย อย่าเฉยน่ะพวกเรา ตบมือให้ดัง จะเจ็บก็ชั่งประไร จะเจ็บก็ชั่งประไร ตบมือกัน 10 คน ตบมือกัน 10 คน ” ( การตบมือกัน 10 คนจะทำให้มี ลักษณะเป็นวงกลม ซึ่งเป็นการนำเข้าสู่บทเรียน ) 2.ต่อมาครูจะสร้างความสนใจให้กับนักเรียนโดยการเล่มเกมมีชื่อเกมว่า “โยนห่วงให้ลงเสา” ซึ่งแบ่ง นักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วให้ตัวแทนนักเรียนกลุ่มล่ะ 3 คน จำนวน 9 คนออกมาทำกิจกรรม อธิบายกติกาของเกมเราจะยืนยังไงให้ทุกคนมีโอกาสในการโยนห่วงเท่า ๆ กันทุกคนเมื่อโยนพร้อมกัน โดยลำดับ แรกครูก็จะมีรูปตัวอย่างแบบการยืนให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างว่าการยืนในลักษณะนี้จะมีความเท่าเทียมกันหรือไม่ โดยครูติดรูปเหล่านี้ในกระดาน ถ้าตัวอย่างของรูปแบบการยืนที่ครูให้ไม่มีความเท่าเทียมกัน ให้นักเรียนหาวิธีอื่น พร้อมบันทึกลงในใบงาน (เกมเป็นประมาณนี้)

P a g e | 193

2.ขั้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (20 นาที) คำสั่ง เราจะโยนห่วงยังไงให้ลงเสาโดยที่ทุกคนต้องมีโอกาสในการโยนห่วงเท่ากันทุกคน

P a g e | 194

ให้นักเรียนทุกคนช่วยกันคิดหาวิธีการแก้ปัญหา พร้อมกับบันทึกวิธีการของตัวเองลงไปใน ใบงานพร้อม บอกเหตุผลที่เลือกวิธีนั้นๆ ในขั้นนี้นักเรียนจะช่วยกันหาวิธีโยนห่วงให้ลงแกนกลางที่ง่ายที่สุดและเท่าเทียมกันทุกคน จากรูปแบบที่ครู แนะนำ แล้วนำมาวาดรูปแบบการยืนในในกิจกรรมของตนเอง โดยครูทำหน้าที่บันทึกแนวคิดของนักเรียนว่าเริ่มต้น การคิดอย่างไรและใช้รูปแบบไหนในการยืนบ้าง

P a g e | 195

3.ขั้นนำเสนอแนวคิดและอภิปราย (15 นาที) 1.ให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอแนวคิดของกลุ่มตัวเอง 2.พยายามให้นักเรียนได้พูดแสดงแนวคิดของกลุ่มตัวเองออกมา โดยอาจจะใช้วิธีการถามแบบเปิด เพื่อให้นักเรียน ได้ตอบคำถามตามที่ตนเองคิดได้ แสดงแนวคิดหรือวิธีคิดของกลุ่มตนเองออกมาให้ได้มากที่สุด (ครูมีการจดแนวคิด ของนักเรียนร่วมด้วยตลอด) 4. ขั้นสรุปโดยการเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน (5 นาที) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยที่ครูให้นักเรียนระดมความคิดของกลุ่มของตัวเอง โดยครูพูดว่าให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนคำสำคัญที่ได้จากการเล่มเกมในครั้งนี้ ซึ่งครูจะให้กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มแรก ที่มาติดคำสำคัญลงในกระดานก่อน แล้วให้นักเรียนกลุ่มถัดไปนำคำของกลุ่มตัวเองมาติด แล้วติดคำสำคัญนั้นให้อยู่ ในกลุ่มเดียวกันกับกลุ่มแรก ทำแบบนี้ทั้ง 3 กลุ่มจนครบ คำสำคัญของนักเรียนอาจแบ่งได้เป็นดังนี้ เช่น คำว่า เสา หลัก จุด อยู่ในกลุ่มเดียวกัน คำว่า เส้น ระยะห่าง ความยาว อยู่ในกลุ่มเดียวกัน และคำว่า ยืนล้อม ยืนรอบเสา และยืนเป็นวงกลม อยู่ในกลุ่มเดียวกัน หลังจากที่นักเรียนติดคำสำคัญของนักเรียนลงในกระดานแล้ว ต่อมาครูนำคำสำคัญของนักเรียนที่ได้ไป เชื่อมโยงกับเนื้อหาดังนี้ 1.คำว่า เสา หลักและจุด ของนักเรียนมีความหลากหลายครูขอให้คำว่า “จุดศูนย์กลาง”แทนคำว่า เสา หลักและ จุด เพื่อให้นักเรียนทุกคนเรียกเหมือนกัน 2.คำว่า เส้น ระยะห่างและความยาว ของนักเรียนมีความหลากหลายครูขอให้คำว่า “รัศมี”แทนคำว่าเสา หลักและ จุด เพื่อให้นักเรียนทุกคนเรียกเหมือนกัน 3.คำว่า ยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม ของนักเรียนมีความหลากหลายครูขอให้คำว่า “เส้นรอบวง”แทน คำว่า ยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม เพื่อให้นักเรียนทุกคนเรียกเหมือนกัน เมื่อครูนำคำเหล่านี้บอกนักเรียนแล้ว ครูจะพูดกับนักเรียนว่า ทั้ง 3 อย่างนี้เป็นส่วนประกอบของรูปวงกลม แล้วครูให้นักเรียนพูดพร้อมกันว่า “ส่วนประกอบของรูปวงกลมจะประกอบด้วย จุดศูนย์กลาง รัศมี และ เส้นรอบ วง ” 3.6 การคาดคะเนแนวคิดของนักเรียนที่จะตอบสนองต่อคำสั่งแต่ละคำสั่ง 1.การยืนของนักเรียนในการโยนห่วง นักเรียนอาจมีลักษณะการยืนที่หลากหลาย เช่น นักเรียนบางคนยืนใกล้เสา และบางคนอาจยืนไกลเสา และลักษณะการยืนของนักเรียนอาจไม่ไปในทิศทางเดียวกัน 2.นักเรียนมีลักษณะการยืนที่อยู่ในรูปแบบเดียวกันและจะยืนในลักษณะที่เป็นรูปวงกลม 3.นักเรียนมีการคิดคำสำคัญที่ได้จากการเล่นเกมเพื่อนำไปสู่เนื้อหาของบทเรียน ได้แก่คำว่า เสา หลักและจุด , เส้น ระยะห่างและความยาว และสุดท้ายยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม 3.7 ความยุ่งยากของนักเรียนที่อาจจะเกิดขึ้นในขั้นต่างๆตามขั้นการสอน 4 ขั้น 1.นักเรียนไม่สามารถสร้างรูปแบบการยืนเองได้หากไม่มีตัวอย่างให้ดู 2.นักเรียนมองไม่ออกว่าเสาเรียกว่า จุดศูนย์กลาง 3.นักเรียนมองไม่ออกว่าระยะห่างจากเสากับตำแหน่งการยืนของนักเรียนเรียกว่า รัศมี

P a g e | 196

4.นักเรียนมองไม่ออกว่าตำแหน่งการยืนของนักเรียนเรียกว่า เส้นรอบวง 4. การจัดลำดับการนำเสนอแนวคิดของนักเรียนเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงทั้งแนวคิดและความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์และอื่น ๆ ของบทเรียนในแต่ละคาบ 1.ลักษณะการคิดในการหาคำตอบของนักเรียนทำตามความคิดของตัวเองก่อน 2.นักเรียนจะมีการประชุมและวางแผนกับเพื่อนภายในกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาในการยืนยังไงเพื่อให้ทุกคนมีโอกาสใน การโยงห่วงลงเสาเท่ากันทุกคนเมื่อโยนพร้อมกัน 3.นักเรียนจะมีความคิดในการเชื่อมโยงการเล่นกิจกรรมไปสู่เนื้อหาของบทเรียนโดยที่คำสำคัญของนักเรียนจะเป็น ตัวนำไปสู่องค์ประกอบของรูปวงกลม ได้แก่ - คำว่า เสา หลักและจุด เรียกว่า “จุดศูนย์กลาง” - คำว่า เส้น ระยะห่างและความยาว เรียกว่า “รัศมี” - คำว่า ยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม เรียกว่า “เส้นรอบวง” ซึ่งทั้ง 3 คำนี้จะเป็นส่วนประกอบของรูปวงกลม 5. ประเด็นที่จะใช้ในการร่วมอภิปรายในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายของบทเรียนในแต่ละคาบ 1.ลักษณการยืนของทุกคนมีลักษณะเป็นวงกลม 2.เสาเป็นจุดศูนย์กลางหรือว่าจุดตรงกลางของรูปวงกลม 3.ระยะห่างจากเสากับตัวนักเรียนเองเรียกว่ารัศมี 4.การที่นักเรียนยืนกันเป็นวงกลมตำแหน่งของนักเรียนจะเรียกว่าเส้นรอบวง

P a g e | 197

6.การวัดและการประเมินผล รายการประเมิน/จุดประสงค์ ด้านความรู้(K) 1.สามารถนำความรู้พื้นฐานของตัวเอง ที่มีมาแก้ปัญหาได้ 2.สามารถอธิบายเกี่ยวกับการ แก้ปัญหาได้ ทักษะกระบวนการ(P) 1.บอกที่มาและสาเหตุของการ แก้ปัญหาอย่างเห็นได้ชัด 2.สามารถแสดงการแก้ปัญหาอย่าง เห็นได้ชัด 3.การเชื่อมโยง สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ ได้ เรียนรู้ผ่านมาแล้วเพื่อนำมาใช้ แก้ปัญหาได้ 4.การให้เหตุผลในกระบวนการหรือ วิธีการ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา 5. การนำเสนอ สามารถใช้วัตถุแสดง แทน ความคิดได้ 6. การสื่อสาร เช่น การพูด การใช้ตัว แสดง แทน การใช้กิริยาท่าทางในการ สื่อ ด้านคุณลักะอันพึงประสงค์ 1. การสังเกตสิ่งต่างๆ และมองเห็น สิ่งๆ นั้นในมุมมองที่แตกต่าง 2. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3. มีความกล้าแสดงออก 4. มีความสามัคคีและร่วมมือกัน ทำงาน 5. มีระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้

วิธีการประเมิน - ประเมินจากการ ทำกิจกรรม -การนำเสนอ ผลงาน การตอบ คำถาม

เครื่องมือที่ใช้ -ใบงาน

เกณฑ์การปะเมิน -ทำใบกิจกรรมได้ ครบถ้วน - สามารถเล่าเรื่องได้ ตามที่กำหนด

- การอภิปราย -ประเด็นการ แลกเปลี่ยนความ อภิปราย คิดเห็นระหว่างการ - การตอบคำถาม นำเสนอผลงาน

- อภิปรายสอดคล้อง กับ เนื้อหา 70%

การสังเกต ขณะ แก้ปัญหาด้วย ตนเองในขณะ ทำงานกลุ่ม

-แบบสังเกต ผ่านอย่างน้อย 4 พฤติกรรม ราย รายการ เดี่ยว และรายกลุ่ม ตามรายการใน จุดประสงค์

P a g e | 198

บันทึกหลังการสอน ผลการสอน 1.การบรรลุวัตถุประสงค์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. แนวคิดของนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ในคาบถัดไป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.............................................. (.............................................) ผู้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ วันที่..................................... ความคิดเห็น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.............................................. (.............................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ วันที่..................................... ความคิดเห็น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.............................................. (.............................................) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ/ผู้อำนวยการ วันที่.....................................

P a g e | 199

ข้อมูลการพัฒนาตนเอง ดิฉันเป็นสมาชิกสมาคมคณิตศาสตรศึกษา เข้าร่วมจัดการประชุมวิชาการคณิตศาสตรศึกษาทุกครั้ง ปีนี้ เข้าร่วมที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เมื่อวันที่ 29-30 มกราคม 2565 เป็น TSMEd 8 ในรูปแบบออนไซต์ และ ผู้เข้าร่วมนั้นเข้าร่วมทางออนไลน์ ดังภาพ เข้าร่วมสังเกตและสะท้อนผลชั้นเรียน รวมทั้งเป็นผู้อ่านพิจารณาบทความวิจัย

P a g e | 200

P a g e | 201

โดยในการนี้ก็ไม่ลืมที่จะให้นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ได้มีส่วนร่วมในการนำเสนอแนวคิด ของตนเองในหัวข้อ ความคิดเห็นเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยให้นำเสนอออนไลน์ เพื่อฝึกให้นักศึกษาได้แสดงความ คิดเห็นและเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ

2.2 ข้อมูลความร่วมมือในการช่วยงานภาควิชา คณะ และมหาวิทยาลัยในการ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและงานอื่น ๆการใช้กระดานดำ ดิฉันเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของทางคณะสม่ำเสมอ และร่วมเป็นกรรมการในโครงการต่างๆมากมายอาทิ 1. การสัมมนานักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ชั้นปีที่ 5ทุกครั้งมิได้ขาด รวมปีการศึกษาละ 5 ครั้ง โดยประมาณ ล่าสุดวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2565 ดังภาพ

P a g e | 202

2. การสัมภาษณ์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้าศึกษาต่อในคณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ รอบ ที่ ½ รอบ portfolio โครงการรับผู้มีผลการเรียนดี และโครงการผู้มีคุณธรรมจริยธรรม จำนวน 8 คน แต่ ผลการสมัครพบว่ามีผู้ให้ความสนใจสมัครสาขาคณิตศาสตร์ เป็นจำนวนมากถึง 377 คน ดังภาพ

โดยทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารของสาขาวิชาคณิตศาสตร ได้ที่ FB เพจ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะ ศึกษาศาสตร์ ม.อ. ปัตตานี ตามลิงค์นี้ https://www.facebook.com/MATH.EDU.PSU.PN ดิฉันได้รับความไว้วางใจจากคณะศึกษาศาสตร์ให้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่างระดับอุดมศึกษา เนื่องในงานวันครูของ คณะศึกษาศาสตร์ซึ่งจัดเป็นประจำทุกปีในวันครู 16 มกราคม 2565 ซึ่งปีนี้จัดในรูปแบบออนไลน์

P a g e | 203

และได้รับรางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านดูแลนักศึกษา เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2565 ดังภาพ

ลูกศิษย์ปี 1 มาร่วมแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ปรึกษา

P a g e | 204

การมีคุณธรรมจริยธรรม ในการดำเนินชีวิตส่วนตัว ดิฉันยึดหลักพรหมวิหาร 4 เป็นแนวทางในการดำรงชีวิต ใช้ทั้งการทำงานส่วนตัวและงานส่วนรวม ดำเนิน ชีวิตตามทางสายกลางให้มากที่สุด หลักธรรมที่ใช้มากที่สุดคือคือความเมตตา โดยเฉพาะเมตตาต่อลูกศิษย์ทุกคน ที่มาเรียนกับดิฉัน ทุกคนมีความเท่าเทียม ให้ความรักความเมตตาเสมอหน้ากัน ทั้งในส่วนของลูกศิษย์ และเพื่อน ร่วมงาน ให้อภัยกับผู้อื่นให้เร็ว และโกรธให้ช้า และถือว่าไม่มีใครอยากทำผิด ไม่มีใครต้องการเป็นคนไม่ดี ไม่ถือ โทษโกรธนานเพราะไฟโกรธนั้นจะกลับมาเผาใจเราเอง จำทำให้เราให้อภัยคนอื่น ได้ง่าย แต่ที่ยากที่สุดคือการให้ อภัยตนเอง ดิฉันเข้าวัดปฏิบัติธรรม บริจาคเงินเป็นทานมัย และปฏิบั ติตนเป็นพุทธมามกะ พยายามถือศีลปฏิบัติ ธรรมทุกครั้งที่มีโอกาส รวมถึงการให้โอกาสนักศึกษาแก้ตัวอยู่เสมอ เพราะถือว่าทุกคนพัฒนาได้หากเขาต้องการ พั ฒ นาตนเองเราต้ อ งให้ โ อกาสนั้ น แก่ เขาทั น ที และนี ่ ค ื อ หลัก การหนึ่ ง ในการพัฒ นานัก ศึ ก ษาในสาขาวิช า คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพราะครูที่ดีต้องปฏิบัติให้ดู แต่ครูที่สุดยอดต้องสร้างแรงบันดาลใจ

ตักบาตรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ 2565

กราบหลวงตาม้าที่วัดถ้ำเมืองนะ จ.เชียงใหม่ ปฏิบัติธรรมประจำปีที่อโรคยาศาลาธรรมสถาน จ.ชัยภูมิ

P a g e | 205

ร่วมกวนอาซูรอ กับนักศึกษา

ดูแลนักศึกษาด้วยความยุติธรรมและหลายรูปแบบ

การลาป่วยในยุคโควิด

P a g e | 206

ความหลากหลายของโปรแกรมที่ใช้สอน

LMS 2 รายวิชา 262-101 และ 262-309

โปรแกรมซูม กับการสอน 262-101 คาบสุดท้าย ของเทอม 1/2564 นักศึกษามีเซอร์ไพร์ส

P a g e | 207

สไลด์แรกก่อนสอน ให้นักศึกษาขอเพลงได้ 3 เพลง

โปสเตอร์โครงการนำเสนอสื่อการสอนออนไลน์ ของนักศึกษาปี 2 วิชา 262-201

Mentimeter สอบถามเรื่องงานวิจัย

แผนการจัดการเรียนรู้(ฉบับย่อ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : วงกลมและทรงกลม

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565

จำนวนนักเรียนทั้งหมด 30 คน คน แผนที่ 1 ชื่อแผน : เจ้าวงกลมมันเป็นยังไงน่ะ

จุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ 1.นักเรียนรู้จักรูปวงกลมและทรงกลม 2.รู้ส่วนประกอบของวงกลมและทรงกลม 3.รู้วิธีการสร้างรูปวงกลมและรู้จักอุปกรณ์สำหรับการสร้าง รูปวงกลม 4.สามารถสร้างรูปวงกลมได้ด้วยตัวเอง 5.สามารถนำรูปวงกลมไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ของแผน 1.รับรู้ความเป็นวงกลม 2.รู้จักส่วนประกอบของวงกลม สาระสำคัญของแผน(Concept/Main Ideas) รูปวงกลม ประกอบด้วย จุดศูนย์กลาง รัศมี และเส้น รอบวง จุดศูนย์กลาง คือ เป็นจุดที่อยู่ตรงกลางของวงกลม และ ห่างจากเส้นรอบวงเท่ากันตลอด รัศมี คือ ส่วนของเส้นตรงจากจุดศูนย์กลางไปยังเส้นรอบวง ซึ่งรัศมีแต่ละเส้นมีความยาวเท่ากัน เส้นรอบวง คือ ความยาวโดยรอบของวงกลม โจทย์/สถาณการณ์ปัญหา (Task /Problem situation) บริบท ครูให้นักเรียนเล่นเกมแล้วลองจำลองการยืนตามภาพ หากไม่เกิดความเท่าเทียมนักเรียนจะมีวิธีการยืนอย่างไร เพราะเหตุใด สถานการณ์ปัญหา ครูมีเกมให้นกั เรียนเล่น “โยนห่วงให้ลง ช่อง”นักเรียนทุกคนจะยืนยังไงให้มีโอกาสโยนห่วงลงช่อง เท่ากันทุกคน คำสั่ง จะยืนยังไงให้ทุกคนมีโอกาสในการโยนห่วงเท่า ๆ กัน ทุกคน

ลำดับกิจกรรมการสอน(Flow of Lesson): 1. การแสดงแทนโลกจริงของนักเรียน : ลักษณะการยืนที่เป็นวงกลมในการเล่นเกม 2. การแสดงแทนด้วยสื่อกึ่งรูปธรรม : ภาพตัวอย่างรูปแบบการยืน 3. การแสดงแทนโลกคณิตศาสตร์ : การเขียนคำสำคัญนำไปสู่เนื้อหา สื่อหลัก(สื่อสำหรับสถานการณ์) อุปกรณ์ในการเล่นเกม ได้แก่ เสาหลัก ห่วง สื่อเสริม(สื่อสำหรับช่วยในการนำเสนอ แนวคิดของนักเรียน) เพลงตบมือให้ดัง อุปกรณ์ในการเล่นเกม กระดาษสำหรับคำตอบของนักเรียน ใบงาน ความยุ่งยากของนักเรียน 1.นักเรียนไม่สามารถสร้างรูปแบบการยืนเอง ได้หากไม่มตี ัวอย่างให้ดู 2.นักเรียนมองไม่ออกว่าเสาเรียกว่า จุด ศูนย์กลาง มองไม่ออกว่าระยะห่างจากเสาที่ เท่ากันกับตำแหน่งการยืนของนักเรียนเรียกว่า รัศมีและมองไม่ออกว่าตำแหน่งการยืนของ นักเรียนเองเรียกว่า เส้นรอบวง ชื่อผู้สอน : นางสาวมุทิตา ปราบโรค

หนังสือเรียนญี่ปุ่น : ระดับชั้นป.4 หน้า 17

คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์

การคาดคะเนแนวคิดของนักเรียน 1.การยืนของนักเรียนในการโยนห่วง นักเรียนอาจมีลักษณะการยืนที่หลากหลาย และลักษณะการ ยืนของนักเรียนอาจไม่ไปในทิศทางเดียวกัน 2.นักเรียนมีลักษณะการยืนที่อยู่ในรูปแบบเดียวกันและจะยืนในลักษณะที่เป็นรูปวงกลม 3.นักเรียนมีการคิดคำสำคัญที่ได้จากการเล่นเกมเพื่อนำไปสูเ่ นื้อหาของบทเรียน ได้แก่คำว่า เสา หลักและจุด , เส้น ระยะห่างและความยาว และสุดท้ายยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม ลำดับการสอน 4 ขั้นตอนตามวิธกี ารสอนแบบเปิด (Open Approach) ขั้นที่ 1 ขั้นนำเสนอปัญหา (5 นาที) 1.ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมละลายพฤติกรรมโดยมีชื่อกิจกรรมว่า “ตบมือด้วยกัน 2.ต่อมาครูจะสร้างความสนใจให้กับนักเรียนโดยการเล่มเกมมีชื่อเกมว่า “โยนห่วงให้ลงช่อง” ซึ่ง แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วให้ตัวแทนนักเรียนกลุ่มล่ะ 3 คน จำนวน 9 คนออกมาทำกิจกรรม อธิบายกติกาของเกมเราจะยืนยังไงให้ทุกคนมีโอกาสในการโยนห่วงเท่า ๆ กันทุกคนเมื่อโยนพร้อมกันซึ่งครูมีตัวอย่างตำแหน่งการยืนให้นักเรียนดู (เกมเป็นประมาณนี้) ขั้นที่ 2 ขั้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (5 นาที) คำสั่ง เราจะโยนห่วงยังไงให้ลงเสาโดยที่ทุกคนต้องมีโอกาสในการโยนห่วงเท่ากันทุกคนให้นักเรียน ทุกคนช่วยกันคิดหาวิธีการแก้ปัญหา พร้อมกับบันทึกวิธีการของตัวเองลงไปใน ใบงานพร้อมบอก เหตุผลที่เลือกวิธีนั้นๆ ขั้นที่ 3 ขั้นนำเสนอแนวคิดและอภิปราย (5 นาที) 1.ให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอแนวคิดของกลุ่มตัวเอง 2.พยายามให้นักเรียนได้พูดแสดงแนวคิดของกลุ่มตัวเองออกมา โดยอาจจะใช้วิธีการถามแบบเปิด เพื่อให้นักเรียนได้ตอบคำถามตามที่ตนเองคิดได้ ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปโดยการเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน (5 นาที) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกีย่ วกับการทำกิจกรรม ให้นักเรียนระดมความคิดของกลุม่ ของตัวเอง แล้วให้นักเรีนนทุกกลุม่ ออกมาติดคำลงบนกระดาษและติดให้อยู่ในหมวดเดียวกัน 1.คำว่า เสา หลักและจุด ใช้คำว่า“จุดศูนย์กลาง” เพื่อให้นักเรียนทุกคนเรียกเหมือนกัน 2.คำว่า เส้น ระยะห่างและความยาว คำว่า “รัศมี” เพื่อให้นักเรียนทุกคนเรียกเหมือนกัน 3.คำว่า ยืนล้อม ยืนรอบเสาและยืนเป็นวงกลม ให้คำว่า “เส้นรอบวง” เพื่อให้นักเรียนทุกคน เรียกเหมือนกัน

นางสาวมุทิตา ปราบโรค คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์

แผนการใช้กระดานดำ (Bansho)

คำสำคัญ สถานการณ์ : มาเล่นโยนห่วงกันเถอะ เสา คำสั่ง : เราจะโยนห่วงยังไงให้ลงเสาโดยที่ทุกคนต้องมีโอกาสในการโยนห่วงเท่ากันทุกคน

หลัก

เขียนความคิดของนักเรียน

ทีมครู 1. ครูผู้สอน : นางสาวมุทิตา ปราบโรค คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 2. ผู้ร่วมสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ • ดร.รัชดา เชาวน์เสฎฐกุล อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์ • นางสาวกัตติกา ราชแสง นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์ • นางสาวจริยา ทักษิณาวาณิชย์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์ • นางสาวมีมี่ ลีลานนท์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนสาขาวิชาคณิตศาสตร์

ยืนล้อม

เส้น

จุด

จุดศูนย์กลาง

ระยะห่าง

ความยาว

รัศมี

ยืนรอบ เสา

ยืนเป็นวงกลม

เส้นรอบวง

P a g e | 210

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของ อาจารย์ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล ปีการศึกษา 2560-2564 (1/2564) แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2560

รหัสวิชา ชื่อวิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1 261-101 Foundation of Education

กลุม่

อาจารย์ผู้สอน

Avg

SD

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 02 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 07 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.13 4.34 4.26

0.89 0.72 0.78

07 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.61

0.63

รอบการประเมินครั้งที่ 1

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2560

รหัส ชื่อวิชา วิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1 262Learning and Instruction Management 401 รอบการประเมินครั้งที่ 1 262Professional Internship II 512

กลุม่

อาจารย์ผู้สอน

Avg

SD

04 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.06 0.78

10 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.20 0.62

อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

P a g e | 211

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2561

รหัสวิชา ชื่อวิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1 261-101 Foundation of Education

รอบการประเมินครั้งที่ 1 261-403 Teachership

กลุม่

อาจารย์ผู้สอน

Avg SD

01 อ.ณัฐวิทย์ พจนตันติ 09 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 12 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.67 0.57 4.52 0.55 4.42 0.63

01 อ.มะลิ ศรีชู 07 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.25 0.81 4.44 0.71 4.46 0.76

รวมทั้งภาควิชา แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2561

รหัสวิชา ชื่อวิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1 262-401 Learning and Instruction Management Learning and Instruction Management in Specific 262-402 Area

กลุม่

อาจารย์ผู้สอน

Avg SD

02 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 3.77 1.14 06 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 4.56 0.67

P a g e | 212

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2562

รหัสวิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1

ชื่อวิชา

กลุม่

261-101 Teaching Profession and Teachership

04 05 06 07

บการประเมินครั้งที่ 1 261-403 Teachership

03 07

อาจารย์ผู้สอน อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล

อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.31 4.45

Avg

SD

4.75

0.49

4.73

0.51

4.45

0.66

4.57

0.62

0.72 0.70

รอบการประเมินครั้งที่ 1 262-535

Extracurricular Activities in Mathematics

01

อ.รัชดา เชาวน์ 4.84 0.37 เสฏฐกุล

P a g e | 213

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2562

รหัส ชื่อวิชา วิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1 262Mathematical processes for Learning Management 305 รอบการประเมินครั้งที่ 2 262Mathematical processes for Learning Management 305 รอบการประเมินครั้งที่ 2 262Learning and Instruction Management in Specific Area 402

กลุม่

อาจารย์ผู้สอน

Avg SD

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 4.61 0.49

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 4.92 0.26

06 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 4.87 0.33

P a g e | 214

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2563 รหัสวิชา

ชื่อวิชา

กลุ่ม

อาจารย์ผู้สอน

Avg SD

รอบการประเมินครั้งที่ 1 261-101 Teaching Profession and Teachership

01 อ.จารึก อรรถสงเคราะห์ 4.56 0.65 03 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.71 0.47

04 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.79 0.41

07 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.66 0.57

08 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.82 0.41

รอบการประเมินครั้งที่ 2 261-101 Teaching Profession and Teachership

01 อ.จารึก อรรถสงเคราะห์ 0.00 0.00 03 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.68 0.47

04 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

07 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

08 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

4.73 0.48

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล

0.00 0.00

รอบการประเมินครั้งที่ 1 262-201 Mathematics learning design รอบการประเมินครั้งที่ 2 262-201 Mathematics learning design รอบการประเมินครั้งที่ 1 262-512 Professional Internship II

คณาจารย์

0.00 0.00

รอบการประเมินครั้งที่ 2 262-512 Professional Internship II

01 อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล คณาจารย์

0.00 0.00 0.00 0.00

P a g e | 215

แบบสรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ ภาควิชาการศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2563

รหัสวิชา รอบการประเมินครั้งที่ 1

ชื่อวิชา

262-512 PROFESSIONAL INTERNSHIP II

กลุม่ อาจารย์ผู้สอน 01

รอบการประเมินครั้งที่ 1 TEACHING AND LEARNING* MANAGEMENT IN 262-402 SPECIFIC AREA* อบการประเมินครั้งที่ 1 SEMINAR IN CURRICULUM AND INSTRUCTION 270-502 DEVELOPMENT I* รอบการประเมินครั้งที่ 1 MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEARNING 262-305 MANAGEMENT* รอบการประเมินครั้งที่ 1 MATHEMATICAL PROCESSES FOR LEARNING 262-203 MANAGEMENT

อ.รัชดา เชาวน์เสฏฐ กุล

Avg

0.00

SD

0.00

02

อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล

0.00 0.00

01

อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล

4.59 0.49

01

อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล

4.55 0.71

01

อ.รัชดา เชาวน์ เสฏฐกุล

4.63 0.64

P a g e | 216

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ของการจัดการเรียนการสอนใน เทอม 1/2564 แบบประเมินรายวิชา รายวิชา 261-101 TEACHING PROFESSION AND * TEACHERSHIP*

กลุ่มที่

ภาคการศึกษาที่ 1

ปี การศึกษา 2564

จานวนผู้ประเมิน 12/ 23 คึดเป็ น 52.17% ข้อ

รายการประเมิน

1 ข้อเสนอแนะอื่นเพิ่มเติม •

เป็ นรายวิชาที่สอนได้ดีมาก ได้ปฏิบตั ิให้เข้าใจเพิ่มขึ้นในหลักทฤษฎีต่างๆได้ดีมากๆค่ะ

แบบประเมินรายวิชา รายวิชา 262-201 MATHEMATICS LEARNING DESIGN

กลุ่มที่

ภาคการศึกษาที่ 1

ปี การศึกษา 2564

จานวนผู้ประเมิน 26/ 37 คึดเป็ น 70.27% ข้อ 1

รายการประเมิน ข้อเสนอแนะอื่นเพิ่มเติม •

เป็ นรายวิชาที่ดีสามารถนาไปต่อยอดในชีวิตประจาวันและวิชาชีพได้



เป็ นวิชาที่อาจารย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู้โดยให้นกั ศึกษาได้คิด ขอบคุณมากครับ

P a g e | 217

รายวิชา 262-201 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตอน 01 สอนโดย อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 35 คน จำนวนนักศึกษาที่ประเมินแล้ว 35 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ค่าเฉลี่ย ที่ได้ = 4.85 (เต็ม 5)

รายละเอียดผลการประเมินของนักศึกษา เฉลี่ย

รายการ 1. การส่งเสริ มให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ที่ดี 1.1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และผูเ้ รี ยน

4

3

2

1

ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยน อบอุ่นอย่างสม่าเสมอ ใส่ใจผูเ้ รี ยนอย่างทัว่ ถึง บรรยากาศไม่เครี ยด ให้เกียรติผเู ้ รี ยน มี ความยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยนเชิง บวกตลอดการสอน ให้เกียรติผเู ้ รี ยนอย่าง ทัว่ ถึง มีความยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยน เชิง บวกบ้าง ไม่มี ปฏิสัมพันธ์เชิงลบ ให้ เกียรติผเู ้ รี ยนส่วนใหญ่ มีความยุติธรรม

ไม่มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างอาจารย์และ ผูเ้ รี ยนหรื อมี ปฏิสัมพันธ์เชิงลบมี พฤติกรรมที่แสดงถึง การไม่ให้เกียรติผเู ้ รี ยน ลาเอียง ไม่ยตุ ิธรรม

88.57

11.43

0

0

สอนโดยเน้นกิจกรรม เชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยน ได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาใน สถานการณ์จริ งหรื อ กรณีศึกษา หรื อปฏิบตั ิ จริ ง โดยกิจกรรม ดังกล่าวสอดคล้องกับ ศักยภาพของผูเ้ รี ยน

สอนโดยเน้นกิจกรรม เชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยน ได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์

สอนโดยใช้วิธีบรรยาย และมีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบที่ผเู ้ รี ยนมี ส่วนร่ วมบ้าง

สอนโดยใช้วิธีบรรยาย เป็ นหลัก โดยผูเ้ รี ยน เป็ นเพียงผูร้ ับฟังแต่ เพียงอย่างเดียว

(เต็ม 5)

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน 2. การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ 2.1 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นการมี ส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน

4.86

P a g e | 218 2.2 การใช้สื่อและทรัพยากรการเรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากร การเรี ยนรู ้ที่ทนั สมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้ สอดคล้อง กับกิจกรรมจัดการ เรี ยนรู ้ ยืดหยุ่นให้ ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกใช้ ได้ตามความเหมาะสม เป็ นตัวอย่างที่ดีในการ อ้างอิงทรัพยากรการ เรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากร การเรี ยนรู ้ที่ทนั สมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้สอดคล้อง กับกิจกรรมจัดการ เรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากร การเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ ม หรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้ บ้าง

ไม่ใช้สื่อและ ทรัพยากรการเรี ยนรู ้ หรื อใช้ไม่เหมาะสม ต่อกระบวนการเรี ยนรู ้

2.3 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ได้

อาจารย์แจ้งเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน กิจกรรม การเรี ยนรู ้สามารถทา ให้บรรลุเป้าหมายได้ นาไปใช้ได้จริ ง

อาจารย์แจ้งเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน กิจกรรม การเรี ยนรู ้สามารถทา ให้บรรลุเป้าหมายได้

อาจารย์แจ้งเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน แต่ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ยงั ไม่สามารถทาให้บรรลุ เป้าหมายได้

อาจารย์ไม่ได้แจ้ง เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน

88.57

10.48

0.95

มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน ให้ขอ้ มูล ป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมี การประเมินตนเอง หรื อสะท้อนสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู ้

มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอนให้ขอ้ มูล ป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน

88.57

11.43

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน

0

4.85

3. การประเมินผล 3.1 การประเมินผลระหว่างการสอน

มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน แต่ไม่ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน

ไม่มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน 4. ความเป็ นครู

0

0

4.86

P a g e | 219 4.1 การนาเสนอและบุคลิกภาพ

มีความมัน่ ใจมาก การ นาเสนอและคาอธิบาย ชัดเจน มีการ ยกตัวอย่างประกอบ การใช้ภาษาถูกต้อง และเหมาะสม มีการใช้ ภาษากายที่เหมาะสม การพูดและน้ าเสี ยง ชัดเจน กระชับ ใช้ เวลาได้อย่างเหมาะสม มีการย้าบางประเด็น เมื่อจาเป็ น การแต่ง กายและท่าทาง เหมาะสม ถูกกาลเทศะ

มีความมัน่ ใจ การ นาเสนอชัดเจนเป็ น ส่วนใหญ่ คาอธิบาย เข้าใจง่าย มีการ ยกตัวอย่างประกอบ การใช้ภาษาถูกต้อง การพูดและสาเนียง ชัดเจน มีการ ตรวจสอบความเข้าใจ ของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะๆ การแต่งกายและ ท่าทางเหมาะสม ถูก กาละเทศะ

มีความมัน่ ใจพอควร การนาเสนอชัดเจน แต่ อาจสั้นหรื อยาวเกินไป ใช้เวลาไม่เหมาะสม ใช้ภาษาเหมาะสมเป็ น ส่วนใหญ่ คาอธิบายมี ความสับสนบ้าง มีการ ตรวจสอบความเข้าใจ ของผูเ้ รี ยนเป็ นบางครั้ง การแต่งกายและ ท่าทางเหมาะสม ถูก กาลเทศะ

ไม่มน่ั ใจ ทาให้เกิด ความสับสน การใช้ ภาษาไม่เหมาะสม การ นาเสนอขาดประเด็นที่ สาคัญ การพูดและ สาเนียงไม่ชดั เจน การ แต่งกายและท่าทางไม่ เหมาะสม

4.2 ความตรงต่อเวลา

เข้าสอนและเลิกสอน ตรงตามเวลาที่กาหนด ใช้เวลาได้อย่าง เหมาะสม

เข้าสอนและ/หรื อเลิก สอนไม่เป็ นไปตาม เวลาที่กาหนดไม่เกิน 5 นาที

เข้าสอนและ/หรื อเลิก สอนไม่เป็ นไปตาม เวลาที่กาหนดมากกว่า 5 นาที แต่ไม่เกิน 10 นาที

เข้าสอนและ/หรื อเลิก สอนไม่เป็ นไปตาม เวลาที่กาหนดเกินกว่า 10 นาที

ส่งเสริ ม ชี้แนะ ตักเตือนให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่เหมาะสม อย่างสร้างสรรค์และ เป็ นมิตร เชื่อมโยง หรื อสอดคล้องกับ เนื้อหาที่สอนแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสม และเป็ นแบบอย่างแก่ ผูเ้ รี ยน

แนะนา ส่งเสริ ม ตักเตือน อย่าง สม่าเสมอ เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสม

แนะนา ส่งเสริ ม ให้ ผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสมเป็ นบาง โอกาสและยกตัวอย่าง พฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสมประกอบ

ไม่ได้แนะนาหรื อ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่เหมาะสม ตาหนิผเู ้ รี ยนอันทาให้ เกิดความอับอายในชั้น เรี ยนต่อหน้าสาธารณะ

4.3 การส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสมรวมถึงการให้เกียรติผเู ้ รี ยน

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน

88.57

10.48

0.95

0

4.85

88.57

10.71

0.71

0

4.85

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินรวมทุกด้าน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

- อาจารย์น่ารักมากๆค่ะ - เป็นวิชาที่สอนให้รู้จักการจัดการเรียนรู้ได้ดีมากๆ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนแผน การออกแบบสื่อการสอน อาจารย์สอนแบบเปิดมากๆ สามารถตอบได้ทุกอย่าง คำตอบของทุกคนไม่มีผิด อาจารย์คอยสอดแทรก ให้ คำแนะนำทุกเรื่อง เป็นอาจารย์ที่น่ารักที่สุด และอยากขอบคุณอาจารย์จากใจจริงค่ะ ที่จัดกิจกรรมให้พวกหนูได้ นำเสนอสื่อการสอน เป็นกิจกรรมที่ดีและฝึกความกล้าแสดงออกได้มากๆเลยค่ะ ขอบคุณอาจารย์มากๆค่ะ

P a g e | 220

- อยากให้มีการเรียนในห้องเพราะวิชานี้ค่อนข้างต้องเห็นภาพจริงๆมากกว่าภาพในจอ - อาจารย์เข้าใจบริบทของนักศึกษา ยอมรับทุกความคิดเห็น ให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของนักศึกษา รายวิชานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในอนาคตของการเป็นครู อาจารย์น่ารักมากๆค่ะ การเรียนรู้สึกน่า ติดตามและมีกิจกรรมที่ทำให้นักศึกได้มีโอกาสแสดงความสามารถในหลายๆด้าน ทักษะกระบวนการทำงาน ความสามัคคี และการจัดการอย่างเป็นระบบค่ะ ในส่วนข้อเสนอเเนะเล็กน้อย คืออยากให้อาจารย์มีกิจกรรม ใหญ่ๆ ไว้ต้น หรือ ท้าย ภาคเรียนค่ะ เพื่อกระตุ้นนักศึกษาและทำให้การเรียนน่าสนใจยิ่งขึ้น แสดงผล ณ วันที่ 13/2/2565 เวลา : 17:35:29

รายวิชา 261-101 วิชาชีพและความเป็นครู ตอน 07 สอนโดย อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 23 คน จำนวนนักศึกษาที่ประเมินแล้ว 22 คน คิดเป็นร้อยละ 95.65 ค่าเฉลี่ย ที่ได้ = 4.88 (เต็ม 5)

รายละเอียดผลการประเมินของนักศึกษา

รายการ 1. การส่งเสริ มให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ที่ดี 1.1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และ ผูเ้ รี ยน

4

3

2

1

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และ ผูเ้ รี ยน อบอุ่นอย่างสม่าเสมอ ใส่ ใจผูเ้ รี ยนอย่างทัว่ ถึง บรรยากาศ ไม่เครี ยด ให้เกียรติผเู ้ รี ยน มี ความยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยนเชิง บวกตลอดการสอน ให้เกียรติผเู ้ รี ยนอย่าง ทัว่ ถึง มีความยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยน เชิง บวกบ้าง ไม่มีปฏิสัมพันธ์ เชิงลบ ให้เกียรติผเู ้ รี ยน ส่วนใหญ่ มีความยุติธรรม

ไม่มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างอาจารย์และ ผูเ้ รี ยนหรื อมี ปฏิสัมพันธ์เชิงลบมี พฤติกรรมที่แสดงถึง การไม่ให้เกียรติผเู ้ รี ยน ลาเอียง ไม่ยตุ ิธรรม

100

0

0

0

สอนโดยเน้นกิจกรรมเชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยนได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาใน สถานการณ์จริ งหรื อกรณี ศึกษา หรื อปฏิบตั ิจริ ง โดยกิจกรรม ดังกล่าวสอดคล้องกับศักยภาพ ของผูเ้ รี ยน

สอนโดยเน้นกิจกรรม เชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยน ได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์

เฉลี่ย (เต็ม 5)

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน 2. การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ 2.1 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นการมี ส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน

สอนโดยใช้วิธีบรรยาย และมีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบที่ผเู ้ รี ยนมีส่วน ร่ วมบ้าง

สอนโดยใช้วิธี บรรยายเป็ นหลัก โดย ผูเ้ รี ยนเป็ นเพียงผูร้ ับ ฟังแต่เพียงอย่างเดียว

5

P a g e | 221 2.2 การใช้สื่อและทรัพยากรการเรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากรการเรี ยนรู ้ที่ ทันสมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้ สอดคล้องกับกิจกรรมจัดการ เรี ยนรู ้ ยืดหยุ่นให้ผเู ้ รี ยนสามารถ เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม เป็ นตัวอย่างที่ดีในการอ้างอิง ทรัพยากรการเรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากร การเรี ยนรู ้ที่ทนั สมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้สอดคล้อง กับกิจกรรมจัดการ เรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากรการ เรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มหรื อ กระตุน้ การเรี ยนรู ้บา้ ง

ไม่ใช้สื่อและ ทรัพยากรการเรี ยนรู ้ หรื อใช้ไม่เหมาะสม ต่อกระบวนการเรี ยนรู ้

2.3 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ได้

อาจารย์แจ้งเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน กิจกรรมการเรี ยนรู ้สามารถทาให้ บรรลุเป้าหมายได้ นาไปใช้ได้ จริ ง

อาจารย์แจ้งเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน กิจกรรม การเรี ยนรู ้สามารถทา ให้บรรลุเป้าหมายได้

อาจารย์แจ้งเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่ สอน แต่กิจกรรมการ เรี ยนรู ้ยงั ไม่สามารถทาให้ บรรลุเป้าหมายได้

อาจารย์ไม่ได้แจ้ง เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน

87.88

10.61

1.52

มีการประเมินผลระหว่างการ สอนในชั้นเรี ยน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน ให้ขอ้ มูลป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีการประเมิน ตนเองหรื อสะท้อนสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู ้

มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอนให้ขอ้ มูล ป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน

มีการประเมินผลระหว่าง การสอนในชั้นเรี ยน แต่ ไม่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่ สอน

86.36

9.09

4.55

0

4.1 การนาเสนอและบุคลิกภาพ

มีความมัน่ ใจมาก การนาเสนอ และคาอธิบายชัดเจน มีการ ยกตัวอย่างประกอบ การใช้ภาษา ถูกต้องและเหมาะสม มีการใช้ ภาษากายที่เหมาะสม การพูดและ น้ าเสี ยงชัดเจน กระชับ ใช้เวลา ได้อย่างเหมาะสม มีการย้าบาง ประเด็นเมื่อจาเป็ น การแต่งกาย และท่าทางเหมาะสม ถูก กาลเทศะ

มีความมัน่ ใจ การ นาเสนอชัดเจนเป็ น ส่วนใหญ่ คาอธิบาย เข้าใจง่าย มีการ ยกตัวอย่างประกอบ การใช้ภาษาถูกต้อง การพูดและสาเนียง ชัดเจน มีการ ตรวจสอบความเข้าใจ ของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะๆ การแต่งกายและ ท่าทางเหมาะสม ถูก กาละเทศะ

มีความมัน่ ใจพอควร การ นาเสนอชัดเจน แต่อาจสั้น หรื อยาวเกินไป ใช้เวลาไม่ เหมาะสม ใช้ภาษา เหมาะสมเป็ นส่วนใหญ่ คาอธิบายมีความสับสน บ้าง มีการตรวจสอบความ เข้าใจของผูเ้ รี ยนเป็ น บางครั้ง การแต่งกายและ ท่าทางเหมาะสม ถูก กาลเทศะ

ไม่มน่ั ใจ ทาให้เกิด ความสับสน การใช้ ภาษาไม่เหมาะสม การนาเสนอขาด ประเด็นที่สาคัญ การ พูดและสาเนียงไม่ ชัดเจน การแต่งกาย และท่าทางไม่ เหมาะสม

4.2 ความตรงต่อเวลา

เข้าสอนและเลิกสอนตรงตาม เวลาที่กาหนด ใช้เวลาได้อย่าง เหมาะสม

เข้าสอนและ/หรื อเลิก สอนไม่เป็ นไปตาม เวลาที่กาหนดไม่เกิน 5 นาที

เข้าสอนและ/หรื อเลิกสอน ไม่เป็ นไปตามเวลาที่ กาหนดมากกว่า 5 นาที แต่ไม่เกิน 10 นาที

เข้าสอนและ/หรื อเลิก สอนไม่เป็ นไปตาม เวลาที่กาหนดเกินกว่า 10 นาที

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน

0

4.8 3

3. การประเมินผล 3.1 การประเมินผลระหว่างการสอน

ไม่มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน 4. ความเป็ นครู

4.7 7

P a g e | 222 4.3 การส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสมรวมถึงการให้เกียรติผเู ้ รี ยน

ส่งเสริ ม ชี้แนะ ตักเตือนให้ ผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม อย่างสร้างสรรค์และเป็ นมิตร เชื่อมโยงหรื อสอดคล้องกับ เนื้อหาที่สอนแสดงพฤติกรรมที่ เหมาะสมและเป็ นแบบอย่างแก่ ผูเ้ รี ยน

แนะนา ส่งเสริ ม ตักเตือน อย่าง สม่าเสมอ เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสม

แนะนา ส่งเสริ ม ให้ผเู ้ รี ยน มีพฤติกรรมที่เหมาะสม เป็ นบางโอกาสและ ยกตัวอย่างพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสมประกอบ

ไม่ได้แนะนาหรื อ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่เหมาะสม ตาหนิผเู ้ รี ยนอันทาให้ เกิดความอับอายใน ชั้นเรี ยนต่อหน้า สาธารณะ

93.94

6.06

0

0

4.9 2

91.48

7.39

1.14

0

4.8 8

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินรวมทุกด้าน

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ - อาจารย์น่ารักมาก สอนดีด้วย ชื่นชมในการสอนค่ะ - อาจารย์สอนได้อย่างมีคุณภาพ จัดการเรียนการสอนเป็นแบบ Active learning อยู่เสมอๆ เข้าใจนักศึกษา เข้าถึงง่าย วางตัวเหมาะสม เน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของความคิด กระตุ้นผู้เรียนตลอดเวลา เป็นวิชาที่ นักศึกษาทุกคนยินดีที่จะเปิดกล้องให้้โดยไม่ต้องโดนบีบบังคับ อาจารย์เหมาะสมที่เป็นครูที่สอนว่าที่ครูอย่างพวก ผม ทุกๆอย่างของอาจารย์จัดว่าดีเยี่ยมทุกประการ - สอนดี เปิดโอกาสให้เด็กในหลาย ๆเรื่อง สรุปคือดีมาก ดีที่สุด - อาจารย์ใจดี เข้าใจเด็กมาก ๆ ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย - อาจารย์น่ารักมากค่ะ - ดีเริศ ดีเยี่ยม หาที่ติไม่ได้ เรียกได้ว่าครบเครื่อง - เป็นวิชาแรกที่ทำให้นักศึกษาส่วนมากกล้าที่จะเปิดกล้อง การสอนของอาจารย์สนุกทุกคาบ การเรียนในวิชานี้ ทำให้เป็นคนกล้าที่จะพูดมากขึ้น การสั่งงานกลุ่มมันก็เป็นเรื่องที่ดี แต่ในการเรียนออนไลน์การคุยกันค่อนข้าง ยากมาก บางงานคุยกันน้อยมาก แต่โดยรวมคือยังอยู่ในระดับที่โอเค แสดงผล ณ วันที่ 13/2/2565 เวลา : 17:23:42

รายวิชา 262-309 การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 1 ตอน 01 สอนโดย อาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 30 คน จำนวนนักศึกษาที่ประเมินแล้ว 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ค่าเฉลี่ย ที่ได้ = 4.79 (เต็ม 5)

รายละเอียดผลการประเมินของนักศึกษา เฉลี่ย

รายการ

4

3

2

1

(เต็ม 5)

P a g e | 223 1. การส่งเสริ มให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ที่ดี 1.1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และผูเ้ รี ยน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยน อบอุ่นอย่างสม่าเสมอ ใส่ใจผูเ้ รี ยนอย่างทัว่ ถึง บรรยากาศไม่เครี ยด ให้ เกียรติผเู ้ รี ยน มีความ ยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ และผูเ้ รี ยนเชิงบวกตลอดการ สอน ให้เกียรติผเู ้ รี ยนอย่าง ทัว่ ถึง มีความยุติธรรม

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และผูเ้ รี ยน เชิงบวก บ้าง ไม่มีปฏิสัมพันธ์เชิงลบ ให้เกียรติผเู ้ รี ยนส่วนใหญ่ มี ความยุติธรรม

ไม่มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างอาจารย์และ ผูเ้ รี ยนหรื อมี ปฏิสัมพันธ์เชิงลบมี พฤติกรรมที่แสดง ถึงการไม่ให้เกียรติ ผูเ้ รี ยน ลาเอียง ไม่ ยุติธรรม

100

0

0

0

สอนโดยเน้นกิจกรรมเชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยนได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์

สอนโดยใช้วิธีบรรยายและ มีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบที่ ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมบ้าง

สอนโดยใช้วิธี บรรยายเป็ นหลัก โดยผูเ้ รี ยนเป็ นเพียง ผูร้ ับฟังแต่เพียง อย่างเดียว

ใช้สื่อและทรัพยากรการเรี ยนรู ้ ที่ทนั สมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้ สอดคล้องกับกิจกรรมจัดการ เรี ยนรู ้

ใช้สื่อและทรัพยากรการ เรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การเรี ยนรู ้บา้ ง

ไม่ใช้สื่อและ ทรัพยากรการ เรี ยนรู ้หรื อใช้ไม่ เหมาะสมต่อ กระบวนการเรี ยนรู ้

อาจารย์แจ้งเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน กิจกรรมการเรี ยนรู ้สามารถทา ให้บรรลุเป้าหมายได้

อาจารย์แจ้งเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่ สอน แต่กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ยังไม่สามารถทาให้บรรลุ เป้าหมายได้

อาจารย์ไม่ได้แจ้ง เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน

14.67

0

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน

5

2. การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ 2.1 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นการมี ส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน

2.2 การใช้สื่อและทรัพยากรการเรี ยนรู ้

2.3 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ได้

สอนโดยเน้นกิจกรรม เชิงรุ ก (Active Learning) ผูเ้ รี ยน ได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาใน สถานการณ์จริ งหรื อ กรณีศึกษา หรื อปฏิบตั ิ จริ ง โดยกิจกรรม ดังกล่าวสอดคล้องกับ ศักยภาพของผูเ้ รี ยน ใช้สื่อและทรัพยากรการ เรี ยนรู ้ที่ทนั สมัย หลากหลาย เพื่อ ส่งเสริ มหรื อกระตุน้ การ เรี ยนรู ้ สอดคล้องกับ กิจกรรมจัดการเรี ยนรู ้ ยืดหยุ่นให้ผเู ้ รี ยน สามารถเลือกใช้ได้ตาม ความเหมาะสม เป็ น ตัวอย่างที่ดีในการ อ้างอิงทรัพยากรการ เรี ยนรู ้ อาจารย์แจ้งเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ หัวข้อที่สอน กิจกรรม การเรี ยนรู ้สามารถทาให้ บรรลุเป้าหมายได้ นาไปใช้ได้จริ ง

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน 3. การประเมินผล

85.33

0

4.82

P a g e | 224 3.1 การประเมินผลระหว่างการสอน

มีการประเมินผล ระหว่างการสอนในชั้น เรี ยน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหัวข้อ ที่สอน ให้ขอ้ มูล ป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีการ ประเมินตนเองหรื อ สะท้อนสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้

มีการประเมินผลระหว่างการ สอนในชั้นเรี ยน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน ให้ขอ้ มูลป้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยน

มีการประเมินผลระหว่าง การสอนในชั้นเรี ยน แต่ไม่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของหัวข้อที่สอน

ไม่มีการประเมินผล ระหว่างการสอนใน ชั้นเรี ยน

72

28

0

0

มีความมัน่ ใจมาก การ นาเสนอและคาอธิบาย ชัดเจน มีการยกตัวอย่าง ประกอบ การใช้ภาษา ถูกต้องและเหมาะสม มี การใช้ภาษากายที่ เหมาะสม การพูดและ น้ าเสี ยงชัดเจน กระชับ ใช้เวลาได้อย่าง เหมาะสม มีการย้าบาง ประเด็นเมื่อจาเป็ น การ แต่งกายและท่าทาง เหมาะสม ถูกกาลเทศะ เข้าสอนและเลิกสอน ตรงตามเวลาที่กาหนด ใช้เวลาได้อย่าง เหมาะสม

มีความมัน่ ใจ การนาเสนอ ชัดเจนเป็ นส่วนใหญ่ คาอธิบาย เข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง ประกอบ การใช้ภาษาถูกต้อง การพูดและสาเนียงชัดเจน มี การตรวจสอบความเข้าใจของ ผูเ้ รี ยนเป็ นระยะๆ การแต่งกาย และท่าทางเหมาะสม ถูก กาละเทศะ

มีความมัน่ ใจพอควร การ นาเสนอชัดเจน แต่อาจสั้น หรื อยาวเกินไป ใช้เวลาไม่ เหมาะสม ใช้ภาษาเหมาะสม เป็ นส่วนใหญ่ คาอธิบายมี ความสับสนบ้าง มีการ ตรวจสอบความเข้าใจของ ผูเ้ รี ยนเป็ นบางครั้ง การแต่ง กายและท่าทางเหมาะสม ถูกกาลเทศะ

ไม่มน่ั ใจ ทาให้เกิด ความสับสน การใช้ ภาษาไม่เหมาะสม การนาเสนอขาด ประเด็นที่สาคัญ การพูดและสาเนียง ไม่ชดั เจน การแต่ง กายและท่าทางไม่ เหมาะสม

เข้าสอนและ/หรื อเลิกสอนไม่ เป็ นไปตามเวลาที่กาหนดไม่ เกิน 5 นาที

เข้าสอนและ/หรื อเลิกสอน ไม่เป็ นไปตามเวลาที่กาหนด มากกว่า 5 นาที แต่ไม่เกิน 10 นาที

เข้าสอนและ/หรื อ เลิกสอนไม่เป็ นไป ตามเวลาที่กาหนด เกินกว่า 10 นาที

ส่งเสริ ม ชี้แนะ ตักเตือน ให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสมอย่าง สร้างสรรค์และเป็ นมิตร เชื่อมโยงหรื อสอดคล้อง กับเนื้อหาที่สอนแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสม และเป็ นแบบอย่างแก่ ผูเ้ รี ยน

แนะนา ส่งเสริ ม ตักเตือน อย่าง สม่าเสมอ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่เหมาะสม

แนะนา ส่งเสริ ม ให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่เหมาะสมเป็ น บางโอกาสและยกตัวอย่าง พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ประกอบ

ไม่ได้แนะนาหรื อ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมี พฤติกรรมที่ เหมาะสม ตาหนิ ผูเ้ รี ยนอันทาให้เกิด ความอับอายในชั้น เรี ยนต่อหน้า สาธารณะ

81.33

17.33

1.33

0

4.75

84

15.5

0.5

0

4.79

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน

4.65

4. ความเป็ นครู 4.1 การนาเสนอและบุคลิกภาพ

4.2 ความตรงต่อเวลา

4.3 การส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมที่ เหมาะสมรวมถึงการให้เกียรติผเู ้ รี ยน

ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินเฉพาะด้าน ร้อยละจานวนนักศึกษา ประเมินรวมทุกด้าน

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

P a g e | 225

- อาจารย์มอบหมายงานที่นำไปใช้ได้จริงในการฝึกปฏิบัติการสอน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาเป็นอย่างมาก และ พยายามให้นักศึกษาได้ความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ โดยการหากิจกรรมให้เข้าร่วมและหาความรู้ต่างๆให้เสมอ - อาจารย์น่ารัก เป็นวิชาที่น่าเรียน อาจารย์สอนเข้าใจง่าย ให้นศ.ได้ลงมือทำจริง เรียนแล้วได้ความรู้ที่สามารถนำไปต่อ ยอดได้ และเข้าใจนักศึกษา - อาจารย์มีความแม่นยำในเนื้อหาที่สอน และสามารถถ่ายทอดให้นักศึกษาเข้าใจได้เป็นอย่างดี สิ่งที่สอนสามารถ นำไปใช้ได้จริงและเป็นประโยชน์แก่นักศึกษา อาจารย์มีการสอบถาม รับฟังความคิดเห็น คอยช่วยเหลือและให้คำแนะนำ แก้ไขแก่นักศึกษา การจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ทำให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วม และยังเป็นการฝึกฝน เตรียมพร้อม ในการเป็นเป็นครูได้เป็นอย่างดี - อาจารย์น่ารักกับนักศึกษามาโดยตลอด ทำให้นักศึกษารู้สึกอบอุ่น กล้าถามและกล้าที่จะคุยกับอาจารย์ - ชอบการสอนของอาจารย์มาก ๆ ค่ะ เป็นกันเองกับนักศึกษา ห้องเรียนเปิดกว้างทางความคิด นักศึกษาเรียนเเล้วมี ความสุขค่ะ เเละได้รับข้อคิดกับความรู้มากมาย สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ - อาจารย์ให้คำแนะนำในเรื่องแผนการสอนดีมากๆ ซึ่งเราสามารถนำคำแนะนำเหล่านี้ไปใช้ในการเรียนต่อไปได้อย่าง ถูกต้อง - อาจารย์เข้าใจนักศึกษามากๆ และ สามารถนำแบบอย่างที่อาจารย์สอนนำไปใช้ได้ - การกำหนดแนวทางการพัฒนานักศึกษาของอาจารยื ค่อนข้างชัดเจน และค่อยพัฒนาให้นักศึกษา โดยการเรียนรู้จาก ความผิดพลาด จากสิ่งที่เหมาะสม ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ดี เพราะนักศึกษาก็จะค่อยปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้นไปเรื่อยๆ ไม่ต้องรีบ เรียนรู็ แต่ค่อยๆเรียนรู้กันไป - เข้าใจและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา อาจารย์สอนเนื้อที่เราสามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต - บรรยากาศการเรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนาน อาจารย์มีการผ่อนคลาย โดยการเปิดเพลงให้ฟัง พูดคุย ถาม ข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น อาจารย์มักจะมีการอัพเดทข่าวสารหรือเรื่องราวใหม่ๆ มาให้พวกเราเสมอ สำหรับงานที่ได้รับมอบหมาย อาจารย์มักจะให้ระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่รีบจนเกินไป สามารถยืดหยุ่นได้ อาจารย์เข้าใจนักศึกษาเป็นอย่างดีและรับฟังความคิดเห็นและความรู้สึกที่นักศึกษาอยากระบายด้วยเสมอ อาจารย์มักจะ ฝึกให้พวกเราได้คิด ได้ลองทำอะไรใหม่ๆ ได้คิดในสิ่งที่หลายๆคน อาจจะไม่เคยนำมาลองคิด ซึ่งเป็นการเรียนที่สนุกมากๆ ค่ะ แต่อยากให้อาจารย์นำเนื้อหาในช่วงท้ายๆ มาสอนในช่วงก่อนหน้านี้ เพื่อที่พวกเราสามารถจะเข้าใจได้มากกว่านี้และ สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ดีกว่าเดิมได้ แสดงผล ณ วันที่ 13/2/2565 เวลา : 17:08:31

*******************************************************************

P a g e | 226

รวมลิงค์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล เฟซบุ๊คอาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล FB: Rachada Chaovasetthakul เฟซบุ๊คสาขาวิชาคณิตศาสตร์ FB: สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี https://sites.google.com/view/lessonstudy-openapproach-pnpsu/ You tube: Lesson Study & Open Approach at Pattani Youtube: นวัตกรรมนิเทศภายในของสถานศึกษา COLO MODEL รร บ้านคอลอตันหยง สพป ปน 1 6. QR Code รีวิวการสอนของอาจารย์รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล จัดทำโดย นายยุทธนา จันทรา นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 5

1. 2. 3. 4. 5.

ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านที่ร่วมเรียนรู้และทำความรู้จักดิฉันค่ะ ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล 0816783539

Data Loading...