ภาวะ - PDF Flipbook

ภาวะ

123 Views
35 Downloads
PDF 1,894,051 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


คู่มือการจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจ การเกษตรระดับจังหวัด ปี 2565

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 10 จังหวัดรำชบุรี

คู่มือการจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด วัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดทำภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรในระดับจังหวัดเป็นรำยไตรมำสและรำยปีให้ครอบคลุม ทัง้ 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดรำชบุรี นครปฐม กำญจนบุรี สมุทรสำคร สมุทรสงครำม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ สำหรับเป็นข้อมูลประกอบในกำรวำงแผนหรือกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยใน ระดับพื้นที่ 2) เพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถำนกำรณ์ด้ำนเศรษฐกิจกำรเกษตรให้กับ บุคลำกรในระดับจังหวัด สนับสนุนกำรมีบทบำทในกำรชี้นำกำรพัฒนำกำรเกษตรในระดับ จังหวัดอย่ำงมีคุณภำพ เป้าหมาย รำยงำนภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรระดับจังหวัดเป็นรำยไตรมำสและรำยปี ประกอบด้วย สำขำพืช สำขำปศุสัตว์ สำขำประมง สำขำบริกำรทำงกำรเกษตร และสำขำป่ำไม้ จำนวน 7 จังหวัด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) กำรจัดทำรำยงำนภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรในระดับจังหวัดที่มีคุณภำพสำมำรถสะท้อนให้ เห็นถึงทิศทำงกำรเติบโตของภำคเกษตรในระดับจังหวัดอย่ำง ถูกต้อง มีควำมสอดคล้องกับภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรในระดับประเทศ และสำมำรถใช้เป็น แนวทำงประกอบกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรเกษตรในภูมิภำคได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 2) เจ้ำหน้ำที่สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 10 จังหวัดรำชบุรี มีควำมรู้ควำมเข้ำใจใน โครงสร้ำงภำคเกษตรและสถำนกำรณ์กำรเกษตรในระดับจังหวัด รวมทั้งสำมำรถให้ขอ้ คิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์ นโยบำย และแผนงำน/โครงกำร ในระดับ จังหวัดได้อย่ำงเหมำะสมและมีประสิทธิภำพ เพิ่มบทบำทกำรเป็นองค์กรชี้นำกำรพัฒนำกำร เกษตรในระดับจังหวัด และเสริมสร้ำงภำพลักษณ์ท่ดี ใี ห้กับองค์กร

ขั้นตอนการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ในกำรวิเครำะห์และประมำณกำรผลิตภัณฑ์จังหวัดภำคเกษตร (GPP ภำคเกษตร) ของสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 10 จั งหวัดรำชบุรี ใช้วิธีคำนวณแบบปริมำณลูกโซ่ (CVM) สรุปได้ตำมขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาฐานข้อมูล โดยข้อมูลที่ใช้ในการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ประกอบด้วย (1.1) ข้อมูล GPP ภาคเกษตร ซึ่งประกอบด้วย 5 สำขำกำรผลิต ได้แก่ สำขำพืช สำขำปศุสัตว์ สำขำประมง สำขำบริกำรทำงกำรเกษตร และสำขำป่ำไม้ โดยใช้ข้อมูล GPP ภำคเกษตรแบบปริมำณลูกโซ่ของสำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) ตัง้ แต่ปี 2545 - 2565 โดยกำรจัดทำภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรระดับจังหวัดเป็นรำย ไตรมำส จะต้องปรับข้อมูลรำยปีให้เป็นข้อมูลรำยไตรมำส

ภาพที่ 1 : ข้อมูล GPP ภาคเกษตร จาก สศช.

(1.2) ข้อมูลปริมาณผลผลิต ข้อมูลราคาสินค้าเกษตร และข้อมูลร้อยละการผลิต ของแต่ละสินค้า ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลปริมาณผลผลิต และราคาสินค้าเกษตรหลักที่สาคัญของ จังหวัด ทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง จากศูนย์สารสนเทศการเกษตร (ศสส.) (พิจารณาเลือกสินค้า ตัวแทนที่มีมูลค่ารวมกันเป็นสัดส่วนร้อยละ 75 ขึน้ ไป ของมูลค่าผลผลิตรายสาขา) โดยใช้ขอ้ มูล ตัง้ แต่ปี 2546 – ปั จจุบนั และต้องทาการแตกข้อมูลรายปี เป็ นข้อมูลรายเดือน

ภาพที่ 2 : ข้อมูลปริมาณผลผลิต และราคาสินค้าเกษตรรายปี

ภาพที่ 3 : ข้อมูลร้อยละปริมาณการผลิต และราคาสินค้าเกษตรรายเดือน

(1.3) ข้อมูลปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่ำงเช่น ข้อมูล รำคำน้ำมันจำกเว็บไซต์ www.pttplc.com ข้อมูลปริมำณน้ำฝนจำกกรมอุตุนิยมวิทยำ ข้อมูลเกี่ยวกับ นโยบำยของรัฐที่สง่ ผลต่อภำคเกษตร เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทาดัชนีเศรษฐกิจการเกษตร (2.1) ข้อมูลดัชนีเศรษฐกิจการเกษตร ซึ่งประกอบด้วย ดัชนีผลผลิตสินค้ำเกษตร ดัชนี รำคำที่เกษตรกร ขำยได้ และดัชนีรำยได้เกษตรกร โดยรวบรวมข้อมูลผลผลิตสินค้ำเกษตรจำกศูนย์ สำรสนเทศกำรเกษตร (ศสส.) ข้อมูลรำคำที่เกษตรกรขำยได้จำก สศท.10(รำยเดือน รำยไตรมำส และ รำยปี) และคำนวณดัชนี ผลผลิตดัชนีรำคำ และดัชนีรำยได้เกษตรกร แบบปริมำณลูกโซ่ (Chain Volume Measures: CVM) โดยใช้ปีฐำน 2550 วิธีกำรคำนวณแบบ CVM จะทำให้โครงสร้ำงของควำมสัมพันธ์ของรำคำสินค้ำและบริกำร มีควำมเป็นปัจจุบัน และอัตรำกำรขยำยตัวมีควำมถูกต้องมำกกว่ำวิธีกำรคำนวณแบบปีฐำนคงที่ (Fixed Base Year Constant Price) อย่ำงไรก็ตำม กำรคำนวณด้วยวิธีนี้ยังคงมีข้อจำกัด Non-Additive คือ ผลรวมของมูลค่ำจำกกิจกรรมกำรผลิตย่อยไม่เท่ำกับมูลค่ำรวม (2.2) นำข้อมูลปริมำณผลผลิต และรำคำสินค้ำเกษตรรำยเดือนใส่ใน โปรแกรม excel ที่มี ชื่อว่ำ GPP_Template_V13 ให้ครบทุกสินค้ำ และกดคำนวณ

ภาพที่ 4 : ข้อมูลผลผลิตและราคาในโปรแกรม excel ใส่ในโปรแกรมที่ช่ือว่า GPP_Template_V13

ภาพที่ 5 : ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ท่ีได้จากการคานวณ (2.3) นาดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร และดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ที่ได้จากการคานวณ ในโปรแกรม excel GPP_Template_V13 ใส่ในตาราง Pro_Rata

ภำพที่ 6 : ดัชนีผลผลิตรำยไตรมำสในตำรำง Pro_Rata ขั้นตอนที่ 3 การประมาณการ GPP ภาคเกษตร (3.1) กำรจัดทำภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรรำยจังหวัด ต้องมีกำรคำดกำรณ์แนวโน้มภำวะ เศรษฐกิ จ กำรเกษตรในอนำคต จึ ง จ ำเป็ น ต้ อ งมี ก ำรพยำกรณ์ GPP ภำคเกษตร โดยกำรใช้ แบบจำลองทำงเศรษฐมิติ ในกำรประมำณกำร อำทิ แบบจำลองถดถอยอย่ำงง่ำย หรือแบบจำลอง ถดถอยเชิงซ้อน (Regression Model) และแบบจำลองอื่น ๆ ตำมควำมเหมำะสม โดยค่ำพยำกรณ์ที่ ได้ควรมีควำมสอดคล้องระหว่ำงเครื่องชีภ้ ำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรกับอัตรำกำรเติบโตภำคเกษตร

ภำพที่ 7 : กำรพยำกรณ์ GPP ภำคเกษตร สำขำพืช สำขำปศุสัตว์ สำขำประมง สำขำบริกำรทำงกำรเกษตร และ สำขำป่ำไม้ โดยคำนวณจำกโปรแกรม Eviews ขั้นตอนที่ 4 การจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด เป็นกำรนำมูลค่ำ GPP ภำคเกษตร ทั้ง 5 สำขำที่ได้จำกประมำณกำรในขั้นตอนที่ 3 นำมำวิเครำะห์และ นำเสนอภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรระดับจังหวัด ในรูปแบบ Infographic และรำยงำนฉบับเต็ม โดยอธิบำยถึง อัตรำกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจกำรเกษตร เครื่องชี้ภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตร สถำนกำรณ์กำรผลิตสินค้ำเกษตร ที่สำคัญของจังหวัด สำเหตุของกำรเปลี่ยนแปลง ทิศทำงของกำรเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ ใน กำรอธิบำยประกอบกำรจัดทำรำยงำนขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดทำ 1) อธิบำยถึงปัจจัยบวก ปัจจัยลบ และสถำนกำรณ์ต้องสอดคล้องกับทิศทำงกำรเติบโตของ GPP ภำค เกษตร 2) อธิบำยสถำนกำรณ์โดยใช้ขอ้ มูลจำกตำรำงควรตรวจสอบตัวเลขให้ถูกต้อง 3) อธิ บ ำยสำเหตุ ก ำรเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงของผลผลิ ต และรำคำสิ น ค้ ำ เกษตรควรให้ เ หตุ ผ ลอย่ ำ ง สมเหตุสมผล ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัดก่อนเผยแพร่ (5.1) ลงพืน้ ที่ติดตำมสถำนกำรณ์กำรผลิตสินค้ำเกษตรที่สำคัญ กับเกษตรกร และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง แต่ละจังหวัด (5.2) จั ด ประชุ ม กั บ ส่ ว นสำรเสนเทศกำรเกษตร เพื่ อ ช่ ว ยตรวจสอบควำมถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล และ สถำนกำรณ์กำรผลิตสินค้ำเกษตร เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน ก่อนนำส่งผู้บริหำร และเผยแพร่ ให้กับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องแต่ละจังหวัดต่อไป

Data Loading...