ยานอนหลับ - PDF Flipbook

ยานอนหลับ

172 Views
6 Downloads
PDF 7,514,589 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


Sleeping pill ยานอนหลับ

หลักการใช้ยานอนหลับ

- สอบถามเกียวกับพฤติกรรมการนอนหลับในช่วงทีผ่านมา เพือทราบถึงรูปแบบการนอนหลับ - ทดสอบเพือตรวจหาปญหาสุขภาพทีอาจเปนต้นเหตุให้นอนหลับยากขึน - อธิบายเกียวกับตัวเลือกยานอนหลับแต่ละประเภท รวมไปถึงความถี ช่วงเวลาทีต้องกินยา และรูปแบบของยา เช่น ยาเม็ด ยาเม็ดละลายนํา หรือสเปรย์พ่นปาก - จ่ายยานอนหลับตามระยะเวลาเพือให้เห็นว่ายาทีใช้มีประโยชน์และมีผลข้างเคียงอย่างไรบ้าง - ช่วยเลือกยานอนหลับทีดีทีสุด โดยคํานึงจากราคาทีถูกทีสุดมากกว่ายีห้อของยา - ให้คุณลองใช้ยานอนหลับชนิดอืน ในกรณีทีใช้ยานอนหลับตัวแรกจนครบระยะเวลาทีกําหนดไว้แล้วแต่ยังไม่ได้ผล *** ก่อนใช้ยานอนหลับ ต้องปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ

ประเภทของยานอนหลับ ( ทีเเพทย์นิยมให้ใช้ ) มี 3 ประเภทหลักๆ 1. ทําให้เข้าสู่ภวังค์การนอน 2. ช่วยให้นอนหลับยาวนาน 3. มีผลทําให้เกิดการติดยา

1. ทําให้เข้าสู่ภวังค์การนอน Estazolam (เอสตาโซแลม) Eszopiclone (เอสโซปโคลน)

3. มีผลทําให้เกิดการติดยา

2. ช่วยให้นอนหลับยาวนาน Doxepin (ด็อกเซปน)

Estazolam (เอสตาโซแลม) Eszopiclone (เอสโซปโคลน)

Ramelteon (ราเมลทีออน)

Estazolam (เอสตาโซแลม)

Temazepam (เทมาซีแพม)

Eszopiclone (เอสโซปโคลน)

Triazolam (ไตรอาโซแลม)

Temazepam (เทมาซีแพม)

Zaleplon (ซาเลปลอน)

Zolpidem (โซลพิเดม) ชนิดออกฤทธ์ช้า

Zolpidem (โซลพิเดม)

Suvorexant (ยาซูโวแรกซ์แซน)

Zolpidem (โซลพิเดม) ชนิดออกฤทธ์ช้า

Triazolam (ไตรอาโซแลม) Zaleplon (ซาเลปลอน) Zolpidem (โซลพิเดม) Zolpidem (โซลพิเดม) ชนิดออกฤทธ์ช้า

Temazepam (เทมาซีแพม)

Suvorexant (ยาซูโวแรกซ์แซน) Suvorexant (ยาซูโวแรกซ์แซน)

ผลข้างเคียงของยานอนหลับ ควรสอบถามเกียวกับผลข้างเคียงของยานอนหลับแต่ละชนิดก่อนตัดสินใจใช้ ตัวอย่างผลข้างเคียงทีพบได้จากการใช้ยานอนหลับ ได้แก่

• รู้สึกเวียนศีรษะจนอาจทําให้ทรงตัวไม่อยู่และหกล้ม • ปวดศีรษะ • มีปญหาเกียวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องร่วง และคลืนไส้ • มีอาการง่วงนอนยาวนาน และจะง่วงมากหากใช้ยาทีมีฤทธิช่วยคงการนอนหลับ • เกิดปฏิกิริยาแพ้ยารุนแรง เช่น ใบหน้า ริมฝปาก ลิน และลําคอบวม เกิดผืน ลมพิษ หายใจลําบาก เปนต้น • รู้สึกง่วงในระหว่างวันมากขึน ซึงอาจทําให้เกิดอันตรายได้ เช่น ง่วงในขณะขับรถจนหลับใน หรือง่วงขณะรับประทานอาหารจนสําลัก • มีปญหาในการใช้ชีวิตและการจดจําเรืองราวทีเกิดขึนระหว่างวัน

บ ั ล ห น อ น า ย ง อ ข ความปลอดภัย

ยานอนหลับทีแพทย์จ่ายให้ ยานอนหลับทีหาซือได้เอง และยาต้านภาวะซึมเศร้าทีช่วยให้นอนหลับ บางประเภทอาจไม่ปลอดภัยสําหรับสตรีมีครรภ์ สตรีทีกําลังให้นมบุตร และผู้สูงอายุ เนืองจากฤทธิของยาจะเพิม ***ก่อนใช้ยานอ นหลับควรปรึกษา เเพทย์ก่อน

ความเสียงให้เกิดการหกล้มในช่วงกลางคืนได้ หากเปนผู้สูงอายุ แพทย์จะเลือกจ่ายยานอนหลับในปริมาณตํา เพือลดความเสียงนี ผู้ทีมีปญหาสุขภาพบางอย่าง เช่น โรคไต ความดันโลหิตตํา หัวใจเต้นผิดปกติ หรือมีประวัติการชักมาก่อน ก็ไม่ควรใช้ยานอนหลับเช่นกัน อีกทังยาอาจทําปฏิกิริยากับยารักษาโรคตัวอืนทีกําลังใช้อยู่ได้ เพือความปลอดภัย ก่อนใช้ยาควรแจ้งให้แพทย์ ทราบถึงยา วิตามิน อาหารเสริม และสมุนไพรทีกําลังใช้ทุกชนิด และปฏิบัติตามคําแนะนําการใช้ยา ของแพทย์อย่างเคร่งครัด

การรับประทานยานอนหลับ

คําแนะนําการใช้ยาเพือความปลอดภัย ดังนี - เข้ารับการประเมินทางการแพทย์ - อ่านคําแนะนําบนฉลากยาอย่างละเอียด - ห้ามกินยานอนหลับจนกว่าคุณจะเข้านอน - กินยานอนหลับก่อนนอนเพือให้นอนได้เต็มที - สังเกตผลข้างเคียงของยา - หลีกเลียงการดืมแอลกอฮอล์ - ใช้ยานอนหลับตามคําสังแพทย์อย่างเคร่งครัด - หยุดยาอย่างระมัดระวัง

Thank You

Data Loading...