เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย - PDF Flipbook
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
247 Views
2 Downloads
PDF 2,890,154 Bytes
เครื่องราชอิสริยาภรณไทย กอนที่จะกลาวถึง การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนทีเ่ ชิดชูยิ่งชางเผือก และเครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทยใหแกขา ราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ ในบทนี้จะขอกลาวถึงเครื่องราชอิสริยาภรณไทยเกีย่ วกับความหมาย ประเภทและชนิดหรือตระกูล ของเครื่องราชอิสริยาภรณไทย และรายละเอียดเกีย่ วกับเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก และ เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ไดแก ประเภทและชื่อ ชัน้ และอักษรยอ การพระราชทาน ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ เครื่องหมายแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครือ่ งหมายดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจใน เบื้องตนเกีย่ วกับเครื่องราชอิสริยาภรณไทย
ความหมาย : เครื่องราชอิสริยาภรณ คือ สิ่งซึ่งเปนเครื่องหมายแสดงเกียรติยศ และบําเหน็จ ความชอบ เปนของพระมหากษัตริยท รงสรางขึ้นสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการ หรือสวนพระองค เรียกเปนสามัญวา ตรา เครื่องราชอิสริยาภรณ คือ เครื่องหมายที่ใชประดับสําหรับเกียรติยศ สมเด็จกรม พระยาดํารงราชานุภาพไดทรงพระนิพนธไวในหนังสือตํานานเครื่องราชอิศริยาภรณสยามวา “เปน ของซึ่งพระเจาแผนดินพระราชทานเปนเครื่องหมายเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ” และปรากฏ ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อันเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศไดยนื ยันในพระราชอํานาจ ของพระมหากษัตริยต ามความในพระนิพนธที่ไดยกมาอางขางตนสืบตอ ๆ มาโดยตลอด อาทิเชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ไดตราไวความวา “มาตรา 9 พระมหากษัตริย ทรงไวซงึ่ พระราชอํานาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิแ์ ละพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ” คําวา “เครื่องราชอิสริยาภรณ” นีป้ รากฏใชเปนครั้งแรกในพระราชบัญญัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ พ.ศ.2432 (ร.ศ.108) กอนนั้นขึน้ ไปมีคําที่ใชในความหมายเชนนี้หลายคํา เชน “เครื่องราชอิศริยยศ” “เครื่องสําคัญยศ” และ “เครื่องประดับสําหรับยศ” เปนตน
-2-
ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณไทย : เครื่องราชอิสริยาภรณไทยในปจจุบันแบงออกไดเปน 4 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับพระราชทานแกประมุขของ
รัฐตางประเทศ คือ
เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนมงคลยิง่ ราชมิตราภรณ (ร.ม.ภ.) มีชั้น สายสะพายชัน้ เดียว สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พุทธศักราช 2505 สําหรับพระราชทานแกประมุขของประเทศ (Head of State)
ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับบําเหน็จความชอบในราชการ
แผนดิน มี 8 ชนิด
1) เครื่องขัดติยราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติคณ ุ รุงเรืองยิ่งมหาจักรี บรมราชวงศ (ม.จ.ก.) มีชั้นสายสะพายชัน้ เดียว สถาปยาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั เมื่อพุทธศักราช 2425 เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยแ หงพระบรมราชจักรีวงศ ที่ไดทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเปน ราชธานีมาครบ 100 ป สําหรับพระราชทานแกพระบรมวงศานุวงศซึ่งสืบเนื่องโดยตรงในพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และผูซึ่งพระบรมวงศานุวงศดังกลาวไดเสกสมรสดวย 2) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) มีชั้นสายสะพายชัน้ เดียว สถาปยาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั เมื่อ พุทธศักราช 2401 – 2502 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางดารานพรัตนขึ้นสําหรับใชประดับที่เสื้อ ซึง่ ทรงเรียกวา “เครื่องประดับสําหรับยศ” นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางแหวนนพ รัตน สําหรับพระราชทานแกพระราชวงศฝา ยหนาและฝายใน ตลอดจนขาราชการชั้น ผูใ หญซงึ่ เปนพุทธมามกะ ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวทรงพระกรุณาโปรด เกลาฯ ใหสรางดวงตรามหานพรัตน สําหรับหอยสายสะพายขึ้นเปนครั้งแรกของเครื่องราช อิสริยาภรณไทย เมื่อพุทธศักราช 2412 3) เครื่องราชอิสริยาภรณจุลจอมเกลา สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั เมือ่ พุทธศักราช 2416 สําหรับพระราชทานแกฝา ยหนา (บุรษุ ) และฝายใน (สตรี) และพระราชทานผูสืบตระกูล สตรีสามัญชนซึ่งสมรสแลว 4) เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีศกั ดิ์รามาธิบดี สถาปนาในรัชสมัยพระบาท สมเด็จระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั เมื่อพุทธศักราช 2461 สําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบแก
-3ผูที่ไดทําความชอบพิเศษ หรือเปนประโยชนเปนผลดีแกราชการทหารทั้งในเวลาสงครามหรือใน ยามสงบศึก มี 6 ชั้น 5) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก เริ่มสถาปนาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั สําหรับพระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบ เปนประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร มี 8 ชั้น 6) เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย เริ่มสถาปนาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั สําหรับพระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปน ประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร มี 8 ชั้น 7) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ สถาปนา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช 2534 สําหรับพระราชทาน แกผกู ระทําความดีความชอบอันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชน ตามที่ทรงพระราช ดําริเห็นสมควร มี 7 ชั้น 8) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนสิริยงิ่ รามกีรติ ลูกเสือสดุดชี ั้นพิเศษ มีชั้นเดียว สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมพิ ลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช 2530 ในโอกาสครบรอบ 75 ป ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานกําเนิดกิจการลูกเสือไทย เมื่อพุทธศักราช 2455 และเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมพิ ลอดุลยเดช ในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ อีกทั้งเพื่อสงเสริมกําลังใจแกผูอุทศิ ตนในกิจการลูกเสืออยางแทจริง
ประเภทที่ 3 เครื่องราชอิสริยาภรณสาํ หรับบําเหน็จความชอบในพระองค พระมหากษัตริย สถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั มี 3 ชนิด คือ
1) เครื่องราชอิสริยาภรณรตั นวราภรณ 2) เครื่องราชอิสริยาภรณวลั ลภาภรณ 3) เครื่องราชอิสริยาภรณวชิรมาลา ปจจุบันเครื่องราชอิสริยาภรณทั้ง 3 ชนิดดังกลาวพนสมัยการพระราชทานแลว มี 4 ชนิด คือ
ประเภทที่ 4 เหรียญราชอิสริยาภรณตาง ๆ ซึง่ นับเปนเครื่องราชอิสริยาภรณ 1) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จกลาหาญ 1.1 เหรียญกลาหาญ 1.2 เหรียญชัยสมรภูมิ
-41.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8
เหรียญพิทักษเสรีชน เหรียญปราบฮอ * เหรียญงานพระราชสงครามยุโรป * เหรียญราชนิยม * เหรียญพิทักษรฐั ธรรมนูญ * เหรียญศานติมาลา *
2) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จในราชการ 2.1 เหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา 2.2 เหรียญชวยราชการเขตภายใน * 2.3 เหรียญราชการชายแดน 2.4 เหรียญจักรมาลา 2.5 เหรียญจักรพรรดิมาลา 2.6 เหรียญศารทูลมาลา * 2.7 เหรียญบุษปมาลา * 2.8 เหรียญลูกเสือสรรเสริญ 2.9 เหรียญลูกเสือสดุดี 3) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จในพระองคพระมหากษัตริย 3.1 เหรียญรัตนาภรณ * 3.2 เหรียญราชรุจิ * 4) เหรียญที่พระราชทานเปนที่ระลึก 4.1 เหรียญสตพรรษมาลา * 4.2 เหรียญรัชฎาภิเศกมาลา * 4.3 เหรียญประพาสมาลา * 4.4 เหรียญราชินี * 4.5 เหรียญทวีธาภิเศก * 4.6 เหรียญรัชมงคล * 4.7 เหรียญรัชมังคลาภิเศก * _____________________________________________________________________________ * เปนเหรียญราชอิสริยาภรณที่พนสมัยการพระราชทานแลว
-54.8 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6* 4.9 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 7* 4.10 เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9** 4.11 เหรียญชัย * 4.12 เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ป * 4.13 เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ 4.14 เหรียญทีร่ ะลึกในการเสด็จพระราชดําเนินเยือนสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป 4.15 เหรียญรัชดาภิเษก 4.16 เหรียญสนองเสรีชน 4.17 เหรียญทีร่ ะลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 4.18 เหรียญทีร่ ะลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4.19 เหรียญทีร่ ะลึกสมโภชนกรุงรัตนโกสินทร 200 ป 4.20 เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ (พระชนมมายุครบ 50 พรรษา) 4.21 เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระชนมายุครบ 84 พรรษา) 4.22 เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหามงคลสมัยพระราชพิธีเฉลิมพระชนมายุ 60 พรรษา 4.23 เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหามงคลสมัยพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 4.24 เหรียญกาชาดสรรเสริญ 4.25 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 1 ** 4.26 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 2 ** 4.27 เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 3 ** _______________________________________________________________________________ * เปนเหรียญราชอิสริยาภรณที่พนสมัยการพระราชทานแลว ** ประดับไดเฉพาะผูไดรบั พระราชทาน
-6ในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะความรูเกี่ยวกับเครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนทีเ่ ชิดชูยงิ่ ชางเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ไวพอสังเขป ดังนี้
เครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก : 1. ประเภทและชื่อ 1.1 ประเภท
: เครื่องราชอิสริยาภรณสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จ ความชอบในราชการแผนดิน 1.2 ชื่อ : เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก 1.3 ชือ่ ภาษาอังกฤษ : The Most Exalted Order of the White Elephant 1.4 ชือ่ ยอ : เครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก
2. ชั้น และอักษรยอ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก พ.ศ.2484 แบงเครื่องราชอิสริยาภรณนเี้ ปน 8 ชั้น โดยไดกําหนดนามดังตอไปนี้ 2.1 ชัน้ สูงสุด มหาปรมาภรณชา งเผือก อักษรยอ ม.ป.ช. (Knight Grand Cordon (Specia Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.2 ชัน้ ที่ 1 ประถมาภรณชา งเผือก อักษรยอ ป.ช. (Knight Grand Cross (First Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.3 ชัน้ ที่ 2 ทวีติยาภรณชา งเผือก อักษรยอ ท.ช. (Knight Commander (Second Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.4 ชัน้ ที่ 3 ตริตาภรณชา งเผือก อักษรยอ ต.ช. (Commander (Third Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.5 ชัน้ ที่ 4 จัตุรถาภรณชา งเผือก อักษรยอ จ.ช. (Companion (Fourth Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant) 2.6 ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณชา งเผือก อักษรยอ บ.ช. (Member (Fifth Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant)
-72.7 ชัน้ ที่ 6 เหรียญทองชางเผือก (The Gold Medal (Sixth Class) of the White Elephant)
อักษรยอ ร.ท.ช.
2.8 ชัน้ ที่ 7 เหรียญเงินชางเผือก (The Silver Medal (Seventh Class) of the White Elephant)
อักษรยอ ร.ง.ช.
3. การพระราชทาน - พระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการ หรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร ทรงพระราชทานทั้งบุรุษและสตรี - เจานายหรือผูมเี กียรติของตางประเทศอาจไดรับพระราชทานเครือ่ งราช อิสริยาภรณนไี้ ด - ผูที่ไดรบั พระราชทานตั้งแตชั้นที่ 5 ขึน้ ไป คือ ชัน้ เบญจมาภรณชางเผือก ขึ้นไป (บ.ช. – ม.ป.ช.) มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทับพระราชลัญจกรกํากับดวย สําหรับผูทีไ่ ดรับพระราชทานชั้นที่ 6 และชั้นที่ 7 คือ เหรียญทองชางเผือก และเหรียญเงินชางเผือก (ร.ท.ช. – ร.ง.ช.) มีการประกาศนามในราชกิจจานุเบกษาอยางเดียวไมมปี ระกาศนียบัตรกํากับ
4. ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ลักษณะและการประดับของเครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก ไดมีพระราช บัญญัตเิ ครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนทีเ่ ชิดชูยงิ่ ชางเผือก พ.ศ.2484 กําหนดลักษณะและการประดับ ของเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ดังตอไปนี้
-8ชัน้ สูงสุด : มหาปรมาภรณชา งเผือก ดวงตราดานหนาเปนรูปชางไอราพตลงยาสีขาวอยูบนพืน้ ทองในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีชมพูสลับแดงเกสรเงิน รอบนอกมีกระจังทองลงยาสีเขียวสีท่ ิศ มีรัศมีเปลวเงินตามระหวาง ดานหลังเปลี่ยนรูปชางเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร.ลงยาสีแดง เบื้องบนมีอณ ุ าโลมเงินและ พระมหามงกุฎทอง มีรัศมีหอยกับแพรแถบกวาง 10 เซนติเมตรสีแดงริมเขียวมีริ้วเหลืองริ้วน้ําเงินขนาดเล็ก ควบคัน่ ทั้งสองขาง สะพายบาซายเฉียงลงทางขวา กับมีดาราดานหนาอยางดวงตราแตยอมกวา ซอนอยูบนรัศมีเงินจําหลักเปนเพชรสรงสี่แฉกรัศมีทองสี่แฉก ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารามีขนาดยอมกวา และสายสะพาย มีขนาดยอมกวาใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร สะพายบาซายเฉียงลงทางขวา
-9ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณชา งเผือก ดวงตราดานหนาเปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทนอยูบนพื้นทองใน ดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดงสลับเขียวเกสรเงิน รอบนอกมีกระจังเงินแปดทิศ มีกระจังแทรกตาม ระหวาง ดานหลังเปลี่ยนรูปชางเผือกเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร.ลงยาสีแดง เบื้องบนมี พระมหามงกุฎทอง มีรัศมีหอยกับแพรแถบกวาง 10 เซนติเมตรสีแดงริมเขียวมีริ้วเหลือง ริ้วน้ําเงิน ขนาด ใหญควบคัน่ ทัง้ สองขาง สะพายบาขวาเฉียงลงทางซาย กับมีดาราดานหนาอยางดวงตราแตกระจังยาว กวา ดานหลังเปนทองประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดาราและสายสะพายมีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร สะพายบาขวาเฉียงลงทางซาย
- 10 ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางประถมาภรณแตยอ มกวา และที่พระมหามงกุฎไมมีรัศมี ดานหลังเปนทองเกลี้ยงหอยกับแพรแถบกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ กับมีดาราอยางประถมาภรณ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราและดาราขนาดยอมกวา ดวงตราใช หอยกับแพรแถบผูกเปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย
- 11 -
ไมมดี ารา บาซายแตไมมดี ารา
ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางทวีติยาภรณหอ ยกับแพรแถบกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราอยางทวีติยาภรณสตรี ประดับที่หนา
- 12 ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางตริตาภรณแตยอ มกวา หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร มีดอกไมจีบติดบนแพรแถบ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อทีห่ นาบาซาย
ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณชา งเผือก ดวงตราอยางจัตุรถาภรณแตไมมดี อกไมจีบ สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปน รูปแมลงปอ ประดับเสื้อทีห่ นาบาซาย
- 13 ชัน้ ที่ 6 : เหรียญทองชางเผือก เปนเหรียญเงินกลมกาไหลทอง ดานหนาเปนรูปชางเผือกอยูในดอกบัวบาน ดานหลังเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร. เบื้องบนมีพระมหามงกุฎหอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่ หนาบาซาย
หนาบาซาย
ชัน้ ที่ 7 : เหรียญเงินชางเผือก มีลักษณะอยางเหรียญทอง แตไมมกี าไหลทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่
- 14 -
5. ลักษณะและการประดับเครื่องหมายสําหรับประดับเแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครื่องหมายที่ใชสาํ หรับเปนดุมเสื้อ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับ แทนเครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาสแตงกายเครื่องแบบปกติขาว เครือ่ งแบบปฏิบัติราชการ หรือ เครื่องแบบปฏิบัติงานอื่น ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อ ใชประดับแทนเครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาส แตงชุดไทยสีสภุ าพประดับที่เหนือกระเปาซาย และชุดสากลประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากล เบื้องซาย โดยจะประดับชั้นสูงสุดเพียงดวงเดียว สําหรับสตรีใหประดับไดเฉพาะกับชุดไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรินทร และชุดไทยบรมพิมาน พระราชกฤษฎีกากําหนดเครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณและที่ใชเปนดุมเสื้อ พ.ศ.2498 และแกไขเพิม่ เติม ไดกําหนดลักษณะของเครือ่ งหมาย ประดับแพรแถบและเครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อไว 7 ตระกูล ซึ่งในที่นจี้ ะกลาวเฉพาะเครื่องราช อิสริยาภรณอนั เปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ดังตอไปนี้ เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยงิ่ ชางเผือก ใหมเี ครื่องหมายสําหรับ ประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณและเครื่องหมายดุมเสื้อ ตั้งแตชั้นเบญจมาภรณขึ้นไป ดังนี้ ชัน้ สูงสุด : มหาปรมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางไอราพต ลงยาสีขาวติดไว กลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ มหาปรมาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปา เสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางไอราพต ลงยาสีขาวติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นมหาปรมาภรณชางเผือก ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
- 15 ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทน อยูในดอกบัวบานกลีบลงยาสีแดงสลับเขียว เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ประถมาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางเผือกทรงเครื่องยืนแทนอยูในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดงสลับเขียว เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของ เครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นประถมาภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ น ดอกบัวบานทอง เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีตยิ าภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ นดอกบัวบานทอง เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ทวีตยิ าภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปา ซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
- 16 ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ น ดอกบัวบานเงิน เกสรเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนอยูใ นดอกบัวบานเงิน เกสรเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นตริตาภรณชางเผือก ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปา ซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนทอง ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตุรถาภรณชางเผือก ประดับที่อกเสื้อเหนือปก กระเปาเสื้อเบือ้ งซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนทอง ติดไวกลางดุม ซึง่ ทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ จัตุรถาภรณชา งเผือก ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกาย ชุดไทย
- 17 ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณชา งเผือก เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนเงิน ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นเบญจมาภรณชางเผือก ประดับทีอ่ กเสื้อเหนือ ปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปชางทรงเครื่องยืนแทนเงิน ติดไวกลางดุม ซึง่ ทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ เบญจมาภรณชา งเผือก ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกาย ชุดไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย : 1. ประเภทและชื่อ 1.1 ประเภท
: เครื่องราชอิสริยาภรณสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จ ความชอบในราชการแผนดิน 1.2 ชื่อ : เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย 1.3 ชือ่ ภาษาอังกฤษ : The Most Noble Order of the Crown of Thailand 1.4 ชือ่ ยอ : เครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย
2. ชั้น และอักษรยอ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2484 แบงเครื่องราชอิสริยาภรณนเี้ ปน 8 ชั้น โดยไดกําหนดนามดังตอไปนี้ 2.1 ชัน้ สูงสุด มหาวชิรมงกุฎ อักษรยอ ม.ว.ม. (Knight Grand Cordon of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.2 ชัน้ ที่ 1 ประถมาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ป.ม. (Knight Grand Cross (First Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand)
- 18 2.3 ชัน้ ที่ 2 ทวีติยาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ท.ม. (Knight Commander (Second Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.4 ชัน้ ที่ 3 ตริตาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ ต.ม. (Commander (Third Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.5 ชัน้ ที่ 4 จัตุรถาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ จ.ม. (Companion (Fourth Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.6 ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณมงกุฎไทย อักษรยอ บ.ม. (Member (Fifth Class) of the Most Noble Order of the Crown of Thailand) 2.7 ชัน้ ที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (The Gold Medal (Sixth Class) of the Crown of Thailand)
อักษรยอ ร.ท.ม.
2.8 ชัน้ ที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย (The Silver Medal (Seventh Class) of the Crown of Thailand)
อักษรยอ ร.ง.ม.
3. การพระราชทาน - พระราชทานแกผกู ระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการ หรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร ทรงพระราชทานทั้งบุรุษและสตรี อิสริยาภรณนไี้ ด
- เจานายหรือผูมเี กียรติของตางประเทศอาจไดรับพระราชทานเครือ่ งราช
- ผูที่ไดรบั พระราชทานตั้งแตชั้นที่ 5 ขึน้ ไป คือ ชัน้ เบญจมาภรณมงกุฎไทย ขึน้ ไป (บ.ม. – ม.ว.ม.) มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทับพระราชลัญจกรกํากับดวย สําหรับ ผูที่ไดรับพระราชทานชั้นที่ 6 และชั้นที่ 7 คือ เหรียญทองมงกุฎไทย และเหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ท.ม. – ร.ง.ม.) มีการประกาศนามในราชกิจจานุเบกษาอยางเดียวไมมปี ระกาศนียบัตรกํากับ
4. ลักษณะและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ลักษณะและการประดับของเครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย ไดมีพระราช บัญญัตเิ ครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2484 กําหนดลักษณะและการประดับ ของเครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ดังตอไปนี้
- 19 – ชัน้ สูงสุด : มหาวชิรมงกุฎ ดวงตราเปนกลีบบัวทองแววลงยาสีแดงสีก่ ลีบ มีพระมหาวชริราวุธเงินแทรก สลับตามระเบียบ กลางดวงตรามีอักษรพระปรมาภิไธยยอ ร.ร. กับเลข 6 เปนเพรชสรงมี เนื้อสีเงินลอมรอบอยูภายใตพระมหามงกุฎทอง เบื้องบนมีพระเศวตฉัตรรัศมีทอง หอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 10 เซนติเมตร สีครามแกมีรวิ้ แดงริ้วขาวอยูรมิ ทั้งสองขาง สายสะพายบาซายเฉียงลงมา ทางขวา กับมีดาราเปนรัศมีเงินสี่ทิศ มีรัศมีสายฟาทองแทรกสลับตามระหวางกลางดาราเหมือนอยาง ดวงตรา แตอกั ษรพระปรมาภิไธยยอประดับเพชรและไมมพี ระเศวตฉัตร ประดับทีอ่ กเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดาราและสายสะพาย มีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร
- 20 – ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณมงกุฎไทย ดวงตราเปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง พื้นลงยาสีนา้ํ เงิน และสีแดง มีกระจังเงินใหญสี่ทิศเล็กสี่ทิศ มีรัศมีทองสลับตามระหวาง ดานหลังเปลีย่ นพระมหา มงกุฎเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. เบื้องบนมีจลุ มงกุฎหอยกับแพรแถบขนาดกวาง 10 เซนติเมตร สีน้ําเงินริมเขียว มีริ้วเหลืองริ้วแดงขนาดใหญควบคัน่ ทั้งสองขาง สะพายบาขวาเฉียงลงมาทางซาย กับมีดารารูปอยางดานหนาดวงตรา แตไมมจี ลุ มงกุฎ ดานหลังเปนทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารา และสายสะพาย มีขนาดยอมกวา ใชขนาดกวาง 7.5 เซนติเมตร
- 21 – ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางประถมาภรณ แตดานหลังเปนทองเกลี้ยง หอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอ กับมีดาราอยางประถมาภรณ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารา มีขนาดยอมกวา ดวงตราใช หอยกับแพรแถบผูกเปนรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย
- 22 –
มีดารา หนาบาซาย
ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางทวีติยาภรณ หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 4 เซนติเมตร สวมคอไม สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตราอยางทวีติยาภรณ ไมมดี ารา ประดับเสื้อที่
- 23 – ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางตริตาภรณแตยอ มกวา หอยกับแพรแถบขนาดกวาง 3 เซนติเมตร มีดอกไมจีบติดบนแพรแถบ ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชนเดียวกันแตแพรแถบใหผกู เปนรูป แมลงปอ ประดับเสื้อที่หนาบาซาย
ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณมงกุฎไทย ดวงตราอยางจัตุรถาภรณ แตไมมดี อกไมจบี สําหรับพระราชทานสตรี ลักษณะเชนเดียวกัน แตแพรแถบใหผกู เปนรูป แมลงปอ ประดับเสื้อที่บาหนาซาย
- 24 – ชัน้ ที่ 6 : เหรียญทองมงกุฎไทย เปนเหรียญเงินกลมกาไหลทอง ดานหนาเปนรูปพระมหามงกุฎอยูใ น ลายหวานลอม ดานหลังเปนอักษรพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. เบื้องบนมีจุลมงกุฎหอยกับแพรแถบ ขนาดกวาง 3 เซนติเมตร ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลปอ ประดับเสื้อ ที่บา หนาซาย
ชัน้ ที่ 7 : เหรียญเงินมงกุฎไทย มีลักษณะอยางเหรียญทอง แตไมมกี าไหลทอง ประดับที่อกเสื้อเบื้องซาย สําหรับพระราชทานสตรี แพรแถบใหผกู เปนรูปแมลงปอทํานองเดียวกับเหรียญทอง ประดับเสื้อทีบ่ า หนาซาย
- 25 –
5. ลักษณะและการประดับเครื่องหมายสําหรับประดับเแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณ และเครื่องหมายที่ใชสาํ หรับเปนดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับแทน เครื่องราชอิสริยาภรณในโอกาสแตงกายเครือ่ งแบบปกติขาว เครื่องแบบปฏิบัติราชการ หรือ เครื่องแบบปฏิบัติงานอื่น ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ ใชประดับแทนเครื่องราช อิสริยาภรณในโอกาสแตงชุดไทยสีสุภาพประดับที่เหนือกระเปาซาย และชุดสากลประดับที่รังดุมคอพับ ของเสื้อสากลเบื้องซาย โดยจะประดับชั้นสูงสุดเพียงดวงเดียว สําหรับสตรีใหประดับไดเฉพาะกับ ชุดไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรินทร และชุดไทยบรมพิมาน พระราชกฤษฎีกากําหนดเครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบเครื่องราช อิสริยาภรณและที่ใชเปนดุมเสื้อ พ.ศ.2498 และแกไขเพิม่ เติม ไดกําหนดลักษณะของเครือ่ งหมาย ประดับแพรแถบและเครื่องหมายที่ใชเปนดุมเสื้อไว 7 ตระกูล ซึ่งในที่นจี้ ะกลาวเฉพาะเครื่องราช อิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ดังตอไปนี้ เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย ใหมีเครือ่ งหมายสําหรับ ประดับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณและเครื่องหมายดุมเสื้อ ตั้งแตชั้นเบญจมาภรณขึ้นไป ดังนี้ ชัน้ สูงสุด : มหาวชิรมงกุฎ เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูป ร.ร.๖ เพชรสรงเงินกับ พระมหามงกุฎทองติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นมหาวชิรมงกุฎ ประดับที่ อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปร.ร.๖ เพชรสรงเงินกับพระมหามงกุฎทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ มหาวชิรมงกุฎ ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุด ไทยสีสภุ าพ
- 26ชัน้ ที่ 1 : ประถมาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูใน ลายหวานลอมทอง พืน้ ลงยาสีนา้ํ เงินและสีแดงติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นประถมาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง พืน้ ลงยาสีน้ําเงินและสีแดงติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราช อิสริยาภรณ ชัน้ ประถมาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่รงั ดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
ชัน้ ที่ 2 : ทวีติยาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูใน ลายหวานลอมทอง ติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีติยาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ทวีติยาภรณ มงกุฎไทย ใหประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซาย ของเครื่องแตงกายชุดไทย
- 27 – ชัน้ ที่ 3 : ตริตาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวาน ลอมเงินติดไวกลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎอยูในลายหวานลอมเงิน ติดไว กลางดุมซึ่งทําเปนรูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ ตริตาภรณมงกุฎไทย ให ประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุด ไทย
ชัน้ ที่ 4 : จัตุรถาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎทองติดไวกลาง แพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตรุ ถาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปาเสื้อเบื้อง ซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎทอง ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นจัตุรถาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
- 28 – ชัน้ ที่ 5 : เบญจมาภรณมงกุฎไทย เครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบ เปนรูปพระมหามงกุฎเงิน ติดไว กลางแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชัน้ เบญจมาภรณมงกุฎไทย ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเปา เสื้อเบื้องซาย เครื่องหมายดุมเสื้อ เปนรูปพระมหามงกุฎเงิน ติดไวกลางดุมซึ่งทําเปน รูปดอกไมจีบสีตามแพรแถบของเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นเบญจมาภรณมงกุฎไทย ใหประดับที่ รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซาย หรือใชประดับที่เหนือกระเปาซายของเครื่องแตงกายชุดไทย
ในบทตอไปจะกลาวถึงหลักเกณฑ แนวทาง และกระบวนการขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณประจําป โดยเฉพาะเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนทีเ่ ชิดชูยิ่งชางเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
Data Loading...