ไทย - PDF Flipbook

ไทย

122 Views
32 Downloads
PDF 1,953,134 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


1

2

เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู รายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รหัส พท21001

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย หนังสือเรียนนี้จดั พิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

3

4

สารบัญ หนา คํานํา คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู บทที่ 1 การฟง การดู เรื่องที่ 1 หลักเบื้องตนของการฟงและการดู เรื่องที่ 2 หลักการฟงเพื่อจับใจความสําคัญ เรื่องที่ 3 หลักการฟง การดู อยางมีวิจารณญาณ เรื่องที่ 4 มารยาทในการฟง การดู กิจกรรมทายบท บทที่ 2 การพูด เรื่องที่ 1 สรุปความ จับประเด็นสําคัญของเรื่องที่พูด เรื่องที่ 2 การพูดในโอกาสตาง ๆ เรื่องที่ 3 มารยาทในการพูด กิจกรรมทายบท บทที่ 3 การอาน เรื่องที่ 1 การอานในใจ เรื่องที่ 2 การอานออกเสียง เรื่องที่ 3 การอานจับใจความสําคัญ เรื่องที่ 4 มารยาทในการอานและนิสัยรักการอาน กิจกรรมทายบท บทที่ 4 การเขียน เรื่องที่ 1 หลักการเขียนและการใชภาษาเขียน เรื่องที่ 2 หลักการเขียนแผนภาพความคิด เรื่องที่ 3 การแตงรอยกรอง เรื่องที่ 4 การเขียนสื่อสาร เรื่องที่ 5 การเขียนรายงานคนควาและอางอิงความรู เรื่องที่ 6 การกรอกแบบรายงาน

1 2 3 3 5 6 7 12 13 14 14 27 29 31 33 34 39 41 43 44

5

สารบัญ (ตอ) หน า เรื่องที่ 7 มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน กิจกรรมทายบท บทที่ 5 หลักการใชภาษา เรื่องที่ 1 ความหมายของพยางค คํา วลี และประโยค เรื่องที่ 2 ชนิดและหนาที่ของประโยค เรื่องที่ 3 การใชเครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ เรื่องที่ 4 คําราชาศัพท เรื่องที่ 5 ภาษาพูดและภาษาเขียน เรื่องที่ 6 การใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย กิจกรรมทายบท บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม เรื่องที่ 1 ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม เรื่องที่ 2 วรรณกรรมปจจุบัน เรื่องที่ 3 วรรณกรรมทองถิ่น เรื่องที่ 4 หลักการและแนวทางการพิจารณาวรรณคดี เรื่องที่ 5 เพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก กิจกรรมทายบท บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ เรื่องที่ 1 อาชีพที่ใชทักษะการพูดเปนชองทางการประกอบอาชีพ เรื่องที่ 2 อาชีพที่ใชทักษะการเขียนเปนชองทางการประกอบอาชีพ เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณดานภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ กิจกรรมทายบท เฉลยกิจกรรมทายบท บรรณานุกรม คณะผูจัดทํา

49 50 51 54 59 67 71 73 76 77 78 79 80 83 85 86 87 88 93 94 105 106

6

คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรูรายวิชาภาษาไทยเลมนี้ เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน สาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544) เพื่ อให ผูเรียน กศน. ไดศึกษาทําความเขาใจและเรียนรูในเนื้อหาสาระของรายวิชาภาษาไทยที่สําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถทําความเขาใจของเนื้อหาไดดียิ่งขึ้น ในการศึกษาเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรูรายวิชาภาษาไทยเลมนี้ ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จากหนังสื อเรียนสาระ ความรูพื้ น ฐาน หลั กสู ต รการศึก ษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้ นฐาน พุ ทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขาใจกอน 2. ศึกษาเนื้อหาสาระของเอกสารสรุปเนื้อ หาที่ตอ งรูรายวิชาภาษาไทยใหเขา ใจอยา ง ละเอียดทีละบทจนครบ 7 บท 3. หากตอ งการศึก ษารายละเอีย ดเนื้ อหาสาระรายวิชาภาษาไทยเพื่ อ เพิ่ ม เติ มความรู ผูเรียน กศน. สามารถศึกษาคนควาไดจากสื่ออื่น ๆ หองสมุด อินเทอรเน็ต หรือครูผูสอน

1

บทที่ 1 การฟง การดู เรื่องที่ 1 หลักเบื้องตนของการฟงและการดู ความหมายของการฟงและการดู การฟงและการดู หมายถึง การรับรูเรื่องราวตาง ๆ จากแหลงของเสียงหรือภาพ หรือ เหตุการณ ซึ่งเปนการฟงจากผูพูดโดยตรง หรือฟงและดูผา นอุปกรณ หรือสิ่งตาง ๆ แลวเกิด การรับรูและนําไปใชประโยชน โดยตองศึกษาจนเกิดความถูกตอง วองไว ไดประสิทธิภาพ หลักการฟงและการดูที่ดี 1. ตองรูจุดมุงหมายของการฟงและการดู และตองจดบันทึกเพื่อเตือนความจํา 2. ตองฟงและดูโดยปราศจากอคติ เพื่อการวิเคราะหวิจารณที่ตรงประเด็น 3. ใหความรวมมือในการฟงและการดู ดวยการรวมกิจกรรม จุดมุงหมายของการฟงและการดู การฟงมีจุดมุงหมายที่สําคัญดังนี้ 1. ฟงเพื่อจับใจความสําคัญไดวาเรื่องที่ฟงนั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไหร หรือใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร 2. ฟงเพื่อจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง และอาจตองมีการ บันทึกยอเพื่อชวยความจํา 3. ฟงเพื่อหาเหตุผลมาโตแยงหรือคลอยตาม ผูฟงตองตั้งใจฟงเปนพิเศษ และตอง ใชวิจารณญาณพิจารณาวาเรื่องที่ฟงนั้นมีอะไรเปนขอเท็จจริง อะไรเปนขอคิดเห็น และมีความ ถูกตอง มีเหตุผลนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด ซึ่งผูฟงควรพิจารณาเรื่องราวที่ฟงดวยใจเปนธรรม 4. ฟงเพื่อเกิดความเพลิดเพลิน และซาบซึ้ง ในคุณคาของวรรณคดี คติธรรม และ ดนตรี ผูฟงตองมีความรูในเรื่องที่ฟง เขาใจคําศัพท สัญลักษณตาง ๆ และมีความสามารถในการ ตีความ เพื่อใหเกิดความไพเราะซาบซึ้งในรสของภาษา 5. ฟงเพื่อสงเสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค เปนความคิดที่เกิดขึ้น ขณะที่ฟง หรือหลังจากการฟง ซึ่งอาจจะออกมาในรูปของงานประพันธ งานศิลปะ หรือการพูด

2

การดูมีจุดมุงหมายที่สําคัญดังนี้ 1. ดูเพื่อใหรู เปนการดูเพื่อใหเปนคนทันโลกทันเหตุการณ 2. ดูเพื่ อศึกษาหาความรู เปนการดูที่ชวยสงเสริมการอา น หรือการเรียนใหมี ความรูมากขึ้น หรือมีความชัดเจนลุมลึกขึ้น 3. ดูเพื่อความเพลิดเพลิน เชน ละคร เกมโชว มิวสิควิดีโอ 4. ดูเพื่อยกระดับจิตใจ เปนการดูที่จะทําใหจิตใจเบิกบานและละเอียดออน เขาถึงธรรมชาติ และสัจธรรม ไดแก การชมธรรมชาติ การชมโขน ละคร การดูรายการเกี่ยวกับ ธรรมะ การดูกีฬา

เรื่องที่ 2 หลักการฟงเพื่อจับใจความสําคัญ การฟงเพื่อจับใจความสําคัญ เปนการฟงเพื่อความรู ผูฟงตองตั้งใจฟงและพยายามสรุป เนื้อหา โดยมีหลักการสําคัญดังนี้ 1. มีสมาธิดี ตั้งใจฟง ติดตามเรื่อง 2. ฟงใหเขาใจและลําดับเหตุการณใหดีวา เรื่องที่ฟงเปนเรื่องของอะไร ใครทําอะไร ที่ไหน อยางไร 3. แยกใหออกวา ตอนใดเปนใจความสําคัญ ตอนใดเปนสวนขยาย 4. บันทึกขอความสําคัญจากเรื่องที่ฟง การฟงเพื่อจับใจความสําคัญ 1. จับใจความสําคัญจากบทรอยแกว รอยแกว คือ ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดวยเสียงและความหมาย แตไมกําหนดระเบียบบัญญัติแหงฉันทลักษณ คือ ไมจํากัดครุ ลหุ ไมกําหนดสัมผัส 2. จับใจความสําคัญจากบทรอยกรอง รอยกรอง คือ ถอยคํา ที่เรียบเรียงใหเปนระเบียบตามบัญญัติแหงฉันทลั กษณ คือ ตําราวาดวยการประพันธ เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน 3. จับใจความสําคัญจากบทความ บทความ คือ ขอเขียนซึ่งอาจจะเปนรายงาน หรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ ในหนังสือพิมพ วารสาร สารานุกรม เปนตน 4. จับใจความสําคัญจากขาว ขาว คือ คําบอกเลาเรื่องราว ซึ่งโดยปกติมักเปนเรื่องเกิดใหมหรือเปนที่นาสนใจ

3

เรื่องที่ 3 หลักการฟง การดู อยางมีวิจารณญาณ ผูที่สามารถจะฟงและดูไดอยางมีวิจารณญาณ จะตองมีความเขาใจและสามารถปฏิบัติ ดังนี้ได 1. การวิเคราะห คือ ความสามารถในการแยกขอเท็จ จริงออกจากขอคิดเห็นรู วา อะไร เปนอะไร อะไรเปนเหตุ อะไรเปนผล 2. การตีความ คือ ตองรูความหมายที่แฝงไวในใจเรื่องหรือภาพนั้น ๆ 3. การประเมินคา เปนทักษะที่ตอเนื่องมาจากการวิเคราะหการตีความ การประเมินคา สิ่งใด ๆ จะตองพิจารณาใหรอบดาน เชน จุดประสงค รูปแบบ ประเภทของสาร เชน ถาจะประเมินคุณคาของวรรณคดีตองดูในเรื่องคุณคาวรรณศิล ป ดา นสังคม เนื้อหาและ นําไปใชในชีวิตประจําวัน 4. การตัดสิ นใจ คือ การวินิจ ฉั ยเพื่ อประเมินคา อัน นํา ไปสู การตัดสิ นใจที่ถูกตองว า สิ่งใดควรเชื่อไมควรเชื่อ ซึ่งการตัดสินใจที่ถูกตองเปนเรื่องสําคัญมากในชีวิตประจําวัน 5. การนํา ไปประยุกตใชในชีวิตประจํ า วัน ทักษะนี้จ ะตองใชศิล ปะและประสบการณ ของแตละคนมาชวยดวย ซึ่งการฟงและการดูมากก็จะชวยใหตัดสินใจไมผิดพลาด มารยาทในการแสดงความคิดเห็น 1. ภาษาในการแสดงความคิดเห็นตองชัดเจน เขาใจงาย เลือกใชถอยคําใหมี ความหมายตรงตามที่คิด มีความสมเหตุสมผล ตรงประเด็น ไมออกนอกเรื่อง 2. ขอมูลหลักฐานที่นํามาใชประกอบความคิดเห็นตองเปนเรื่องจริง ไมใชขอมูล เท็จหรือมีจุดประสงคเพื่อหลอกลวง 3. ไมแสดงความคิดเห็นสวนตัวในลักษณะการใชอารมณความรูสึกทั้งหมด โดยปราศจากเหตุผลหรือขอเท็จจริง 4. ใชภาษาสุภาพ ไมกาวราว หยาบคาย หลีกเลี่ยงการใชคําคะนอง เรื่องที่ 4 มารยาทในการฟง การดู มารยาทในการฟงและการดู การฟ ง และการดู เ ป น กิ จ กรรมในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ที่ ทุ ก คนในสั ง คมมั ก จะต อ งเข า ไปมี ส วนรวมเกือบทุกวัน การเปนผู มีมารยาทในการฟ ง ที่ดี นอกจากเปนการสรา งบุ คลิ กภาพที่ ดี ใหกับตนเองแลวยังเปนสิ่งแสดงใหเห็นวาเปนผูไดรับการอบรมฝกฝนมาอยางดี เปนผูมีมารยาท ในสังคม การที่ทุกคนมีมารยาทที่ดีในการฟงและการดู ยังเปนการสรางระเบียบในการอยูรวมกัน

4

ในสังคม ชวยลดปญหาการขัดแยง และชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการฟ งอีกดวย ผู มีมารยาท ในการฟงและการดู ควรปฏิบัติตนดังนี้ 1. เมื่อฟงอยูเฉพาะหนาผูใหญ ควรฟงโดยสํารวมกิริยามารยาท 2. การฟงในที่ประชุม ควรเขาไปนั่งกอนผูพูดเริ่มพูด โดยนั่งที่ดานหนาใหเต็มเสียกอน และควรตั้งใจฟงจนจบเรื่อง 3. ฟงดวยใบหนา ยิ้มแยมแจ มใสเปนกันเองกับผูพู ด ปรบมือเมื่อมีการแนะนํา ตัวผู พู ด และเมื่อผูพูดพูดจบ 4. เมื่อฟงในที่ประชุม ตองตั้งใจฟงและจดบันทึกขอความที่สนใจ หรือขอความที่สําคัญ หากมีขอสงสัยเก็บไวถามเมื่อมีโอกาสและถามดวยกิริยาสุภาพ 5. เมื่อไปดูล ะคร ภาพยนตร หรือฟ งดนตรี ไมควรสรา งความรํา คาญใหบุคคลอื่ น ควรรักษามารยาทและสํารวมกิริยา

5

กิจกรรมทายบทที่ 1 การอานบทความ (10 คะแนน) ใหผูเรียนอานบทความขางลางนี้ และสรุปเนื้อหาใจความสําคัญของเรื่อง และบอกประโยชนที่ได จากบทความนี้

ปจจุบันเปอรเซ็นตการเจ็บปวยดวยโรคตาง ๆ ของคน ไทยในรอบสามปที่ผ า นมา ไมวาจะเปนโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดัน หรือเสนเลือดตีบ มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทําใหผูคนหัน มาดูแลใส ใจสุ ขภาพ และรักษาสุ ขภาพมากกวาเดิม แตมีอยู หนึ่งโรคที่ทุกคนยังคงมองขามและละเลย บางคนไมทราบดวย ซ้ํา วาโคนี้เปนโรครายแรงติดอันดับหนึ่งในสิบที่ทํา ใหคนไทย เสียชีวิตมากที่สุด นั่นคือ “โรคกระดูกพรุน” โรครายใกลตัวที่ กั ด กิ น ร า งกายคุ ณ ไปอย า งช า ๆ โดยที่ เ จ า ของร า งกายไม สามารถรูตัวไดเลยหากไมระมัดระวังใหดี เพราะโรคนี้เปนโรค ที่ไมแสดงอาการใด ๆ ออกมา เมื่อคุณทราบอีกทีก็อาจจะสาย เกินแกไปเสียแลว

6

บทที่ 2 การพูด เรื่องที่ 1 สรุปความ จับประเด็นสําคัญของเรื่องที่พูด การพูดเปนทักษะหนึ่งของการสื่อสาร การพูดคือการเปลงเสียงออกมาเปนถอยคํา หรือ ขอความตา ง ๆ เพื่ อติดตอสื่ อสารใหผู พู ดและผู ฟ งเขา ใจเรื่องราวตา ง ๆ การพู ดเปนการสื่ อ ความหมายโดยใชภาษาเสี ยง กิริ ยาทาทางต าง ๆ เพื่ อถา ยทอดความรูและความรูสึ ก รวมทั้ ง ความคิดเห็นของผูพูด ใหผูฟงไดรับรู และเขาใจตามความมุงหมายของผูฟงเปนเกณฑ องคประกอบของการพูดประกอบดวย 1. ผูพูด คือ ผู ที่มีจุ ดมุงหมายสํ า คัญที่จ ะเสนอความรูความคิดเห็น เพื่ อใหผู ฟงไดรับรู และเขาใจ โดยใชศิลปะการพูดอยางมีหลักเกณฑ และฝกปฏิบัติอยูเปนประจํา 2. เนื้อเรื่อ ง คือ เรื่องราวที่ผู พู ดนําเสนอเปนความรูหรือความคิดเห็น ใหผู ฟ งไดรับรู อยางเหมาะสม 3. ผูฟง คือ ผูรับฟงเรื่องราวตาง ๆ ที่ผูพูดนําเสนอ ซึ่งผูฟงตองมีหลักเกณฑและมารยาท ในการฟง การพูดที่ดี คือ การสื่ อความหมายที่ดีนั้นยอมสื่ อความเขา ใจกับใคร ๆ ไดตรงตาม วัตถุประสงคของผูพูด การที่ผูฟงฟงแลวพึงพอใจ สนใจ เกิดความศรัทธาเลื่อมใส เรียกวาผูพูด ผูนั้นมีศิลปะในการพูด ลักษณะการพูดที่ดี มีดังนี้ 1. มีบุคลิกภาพที่ดี การฟงคนอื่นพู ดนั้นเราไมไดฟงแตเพี ยงเสี ยงพู ด แตเราจะตองดู การพูด ดูบุคลิกภาพของเขาดวย บุคลิกภาพของผูพูดมีสวนที่จะทําใหผูฟงสนใจ ศรัทธาตัวผูพูด บุคลิกภาพ ไดแก รูปราง หนาตา ทาทาง การยืน การนั่ง การเดิน ใบหนาที่ยิ้มแยม ตลอดจน อากัปกิริยาที่แสดงออกในขณะที่พูดอยางเหมาะสมดวย 2. มีความเชื่อมั่นในตนเองดี ผู พูดจะตองเตรียมตัวล วงหนา ฝ กซอมการพูดใหคล อง สามารถจดจําเรื่องที่พูดได ควบคุมอารมณได ไมตื่นเตน ประหมา หรือลุกลี้ลุกลน รีบรอนจน ทําใหเสียบุคลิก 3. พูดใหตรงประเด็น พูดในเรื่องที่กําหนดไว ไมนอกเรื่อง พูดอยางมีจุดมุงหมาย มุงให ผูฟงฟงแลวเขาใจ ตรงตามวัตถุประสงคที่ผูพูดตองการ

7

4. ตองใชภาษาที่เหมาะสมกับระดับผูฟง ตามปกตินิยมใชภาษาธรรมดา สุภาพ สั้น ๆ กะทัดรัด สื่ อความเขา ใจไดงาย หลี กเลี่ ยงสํ านวนโลดโผน ศัพทเทคนิค หรือสํ า นวนที่ไมได มาตรฐาน 5. ตองคํานึงถึงผูฟง ผูพูดตองทราบวาผูฟงเปนใคร เพศ วัย อาชีพ ระดับการศึกษา ความสนใจ ความเชื่อถือเปนอยางไร เพื่อจะไดพูดใหถูกกับสภาพของผูฟง หลีกเลี่ยงการแสดง ความคิดเห็นและความเชื่อที่ขัดแยงกับผูฟง 6. มีมารยาทในการพูด ผูพูดตองพิจารณาเลือกใชถอยคําที่ถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคลเพื่อแสดงถึงความมีมารยาทที่ดีและใหเกียรติผูฟง การสรุปความ จับประเด็นสําคัญของเรื่องที่พูด 1. ผูพูดจะตองทราบรายละเอียดของผูฟงดังนี้ 1.1 เปนชายหรือหญิง 1.2 อายุ 1.3 การศึกษา 1.4 อาชีพ เปนเบื้องตนเพื่อมากําหนดเนื้อหาสาระที่จะพูดใหเหมาะสมกับผูฟง 2. ผูพูดตองมีวัตถุประสงค ที่จะพูด จะเปนการพูดวิชาการ เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อ สั่งสอน เปนตน 3. เนื้อหาสาระ ผูพูดอาจเพียงกําหนดหัวขอ แตเมื่อพูดจริงจะตองอธิบายเพิ่มเติม อาจเปนตัวอยาง อาจเปนประสบการณ ที่จะเลาใหผูฟงไดฟง ผูฟงจะสรุปความเรื่องที่รับฟ งได หากผูพูดพูดมีสาระสําคัญ และมีการเตรียมตัวที่จะพู ด มาอยางดี

เรื่องที่ 2 การพูดในโอกาสตาง ๆ การพูดในโอกาสตางๆ 1. การพูดแนะนําตนเอง การพูดแนะนําตนเอง เปนการพูดที่แทรกอยูกับการพูดในลักษณะตาง ๆ เปนพื้นฐาน เบื้องตนที่จ ะทําใหผูฟ งมีความรูเกี่ยวกับผู พูด การแนะนําตนจะใหรายละเอียดแตกตา งกันไป ตามลักษณะของการพูด

8

1. การพูดแนะนําตนในกลุมของผูเรียน ควรระบุรายละเอียด ชื่อ - นามสกุล การศึกษา สถานศึกษา ที่อยูปจจุบัน ภูมิลําเนาเดิม ความถนัด งานอดิเรก 2. การพูดแนะนําตนเพื่อเขาปฏิบัติงาน ควรระบุ ชื่อ - นามสกุล รายละเอียดเกี่ยวกับ การศึกษา ตําแหนงหนาที่ที่จะเขามาปฏิบัติงาน ระยะเวลาที่จะเริ่มปฏิบัติหนาที่ 3. การแนะนําบุคคลอื่นในสังคมหรือที่ประชุม ควรใหรายละเอียด ชื่อ - นามสกุล ผูที่ เราแนะนํ า ความสามารถของผู ที่ เ ราแนะนํ า การแนะนํ า บุ ค คลให ผู อื่ น รู จั ก ต อ งใช คํ า พู ด เพื่อสรางไมตรีที่ดีระหวางบุคคลทั้งสองฝาย 2. การกลาวตอนรับ การกลาวตอนรับเปนการกลาวเพื่อบอกความรูสึกที่มีตอผูที่มา โดย 1. กลาวถึงความยินดีของการเปนเจาของสถานที่ 2. กลาวยกยองผูมาเยือน เชน เปนใคร มีผลงานดีเดนอะไร มีความสัมพันธอยางไร กับผูตอนรับ 3. แสดงความยินดีที่ใหการตอนรับ 4. ขออภัยหากมีสิ่งใดบกพรองไป และหวังจะกลับมาเยี่ยมอีก 3. การกลาวอวยพร โอกาสที่กลาวอวยพรมีหลายโอกาส เชน การกลาวอวยพรวันเกิด วันปใหม ขึ้นบานใหม การอวยพรคูบาวสาว หรือในโอกาสที่จะมีการโยกยาย อําลาไปรับตําแหนงใหม ฯลฯ หลักการกลาวอวยพร มีขอปฏิบัติที่ควรจําดังนี้ 1. ควรกล า วถึงโอกาสและวันสํ า คัญนั้น ๆ ที่ไดมาอวยพรวา เปนวันสํ า คัญอยา งไร ในโอกาสดีอยางไรมีความหมายตอเจาภาพหรือการจัดงานนั้นอยางไร 2. ควรใชคําพูดที่สุภาพ ไพเราะ ถูกตอง เหมาะสมกับกลุมผูฟง 3. ควรกลาวใหสั้น ๆ ใชคําพูดงาย ๆ ฟงเขาใจดี กะทัดรัด กระชับความ นาประทับใจ 4. ควรกล าวถึงความสัมพันธระหวา งผู อวยพรกับเจ าภาพ กลา วใหเกียรติ ชมเชย ในความดีของเจาภาพ และแสดงความปรารถนาดีที่มีตอเจาภาพ 5. ควรใชคําพู ดอวยพรใหถูกตอง หากเป นการอวยพรผู ใหญ นิยมอางสิ่ งศักดิ์สิ ทธิ์ ที่เคารพนับถือมาประทานพร 4. การกลาวขอบคุณ การกลาวขอบคุณเปนการแสดงน้ําใจไมตรี หรือความดีที่ผูอื่นกระทําให เชน ขอบคุณ วิทยากรที่บรรยาย ดังนี้ 1. ควรกลาวขอบคุณวิทยากรใหเกียรติบรรยาย

9

2. มีการสรุปเรื่องที่วิทยากรบรรยายจบไปอยางสั้น ๆ ไดใจความ 3. ควรกลาวถึงคุณคาของเรื่องที่ฟงและประโยชนที่ไดรับจากการบรรยาย 4. กลาวใหมีความหวังจะไดรับเกียรติจากวิทยากรอีกในโอกาสตอไป 5. กลาวขอบคุณวิทยากรอีกครั้งในตอนทาย 5. การพูดใหโอวาท การพูดใหโอวาท จะมีลักษณะดังนี้ 1. กลาวถึงความสําคัญ และโอกาสที่มากลาวใหโอวาทวามีความสําคัญอยางไร 2. พูดใหตรงประเด็น เลือกประเด็นสําคัญ ๆ ที่มีความหมายแกผูรับโอวาท 3. ควรมีขอแนะนํา ตักเตือน และเสนอแนะประสบการณที่มีประโยชน 4. ควรพูดชี้แจงและเกลี้ยกลอมใหผูฟงตระหนักและนําโอวาทไปใชใหเกิดประโยชน ไดอยางแทจริง 5. กลาวสั้น ๆ ไดใจความดี ตอนทายของการใหโอวาทก็ควรกลาวอวยพรที่ประทับใจ การพูดแสดงความคิดเห็น การพูดแสดงความคิดเห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรูสึกหรือแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางมีเหตุผล มีความสอดคลองกับเรื่องที่พูด ประเภทของการพูดแสดงความคิดเห็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชิงสนับ สนุน การพูดแสดงความคิดเห็นในลักษณะ ดั ง กล า ว เป น การพู ด เพื่ อ สนั บ สนุ น ความคิ ด เห็ น ของผู อื่ น ซึ่ ง ผู พู ด อาจจะพิ จ ารณาแล ว ว า ความคิดเห็นที่ตนสนับสนุนมีสาระและประโยชนตอหนวยงานและสวนรวม หรือถาเปนการแสดง ความคิดเห็นเชิงวิชาการ จะตองเปนความคิดเห็นที่เปนองคความรูสัมพั นธกับเนื้อเรื่องที่กําลังพู ด กันอยู ทั้งในระหว า งบุค คลหรื อในที่ ประชุ ม เชน การพู ดในที่ ประชุ ม การอภิปราย การแสดง ปาฐกถา เปนตน 2. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชิงขัดแยง การพูดลักษณะดังกลาวเปนการพูดแสดง ความคิดเห็นในกรณีที่มีความคิดไมตรงกันและเสนอความคิดอื่น ๆ ที่ไมตรงกับผูอื่น การพูดแสดง ความคิดเห็นในเชิงขัดแยงดังกลาว ผูพูดควรระมัดระวังเรื่องการใชภาษาและการนําเสนอ ความ ขัดแยงควรเปนไปในเชิงสรางสรรค อันจะกอประโยชนตอหนวยงานหรือสาธารณชน เชน การสัมมนาเชิงวิชาการ การอภิปราย การประชุม เปนตน 3. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชิงวิจารณ เปนการพูดเพื่ อวิจารณเกี่ยวกับเรื่องใด เรื่ อ งหนึ่ ง ซึ่ ง ผู วิ จ ารณ อ าจจะแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยหรื อ ไม เ ห็ น ด ว ย และวิ จ ารณ ใ นเชิ ง

10

สรางสรรค ผูวิจ ารณ จะตองวางตัวเปนกลาง ไม อคติตอผูพู ดหรือสิ่ งที่เห็น เชน การแสดงความ คิดเห็นตอหนังสือ ละคร รายการโทรทัศน ภาพยนตร เปนตน 4. การพูดแสดงความคิดเห็นเพื่อนําเสนอความคิดใหม เปนการพูดในกรณีที่ไมเห็น ดวยกั บการแสดงความคิดเห็นของผู อื่ น และนํ า เสนอความคิดเห็ นใหมของตนที่คิด วา จะเป น ประโยชนตอสวนรวม เชน การแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม เปนตน ลักษณะของผูพูดแสดงความคิดเห็นที่ดี 1. ผูพูดจะตองมีความรูในเรื่องที่จะแสดงความคิดเห็นเปนอยางดี 2. การแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ควรมีหลั กการแสดงความคิดเห็นในเชิง ขัดแยงและเชิงวิจารณ 3. ใชภาษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาส โดยเฉพาะการแสดงความคิดเห็นในเชิงขัดแยง และเชิงวิจารณ เพื่อรักษาความสัมพันธที่ดีตอผูพูดและผูฟง 4. การแสดงความคิดเห็นใด ๆ ก็ตาม ควรแสดงความคิดเห็นในเชิงสรางสรรค และ เปนประโยชนตอสวนรวมเปนสําคัญ การพูดโนมนาวใจ การพูดโนมนาวใจ หมายถึง การพูดเชิญชวน เกลี้ยกลอม ชักจูงใหผูฟงเกิดความเชื่อถือ ศรัทธา มีความคิดเห็นคลอยตาม และปฏิบัติตาม เชน การพูดโฆษณา การพูดหาเสียง การพูด เชิญชวนใหปฏิบัติตาม การพูดชักจูงใหเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การพูดปลุกเราใหเกิดปฏิกิริยาตาง ๆ หลักการปฏิเสธ ประโยคปฏิเสธที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. การอางความรูสึกประกอบแทนการใชเหตุผลอยางเดียว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว มักถูกโตแยงดวยเหตุผลอื่น แตความรูสึกเปนเรื่องที่โตแยงไดยาก 2. ปฏิเสธอยางชัดเจนทั้งทาทาง คําพูด และน้ําเสียง 3. การถามความคิ ด เห็ น เป น การรั ก ษาน้ํ า ใจผู ช วน ถ า คู ส นทนายอมรั บ คํ า ปฏิ เ สธ ควรพูดวา “ขอบคุณคะ” (ครับ)

11

หลักการเจรจาตอรอง การเจรจาตอรอง มีหลักการที่สาํ คัญ 3 ประการคือ 1. เพื่อใหบรรลุเปาหมายหลักการที่ตองการ 2. เสียผลประโยชนใหนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได 3. ทําใหอีกทุกฝายรูสึกพึงพอใจกับผลการเจรจา การใชกิริยาทาทางประกอบการพูด 1. การใชสายตา สายตาเปนบุคลิกภาพที่สําคัญอยางหนึ่งในการพูด ผูพูดตองใชสายตา อยา งเหมาะสมตลอดเวลาในการพูด คือ การมองและประสานสายตากับกลุ มผู ฟงอยา งทั่วถึง มีประกายตาเบิกบานแจมใส 2. การแสดงออกทางสีหนา เปนสิ่งสําคัญที่แสดงใหเห็นถึงบุคลิกลักษณะ อารมณและ ความรูสึกนึกคิดของผูพูดไดเปนอยางดี โดยผูฟงสามารถอานสีหนาของผูพูดได การพูดดวยสีหนา ที่ยิ้มแยมแจ มใส เฉยเมย ไรชีวิตชีวา หรือบึ้งตึงเครงขรึมตลอดเวลา จะสื่ อความหมายและ ความรูสึก ที่แตกตางกันออกไป และการแสดงออกทางสีหนายังชวยเนนเรื่องราวและความคิด ในการพูดดวย 3. การวางทาทางในที่นี้ หมายถึง การวางตัวในขณะพูด อาจเปนทาทางการยืนหรือการนั่ง การวางทาทางที่ดีจะชวยดึงดูดความสนใจ สรางความนาเชื่อถือ และความเลื่อมใสศรัทธาในตัว ผูพูดได เปนอยางดี การพูดในโอกาสตาง ๆ ผูพูดอาจนั่งพูดหรือยืนพูดก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับรูปแบบ และสถานการณของการพูดครั้งนั้น ๆ ถาเปนการพูดที่เปนทางการและใชเวลาไมนานนักมักใช วิธีการยืนพูด แตถาเปนการพูดที่ไมเปนทางการและใชเวลานานอาจใชวิธีการนั่งพูด 4. การเคลื่อนไหว หมายถึง การเดินไปมาบนเวที เปนสิ่งแรกที่จะเรียกรองความสนใจจาก ผูฟงและเปนสิ่งสุดทายที่จ ะสรางความประทับใจใหกับผู ฟงไดเปนอยา งดี ทั้งนี้เพราะปกติแล ว มนุษยจะสนใจสิ่งที่เคลื่อนไหวไปมามากกวาสิ่งที่อยูนิ่งเฉย การเคลื่อนไหวไปมาขณะพูดจะมาก นอยเพียงใดขึ้นอยูกับเวลาและสถานการณในการพูด ถาการพูดครั้งนั้นใชเวลามากและเปนการ พูดที่ไมเปนทางการ จะมีการเคลื่อนไหวไปมามากกวา การพู ดที่ใชเวลานอยและเปนทางการ การเคลื่อนไหวที่เหมาะสมจะชวยเรียกรองและรักษาความสนใจของผูฟงไวไดตลอดเวลา 5. การใชทาทาง หมายถึง การเคลื่อนไหวอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งประกอบการพูดอยางมี ความหมาย เชน การใชมือ แขน ศีรษะ หรือไหล เปนตน เพื่อสื่อความหมายและเนนย้ําเรื่องที่พูด ใหเกิดความรูความเขาใจที่ชัดเจนยิ่ งขึ้น รวมทั้งสรางความสนใจและรักษาความสนใจของผูฟ ง ทั้งนี้เพราะการใชกิริยาทาทางประกอบการพูดบาง จะชวยสรางความสนใจมากกวาการนั่งหรือยืน

12

นิ่งเฉย ๆ และการใชทาทางที่ดีจะชวยใหการพูดมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยทาทางที่แสดงนี้ควรมี ความรูสึกผอนคลายเปนธรรมชาติ

เรื่องที่ 3 มารยาทในการพูด มารยาทในการพูด สรุปไดดังนี้ 1. เรื่องที่พูดนั้นควรเปนเรื่องที่ทั้งสองฝายสนใจรวมกัน หรืออยูในความสนใจของคนทั่วไป 2. พูดใหตรงประเด็นจะออกนอกเรื่องบางก็เพียงเล็กนอย 3. ไมถามเรื่องสวนตัว ซึ่งจะทําใหอีกฝายหนึ่งรูสึกอึดอัดใจ หรือลําบากใจใน การตอบ 4. ตองคํานึงถึงสถานการณและโอกาส เชน ไมพูดเรื่องเศรา เรื่องที่นา รังเกียจ ขณะ รับประทานอาหารหรืองานมงคล 5. สรางบรรยากาศที่ดี ยิ้มแยมแจมใสและสนใจเรื่องที่กําลังพูด 6. ไมแสดงกิริยาอันไมส มควรในขณะที่พูด เชน ล วง แคะ แกะ เกา ส วนใดส วนหนึ่ง ของรางกาย 7. หลีกเลี่ยงการกลาวราย การนินทาผูอื่น ไมยกตนขมทาน 8. พูดใหมีเสียงดังพอไดยินกันทั่ว ไมพูดตะโกน หรือเบาจนกลายเปนกระซิบกระซาบ 9. พูดดวยถอยคําวาจาที่สุภาพ 10. พยายามรักษาอารมณในขณะพูดใหเปนปกติ 11. หากนํา คํา กล าวหรือมีการอา งอิงคํา พูดของผู ใดควรระบุนามหรือแหลงที่มา เพื่ อให เปนเกียรติแกบุคคลที่กลาวถึง 12. หากพูดในขณะที่ผูอื่นกําลังพูดอยูควรกลาวขอโทษ 13. ไมพูดคุยกันขามศีรษะผูอื่น

13

กิจกรรมทายบทที่ 2 การพูดในโอกาสตางๆ (5 คะแนน) 2.1 ใหผูเรียนพูดแนะนําตนเองเปนรายบุคคลในหัวขอดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)

ชื่อ-สกุล……………………………………………………… วัน เดือน ป เกิด…………………………………………… ภูมิลําเนา……………………………………..…………….… ที่อยูปจจุบัน……………………………………………….… สถานภาพครอบครัว…………………………………….... อาชีพปจจุบัน…………………………………………….…. ความคาดหวังในอนาคต…………………………….….. คติพจนประจําตัว…………………………………….….…

2.2 ใหผูเรียนเขียนคําพูดสําหรับพูดในโอกาสตาง ๆ พรอมออกมาพูดหนาชั้นเรียน เชน (5 คะแนน) 1) 2) 3) 4)

การกลาวตอนรับ การกลาวอวยพร การกลาวขอบคุณ การพูดใหโอวาท ฯลฯ

14

บทที่ 3 การอาน เรื่องที่ 1 การอานในใจ การอานในใจ หมายถึง การแปลตัวอักษรออกมาเปนความรู ความเขาใจ และความคิด แลวนําไปใชอีกทอดอยางไมผิดพลาด โดยทั่วไป จะเปนการอานเพื่อความรู และความบันเทิง จุดประสงคของการอานในใจ 1. เพื่อจับใจความไดถูกตองและรวดเร็ว 2. เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และความคิดอยางกวางขวางและลึกซึ้ง 3. เพื่อใหเกิดความเพลิดเพลินและเปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 4. เพื่อใหถายทอดสิ่งที่อานใหผูอื่นรับรูโดยไมผิดพลาด หลักการอานในใจ 1. ตั้งจุดมุงหมาย วาจะตองอานเพือ่ อะไร อานเพื่อความรู หรือจะอานเพื่อความเพลิดเพลิน 2. ตั้งสมาธิในการอาน ใหจดจออยูกับหนังสือที่อานจิตใจไมวอกแวกไปที่อื่นซึ่งจะทําใหอาน ไดเร็ว และเขาใจไดดี 3. ตั้งเปาการอา นโดยอา นกํา หนดปริมาณที่จะอานไวลวงหนา แลวจั บเวลาในการอา น เพื่อที่จะพัฒนาการอานครั้งตอไปใหเร็วขึ้น 4. ไมอานหนังสือทีละคํา การอานกวาดสายตาใหกวางขึ้นอานใหครอบคลุมขอความที่อยู ตอหนาอยางเร็วไปเรื่อย ๆ 5. ลองถามตนเองวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เกิดกับใคร ที่ไหน อยางไร ถาตอบไดแปลวา เขาใจแตถาตอบไมไดก็ตองกลับไปอานใหม 6. จับใจความสําคัญใหได และบันทึกเปนความรูความเขาใจ และความคิดไวเพราะจะทําให จําเรื่องที่อานไดอยางแมนยํา และสามารถนําไปใชประโยชนไดทันที

เรื่องที่ 2 การอานออกเสียง การอานออกเสี ยง หมายถึง การอานที่ผู อื่นสามารถไดยินเสี ยงอานดวยการออกเสี ยง มักไมนิยมอานเพื่อการรับสารโดยตรงเพียงคนเดียว เวนแตในบางครั้ง เราอานบทประพันธเปน ทวงทํานองเพื่อความไพเราะเพลิดเพลินสวนตัว แตสวนใหญแลวการอานออกเสียง มักเปนการ อานใหผูอื่นฟง การอานประเภทนี้มีหลายโอกาส คือ

15

1. การอานออกเสียงเพื่อบุคคลในครอบครัวหรือผูที่คุนเคย เปนการอา นที่ไมเปนทางการ การอานเพื่ อบุคคลในครอบครัว เชน อา นนิทาน หนังสือพิมพ ขาว จดหมาย ใบปลิว คําโฆษณา ใบประกาศ หนังสือวรรณคดีตาง ๆ เปนการ เลาสู กันฟง อานเพื่อใหเพื่อนฟงอานใหคนบางคนที่อานหนังสือไมออกหรือมองไมเห็น เปนตน 2. การอานออกเสียงที่เปนทางการหรืออานในเรื่องของหนาที่การงาน เปนการอานที่เปนทางการ มีระเบียบแบบแผนในการอานอยางรัดกุมกวาการอานออก เสียงเพื่อบุคคลในครอบครัวหรืออยูที่คุนเคย เชน การอานในหองเรียน อานในที่ประชุม อานใน พิธีเปดงาน อานคําปราศรัย อานสารในโอกาสที่สําคัญตาง ๆ การอานของสื่อมวลชน เปนตน การอานออกเสียงใหผูฟง จะตองอานใหชัดเจนถูกตองไดขอความครบถวนสมบูรณ มีลีลาการอานที่นาสนใจและนาติดตามฟงจนจบ จุดมุงหมายในการอานออกเสียง 1. เพื่อใหอานออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธี 2. เพื่อใหรูจักใชน้ําเสียงบอกอารมณและความรูสึกใหสอดคลองกับเนื้อหาของเรื่องที่อาน 3. เพื่อใหเขาใจเรื่องที่อานไดถูกตอง 4. เพื่อใหผูอานมีความรูและเขาใจในเนื้อเรื่องที่อานไดอยางชัดเจน 5. เพื่อใหผูอานและผูฟงเกิดความเพลิดเพลิน 6. เพื่อใหเปนการรับสารและสงสารวิธีหนึ่ง หลักการอานออกเสียง 1. อานออกเสียงใหถูกตองและชัดเจน 2. อานใหฟงพอที่ผูฟงไดยินทั่วถึง 3. อานใหเปนเสียงพูดโดยธรรมชาติ 4. รูจักทอดจังหวะและหยุดหายใจเมื่อจบขอความตอนหนึ่ง ๆ 5. อานใหเขาลักษณะของเนื้อเรื่อง เชน บทสนทนา ตองอานใหเหมือนการสนทนากัน อานคําบรรยาย พรรณนาความรูสึก หรือปาฐกถาก็อานใหเขากับลักษณะของเรื่องนั้น ๆ 6. อานออกเสียงและจังหวะใหเปนตามเนื้อเรื่อง เชน ดุหรือโกรธ ก็ทําเสียงแข็งและเร็ว ถาเปนเรื่องเกี่ยวกับคร่ําครวญ ออนวอน ก็ทอดเสียงใหชาลง เปนตน 7. ถาเปนเรื่องรอยกรองตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ดวย 7.1 สัมผัสครุ ลหุ ตองอานใหถูกตอง

16

7.2 เนนคํารับสัมผัสและอานเอื้อสัมผัสใน เพื่อเพิ่มความไพเราะ 7.3 อานใหถูกตองตามจังหวะและทํานองนิยม ตามลักษณะของรอยกรองนั้น ๆ ยังมีการอา นออกเสี ยงอีกประการหนึ่ง การอานทํานองเสนาะ เปนลักษณะการอา น ออกเสียงที่มีจังหวะทํานองและออกเสียงสูงต่ําเพื่อใหเกิดความไพเราะ การอานทํานองเสนาะนี้ ผู อ า นจะต อ งเข า ใจลั ก ษณะบั ง คั บ ของคํ า ประพั น ธ แ ต ล ะชนิ ด และรู วิ ธี อ า นออกเสี ย งสู ง ต่ํ า การทอดเสียง การเอื้อนเสียง ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของคําประพันธชนิดตา ง ๆ ดวยการอา น ทํานองเสนาะนี้เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาชานาน ซึ่งเปนสิ่งที่คนไทยทุกคน ควร ภูมิใจและรักษาวัฒนธรรมล้ําคานี้ไว เพื่อถายทอดสืบตอกันไปชั่วลูกชั่วหลาน การอานเร็ว คนที่มีนิสัยรักการอาน ยอมเปนผูที่มีความรอบรู มีความนึกคิดลึกซึ้งและกวางขวาง ทั้งยัง ไดรับความบันเทิงในชีวิตมากขึ้นอีกดวย การอานที่ใชมากในชีวิตประจําวัน คือการอานในใจ เพราะสามารถอานไดรวดเร็ว ไมตอง กังวลกับการเปลงเสียงกับตัวหนังสือ การอานในใจที่ดี ผูอานจะตองรูจักใชสายตา กิริยาทาทาง มีสมาธิ ความตั้งใจและกระบวนการอานในใจ เชน การเขาใจความหมายของคํา รูจักคนหา ความหมายของคํา หรือเดาความหมายไดรูจักจับใจความ แลวรูจักพิจารณาตาม รวมทั้งตองเปน ผูที่สามารถอานไดรวดเร็วอีกดวย หลักการอานเร็ว ในการฝกตนเองใหเปนคนอานเร็ว ควรไดเริ่มตนฝกสม่ําเสมอทีละเล็กละนอย โดยฝกอาน ในใจที่ถูกวิธีและจะตองฝกฝนในสิ่งตอไปนี้ 1. มีสมาธิในการอาน ในขณะที่อาน จะตองสนใจและเอาใจจดจอตอสิ่งที่อาน ไมปลอยใจ วอกแวกคิดเรื่องอื่น จะทําใหจับใจความของเรื่องไมไดตลอดและความสามารถในการอานชาลงไป 2. จับตาที่ตัวหนังสื อ โดยใชส ายตาจับอยูในชวงเวลาเล็ กนอยแล วเคลื่ อนสายตาตอไป อยางรวดเร็ว การฝกจับตาเชนนี้ตองกระทําบอย ๆ และจับเวลาทดสอบความสามารถในการจับ สายตา และเคลื่อนสายตาใหไดรวดเร็วเพื่อทดสอบความกาวหนา 3. ขยายชวงสายตาใหกวาง ชวงสายตาหมายถึงระยะจากจุดที่สายตาจับจุดหนึ่งไปยังจุด ที่สายตาจับในคราวตอไป การรูจักขยายสายตาใหกวางจะชวยใหอานหนังสือไดเร็ว 4. ไมอานยอนกลับไปกลับมา หมายถึง การทวนสายตายอนกลับไปกลับมายังคําที่ไมเขาใจ ซึ่งทําใหเสียเวลา

17

5. เปลี่ ย นบรรทั ด ให แ ม น ยํ า โดยกวาดสายตากลั บ มาทางซ า ยเพื่ อ ขึ้ น บรรทั ด ใหม เมื่ออานจบแตละบรรทัดและตองกําหนดบรรทัดใหแมนยําไมอานขามบรรทัด หรืออานซ้ําบรรทัด เดิมซึ่งทํา ใหความคิดสั บสนการฝ กในระยะแรกเริ่มอาจใชไมบรรทัดหรือกระดาษปดขอความ บรรทัดลางไว แลวเลื่อนลงเรื่อย ๆ คอย ๆ เพิ่มความเร็วขึ้นจนชํานาญจึงอานโดยไมตองใชสิ่งอื่น มาปด การอานเพื่อเขาใจความหมายของสํานวน การอานเพื่อทําความเขาใจ ความหมายของสํานวน ตองอาศัยถอยคําสิ่งแวดลอม บริบท เพื่อสรุปสาระสําคัญ 1. ความหมายของสํานวน สํานวน คือถอยคําที่มีความหมายไมตรงตามความหมายปกติ ของคํานั้น ๆ 2. หลักการอาน เพื่อเขาใจความหมายของสํานวน 2.1 อา นขอความอยา งละเอียด เพื่อจั บใจความสํ า คัญ เขา ใจเนื้อเรื่องและเขา ใจ ความหมายของสํานวน 2.2 สังเกตเนื้อความตามบริบท ทําใหตีความหมายของสํานวนไดถูกตอง 2.3 ตีความหมายของสํานวน ตองตรงประเด็นตามบริบท การอานเพื่อเขาใจโวหารตาง ๆ ผูเขียนตองใชโวหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร สาธกโวหาร ฯลฯ เพื่อใหงานเขียนมีคุณคา 1. ความหมายของโวหาร โวหาร คือ ทวงทํานองในการเรียบเรียงถอยคําทั้งในวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง โวหารที่ใชกันทั่วไปมี 5 โวหาร ดังนี้ 1.1 บรรยายโวหาร คือ การเล า เรื่ องไปตามเหตุก ารณ เชนการเขียนบทความ การเลานิทาน เลาประวัติบุคคล ตํานาน ตองอธิบายใหเปนไปตามลําดับ 1.2 พรรณนาโวหาร คือ การเขียนเล า เรื่องอยา งประณี ตมักแทรกความรูสึกของ ผู เขียนดวยทํา ใหผู อา นเกิดความรูและอารมณ คล อยตาม เชน การพรรณนาความสวยงาม คุณความดีตลอดจนพรรณนาอารมณและความรูสึกในใจ ฯลฯ 1.3 เทศนาโวหาร คือ กระบวนความอบรมสั่งสอน อธิบายในเหตุผล หรือชี้แจง ใหเห็นคุณและโทษ เพื่อใหผูอานเชื่อถือตาม

18

1.4 สาธกโวหาร คือ การเขียน โดยยกตัวอยางประกอบเพื่อใหผูอานเขาใจเรื่องได ชัดเจนยิ่งขึ้นนิยมใชในการบรรยายโวหาร และเทศนาโวหาร 1.5 อุป มาโวหาร คือ การเขียน โดยยกขอความเปรียบเทียบ เพื่ อใหผู อา นเขา ใจ เรื่องราวตาง ๆ ไดดียิ่งขึ้น ใชแทรกในโวหารตาง ๆ การอานออกเสียงรอยกรอง การอา นบทรอยกรองตา ง ๆ ให เปนไปตามทํา นองลี ล าและจั งหวะอันถูกต องจะทํา ให เกิดความไพเราะเสนาะหู และทําใหผูฟงไดรับอรรถรสทางภาษาดวย หลักการอานออกเสียงรอยกรอง 1. อานออกเสียงใหดังพอเหมาะ กับสถานที่และจํานวนผูฟง 2. อานใหคลอง รื่นหู ออกเสียง ใหชัดเจนโดยเฉพาะตัว ร ล ตัวควบกล้ํา 3. อานใหถูกฉันทลักษณของคําประพันธ เชน จํานวนคํา จํานวนวรรค สัมผัส ครุ ลหุ คําเปน คําตาย 4. อานใสอารมณ ตามลีล าของบทรอยกรองดวยความรูสึกซาบซึ้งชื่นชมในคุณคา ของ บทรอยกรองนั้น ๆ โดยใหมีทวงทํานอง สูง ต่ํา หนัก เบา เพื่อใหไดรสถอย รสเสียง รสความ รสภาพ การอานกลอนสุภาพ 1. จํานวนคําในกลอนสุภาพ ooo oo ooo ooo oo ooo

ooo oo ooo ooo oo ooo

2. คณะ กลอนสุภาพ บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ บาทที่ 2 เรียกวาบาทโท มี 2 วรรค คือวรรครอง และวรรคสง พยางคใน กลอนวรรคหนึ่ง ๆ จะบรรจุคําประมาณ 6 - 9 คํา กลอนแปด มีวรรคละ 5 คํา รวม 4 วรรค เปน 32 คํา 3. วิธีอานกลอนสุภาพ กลอนมีหลายชนิด ไดแก กลอนหก กลอนแปด กลอนดอกสรอย กลอนสักวา กลอน บทละคร การอานคลายคลึงกันจะแตกตางกันบางเพียงเล็กนอย ดังนี้ 1. อานทํานองชาวบาน คือ เสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงต่ํา ในวรรครอง และลดต่ําลงไปอีกในวรรคสง

19

2. อานทํานองอาลักษณ คือ อานเสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอาน เสียงต่ําในวรรครอง และลดต่ําลงไปอีกในวรรคสง การแบงจํานวนคํา วรรคหนึ่งจะมี 8 - 9 คํา ดังนี้ 3 2 3 เขาคลอขลุย ครวญเสียง เพียงแผวผิว ชะลอนิ้ว พลิ้วผาน จนมานหมอง ถามี 9 คําจะแบงวรรคเปน 3 3 3 สรวงสวรรค ชั้นกวี รุจีรัตน ผองประภัสสร พลอยหาว พราวเวหา การอานกาพยยานี 1. จํานวนคําในกาพยยานี oo ooo oo ooo

ooo ooo ooo ooo

2. วิธีอาน วรรคที่ 1 และ 2 ในบาทเอกจะออกเสียงต่ํา วรรคที่ 1 ในบาทโท จะอานออกเสียง สูงขึ้น หรือ อา นออกเสียงเหมือนวรรคที่ 1 ก็ไดตามความเหมาะสม วรรคที่ 2 ในบาทโท อานออกเสียงต่ํา กาพยยานีมีจังหวะการอาน ดังนี้ มัสหมั่น แกงแกวตา หอมยี่หรา รสรอนแรง ชายใด ไดกลืนแกง แรงอยากให ใฝฝนหา

การอานโคลงสี่สุภาพ 1. จํานวนคําในโคลงสี่สุภาพ oo ooo oo ooo oo ooo oo ooo

oo oo oo oo oo oooo

2. คณะโคลงบทหนึ่งมี 4 บาท บทที่ 1 2 3 4 บาทหนึ่งมี 2 วรรค คือ วรรคหนา และวรรคหลังมีจํานวนคําเทากันคือ 5 คํา และ 2 คํา ยกเวนวรรคหลังในบาทที่ 4 จะมี 4 คํา

20

3. วิธีการอาน การอานโคลงสี่สุภาพสามารถอานได 2 ลีลา คือ 1. อานแบบรอยแกว 2. อานแบบทํานองเสนาะ การแบงชวงเสียง วรรคแรกเปน 2 ชวง เปน 3 2 หรือ 3 2 วรรคหลัง เปน 2 การแบง ชวงเสียงตองพิจารณาใหคงความหมาย แทนที่จะแกตามปกติบทรอยกรองที่ไพเราะ กวีจะจั ด กลุมคําไวดีแลว การเอื้อนเสียงทอดเสียง ตามปกติจะเอื้อนเสียงทายวรรคแรกของแตละบาท ในบาทที่ 2 อาจเอื้อนเสียงไดถึงคําที่ 1 คําที่ 2 ของวรรคหลัง และบาทที่ 4 ระหวางคําที่ 2 กับคําที่ 3 ของ วรรคที่ 2 และทอดเสียงตามตําแหนงสัมผัส ตัวอยางโคลงสี่สุภาพ เรืองเรือง ไตรรัตนพน รินรส พระธรรมแสดง เจดีย ระดงแซง ยลยิ่ง แสงแกวเกา

พันแสง ค่ําเชา เสียดยอด แกนหลาหลากสวรรค (นิราศนรินทร)

การอานฉันท ฉันท มีลักษณะบังคับพิเศษแตกตางไปจากคําประพันธชนิดอื่นโดยบังคับ ครุ ลหุ แทน คําธรรมดา และบังคับสัมผัส เชนเดียวกับคําประพันธชนิดอื่น ๆ คําลหุ ( , ) คือ พยางคที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 1. การประสมสระเสียงสั้นในแม ก กา เชน จะ ทิ ปุ ยกเวน พยางคที่ประสมดวย สระ อํา ใอ ไอ เอา ซึ่งจัดเปนคําครุ เชน คํา ไกล ใจ เรา 2. คํา บ บ จัดเปนคําลหุ คําครุ คือ พยางคที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ 1. ประสมสระเสียงยาวในแม ก กา เชน อา ดี เธอ ปู 2. ประสมสระ อํา ใอ ไอ เอา 3. มีตัวสะกด เชน มด กัด เด็ก

21

แผนบังคับอินทรวิเชียรฉันท อินทรวิเชียรฉันท บทหนึ่งมี 2 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา มีการแบงจังหวะการอานดังนี้ สายันห ตะวันยาม ขณะขาม ทิฆัมพร เขาภาค นภาตอน ทิศตะตก ก็รําไร หนังสือและสื่อสารสนเทศ หนังสือ ปจจุบันนี้มีหนังสือออกมาจําหนายหลายประเภท ทั้งตําราวิชาการ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ นวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี ฯลฯ การที่มีหนังสือออกมาจําหนายมากมายเชนนี้ ผูอาน จึงจําเปนที่จะตองรูวิธีการเลือกหนังสือ เพื่อจะไดอานหนังสือที่เหมาะกับความตองการของตนเอง เหมาะกับเวลาและโอกาส วิธีการเลือกหนังสือประเภทตาง ๆ ในการเลือกอานหนังสือประเภทตาง ๆ นั้น ผูอานควรพิจารณาใหรอบคอบ ละเอียดถี่ถวน เพื่อประโยชนในการพิจารณาคุณคาของหนังสือนั้น ๆ หนังสือแตละประเภทควรเลือกพิจารณา ดังนี้ 1. ตําราวิชาการ เปนหนังสือที่ใหความรูดานตาง ๆ โดยเฉพาะอาจจะเสนอทฤษฎีหรือ เนื้อหาสาระอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะดานในดานหนึ่ง โดยผูแตงมีจุ ดมุงหมายทางดา นวิ ชาการ โดยตรง การพิจารณาควรดูรายละเอียดในดานตาง ๆ ดังนี้ 1.1 พิจารณาดานเนื้อหา เนื้อหาจะตองถูกตองกับชื่อหนังสือ เชน วิชาวิทยาศาสตร กฎหมาย ภาษาศาสตร ประวัติศาสตร คณิตศาสตร ฯลฯ หนังสือวิชาการแขนงใด เนื้อหา ก็ควร จะเนนแขนงนั้นโดยเฉพาะ 1.2 พิจารณา ขอมูล และภาพประกอบ ขอมูลและภาพประกอบควรถูกตองชัดเจน โดยเฉพาะภาพประกอบ ควรดูวาตรงกับคําบรรยายหรือไม และภาพนั้นนาสนใจเพียงใดเหมาะสม กับวิชานั้นหรือไม 1.3 การใชภาษา ภาษาที่ใชควรเปนภาษาที่เหมาะสมกับแขนงวิชานั้น ๆ และดูการ สะกดคําดวยถาหากมีคําผิด ก็ควรจะเลือกดูหนังสือที่มีคําผิดนอยที่สุด นอกจากนี้การพิจารณาตําราวิชาการควรดูสวนประกอบอื่น ๆ ดวย เชน รูปเลม ควรมี คํานํา สารบัญ ฯลฯ

22

2. สารคดี เปนหนังสือที่มีสาระในดานใหความรู ความคิด พรอมทั้งใหความเพลิดเพลิน ดวยหนังสือประเภทนี้มีหลายชนิด เชน วิทยาศาสตร ประวัติศาสตร ประวัติบุคคลสําคัญ ฯลฯ หนังสือสารคดีที่มีคุณภาพนั้นพิจารณาในรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ 2.1 พิจ ารณาดา นเนื้อหาสาระ คุณ คาของสารคดีนั้นอยูที่เนื้อหาสาระเปนประการ สําคัญเนื้อหาที่ดีจะตองถูกตองและสมบูรณ รวมทั้งเสนอความคิดเห็นที่เปนประโยชนตอผูอานและ สังคมสวนรวม เชน 2.1.1 สารคดีประเภทชีวประวัติ เนื้อหาสาระจะตองตรงตอความเปนจริง ผูเขียน จะตองเขียนดวยใจเปนธรรม ไมอคติตอเจาของประวัตินั้น ๆ เนื้อหาจึงควรมีทั้งสวนดีและสวน บกพรองของเจาของประวัติ 2.1.2 สารคดีป ระเภทท องเที่ยว ควรมีเนื้อ หาที่ใหทั้ งความรู และความบันเทิ ง รวมทั้งประสบการณที่แปลกใหมนาสนใจ เพื่อใหผูอานไดทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่นั้น ๆ 2.1.3 สารคดีประเภทเชิงวิชาการ ควรมีเนื้อหาที่ใหความรูอยา งถูกตองแมนยํ า ควรมีภาพหรือแผนที่ประกอบใหถูกตองตรงกับสาระของเรื่องดวย 2.2 พิจารณาวิธีการเขียน วิธีการเขียนสารคดีพิจารณาไดจากหลักเกณฑตอไปนี้ 2.2.1 การวางโครงเรื่องและการดําเนินเรื่อง สารคดีตองมีวิธีการดํา เนินเรื่อง ตามลําดับ 2.2.2 เราความสนใจ ขอเขียนที่ดีผูเขียนจะมีวิธีการเขียนที่จะดึงดูดความสนใจ ของผูอานใหติดตามอานไปเรื่อย ๆ โดยไมเกิดความเบื่อหนาย 2.2.3 สํานวนภาษา ภาษาที่ใชในการเขียนสารคดีเปนถอยคําภาษาที่ไพเราะ งดงาม มีสํานวนกะทัดรัด อานเขาใจงาย ไมใชสํานวนที่ไมสุภาพ 2.2.4 สวนประกอบอื่น ๆ ควรพิจ ารณาเกี่ยวกับผูแตงและส วนประกอบรูปเล ม ของหนังสือถาสารคดีนั้นเปนหนังสือเลม ซึ่งจะมีคําวา สารบัญ เนื้อเรื่อง บรรณานุกรม ฯลฯ ตามรูปแบบของหนังสือ 3. บันเทิงคดี เปนหนังสือที่แตง เพื่อมุงใหผูอานเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน อาจจะ แทรกวรรณคดี บทรอยกรอง บทละคร ซึ่งสามารถแตงเปนรอยแกวหรือรอยกรองก็ไดตามความ เหมาะสม ในการพิจารณาเรื่อง บันเทิงคดี ควรพิจารณาในดานตาง ๆ ดังนี้ 3.1 โครงเรื่ องและเนื้อ เรื่อ งส วนสํ า คัญ ของนวนิย ายและเรื่อ งสั้ น คื อ การเล า เรื่ อ ง โดยเลา วา เปนเรื่องของใคร เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไหร มีความสั มพั นธ ระหวา งเหตุการณตาง ๆ ในเรื่อง และระหวางบุคคลในเรื่องเกี่ยวเนื่องกันไปโดยตลอดมีการสรางความสนใจใหผูอาน

23

อยากติดตาม นอกจากนี้เหตุการณที่เกิดขึ้นในเรื่องควรสมจริง และเปนไปอยางสมเหตุสมผล และมีสวนประกอบปลีกยอยอื่น ๆ เพื่อใหนาติดตาม 3.2 การดํ า เนิ น เรื่ อ ง ส ว นสํ า คั ญ ที่ ช ว ยให เ รื่ อ งน า สนใจชวนติ ด ตามขึ้ น อยู กั บ การ ดําเนินเรื่อง การดําเนินเรื่องมีอยูหลายวิธี เชน ดําเนินเรื่องตามลําดับวัย คือ เริ่มตั้งแตตัว ละครเกิดจนกระทั่งถึงแกกรรม ดําเนินเรื่องยอนตน คือ เลาเหตุการณในตอนทายเสียกอนแลว ยอนกลับ ไปเลาตั้งแตตนจนกระทั่งจบ เปนตน ฉากที่ดีตองมีส ภาพความเปนจริง ทั้งสภาพ ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร นอกจากนี้ยังตองสอดคลองกับเรื่องดวย 3.3 ตัวละคร ผูเขียนมีวิธีการแนะนําตัวละครไดหลายวิธี เชน ดวยการบรรยายรูปราง ลักษณะของตัวละครเอง ดวยการบรรยายพฤติกรรมของตัวละคร หรือดวยการใหตัวละครสนทนากัน เปนตน การบรรยายลักษณะนิสัยของตัวละครที่ดีนั้น ควรบรรยายอยางสมจริง ตัวละครตัวหนึ่ง ๆ จะมีลักษณะนิสัยหลาย ๆ อยางไมใชดีจนหาที่ติมิได หรือเลวจนไมมีความดีที่จะใหชมเชย ความ ตองการของตัวละครที่ดีควรจะเหมือนคนธรรมดาทั่ว ๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลียด หรือตองการความสนใจจากผูอื่น เปนตน 3.4 แนวคิดของเรื่อง แนวคิดของเรื่องสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรง ๆ ผูอานจะตอง คนเอาเองวาไดแนวคิดอยางไร ตัวอยางเชนเรื่อง ลูกชายของศรีบูรพา ตองการแสดงวา “ลูกผูชาย นั้นมีความหมายอยางไร” จดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอดีขอเสียของคนไทย โดยเฉพาะ “น้ําใจ” ซึ่งไมเหมือนกันกับชาติอื่น เปนตน นวนิยายหรือเรื่องสั้นที่ดีนั้น ผูอานตองพิจารณาคุณคาที่จะไดจากเรื่องนั้น ๆ ไมทางใด ก็ทางหนึ่งดวย 3.5 สํานวนภาษา เปนสิ่งสําคัญมากอยางหนึ่ง ในการพิจารณาเลือกอานนวนิยายและ เรื่องสั้นผูอานมักจะรูสึกวาตนเองชอบหรือไมชอบสํานวนของนักเขียนคนนั้นคนนี้ แตบางคนก็ไม สามารถบอกวาเพราะเหตุใด สิ่งที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสํานวนภาษาคือสํานวนภาษาของตัวละคร ในบทสนทนา ตองสมจริงและเหมาะสมกับตัวละคร ประโยคที่แตกตางควรกะทัดรัด สละสลวย เขาใจงาย หากเปนประโยคยาวก็ควรเปนสํานวนที่สามารถสรางอารมณ และความรูสึกไดดี 4. วารสารและหนังสือพิมพ หนังสือประเภทนี้คนทั่วไปไดอานบอยกวาหนังสือประเภท อื่น ๆ ในการผลิตหนังสือประเภทนี้ตองแขงกับเวลา ดังนั้น โดยการพิจารณาหนังสือประเภทนี้ ควรพิจารณา ดังนี้ หนังสือพิมพ หนังสือพิมพเปนเครื่องมือสื่อสารที่จะกระจายขาวคราวเหตุการณตาง ๆ ไปทั่วประเทศหรืออาจทั่วโลก โดยเฉพาะหนังสือพิมพรายวัน เปนเครื่องมือสื่อสารที่เสนอขา ว ที่นา สนใจที่เกิดขึ้นในแตล ะวันดังนั้นหัวใจของหนังสื อพิ มพ รายวันก็คือ“ขา ว” การพิ จ ารณา

24

หนังสือพิมพรายวันจึงควรพิจารณาเกี่ยวกับขาววามีสวนในการชวยยกระดับสังคมใหสูงขึ้น หรือ มีประโยชนต อชนหมูมากหรือไม หากข า วนั้นไมเกี่ ยวกับความเปนอยูของคนหมูมาก หรื อ กระทบกระเทือนตอประชาชนสวนใหญ เหตุการณเหลานั้นก็ไมควรนํามาเสนอในหนาหนังสือพิมพ ขาวที่ควรนําเสนอควรเปนขาวที่เกี่ยวกับการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ สั งคม การศึกษา การอนามัย การประกอบอาชีพ ฯลฯ บทวิจารณ ในหนังสือพิมพรายวันทุกฉบับจะมีบทวิจารณ หรือบทวิเคราะหขาว ซึ่งเปน ลักษณะ บทความ แสดงความคิดเห็นของผูเขียนเอง ประกอบกับขาวที่ตองการวิจารณ หรือ วิเคราะหนั้น การพิจารณาบทวิจารณในหนังสือพิมพ ควรพิจารณาถึงลักษณะตอไปนี้ 1. พิจารณาขอมูลที่ผูเขียนอางอิงวาถูกตองและมีขอเท็จจริงเพียงใด 2. พิจารณาวาผูเขียนบทความนั้น ชี้ใหเห็นปญหาและวิธีแกปญหาอยางไร 3. พิจารณาวาผูเขียนบทวิจารณใชอารมณ และนําความรูสึกสวนตัวเขาไปเกี่ยวของ หรือไม 4. พิจารณาภาษาที่ใชวามีความประณีตและถูกตองตามหลักภาษาเพียงใด วารสาร เปนหนังสือพิมพจําหนายตามกําหนดระยะเวลา เชน 7 วัน 10 วัน รายเดือน ราย 3 เดือน หรือรายป เปนตน หนังสือวารสารจึงมีเนื้อหาเนนทั้งสารคดี และบันเทิงคดี ขาวสาร ที่ปรากฏมักเปนขาวสารที่มีระยะเวลาตอเนื่องกันเปนเวลานาน เชน ขาวเกี่ยวกับนโยบายโครงการ ตาง ๆ หรือขาวเกี่ยวกับการเมืองบางเรื่อง เปนตน ดังนั้น การอานวารสาร จึงควรพิจารณาเลือกอานเรื่องที่เราสนใจ และควรพยายามอาน อยางสม่ําเสมอ นอกจากพิจารณาเกี่ยวกับขาวสารดังกลาวแลว สิ่งที่ควรพิจารณาอีกอยางหนึ่งคือรูปเลม ควรพิจารณาความเรียบรอยและความคงทนของการจัดรูปเลมใหเหมาะสมกับราคาดวย ประโยชนของการเลือกหนังสือ การเลือกหนังสือควรคํานึงถึงประโยชนที่จะไดรับ ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหไดหนังสือที่ตรงกับความสนใจ และตองการที่จะศึกษาคนควา 2. เพื่อใหไดอานหนังสือที่ดีมีประโยชนตอชีวิต 3. เพื่อเลือกหนังสือใหเหมาะสมกับเวลา 1. การเลือกหนังสือที่ตรงกับความสนใจ และตองการที่จะศึกษาคนควา ผูที่จะเลือกอานหนังสือประเภทนี้ก็คือ ผูที่มีความสนใจหนังสือเลมนั้นโดยตรง หรือ ผูที่มีความตองการศึกษาคนควา เรื่องนั้น ๆ โดยเฉพาะ เชน ผูศึกษาคนควาตามแนวทางที่ตนได

25

เรียนมา ผูที่เรียนทางดานภาษาก็จะคนควาทางดานนี้ เพื่อจะไดรับประโยชนจากการอานอยาง คุมคา 2. เพื่อใหไดอานหนังสือที่ดีมีประโยชนตอชีวิต ผูที่อานหนังสือทุกคนยอมหวังที่จะไดรับประโยชนจากการอาน เชน ขอคิดเห็น ความรู ทางวิชาการขา วที่ทันเหตุการณ แนวทางดําเนินชีวิตที่ดี ฯลฯ แมวาจะไดรับประโยชนเพียง เล็กนอยก็ตาม เพราะการที่ไดรับประโยชนโดยตรงจากการอานนี้ยอมทําใหไมเสียเวลาโดยเปลา ประโยชน 3. เพื่อเลือกหนังสือใหเหมาะสมกับเวลา การอานหนังสือนั้นจะเสียเวลามากหรือนอยยอมแลวแตเรื่องที่อานวามีขนาดสั้น ยาว แคไหนมีความยากงายตอการอานมากนอยเพียงใด ถาหากมีเวลานอยควรอานเรื่องสั้น ที่จบได ทันเวลาที่มีอยู ถามีเวลามากก็อานเรื่องยาวขึ้นโดยเลือกใหเหมาะสมกับเวลา เพราะการอา น หนังสือนั้น หากไมเลือกใหเหมาะสมกับเวลาอาจทําใหผูอานรูสึกเบื่อและไมอยากอานอีกตอไป ประโยชนที่ไดรับจากการอานหนังสือ การอานหนังสือยอมไดรับประโยชนหลายประการ ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้ 1. อานหนังสือตรงกับความตองการของตน 2. ไดรับความรูจากเรื่องนั้นสมความตั้งใจ 3. ทําใหรักการอานมากยิ่งขึ้น เพราะไดอานหนังสือที่ตนเลือกเอง 4. ชวยพัฒนาอาชีพใหกาวหนา 5. ชวยใหเกิดความคิดสรางสรรค 6. ทําใหเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน 7. ทําใหทราบความเปนไปของบานเมือง ทันโลก ทันเหตุการณ 8. เพิ่มพูนความรูความสามารถ เปนการพัฒนาตนเอง 9. ไดอานหนังสือที่มีคุณคาคุมกับเวลาที่เสียไป สื่อสารสนเทศ ปจ จุบันไดมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชประโยชนทางการศึกษา ทั้งในดา นการ บริหาร การจัดการและการเรียนรูดานสื่ออิเล็กทรอนิกส เปนการใชประโยชนจากแหลงความรู จากสื่อตาง ๆ ที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อใหประชาชนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยาง ตอเนื่อง สื่อสารสนเทศมีทั้งสื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส

26

สื่อสิ่งพิมพ สิ่งพิมพที่จัดพิมพขึ้นเพื่อนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน เชน หนังสือเรียน ตําราเรียน แบบเรียน แบบฝกหัด ใบงาน คูมือการสอนและสงเสริมการเรียนรู เชน หนังสือสงเสริมความรู สารานุกรม พจนานุกรม หนังสือพิมพ หนังสือบันเทิงคดี และสารคดีที่มีเนื้อหา เปนประโยชน สวนสื่อสิ่งพิมพที่ใหความรูขาวสารตาง ๆ เชน หนังสือเลม หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร เอกสาร จุลสาร แผนพับ แผนเปลา เปนตน สื่ออิเล็กทรอนิกส สั ง คมยุ ค ป จ จุ บั น การสื่ อ สารด ว ยเครื่ อ งมื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส มี ใ ช กั น อย า งกว า งขวาง ทั่วประเทศ การใชสื่ ออิเล็ กทรอนิกส ในสั งคมยุคโลกาภิวัตนเปนเรื่องจํ า เปน เพราะชวยให ประชาชนเขาถึงขอมูล ขาวสารความรูตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว อันเปนการสงเสริมสรางโอกาส ในการเข า ถึ ง การศึ ก ษาของประชาชน ให ส ามารถเรี ย นได อ ย า งต อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต สื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก วิทยุ โทรทัศน เทปเสียง วีดิทัศน โปรแกรมคอมพิวเตอรซอฟตแวรใน รูปแบบตาง ๆ คอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน 1. วิทยุ เปนสื่ อมวลชนที่ใชเสี ยงเปนสื่อ เรื่องราวที่สื่ อสารมีทั้งเรื่องที่ใหความบันเทิง และเรื่องที่ใหสาระความรู เชน ขา ว บทความ รายการตอบปญหา สัมภาษณบุคคลสํ าคัญ รายการ วิทยุ เพื่อการศึกษา เปนตน 2. โทรทัศน เปนสื่อมวลชนที่ใชทั้งเสี ยงและภาพเปนสื่อ การชมรายการทางโทรทัศน นอกจากเราจะสั มผั สดวยหูแล ว ยังสั มผัส ไดดวยตาอีกดวย รายการโทรทัศนจึงนา สนใจกวา รายการวิทยุ และทําใหผูชมตื่นตัวอยูตลอดเวลา จึงประทับใจหรือจดจําไดดีกวารายการวิทยุ 3. คอมพิว เตอร ช วยสอน เปน สื่ อ ที่ผู เ รีย นสามารถนํา ไปศึ กษาด วยตนเองในเวลาแล สถานที่ที่ผูเรียนสะดวก ทําใหมีความเปนอิสระ และเปนสวนตัวในการเรียนรู สามารถโตตอบ หรือ ใหผลยอนกลั บไดทันที ทํา ใหผู เรียนทราบความกาวหนา ในการเรียนของตนซึ่งหากไมเขาใจก็ ยอนกลับไปทบทวนไดหลาย ๆ ดาน ทําใหผูเรียนไดพัฒนาความรูตามความพรอมและศักยภาพ ของตน 4. อินเตอรเ น็ต (Internet) หรือเทคโนโลยีเครือขายเปนการเชื่อมโยงแหล งขอมูล จากทั่วโลกที่หลากหลายคลายกับ “หองสมุดโลก” ใหผูเรียนไดคนควาเนื้อหาสาระที่ตองการได อยางสะดวกรวดเร็วและราคาประหยัด

27

เรื่องที่ 3 การอานจับใจความสําคัญ การอานจะเกิดประโยชนสูงสุ ดแกผูอานไดนั้น ผูอานจะตองจั บใจความสําคัญของเรื่อง ที่อานใหไดแลวนําไปปฏิบัติ ใจความสําคัญ หมายถึง ขอความที่เปนแกนหรือหัวใจของเรื่อง การจับใจความสําคัญในการอานก็คือ กรณีเอาขอความหรือประโยคที่เปน หัวใจของเรื่องนั้นออกมาใหได เพราะใจความสําคัญของเรื่อง จะเปนใจความหลักของแตละบท แตละตอน หรือแตละเรื่องใหรูวาแตละบทตอนนั้นกลาวถึงเรื่องอะไรเปนสําคัญ ดังนั้น การจับ ใจความสําคัญของเรื่องที่อาน จะทําใหมีความเขาใจในเรื่องนั้น ๆ อยางแจมแจง หลักการอานจับใจความ 1. การเขาใจความหมาย หลักเบื้องตนในการจับใจความของสาระที่อาน คือ การเขาใจความหมาย ความหมาย มีหลายระดับนับตั้งแตระดับคํา สํานวน ประโยค และขอความ คําและสํานวนเปนระดับภาษา ที่ตองทําความเขาใจเปนอันดับแรก เพราะนําไปสูความเขาใจความหมายของประโยคและขอความ 1.1 ความหมายของคํา ความหมายของคําโดยทั่วไปมี 2 อยาง คือ ความหมายโดยตรง และความหมาย โดยนัย ก. ความหมายโดยตรง เปนความหมายตามรูปคําที่กําหนดขึ้น และรับรูไดเขาใจ ตรงกันความหมายประเภทนี้เปนความหมายหลักที่ใชสื่อสารทําความเขาใจกัน คํา ที่มีความหมายโดยตรงในภาษาไทยมีลั กษณะอยา งหนึ่งที่อาจเปนอุปสรรค ในการสื่อสารลักษณะดังกลาว คือ การพองคํา คําพองในภาษาไทยมีอยู 3 อยาง ไดแก คําพองรูป คําพองเสียง และคําพองรูปพองเสียง คําที่พองทั้ง 3 ลักษณะนี้มีความหมายตางกัน คําพองรูป คือ คําที่สะกดเหมือน แตออกเสียงตาง เชน เพลารถ กับ เพลาเย็น คําแรก ออกเสียง เพลา คําหลังออกเสียง เพ ลา คําพองรูปเปนอุปสรรคตอการอานและทํา ความเขาใจ คําพองเสียง คือ คําที่ออกเสียงเหมือนกัน แตสะกดตางกัน เชน การ กาน กานต กานท กาล กาฬ กาญจน ทั้งหมดนี้ออกเสียง “กาน” เหมือนกัน การพองเสียงเปนอุปสรรค ตอการอานเพื่อความเขาใจ คําพองรูปพองเสียง คือคําที่สะกดเหมือนกันและออกเสียงอยางเดียวกัน โดยรูปคําจะเห็นวาเปนคําเดียวกัน แตมีความหมายแตกตางกัน

28

คําพองรูป พองเสียงเปนอุปสรรคตอการฟงและอานเพื่อความเขาใจ วิธีที่จะชวยให เขาใจความหมายของคําพอง จะตองดูคําขางเคียงหรือคําที่ประกอบกันในประโยคหรือขอความ นั้นที่เรียกวาบริบท ดังตัวอยางตอไปนี้ ขันชะเนาะใหแนน หยิบขันใหทีซิ เขารูสึกขัน ไกขันแตเชามืด เขาขันอาสาจะไปติดตอให 1.2 ความหมายของสํานวน สํา นวนเปนขอความที่มีความหมายพิเศษไปจากคําที่ประกอบอยูในขอความนั้น ไมไดมีความหมายตามรูปคํา ความหมายของสํานวนมีลักษณะเปนเชิงเปรียบเทียบโดยอาศัยนัย ของความหมายตามลักษณะหรือคุณสมบัติของขอความนั้น เชน ออยเขาปากชาง หมายถึง ของตกไปอยูในมือผูอื่นแลวไมมีทางไดคืน ไกแกแมปลาชอน หมายถึง ผูที่มีความจัดจานเจนสังเวียน วัวหายลอมคอก หมายถึง เมื่อเกิดความเสียหายแลวจึงหาทางปองกัน กินขาวตมกระโจมกลาง หมายถึง การพูดถึงสิ่งสุดวิสัยที่จะทําได สวนตาง ๆ ที่นําไปกล าวเปรียบเทียบใหเขากับสถานการณ เรียกวา คําพังเพย เชน เมื่อของหายแลวจึงคิดหาทางปองกัน ก็เปรียบวา วัวหายลอมคอก เปนตน ความหมายของสํานวนมีลักษณะเหมือนความหมายโดยนัย คือ ตองตีความ หรือ แปลความหมายตามนัยของคําหรือขอความนั้น ๆ 2. การเขาใจลักษณะของขอความ ขอความแตละขอความตองมีใจความอันเปนจุดสําคัญของเรื่อง ใจความของเรื่องจะ ปรากฏที่ประโยคสําคัญ เรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูในตอนใดของ ขอความก็ได 3. การเขาใจลักษณะประโยคใจความ เมื่อเขาใจถึงลักษณะของขอความวาตองมีประโยคใจความ และปรากฏอยูในตอนตาง ๆ ของขอความแลว ตองเขาใจตอไปวาประโยคใจความเปนอยางไร ประโยคใจความ คือ ขอความที่เปนความคิดหลักของหัวขอ หรือเรื่องของขอความนั้น

29

ความคิดหลักนี้ คือประโยคใจความที่จะปรากฏในตอนใดตอนหนึ่งของขอความที่กลาว แลว ฉะนั้นการที่จะทราบวาประโยคใดเปนประโยคใจความ ตองพิจารณาจากหัวเรื่อง ประโยค ใจความมักมีเนื้อหาสอดคลองกับหัวเรื่อง ในกรณีที่ไมทราบหัวขอเรื่อง ตองเขาใจวาสวนที่เปนประโยคใจความนั้นจะมีเนื้อความ หลักของเนื้อความอื่นที่ประกอบกันขึ้นเปนหัวขอนั้น ถาขาดส วนที่เปนใจความ เนื้อความอื่นก็ เกิดขึ้นไมไดหรือความหมายออนลง การอานอยางวิเคราะห การอานอยางวิเคราะห หมายถึง การอานที่มีการพิจารณาแยกรายละเอียดออกเปนสวน ๆ เพื่อทําความเขาใจ และใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางสวนตาง ๆ เหลานั้น การอานอยางวิเคราะหเริ่มตนจากพื้นฐานขอมูลและความคิดจากการอานเองเปนอันดับแรก เพื่อใหเขาใจเนื้อเรื่องโดยตลอด ตอจากนั้นจึงแยกเรื่องในบทอานออกเปนสวน ๆ ไดรูวา ใครทํา อะไร เพื่ออะไร อยางไร ในเรื่องมีใครบาง หรือตัวละครกี่ตัว และที่มีบทบาทสําคัญมีกี่ตัว ทําไม เหตุการณจึงเปนอยางนั้นหรือเพราะเหตุใด ตอไปนาจะเปนอยางไร

เรื่องที่ 4 มารยาทในการอานและนิสัยรักการอาน การอา นอยา งมีมารยาทเปนเรื่องที่จํ า เปนและสํ า คัญ เพราะการอา นอยา งมีมารยาท เปนเรื่องการประพฤติปฏิบัติอยางมีวินัย และรับผิ ดชอบ รวมทั้งการมีจิ ตสํ า นึกและแสดงถึง ความเจริญทางดานจิตใจที่ควรยึดถือใหเปนนิสัย มารยาทในการอาน คําวา มารยาท หมายถึง กิริยา วาจาที่เรียบรอย หรือการกระทําที่ดีงาม ผูอานที่ดีตอง มีมารยาทที่ดีในการอานดังตอไปนี้ 1. ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น 2. ไมทําลายหนังสือ โดย ขูด ลบ ขีด ทับ หรือฉีกสวนที่ตองการ 3. เมื่อคัดลอกเนื้อหาเพื่ออางอิงในขอเขียนของตน ตองอางอิงแหลงที่มาใหถูกตองตาม หลักการเขียนอางอิงโดยเฉพาะงานเขียนเชิงวิชาการ 4. เมื่ออานหนังสือเสร็จแลวควรเก็บหนังสือไวที่เดิม 5. ไมควรอานเรื่องที่เปนสวนตัวของผูอื่น 6. อานอยางตั้งใจ และมีสมาธิ รวมทั้งไมทําลายสมาธิผูอื่น 7. ไมใชสถานที่อานหนังสือทํากิจกรรมอยางอื่น เชน นอนหลับ รับประทานอาหาร

30

นิสัยรักการอาน การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะมีนิสั ยรักการอา นไดจ ะตองไดรับการฝ กฝนมาตั้งแตเด็ก ๆ แตก็มิใชวา เมื่อโตเปนผู ใหญแล วจะไมส ามารถสรา งนิสั ย รักการอา นได ทั้งนี้เราจะตองสรา ง บรรยากาศ สภาพแวดลอมที่เอื้อใหเด็ก ๆ หันมาสนใจการอาน ดังนี้ 1. อานหนังสือที่ตนเองชอบ จะทําใหอานไดอยางตอเนื่อง และไมเบื่อหนาย 2. ทําตนใหเปนผูใฝรู 3. การอานจะตองมีสมาธิเพื่อจับใจความของเรื่องที่อานได 4. เริ่มอานหนังสือจากระยะเวลาสั้น ๆ กอน แลวคอย ๆ กําหนดเวลาเพิ่มขึ้น 5. การอานจะตองมีสมาธิเพื่อจับใจความของเรื่องที่อานได 6. จัดตารางเวลาสํ าหรับการอา นหนังสื อเปนประจํ าทุกวันใหเกิดความเคยชินจนเกิด เปนนิสัยรักการอาน

31

กิจกรรมทายบทที่ 3 การอานบทรอยกรอง (10 คะแนน) - ผูสอนอานทํานองเสนาะและใหผูเรียนตอบวา เปนลักษณะคําประพันธประเภทใด - ผูส อนแจกทํา นองเสนาะแกผู เรียนตามกลุ ม และใหผูเรียนอา นทํา นองเสนาะ และ อธิบายถึงลักษณะการเขียน - ผูสอนสรุปหลักการอานทํานองเสนาะ กลอนสุภาพ/กลอนแปด

สรวงสวรรคชั้นกวีรุจีรัตน

ผองประภัศรพลอยหางพราวเวหา

พริ้งไพเราะเสนาะกรรณวัณณนา

สมสมญาแหงสวรรคชั้นกวี

อิ่มอารมณชมสถานวิมานมาศ

อันโอภาสแผผายพรายรังสี

รัศมีมีเสียงเพียงดนตรี

ประทีปทีฆรัสสะจังหวะโยน

ระเมียรไมใบโบกสุโนกเกาะ

สุดเสนาะเสียงนกซึ่งผกโผน

โผตนนั้นผันตนไปตนโนน

จังหวะโจนสงจับริมกันไป

เมืองใดไมมีทหาร

เมืองนั้นไมนานเปนขา

เมืองใดไรจอมพารา

เมืองนั้นไมชาอับจน

เมืองใดไมมีพาณิชเลิศ

เมืองนั้นยอมเกิดขัดสน

เมืองใดไรศิลปโสภณ

เมืองนั้นไมพนเสื่อมทราม

กลอนหก

32

โคลงสี่สุภาพ

จากนามาลิ่วล้ํา

ลําบาง

บางยี่เรือราพลาง

พี่พรอง

เรือแผงชวยพานาง

เมี่ยงมาน นานา

บางบรับคําคลอง

คลาวน้ําตาคลอ

33

บทที่ 4 การเขียน เรื่องที่ 1 หลักการเขียนและการใชภาษาเขียน หลักการเขียน การเขียน คือ การแสดงความรู ความคิด อารมณความรูสึกและความตองการของผูสงสาร ออกมาเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูรับสารอานเขาใจ ไดรับความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก และความตองการตาง ๆ การเขียนเพื่อสื่อความหมาย ใหผูอื่นเขาใจนั้น ควรใชถอยคําที่คนอานอานแลวเขาใจทันที เขีย นด วยลายมื อที่ ชัด เจน อ า นงา ย ใช ภาษาใหถู กต องตามหลั ก การเขี ยนใช คํา เหมาะสมกั บ กาลเทศะและบุคคล หลักการเขียนที่ดีควรปฏิบัติดังนี้ 1. เขียนชัดเจน อานงายเปนระเบียบ 2. เขียนใหถูกตอง ตรงตามตัวสะกด การันต วรรณยุกต 3. ใชถอยคําสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล 4. ใชภาษาที่งาย ๆ สั้น ๆ กะทัดรัด สื่อความหมายเขาใจไดดี 5. ใชภาษาเขียนที่ดี ไมควรใชภาษาพูด 6. ใชเครื่องหมายวรรคตอนใหถูกตอง 7. ตองเขียนใหสะอาด การใชภาษาในการเขียน 1. เขียนใหอานงาย เขาใจงาย 2. เขียนตรงตามตัวสะกด การันต วรรณยุกตใหถูกตอง 3. เขียนใหไดใจความชัดเจน 4. ใชภาษางาย ๆ สั้น กะทัดรัด 5. ใชภาษาใหถูกตองตามแบบแผน ไมควรใชคําหรือสํานวนมาปะปนกับภาษา ตางประเทศ 6. ใชถอยคําที่สุภาพไพเราะเหมาะสม

34

ความสําคัญของการเขียน 1. เปนการสื่อสารที่จะแจงใหผูอื่นไดทํางานหรือปฏิบัติตาม 2. เปนการเผยแพรความรูใหผูอื่นไดทราบ และนําไปใชประโยชน 3. เปนการบันทึกสาระสําคัญเพื่อเปนหลักฐานและนําไปใชประโยชน 4. เปนการเขียนที่สามารถนําไปประกอบอาชีพได เชน การเขียนขาว การเขียนนวนิยาย หรือเขียนบทละคร เปนตน

เรื่องที่ 2 หลักการเขียนแผนภาพความคิด แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรู ความคิดโดยใชแผนภาพในการนําความรูหรือ ขอเท็จ จริงมาจั ดเปนระบบ สรา งเปนภาพหรือจั ดความคิดรวบยอด นํา หัวขอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มาแยกเปนหัวขอยอยและนํามาจัดลําดับเปนแผนภาพ แนวคิดเกี่ยวกับแผนภาพความคิด 1. ใชแผนภาพความคิด เมื่อพบวาขอมูลขาวสารตาง ๆ อยูกระจัดกระจายนําขอมูลนั้นมา เชื่อมโยงเปนแผนภาพความคิด ทําใหเกิดความเขาใจเปนความคิดรวบยอด 2. แผนภาพความคิด จะจัดความคิดใหเปนระบบรวบรวมและจัดลําดับขอเท็จจริง นํามา จัดใหเปนหมวดหมู เปนแผนภาพความคิดรวบยอดที่ชัดเจนจนเกิดความรูใหม 3. นําความคิดหรือขอเท็จจริงมาเขียนเปนแผนภาพ จะทําใหจําเรื่องราวตาง ๆ ไดงายขึ้น 4. แผนภาพความคิดจะใชภาษาผังที่เปนสัญลักษณและคําพูดมาสรางแผนภาพทําใหเกิด การเรียนรูดวยตนเอง รูปแบบของแผนภาพความคิดมี 4 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบการจัดกลุม รูปแบบนี้จะยึดความคิดเปนสําคัญ และจัดกลุมตามลําดับความคิด รวบยอดยอยเปนแผนภาพ ดังตัวอยาง

35

2. รูปแบบความคิดรวบยอด รูปแบบนี้จ ะมีความคิดหลั กและมีขอเท็จ จริงที่จัดแบงเปน ระดับชั้นมาสนับสนุนความคิดหลัก การจัดความคิด

36

3. รูปแบบการจัดลําดับ จัดลําดับตามเหตุการณ การจัดลําดับตามกาลเวลา การจัดลําดับ การกระทํากอนหลังหรือการจัดลําดับตามกระบวนการมีการเริ่มตนและการสิ้นสุด

37

4. รูปแบบวงกลม รูปแบบนี้เปนชุ ดเหตุการณ ภายใตกระบวนการไม มีจุ ดเริ่ม ตน และ จุดสิ้นสุดแตเปนเหตุการณที่เปนลําดับตอเนื่องกัน ดังตัวอยาง แผนภาพวงกลม

38

ประโยชนของแผนภาพความคิด 1. ชวยบูรณาการความรูเดิมกับความรูใหม 2. ชวยพัฒนาความคิดรวบยอดใหชัดเจนขึ้น 3. ชวยเนนองคประกอบลําดับของเรื่อง 4. ชวยพัฒนาการอาน การเขียนและการคิด 5. ชวยวางแผนในการเขียน และการปรับปรุงการเขียน 6. ชวยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบูรณาการเนื้อหา 7. ชวยในการอภิปราย 8. เปนเครื่องมือประเมินผล วิธีการสรางแผนภาพความคิด การสรา งแผนภาพความคิด หรือการออกแบบแผนภาพความคิ ดเปนการสรา งสรรค อยางหนึ่ง ผูสรางแผนภาพความคิดอาจใชงานศิลปะเขามาชวย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ ความคิดนาสนใจและทําใหเห็นภาพของแผนภาพชัดเจนขึ้น การสรางแผนภาพความคิดจะนํามาใช ในการทํางานรวมกันรวมคิดรวมทํา รวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณทําใหผูเรียนรูจัก การวางแผนงาน การกําหนดงานที่จะตองปฏิบัติ และเรียนรูการทํางานรวมกับผูอื่น ขั้นตอนการสรางแผนภาพความคิด มีดังนี้ 1. กําหนดชื่อเรื่อง หรือความคิดรวบยอดสําคัญ 2. ระดมสมองที่เกี่ยวของกับชื่อเรื่อง หรือ ความคิดรวบยอดสําคัญเปนคําหรือวลีนั้น ๆ แลวจดบันทึกไว 3. นําคําหรือวลีที่จดบันทึกที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธกันมาจัดกลุม แลวตั้งชื่อกลุมคําเปนหัวขอ ยอย และเรียงลําดับกลุมคํา 4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนชื่อเรื่องไวกลางหนากระดาษ แลววางชื่อกลุมคํา หัวขอยอย รอบชื่อเรื่อง นํา คํา ที่ส นับสนุนวางรอบชื่อกลุ มคํา แล วใชเส นโยงกลุ มคํา ใหเห็น ความสัมพันธ เสนโยงอาจเขียนคําอธิบายได กลุมคําอาจแสดงดวยภาพประกอบ

39

เรื่องที่ 3 การแตงรอยกรอง คําประพันธ หรือรอยกรอง คือ การเรียงถอยรอยคําตามระเบียบขอบังคับตามฉันทลักษณ มีหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การแตงกลอน คํา ประพั นธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกชื่อ ตา ง ๆ ตาม ลักษณะฉันทลักษณที่แตกตางกันนั้น ๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด กลอน สี่ กลอน สี่ มี 2 แบบ คือ กลอนสี่ เปนคําประเภทกลอนใน 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน สี่ ที่เกาที่สุดพบในมหาชาติคําหลวงกัณฑมหาพน (สมัยอยุธยา) ตัวอยางกลอนสี่ มี 2 แบบคือ กลอน สี่ แบบ 1 ประกอบดวย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตัวอยางนี้

การสัมผัสของกลอนสี่จะสัมผัสแบบกลอนทั่วไป คือ คําสุดทาย วรรคหนาสัมผัสกับคําที่สองของ วรรคหลั ง และคํา สุ ดทา ยวรรคที่ส องสั มผั ส กับคํา สุ ดทา ยวรรคที่ส าม ส วนสั มผั ส ระหวา งบทก็ เชนเดียวกัน คือ คําสุดทายวรรคของบทแรก สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สองของบทถัดไป กลอน สี่ แบบ 2 บทหนึ่งประกอบดวย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตัวอยาง

สัมผัสนอกในทุกบาท คําสุดทายของวรรคหนา สัมผัสกับคําที่สองของวรรคหลัง มีสัมผั ส ระหวา งบาทที่ส องกับสาม คือ คํา สุ ด ทา ยวรรคที่ สี่ สั ม ผั ส กับคํ า สุ ดทา ยวรรคที่หก ส วนสั มผั ส

40

ระหวา งบทนั้นจะแตกตา งจากแบบแรกเนื่องจากใหคํา สุ ดทา ยของบทแรกสัมผั ส กับคํา สุดทา ย ของวรรคที่สี่ของบทถัดไป ตัวอยางกลอนสี่ ดวงจันทรวันเพ็ญ แสงนวลเย็นตา ชักชวนเพื่อนยา เด็กนอยสุขสันต

ลอยเดนบนฟา พาใจหฤหรรษ มาเลนรวมกัน บันเทิงเริงใจ

กลอนแปด (กลอนสุภาพ) กลอนแปด เป น คํา ประพั นธ ที่ไ ด รับ ความนิย มกัน ทั่ วไป เพราะเป นร อ ยกรองชนิด ที่ มี ความเรี ย บง า ยต อ การสื่ อ ความหมาย และสามารถสื่ อ ได อ ย า งไพเราะ ซึ่ ง กลอนแปดมี ก าร กําหนดพยางคและสัมผัส ลักษณะคําประพันธของกลอนแปด 1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคที่หนึ่งเรียกวาวรรคสดับ วรรคที่สองเรียกวรรครับ วรรคที่สามเรียกวรรครอง วรรคที่สี่เรียกวรรคสง แตละวรรคมีแปดคํา จึงเรียกวากลอนแปด 2. เสียงคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงทายวรรคเปนสําคัญโดยกําหนด ดังนี้ คําทายวรรคสดับ กําหนดใหใชไดทุกเสียง คําทายวรรครับ กําหนดหามใชเสียงสามัญและตรี คําทายวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี คําทายวรรคสง กําหนดใหใชไดเฉพาะเสียงสามัญและตรี 3. สัมผัส ก. สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหวางวรรค เปนสัมผัสบังคับมีดังนี้ คํ า สุ ด ท า ยของวรรคที่ ห นึ่ ง (วรรคสดั บ ) สั ม ผั ส กั บ คํ า ที่ ส ามหรื อ ที่ ห า ของวรรคที่ ส อง (วรรครับ) คําสุดทายของวรรคที่สอง (วรรครับ) สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม (วรรครอง) และ คําที่สามหรือคําที่หาของวรรคที่สี่ (วรรคสง) สัมผัสระหวางบท ของกลอนแปด คือ

41

คํา สุ ดท า ยของวรรคที่ สี่ (วรรคส ง) เปน คํ า ส ง สั มผั ส บั งคั บ ใหบ ทต อไปต องรั บ สั ม ผั ส ที่ คําสุดทายของวรรคที่สอง (วรรครับ) ข. สัมผัสใน แตละวรรคของกลอนแปด แบงชวงจังหวะออกเปนสามชวงดังนี้ อันกลอนแปด แปดคํา ประจําวรรค วางเปนหลัก อักษร สุนทรศรี

เรื่องที่ 4 การเขียนสื่อสาร การเขียนสื่อสาร หมายถึง การเขียนที่ผูอื่นอานแลวไดความตามจุดมุงหมายของผูเขียน เชน 1. การเขียนประวัติตนเอง การเขียนประวัติตนเองเปนการเขียนขอความเพื่อแสดงตนใหผูอื่นรูจักรายละเอียดเกี่ยวกับ เจาของประวัติ โดยมีแนวการเขียนดังนี้ ประวัติตนเอง ชื่อ ______________________________ นามสกุล _______________________ เกิดวันที่ __________ เดือน _________________ พ.ศ. _________ อายุ _________ สถานภาพสมรส ________ อาชีพ _____________________ ที่อยู _______________________________________________________________ ___________________________________________________________________ สถานที่ทํางาน ________________________________________________________ ประวัตการศึกษา ______________________________________________________ ___________________________________________________________________ ประสบการณในการทํางาน ______________________________________________ __________________________________________________________________ ความรูความสามารถพิเศษ ______________________________________________ 2. การเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความ คือ การนําคํา มาประกอบแตงเปนเรื่องราว เปนการแสดงออกทาง ความคิดและประสบการณของผูเขียนเพื่อใหผูอื่นทราบ

42

องคประกอบของการเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความประกอบดวย 3 สวนคือ 1. คํานํา เปนการเริ่มตนของเรียงความที่เปนสวนดึงดูดใจ ใหผูอานสนใจ 2. เนื้อเรื่อง เปนเนื้อหาสาระของเรียงความทั้งเรื่อง 3. บทสรุป เปนการสรุปแกนของเรื่อง ไมควรจะยาวมาก 3. การเขียนยอความ การยอ ความ คื อ การนํ า เรื่ อ งราวต า ง ๆ มาเขี ย นใหม ด วยสํ า นวนภาษาของผู ยอ เอง เมื่อเขียนแลวเนื้อความเดิมจะสั้นลง แตยังมีใจความสําคัญครบถวนสมบูรณ ใจความสําคัญ คือ ขอความสําคัญในการพูดหรือการเขียนที่เปนรายละเอียด นํามาขยาย ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น ถาตัดออกผูฟงหรือผูอานก็ยังเขาใจเรื่องนั้นได หลักการยอความ 1. อานเนื้อเรื่องที่จะยอใหเขาใจ 2. จับใจความสําคัญที่จะยอหนา 3. นํา ใจความสํ า คัญแตล ะยอหนา มาเขียนใหมดวยภาษาของตนเอง โดยตองคํา นึงถึ ง สิ่งตาง ๆ ดังนี้ 3.1 ไมใชอักษรยอในขอความที่ยอ 3.2 ถามีราชาศัพท ใหคงไวไมตองแปล 3.3 ไมใชเครื่องหมายตาง ๆ ในขอความที่ยอ 3.4 เนื้ อ เรื่ อ งที่ ย อ แล ว เขี ย นติ ด ต อ กั น ในย อ หน า เดี ย วควรมี ค วามยาวประมาณ 1 ใน 4 ของเรื่องเดิม 4. การเขียนขาว การเขีย นขา ว ประกาศและแจ งความ เป นส วนหนึ่ งของจดหมายราชการหรื อหนังสื อ ราชการ ซึ่ ง เป น หนั ง สื อ ที่ ใ ช ติ ด ต อ กั น ระหว า งเจ า หน า ที่ ข องรั ฐ กั บ บุ ค คลภายนอกด ว ยเรื่ อ ง เกี่ยวกับราชการ การเขียนขาว ประกาศ และแจงความ จัดอยูในจดหมายราชการประเภทหนังสือสั่งการ และโฆษณา ซึ่งประกอบดวย ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ ง คําแนะนํา คําชี้แจง ประกาศ แจงความ แถลงการณ และขาว ซึ่งจะยกตัวอยางในการเขียนขาวดังนี้ การเขียนขาว คือ บรรดาขอความที่ทางราชการเห็นสมควรเปดเผย เพื่อแจ ง เหตุการณที่นาสนใจใหทราบ

43

รูปแบบการเขียนขาว ขาว ..................................... ชื่อสวนราชการที่ออกขาว .................................................. เรื่อง ........................................................................ ขอความที่เปนขาว .......................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... สวนราชการเจาหนาที่ วัน เดือน ป

เรื่องที่ 5 การเขียนรายงาน การคนควาและอางอิงความรู การเขียนรายงานการคนควา การเขียนรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคนควา เพื่อนําเสนอผูบังคับบัญชา หรือผูสอน หลักการเขียนรายงาน 1. ขอมูลที่เขียนตองเปนความจริง 2. ขอมูลที่นํามาจากผูรูอื่นตองเขียนเปนเชิงอรรถและบรรณานุกรม 3. เขียนเปนทางการ ใชภาษาถูกตอง และชัดเจน สวนประกอบของรายงาน 1. ปกหนา ประกอบดวยชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน และนําเสนอผูใด 2. คํา นํา เปนความเรียงมี 3 ส วน คือ ความเปนมาและวัตถุประสงค สาระของรายงาน ประโยชนที่ไดรับ และขอบคุณผูมีสวนชวยเหลือ 3. สารบัญ 4. เนื้อหาสาระ 5. บรรณานุกรม การเขียนอางอิงความรู การเขียนอางอิงความรู หมายถึง การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม 1. เชิงอรรถ

44

เชิงอรรถเปนชื่อผูเขียน ปที่พิมพและเลขหนาหนังสือที่นําไปใชประกอบการเขียน เชน อุทัย ศิริศักดิ์ (2550, หนา 16) การฟง หมายถึง การรับสารและตีความสารที่ไดยินหรืออาน การเขียนอางอิงลักษณะนี้จะไมไดเขียนชื่อหนังสือ ชื่อหนังสือจะเขียนในหนาบรรณานุกรม 2. บรรณานุกรม บรรณานุกรม ประกอบดวยรายชื่อหนังสือที่ใชประกอบการเขียน โดยจะตองเขียน เรียงตามตัวอักษรชื่อผูแตง โดยเขียนชื่อผูแตง ชื่อหนังสือ ชื่อสถานที่พิมพ ชื่อโรงพิมพและปที่พิมพ เชน กนกอร ทองคํา. การใชภาษาไทย, กรุงเทพฯ: ไทยวิวัฒน, 2549 ศิริอร ทองคําไพ. หลักการใชภาษา, นนทบุรี: ไทยเจริญ, 2550

เรื่องที่ 6 การกรอกแบบรายงาน การกรอกแบบรายงาน เปนการกรอกแบบฟอรมของหนวยราชการหรือหนวยงานตาง ๆ ที่ ใ ห ก รอก เพื่ อ แสดงข อ มู ล ที่ ห น ว ยงานนั้ น ๆ ต อ งการทราบ เช น การกรอกใบสมั ค รเรี ย น การกรอกแบบฟอรมธนาณัติ แบบฟอรมฝากเงิน เปนตน หลักการกรอกแบบรายการ 1. อานขอความในแบบรายการนั้น ๆ ใหเขาใจกอนจะเขียนขอความ 2. เขียนใหถูกตองและสะอาด 3. กรอกขอความตามความจริง 4. ใชถอยคําสั้น ๆ และกะทัดรัด 5. ปฏิบัติตามขอบังคับ หรือคําแนะนําของแบบรายการนั้น ๆ

แบบรายการที่ใชในชีวิตประจําวัน 1. แบบฟอรมธนาณัติ 2. แบบฟอรมสงพัสดุทางไปรษณีย 3. แบบฟอรมสมัครงาน 4. แบบฟอรมคํารอง 5. แบบฟอรมสัญญา 6. แบบฟอรมฝากเงิน ถอนเงินของสถาบันการเงิน

45

ประโยชนของการกรอกแบบรายการ 1. ชวยใหผูกรอกไมตองเขียนขอความที่ยืดยาวลงไปทั้งหมดจะเขียนแตเฉพาะรายละเอียด ที่ผูจัดทําแบบรายการตองการเทานั้นทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว 2. ชวยใหผูจัดทําขอมูล สามารถเก็บขอมูลที่ตองการไดรวดเร็วและใชเปนหลักฐานเอกสาร ไดดวย

46

ตัวอยางการกรอกแบบรายการใบฝากธนาณัติ

47

ตัวอยางการกรอกแบบรายการหนังสือมอบอํานาจ

48

ตัวอยางการกรอกแบบหนังสือสัญญาเชาที่ดิน

49

ขอแนะนําในการกรอกแบบรายการ 1. กรอกดวยความเขาใจ กอนจะกรอกตองอานใหละเอียด 2. กรอกขอความที่เปนจริง ไมกรอกขอความที่เปนเท็จ 3. กรอกใหครบถวน ชองวางที่ไมกรอกใหขีดเสนใตใหเต็มชอง 4. กรอกขอความดวยตนเองไมควรใหผูอื่นกรอกแบบรายการแทน 5. ตรวจทานทุกครั้ง เมื่อกรอกแบบรายการหรือลงนามในเอกสาร

เรื่องที่ 7 มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน มารยาทในการเขียน ประกอบดวย 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีการตรวจสอบความถูกตอง เพื่อใหผูอานไดอานงานเขียนที่ถูกตอง 3. มีการอางอิงแหลงขอมูล เพื่อใหเกียรติแกเจาของความคิดที่อางอิง 4. มีความเที่ยงธรรม ตองคํานึงถึงเหตุมากกวาความรูสึกสวนตน 5. ความสะอาดเรียบรอย เขียนดวยลายมืออานงาย รวมทั้งการเลือกใชกระดาษและ สีน้ําหมึก 6. เขียนเชิงสรางสรรคไมเขียนเพื่อทําลายหรือทําใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น 7. ไมเขียนในที่ไมสมควร เชน สถานที่สาธารณะ 8. ไมขีดหรือเขีย นขอความในหนัง สื อเอกสารอื่น ๆ ที่เปนของประชาชนโดยรวม เช น หนังสือหองสมุด การสรางนิสัยรักการอาน 1. เริ่มตนดวยการเขียนสิ่งที่งาย และไมใชเวลามาก 2. เขียนตอเนื่องจากการเขียนครั้งแรก เชน การเขียนบันทึกประจําวัน 3. เริ่มเขียนดวยขอความที่งายและสั้น และกําหนดเวลากับตนเองใหพยายามเขียนทุกวัน ตามระยะเวลาที่พอใจจะทําใหเขียนไดโดยไมเบื่อ

50

การเขียนบันทึก การเขียนบันทึกเปนวิธีการเรียนรูและจดจําที่ดี ขอมูลที่ถูกบันทึกไวยังสามารถนําไปเปน หลักฐานอางอิงได เชน การจดบันทึกจากการฟง บันทึกการประชุม บันทึกประจําวัน บันทึกจาก ประสบการณตรง เปนตน การเขียนบันทึกประจําวัน ซึ่งเปนบันทึกที่ผูเขียนไดจดบันทึกสม่ําเสมอ มีแนวทางในการ เขียนดังนี้ 1. บันทึกเปนประจําทุกวันตามความเปนจริง 2. บอก วัน เดือน ป ที่บันทึกไวอยางชัดเจน 3. บันทึกเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ 4. การบันทึกอาจแสดงความรูสึกสวนตัวลงไปดวย 5. การใชภาษาไมมีรูปแบบตายตัว ใชภาษางาย ๆ

กิจกรรมทายบทที่ 4 การเขียน (5 คะแนน) ผูสอนมอบหมายใหผูเรียนเขียนประวัติตนเอง เพื่อสมัครงานตามหัวขอตอไปนี้ ชื่อ.................................................................................................................................................. ที่อยู............................................................................................................................................... อีเมล.............................................................................................................................................. โทรศัพท........................................................................................................................................ จุดมุงหมายในการทํางาน………...................................................................................................... ประวัติการศึกษา ....................................................................................................................................................... ประสบการณทํางาน ....................................................................................................................................................... ทักษะและความสามารถพิเศษอื่น ๆ .......................................................................................................................................................

51

บทที่ 5 หลักการใชภาษา เรื่องที่ 1 ความหมายของพยางค คํา วลี และประโยค

พยางค หมายถึง เสียงที่เปล งออกมาครั้งหนึ่งจะมีความหมาย หรือไมมีความหมายก็ได

เสี ยงที่เปล งออกมาครั้งหนึ่งเรียกวา 1 พยางค เชน ภาษาไทยมี 3 พยางค คือ ภา หนึ่งพยางค ษา หนึ่งพยางค และไทย หนึ่งพยางค และสาธารณสุข มี 5 พยางค เปนตน คํา หมายถึง เสี ยงที่เปลงออกมาแลวมีความหมายอยางใดอยา งหนึ่ง จะมีกี่พ ยางคก็ได เชน นก แมน้ํา นาฬิกา เปนตน วลี หมายถึ ง คํา ที่ เ รี ยงกั น ตั้ ง แต 2 คํา ขึ้ น ไป สามารถสื่ อ ความได แต ยั ง ไม สมบูร ณ ไม เปนประโยค เปนกลุ มคํา ที่ ทํา หน า ที่เป นประธาน กรรม และกริย าของ ประโยคได ประโยค หมายถึง กลุมคําที่เรียบเรียงขึ้น มีความหมายไดใจความสมบูรณวา ใคร ทําอะไร อยางไร ในประโยคจะประกอบดวยอยางนอยสองสวนคือ ประธาน และกริยา ประโยคที่สมบูรณ จะตองประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่เปนภาคประธาน ซึ่งประกอบดวย ประธาน และสวนขยาย และภาคแสดง ซึ่งประกอบดวย กริยา สวนขยาย และกรรม สวนขยาย ตัวอยาง ภาคประธาน ประโยค ส ว น ประธาน ขยาย ประตูปด ประตู นกบินสูง นก เด็กตัวสูงวิ่งเร็ว เด็ก ตัวสูง แมวตัวใหญกัดหนูตัวเล็ก แมว ตัวใหญ

ภาคแสดง กริยา ปด บิน วิ่ง กัด

ส ว น ขยาย สูง เร็ว -

กรรม หนู

ส ว น ขยาย ตัวเล็ก

52

ชนิดและหนาที่ของคํา คําที่ใชในภาษาไทยมี 7 ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสันธาน และคําอุทาน ซึ่งคําแตละชนิดมีหนาที่แตกตางกัน ดังนี้ 1. คํ า นาม คื อ คํ า ที่ ใ ช เ รี ย กชื่ อ คน สั ต ว สิ่ ง ของ สถานที่ และคํ า ที่ บ อกกริ ย าอาการ หรือลั กษณะตา ง ๆ ทํา หนา ที่เปนประธาน หรือกรรมของประโยค ตัวอยา ง คําที่ใชเรียกชื่อ คน สัตว สิ่งของทั่วไป เชน เด็ก หมู หมา กา ไก ปากกา ดินสอ โตะ เกาอี้ คําที่ใชเรียกชื่อเฉพาะ บุคคล หรือสถานที่ เชน วิเชียร พิมพาพร วัด โรงเรียน คํา ที่ใชแสดงการรวมกันเปนหมวดหมู เช น กรม กอง ฝู ง โขลง คํ า ที่ ใ ช บ อกอาการ หรื อ คุ ณ ลั ก ษณะที่ ไ ม มี ตั ว เช น คํ า ว า การยื น การนอน ความดี ความชั่ ว คํ า นามที่ บ อกลั ก ษณะ เช น คํ า ว า “แท ง ” ดิ น สอ 2 แท ง “ตั ว ” แมว 3 ตัว เปนตน 2. คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานาม หรือขอความที่กลาวมาแลวในกรณีที่ไม ตองการกล าวคํานั้นซ้ําอีก ทํา หนา ที่เชนเดียวกับคํานาม ตัวอยา ง คํา สรรพนามแทนผูพูด เชน ขา ขาพเจา ผม กระผม เรา ฉัน อาตมา คําสรรพนามแทนผูฟ ง หรือผู กําลั งพู ดดวย เชน ทา น เธอ เอง มึง พระคุณเจา คําสรรพนามที่แทนผูที่เรากลาวถึงเชน เขา พวกเขา พวกมัน คําสรรพ นามที่กําหนดใหรูความใกลไกล เชน นี่ โนน โนน นั่น คําสรรพนามที่เปนคําถาม เชน ใคร อะไร อันไหน ที่ไหน เปนตน 3. คํากริ ย า คื อ คํ า ที่ แสดงกริยาอาการของการกระทํา อย า งใดอยา งหนึ่ง ของคํา นาม คํา สรรพนาม หรือแสดงการกระทํา ของประธานในประโยค ใช วางตอจากคํา ที่เปนประธาน ของประโยค คํา กริยาจะแบงเปน 2 ประเภทคือ กริยาที่ตองมีกรรมมารับประโยคจึ งจะสมบูรณและ กริยาที่ไมตองมีกรรมมารับประโยคก็จะมีใจความสมบูรณ คํากริยาที่จะตองมีกรรมมารับประโยค จึงจะมีใจความสมบูรณ เชน จิก กิน ตี ซื้อ ขาย ฯลฯ ขอความวา นกจิก ก็ยังไมมีความหมาย สมบูรณเปนประโยค เพราะไมทราบวานกจิกอะไร ถาเติมคําวา แมลง เปน นกจิกแมลง ก็จะได ความสมบูรณ เปนประโยค เปนตน ส วนคํา กริยาที่ไมตองมีกรรมมารับ เชน คํา ปด เปด บิน นั่ง นอน ยืน ฯลฯ ประโยควา นกบิน ประตูปด หนาตา งเปด คนนั่ง ก็ไดความหมายสมบูรณ เปน ประโยคโดยไมตองมีกรรมมารับ

53

4. คําวิเศษณ คือ คําที่ใชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพื่อบอก ลั ก ษณะ หรือ รายละเอี ย ดของคํา นั้ น ๆ คํ า วิ เ ศษณ ส วนมากจะวางอยูห ลั ง คํา ที่ ตอ งการบอก ลักษณะ หรือรายละเอียด ตัวอยา งเชน คําวา รอน เย็น สู ง ต่ํา เล็ก ใหญ ฯลฯ นกนอ ยบินสูง เปนตน 5. คํ า บุพ บท คื อ คํ า ที่ แสดงความสั ม พั น ธ ระหว า งประโยค หรื อคํ า หน า กั บประโยค หรือคํา หลั ง จะบอกความเปนเจ า ของ บอกสถานที่ แสดงความเปนผู รับ หรือแสดง ตัวอยา ง คําบุพบทบอกสถานที่ เชน ใกล ไกล ใน นอก บน ลาง “ลิงอยูบนตนไม” เปนตน คํา บุพ บทบอกความเปนเจ าของ เชน ของ แหง “หนังสื อเล มนี้เปนของฉัน” คํา บุพ บท แสดงความเปนผูรับ หรือแสดง เชน โดย เพื่อ ดวย กับ แก แด ตอ โดย เปนตน 6. คําสันธาน คือ คําที่ใชเชื่อมขอความ หรือประโยคใหเปนเรื่องเดียวกัน ตั ว อย า ง คํ า สั น ธานที่ ใ ช เ ชื่ อ มข อ ความที่ โ ต แ ย ง กั น เช น แต “พ อ ไปทํ า งานแต แ ม อ ยู บ า น” กวา...ก็, ถึง...ก็ “กวาถั่วจะสุกงาก็ไหม” คําสันธานที่ใชเชื่อมความที่คลอยตามกัน เชน กับ “คุณ แมกับ พี่ ส าวไปตลาด” พอ...ก็, ครั้น...ก็ “พอฝนตกฟ า ก็มืด” คํา สั น ธานที่ใชเชื่อมความ เปนเหตุเปนผลกัน เชน เนื่องจาก....จึง “เนื่องจากฉันตื่นสายจึงไมทันรถ” เพราะ “การที่วัยรุน ติดยาเสพติดเพราะมีปญหาครอบครัว” เปนตน 7. คําอุ ทาน คือ คําที่เปล งออกมาแสดงถึงอารมณ หรือความรูสึกของผูพู ด มักอยูหนา ประโยค และใชเครื่องหมายอัศเจรีย ( ! ) กํากับหลังคําอุทาน ตัวอยาง คําอุทานไดแก โธ! อุย! เอา! อา! “อุย! นึกวาใคร” หนาที่ของวลี วลี เปนกลุ มคํา ที่ทํา หนา ที่สื่ อความหมาย และทํา หนา ที่เปนประธาน กริยา และกรรม ของประโยค

54

เรื่องที่ 2 ชนิดและหนาที่ของประโยค ชนิดของประโยค เมื่อเราทราบลักษณะของประโยคแลว ก็มาทํา ความเขา ใจเกี่ยวกับประโยคชนิด ตาง ๆ เพิ่มเติมอีก ประโยคชนิดแรกที่จะกลาวถึง คือ ประโยคความเดียว 1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) ประโยคชนิดนี้คือ ประโยคที่มุง กล า วถึงสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งเพี ยงสิ่ งเดียว สิ่ งนั้นอาจเปนคน สั ตว เหตุการณ ฯลฯ อยา งใดอยา งหนึ่ง และสิ่งนั้นแสดงกริยาอาการ หรืออยูในสภาพอยางเดียว เชน ก. นกเกาะตนไม ข. นายแดงไถนา ค. มุกดาหารเปนจังหวัดที่เจ็ดสิบสาม สวนสําคัญของประโยคความหมาย ประโยคความเดียวแตละประโยคแบงสวนสําคัญออกเปน 2 สวน สวนหนึ่งเรียกวา “ภาคประธาน” คือ ผู กระทํา อาการในประโยค อีกส วนหนึ่งเรียกวา “ภาคแสดง” คือ ส วนที่ เปนกิริยา และกรรมผูถูกกระทําในประโยค ประโยค ก. นกเกาะตนไม ข. นายแดงไถนา ค. มุกดาหารเปนจังหวัดที่เจ็ดสิบสาม

ภาคประธาน

ภาคแสดง

นก นายแดง มุกดาหาร

เกาะตนไม ไถนา เปนจังหวัดที่เจ็ดสิบสาม

2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คือ ประโยคที่รวมความเอาประโยค ความเดียวตั้งแต 2 ประโยคขึ้นมารวมเขาดวยกัน โดยมีคําเชื่อมประโยคเหลานั้นเขาดวยกัน 2.1 ประโยคที่มีเนื้อความคลอยตามกัน ประโยคที่ 1 จารุณีเดินทางไปเชียงใหม ประโยคที่ 2 อรัญญาเดินทางไปเชียงใหม

55

เราสามารถรวมประโยคความเดียวทั้ง 2 ประโยคเขาดวยกัน ดังนี้ “จารุณีและอรัญญาเดินทางไปเชียงใหม” ประโยคที่ 1 เราจะประสบความลมเหลว ประโยคที่ 2 เราไมทอถอย รวมประโยคไดวา “แมเราจะประสบความลมเหลวเราก็ไมทอถอย” 2.2 ประโยคที่มีเนื้อความขัดแยงกัน เชน ประโยคที่ 1

พี่ขยัน

ประโยคที่ 2

นองเกียจคราน

รวมประโยควา “พี่ขยันแตนองเกียจคราน” 2.3 ประโยคที่มีใจความเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ประโยคที่ 1 เธอชอบดูภาพยนตร ประโยคที่ 2 เธอชอบดูโทรทัศน รวมประโยควา “เธอชอบดูภาพยนตรหรือโทรทัศน” 2.4 ประโยคที่มีขอความเปนเหตุเปนผลกัน โดยมีขอความที่เปนเหตุอยูขางหนา ขอความที่เปนผลอยูหลัง ประโยคที่ 1

เขาขับรถเร็วเกินไป

ประโยคที่ 2

เขาถูกรถชน

รวมประโยควา “เขาขับรถเร็วเกินไปเขาจึงถูกรถชน” 3. ประโยคซอนกัน (สังกรประโยค) คือประโยคที่มีขอความหลายประโยค ขอความอยูในประโยคเดียวกัน เพื่อใหขอความสมบูรณยิ่งขึ้น 1. ประโยคหลักเรียกวา มุขยประโยค ซึ่งเปนประโยคสําคัญมีใจความสมบูรณ ในตัวเอง 2. ประโยคยอย เรียกวา อนุประโยค ประโยคยอยนี้จะตองอาศัยประโยคหลัง จึงจะไดความสมบูรณ ตัวอยาง สรพงษเดินทางไปสงขลาเพื่อแสดงภาพยนตร เขาประสบอุบัติเหตุเพราะความประมาท คนที่ปราศจากโรคภัยไขเจ็บเปนคนโชคดี

56

ตารางประโยคความซอน ประโยคหลัก (มุขยประโยค) สรพงษเดินทางไปสงขลา เขาประสบอุบัติเหตุ คน...เปนคนโชคดี

ประโยคยอย (อนุประโยค) แสดงภาพยนตร ความประมาท ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ

บทเชื่อม เพื่อ เพราะ ที่

นอกจากประโยคทั้ง 3 ชนิดดังกลาวมาแลว ยังมีประโยคอีกหลายชนิดที่มิไดเรียงลําดับ ประโยคเหมือนประโยคทั้ง 3 ชนิด ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนน สวนใดของประโยคดวยเหตุนี้จึงทําใหประโยคมีหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. ประโยคเน น ผู ก ระทํา คื อ ประโยคที่ ยกผู ก ระทํ า ขึ้ นเปน ประธานของประโยค ขึ้นกลาวกอนแลวจึงตามดวยภาคแสดง เชน รูปประโยค ประธาน 1. ลินดากําลังซื้อผลไม ลินดา 2. สายชลพูดโทรศัพท สายชล

กริยา กําลังซื้อ พูด

กรรม ผลไม โทรศัพท

2. ประโยคเนนผูถูกกระทํา คือ ประโยคที่กลาวถึงผูถูกกระทําหรือกรรม กอนผูถูกกระทํา จึงอยูหนาประโยค รูปประโยค 1. เพื่อนของฉันถูกทําโทษ 2. ชาตรีถูกจับ

ผูถูกกระทํา เพื่อนของฉัน ชาตรี

กริยา ถูกทําโทษ ถูกจับ

57

3. ประโยคเนน กริ ยา คือ ประโยคที่ตองการเนนกริยาใหเดน จึ งกล าวถึงกริยากอน ที่จะกลาวถึงประธาน กริยาที่เนนไดในลักษณะนี้มีอยูไมกี่คํา คือ เกิด ปรากฏ มี รูปประโยค เกิดน้ําทวมในประเทศ บังกลาเทศ

กริยา เกิดน้ําทวม น้ําทวม (ขยายกริยา)

ประธาน ในประเทศบังกลาเทศ

ปรากฏดาวเทียมบนทองฟา ปรากฏ ดาวเทียม บนทองฟา (ขยายกริยา) 4. ประโยคคําสั่งและขอรอง คือ ประโยคที่อยูในรูปคําสั่งหรือขอรองและจะละประธานไว โดยเนนคําสั่งหรือคําขอรอง เชน คําสั่ง 1. จงกาเครื่องหมายกากบาท หนาขอความที่ถูกตอง คําที่ขีดเสนใต คือ กริยา คําขอรอง 2. โปรดรักษาความสะอาด คําที่ขีดเสนใต คือ กริยา ถาเติมประธานที่ละไวลงไป ก็จะกลายเปนประโยคเนนผูกระทํา เชน 1. ทานจงกาเครื่องหมายกากบาทหนาขอความที่ถูกตอง 2. ทานโปรดรักษาความสะอาด หนาที่ของประโยค ประโยคชนิดตาง ๆ สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผูสงสาร เพราะการสื่อสาร กันตามปกตินั้น ผูสงสารอาจมีเจตนาไดหลายประการ ประโยคจึงทําหนาที่ตาง ๆ กัน เชน บอก กลาว เสนอแนะ ชี้แจง อธิบาย ซักถาม วิงวอน สั่งหาม ปฏิเสธ เปนตน ขอความหรือประโยคที่ แสดงเจตนาของผูสงสารเหลานี้จะอยูในรูปที่ตาง ๆ กันไป ซึ่งอาจแบงหนาที่ของประโยคไดเปน 4 ประเภทดวยกัน คือ 1. รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะนี้ โดยปกติจะมี ประธาน กริยา และอาจมีกรรมดวย นอกจากนี้ อาจมีสวนขยายตาง ๆ เพื่อใหชัดเจน โดยทั่วไปประโยคบอกเลา จะบงชี้เจตนาวาประธานของประโยคเปนอยางไร

58

ตัวอยาง ประโยค เจตนา ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติของเรา ภาษาไทยเปนอะไร นองหิวขาว นองอยูใ นสภาพใด 2. รูปประโยคปฏิเสธ ประโยคนี้แตกตางจากประโยคบอกกลาวหรือบอกเลาตรงที่มี คําวา “ไม หรือคําที่มีความหมายในทางปฏิเสธ เชน “หามิได” “มิใช” ประกอบคําอธิบาย เสมอไป ตัวอยาง วันนี้ไมมีฝนเลย เขามิใชคนเชนนั้น หามิได หลอนไมใชคนผิดนัด สํา หรับประโยคที่ผู สงสารมีเจตนาที่จ ะเสนอแนะมักจะใชคํา วา ควรหรือควรจะใน ประโยคบอกเลาสวนในประโยคปฏิเสธ ใชคําวา ไมควรหรือไมควรจะ ประโยคปฏิเสธ “ชาวนาไมควรปลูกมันสําปะหลังในที่นาเพราะจะทําใหดินจืด” 3. ประโยคคําสั่งและขอรอง ประโยครูปนี้มีลักษณะเดน คือ มีแตภาคแสดงเสมอ สวนประธานซึ่งตองเปนบุรุษที่ 2 ใหละเวนในฐานที่เขาใจ ตัวอยาง ยกมือขึ้น ยืนขึ้น ปลอยเดี๋ยวนี้นะ รูปประโยคคําสั่ง เชน ขางตนนี้ อาจใสคําวา อยา จง หาม ขางหนาประโยคได เพื่อใหคําสั่งจริงจังยิ่งขึ้น ตัวอยาง อยาทําบานเมืองสกปรก จงตอบคําถามตอไปนี้ หามมียาเสพติดไวในครอบครอง 4. รูปประโยคคําถาม ประโยครูปนี้ทําหนาที่เปนคําถามวางอยูตอนตนหรือตอนทาย ของประโยคก็ได คําแสดงคําถามแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ คําแสดงคําถามที่ผูสงสารตองการ คําตอบเปนใจความใหม และคําแสดงคําถามที่ผูสงสารตองการคําตอบเพียง “ใช” หรือ “ไม”

59

เรื่องที่ 3 การใชเครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ การใชเครื่องหมายวรรคตอน ภาษาไทยมีวิธีการเขียนคําติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึ งเวนวรรค ดังนั้น ในการ เขียนหนังสือจึงตองมีการแบงวรรคตอนและใชเครื่องหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถูกตอง เพื่อชวยใหเขาใจความหมายไดอยางชัดเจนไมผิดเพี้ยนไปจากวัตถุประสงค เครื่องหมายวรรคตอนที่ควรทราบมีดังนั้น ลําดับที่ เครื่องหมาย ชื่อ 1. , จุลภาค

2.

?

3.

!

วิธีใช เปนเครื่องหมายที่นํามาใชตามแบบภาษาอังกฤษ แตตามปกติภาษาไทยใชเวนวรรคแทนเครื่องหมาย จุล ภาคอยูแล ว จึ งไมจํ า เปนตองใชเครื่องหมาย จุลภาคอีก ตัวอยาง เขาชอบรับประทานผักกาด ผั กคะนา ตนหอม กะหล่ําปลี ถา เป นประโยคภาษาอั ง กฤษจะใช เครื่ องหมาย ดังนี้ เขาชอบรับประทานผักกาด, ผักคะนา, ตนหอม, กะหล่ําปลี ปรัศนี หรือ ใชเขียนไวหลังคํา หรือขอความที่เปนคํา ถาม เครื่องหมาย ถาไมใชถามโดยตรงไมตองใสเครื่องหมายปรัศนี คําถาม ตัวอยาง ใคร? ใครครับ? (คําถาม) ฉันไมทราบวาเขามาหาใคร (บอกเลา) เธอชอบอานหนังสือนวนิยายไหม? (คําถาม) ฉั น ไม ท ราบว า จะทํ า อย า งไรให เธอเชื่ อ ฉั น (บอกเลา) อัศเจรีย เป น เครื่ อ งหมายแสดงความประหลาดใจ มหัศจรรยใจใชเขียนหลังคําอุทาน หรือขอความ ที่มีลักษณะคลายคําอุทาน เพื่อใหผูอานออกสียง

60

ลําดับที่ เครื่องหมาย

ชื่อ

4.

(............)

นขลิขิต หรือ เครื่องหมาย วงเล็บ

5.

“…………..” อัญประกาศ

6.



ไมยมก หรือ ยมก

วิธีใช ไดถูก ตองกับความเปนจริง และเหมาะสมกั บ เหตุการณที่เกิดขึ้น เชน ดีใจ เสียใจ เศราใจ แปลกใจ ตัวอยาง “โอโฮ! เธอขับรถไปถึงสงขลาคนเดียวหรือ” แปลกใจ “อนิจจา! ทําไมเขาถึงเคราะหรายอยางนั้น” สลดใจ ใชเขียนครอมความที่เปนคําอธิบาย ซึ่งไมควรมี ในเนื้ อเรื่อ ง แตผู เขียนตองการให ผู อา นเขา ใจ หรือทราบขอความนั้นเปนพิเศษ เชน ตัวอยาง สมัยโบราณ คนไทยจารึกพระธรรมลงในกระดาษ เพลา (กระดาษที่คนไทยทําขึ้นใชเอง โดยมากทํา จากเปลือกขอย บางครั้งเรียกวากระดาษขอย) มีวิธีใชดังนี้ เนนคํา หรือขอความใหผูอานสังเกตเปนพิเศษ ตัวอยาง ผู หญิงคนนั้น “สวย” จนไมมีที่ ติ เขาเปนคน “กตัญูรูคุณคน” อยางนาสรรเสริญยิ่ง ใช สํ า หรั บ ข อ ความที่ เ ป น ความคิ ด ของผู เ ขี ย น หรือความคิดของบุคคลอื่น ใชเขียนไวหลั งคํา หรือขอ ความเพื่ อ ใหอา นคํ า หรือความนั้น ซ้ํา กัน สองครั้ ง ยมก แปลวา คู แตตองเปนคําหรือความชนิดเดียวกัน ถาเปนคํา หรือความตางชนิดกันจะใชไมยมกไมได ตองเขียน ตัวอักษรซ้ํากัน

61

ลําดับที่ เครื่องหมาย

7.

_

8.



9.

_

ชื่อ

วิธีใช

ตัวอยาง เขาเคยมาทุกวัน วันนี้ไมมา (ถูก) เขาเคยมาทุกวัน ๆ นี้ไมมา (ผิด) เขาชอบพูดตาง ๆ นานา (ถูก) เขาชอบพูดตาง ๆ นา (ผิด) สัญประกาศ ใชขีดเสนใตขอความที่ผู เขียนตองการเนนใหเห็น ความสําคัญ ตัวอยาง โรคพิษสุนัขบามีอันตรายมากถาถูกสุนัขบากัดตอง รีบไปฉีดวัคซีนทันที เขาพูดวาเขาไมชอบ คนที่พูดมาก บุพสัญญา ใช เป นเครื่ องหมายแทนคํ า หรื อกลุ มคํ า ซึ่ งอยู ขา งบนเครื่องหมายนี้ การเขียนเครื่ องหมายนี้ จะชวยใหไมตองเขียนคําซ้ําๆ กัน ตัวอยาง คําวา คน ถาเปนคํากริยา แปลวากวนใหทั่ว ” ขอด ” ” ” ” ขมวดใหเปนปม เครื่องหมาย บุพสัญญานี้มักจะมีผูเขียนผิดเปน “ ตัวอยาง สมุด 8 โหล ราคาโหลละ 40 บาท ดินสอ 8 ” “ ” 12 บาท (ผิด) ยติภังค หรือ เครื่องหมาย ขีดเสน

ใชเขียนระหวางคําที่เขียนแยกพยางคกัน เพื่อเปน เครื่องหมายใหรูวา พยางคหนากับพยางคหลังนั้น ติดกัน หรือเปนคําเดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้น จะอยูในบรรทัดเดียวกัน หรือตางบรรทัดกันก็ได ตัวอยาง สัปดาห อานวา สัป-ดา

62

ลําดับที่ เครื่องหมาย

ชื่อ

วิธีใช สพยอก อานวา สับ - พะ - ยอก ในการเขียนเรื่อง หรือขอความ ตัวอยาง เชน คําวา พระราชกฤษฎีกา เมื่อเขียนไดเพียง พระราชกฤษ ก็หมดบรรทัด ตองเขียนคําวา ฎีกา ตอในบรรทัด ตอไปถา เปนเชนนี้ ใหเขียนเครื่องหมายยติภังค ดังนี้ พระราชกฤษ - แลวเขียนตอบรรทัดใหมวา ฎีกา และในการอาน ตองอานติดตอกันเปนคําเดียวกัน วาพระราชกฤษฎีกา ใชเขียนหลังคําซึ่งเปนที่รูกันโดยทั่วไปละขอความ สวนหลังไว ผูอานจะตองอานขอความ ในสวนที่ ละไวใหครบบริบูรณ ถาจะใหอานเพียง ที่เขียนไว เชน กรุงเทพ ก็ไมตองใส เ ครื่องหมายไปยาล นอยลงไป ตัวอยาง กรุงเทพ ฯ อานวา กรุงเทพมหานคร โปรดเกล า ฯ อา นวา โปรดเกล า โปรด กระหมอม

10.



ไปยาลนอย

11.

ฯลฯ

ไปยาลใหญ วิธีใชมีดังนี้ ใช เ ขี ย นไว ห ลั ง ข อ ความที่ จ ะต อ ไปอี ก มาก แต นํ า มาเขี ย นไว พ อเป น ตั ว อย า ง ให อ า น เครื่องหมายฯลฯ วา “ ละ” ตัวอยาง เขาปลูกผักกาด ผักคะนา ผักบุง ฯลฯ อานวา เขาปลูกผักกาด ผักคะนา ผักบุง ละ ใชเขียนไวระหวางกลางขอความ ซึ่งถาเขียนจนจบ จะยาวเกินไป จึ งนํา มาเขียนไว เฉพาะตอนตน

63

ลําดับที่ เครื่องหมาย

12.

...............

13.



ชื่อ

วิธีใช กับ ตอนสุ ดท า ยเท า นั้น ส ว นขอ ความที่ เว น ไว ใสเครื่องหมาย ฯลฯ ใหอานเครื่องหมาย ฯลฯ วา “ ละถึง ” ตัวอยาง อิติปโส ฯลฯ ภควาติ. อานวา อิติปโส ละถึง ภควาติ. ไปยาลใหญ สําหรับเครื่องหมาย ฯลฯ นั้น ปจจุบันนิยมใช หรือ เครื่องหมาย.............แทน จุดไขปลา ตัวอยาง อิติปโส ฯลฯ ภควาติ นิยมเขียนวา อิติปโส ......... ภควาติ อานวา อิติปโส ละถึง ภควาติ มหัพภาค มีที่ใชดังนี้ เขียนไวหลังอักษร เชน พ.ศ. ยอมาจาก พุทธศักราช พ.ร.บ. ” พระราชบัญญัติ เม.ย. ” เมษายน เขียนไวหลังคํายอ เชน กรกฎ. ยอมาจาก กรกฎาคม เมษ. ยอมาจาก เมษายน เขียนไวหลังตัวเลข หรืออักษรที่บอกจํานวนขอ ตัวอยาง ก. เราจะไมประพฤติผิดระเบียบของโรงเรียน ข. การนอนหลับถือวาเปนการพักผอน เขียนไวขางหลังเมื่อจบประโยคแลว เชน ฉันชอบ เรียนวิชาภาษาไทยมากกวาวิชาอื่นๆ

64

ลําดับที่ เครื่องหมาย ชื่อ วิธีใช 14. มหัตสัญญา เปนการยอหนา ขึ้นบรรทัดใหม ไมมีรูปราง และ เครื่องหมาย วิธีใช เมื่อเปนชื่อเรื่อง หรือหัวขอเขียนไวกลางบรรทัด ถาเปนหัวขอยอย ก็ยอหนาขึ้นบรรทัดใหม ขอความสําคัญ ๆ ที่จัดไว เปนตอน ๆ ควรยอหนา ขึ้นบรรทัดใหม เพื่อใหขอความเดนชัดและเขาใจ งาย อักษรยอ อักษรยอ คือ อักษรที่ใชแทนคํา หรือขอความเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร ลักษณะของอักษรยออาจจะเปนอักษรตัวเดียว อักษรสองตัว หรือมากกวานั้น แลวมีจุดหนึ่งจุด (มหัพภาค) ขางหลัง หรือจุดระหวางตัวอักษรแลวแตการกําหนด หลักเกณฑการเขียนและการอานอักษรยอ 1. การเขียนอักษรยอของคําตาง ๆ มีวิธีการและหลักการซึ่งราชบัณฑิตยสถาน โดย “คณะกรรมการกําหนดหลักเกณฑ เกี่ยวกับการใชภาษาไทย” ไดกําหนดไวดังนี้ ก. ใชพยัญชนะตนของพยางคแรกของคําเปนตัวยอ ถาเปนคําคําเดียวใหใชยอตัวเดียว แมวาคํานั้นจะมีหลายพยางคก็ตาม ตัวอยาง วา ว. จังหวัด จ. 3. นาฬิกา 3.00 น. ศาสตราจารย ศ. ถาใชตัวยอเพียงตัวเดียวแลวทําใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคําถัดไป เปนตัวยอดวยก็ได ตัวอยาง ตํารวจ ตร. อัยการ อก.

65

ข. ถาเปนคําสมาสใหถือเปนคําเดียว และใชพยัญชนะตนของพยางคแรกเพียงตัวเดียว ตัวอยาง มหาวิทยาลัย ม. วิทยาลัย ว. ค. ถาเปนคําประสม ใชพยัญชนะตนของแตละคํา ตัวอยาง ชั่วโมง ชม. โรงเรียน รร. ง. ถาคําประสมประกอบดวยคําหลายคํา มีความยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยัญชนะตน ของคําที่เปนใจความสําคัญ ทั้งนี้ ไมควรเกิน 4 ตัว ตัวอยาง คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กปร. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. จ. ถาใชพยัญชนะของแตล ะคําแลวทําใหเกิดความสับสน ใหใชพยัญชนะตนของพยางค ถัดไปแทน ตัวอยาง พระราชกําหนด พ.ร.ก. พระราชกฤษฎีกา พ.ร.ฎ. ฉ. ถาพยางคที่จะนําพยัญชนะตนมาใชเปนตัวยอมี ห เปนอักษรนํา เชน หญ หล ใหใช พยัญชนะตนนั้นเปนตัวยอ ตัวอยาง สารวัตรใหญ สวญ. ทางหลวง ทล. ช. คําที่พยัญชนะตนเปนอักษรควบกล้ําหรืออักษรนํา ใหใชอักษรตัวหนาตัวเดียว ตัวอยาง ประกาศนียบัตร ป. ถนน ถ. เปรียญ ป. ซ. ตัวยอไมควรใชสระ ยกเวนคําที่เคยใชมากอนแลว ตัวอยาง เมษายน เม.ย. มิถุนายน มิ.ย. ฌ. ตัวยอตองมีจุดกํากับเสมอ ตัวยอตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ใหจุดที่ตัวสุดทายเพียงจุดเดียว ยกเวนตัวที่ใชกันมากอน เชน พ.ศ. น.ศ. ม.ร.ว. เปนตน ตัวอยาง ตําบล ต. ทบวงมหาวิยาลัย ทม.

66

ญ. ใหเวนวรรคหนาตัวยอทุกแบบ ตัวอยาง ประวัติของ อ. พระนครศรีอยุธยา มีขาวจาก กทม. วา ฎ. ใหเวนวรรคระหวางกลุมอักษรยอ ตัวอยาง ศ. นพ. ฏ. การอานคํายอ ตองอานเต็ม ตัวอยาง 05.00 น. อานวา หานาฬิกา อ.พระนครศรีอยุธยา อานวา อําเภอพระนครศรีอยุธยา ยกเวนในกรณี ที่คํา เต็มนั้นยาวมาก และคํายอนั้นเปนที่เขา ใจและยอมรับกันทั่วไป แลวอาจอานตัวยอเรียงตัวไปก็ได ตัวอยาง ก.พ. อานวา กอ พอ 2. การเขียนรหัสตัวพยัญชนะประจําจังหวัด ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ โดยไมมีจุด มหัพภาค ตอทาย เชน กระบี่ ยอเปน กบ นาน ยอเปน นน ราชบุรี ยอเปน รบ กรุงเทพมหานคร ” กท บุรีรัมย ” บร ลพบุรี ” ลบ กาญจนบุรี ” กจ ปทุมธานี ” ปท ลําปาง ” ลป กาฬสินธุ ” กส ประจวบคีรีขันธ ” ปข ลําพูน ” ลพ กําแพงเพชร ” กพ ปราจีนบุรี ” ปจ เลย ” ลย ขอนแกน ” ขก ปตตานี ” ปน ศรีสะเกษ ” ศก จันทบุรี ” จบ พะเยา ” พย สกลนคร ” สน ฉะเชิงเทรา ” ฉช พระนครศรีอยุธยา ” อย สงขลา ” สข ชลบุรี ” ชบ พังงา ” พง สตูล ” สต ชัยนาท ” ชน พัทลุง ” พท สมุทรปราการ ” สป ชันภูมิ ” ชย พิจิตร ” พจ สมุทรสงคราม ” สส เชียงราย ” ชร พิษณุโลก ” พล สมุทรสาคร ” สค เชียงใหม ” ชม เพชรบุรี ” พบ สระบุรี ” สบ ตรัง ” ตง เพชรบูรณ ” พช สิงหบุรี ” สห

67

ฯลฯ กรุงเทพมหานคร กท จะพบในหนังสือราชการ แตโดยทั่วไป ใชกรุงเทพมหานคร เครื่องหมาย เรียกชื่อ วิธีใช ตัวอยาง ใกล ๆ ยมก หรือ ไมยมก ใหเขียนไวหลังคําเพื่อใหอานคํานั้นซ้ํา กันสองครั้ง

เรื่องที่ 4 คําราชาศัพท ราชาศัพท แปลตามศัพท หมายถึง ถอยคําสําหรับพระราชา แตตามตําราหลักภาษาไทย ไดใหความหมายกินขอบเขตไปถึงถอยคําภาษาสําหรับบุคคล 3 ประเภท คือ 1. ศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ 2. ศัพทที่ใชสําหรับพระภิกษุสงฆ 3. ศัพทที่ใชสําหรับสุภาพชน 1. ศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ คําศัพทประเภทนี้เราจะไดฟงหรือไดอานบอยมาก สวนใหญจะเปนขาวหรือเรื่องราวที่ เกี่ยวกับกรณียกิจของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ลักษณะของราชาศัพทประเภทนี้ มีลักษณะเดนที่นาสนใจ คือ 1.1 ใชคําวา ทรง เพื่อใหเปนคํากริยา ทรง นําหนากริยาที่เปนคําไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกําลังกาย ทรง นํา หนา คํา นามที่เปนคํา ไทยแล วใชเปนกริยา เชน ทรงชา ง ทรงมา ทรงเรือใบ ทรง นําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เชน ทรงพระอักษร ทรงพระสําราญ ทรงพระราชนิพนธ 1.2 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพื่อใหเปนคํากริยา เชน ทอดพระเนตร 1.3 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพื่อใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตร ผาเช็ดหนา ถุงพระบาท ถุงเทา ถุงพระหัตถ ถุงมือ การใชคําธรรมดานําหนาคําที่เปนราชาศัพท อยูแลวเพื่อใหเปนคํานาม ยังมีอีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหัตถ ฉลองพระเนตร แวนตา มูลพระชิวหา น้ําลาย

68

1.4 ใชคําวา ตน หรือ หลวง ลงทายคํานามหรือกริยา เชน เสด็จประพาสตน พระแสงปนตน เครื่องตน รถหลวง เรือหลวง 1.5 คําที่กําหนดใหเปนราชาศัพทสามารถจําแนกชนิดตาง ๆ ได เหมือนคําในภาษา สามัญ คือ มีทั้งคํานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ และมีคําลักษณะนามใชเปนพิเศษอีกดวย เชน คํานาม พระเศียร หัว พระนลาฏ หนาผาก พระชนก พอ พระชนนี แม พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบิด มีด คําสรรพนาม ขาพระพุทธเจา กระหมอม หมอมฉัน บุรุษที่ 1 ใตฝาละอองธุลีพระบาท ใตฝาพระบาท ฝาพระบาท บุรุษที่ 2 พระองคทาน พระองค ทาน บุรุษที่ 3 คํากริยา กริยาเปนราชาศัพทอยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา เชน เสด็จ ตรัส เสวย เปนตน นอกนั้น ตองเติมดวยคําวาพระ หรือ ทรงพระราช เพื่อใหเปนคํากริยา เชน ทรงพระอักษร เขียนหนังสือ ทรงพระราชนิพนธ แตงหนังสือ คําวิเศษณ มีแตคําขานรับ ซึ่งแยกตามเพศ คือ หญิงใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับ พระพุทธเจาขา พะยะคะ คําลักษณะนาม ใชคําวา องค กับ พระองค เปนคําที่เกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของรางกายและเครื่องใช ของทาน เชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซี่ ปราสาท 2 องค 1.6 การใชราชาศัพทแบบแผน วิธีพูดในโอกาสตาง ๆ อีกดวย เชน การใชคําขอบคุณ ถา เรากล า วแกพ ระมหากษั ตริ ย ใช ว า “รู สึ ก ขอบพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เป น ลนเกลาฯ” การใชคําขออนุญาต ถาเรากลาวแกพระมหากษัตริย ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต” กลาวเมื่อถวายของ ถาเรากลาวเมื่อถวายของ

69

“ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถึง สิ่งของขนาดเล็ก “ขอพระราชทานนอมเกล า นอมกระหมอม ถวาย....................” หมายถึง สิ่งของขนาดใหญ ยกไมได 2. ศัพทที่ใชสําหรับพระภิกษุสงฆ พระภิกษุเปนผูที่ไดรับความเคารพจากบุคคลทั่วไป ในฐานะที่เปนผูทรงศีล และเปน ผูสืบพระศาสนา การใชถอยคําจึงกําหนดขั้นไวตางหากอีกแบบหนึ่ง เฉพาะองคส มเด็จ พระสั งฆราช ซึ่งถือเปนประมุขแหงสงฆ นั้นกํา หนดใหราชาศัพ ท เทียบเทา กับพระราชวงศชั้นหมอมเจ า แตถา พระภิกษุนั้นเปนพระราชวงศอยูแล วก็คงใหใ ช ราชาศัพทตามลําดับชั้นที่เปนอยูแลวนั้น การใชถอยคํา สํ าหรับพระภิกษุโดยทั่วไปมีขอสังเกตคือ ถา พระภิกษุใชกับพระภิกษุ ดวยกันหรือใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยา งเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพ ทสํา หรับกษัตริย และพระราชวงศคนอื่ นที่พู ดกับทา นหรือพู ดถึงทา นจึงจะใชราชาศัพท แตถาพระองคทานพู ด กับคนอื่นจะใชภาษาสุภาพธรรมดา เชน มีผูพูดถึงพระวา “พระมหาสุนทรกําลังอาพาธอยูในโรงพยาบาล” พระมหาสุนทรพูดถึงตัวทานเองก็ยอมกลาววา “อาตมากําลังอาพาธอยูที่โรงพยาบาล” มีผูพูดถึงพระราชวงศหนึ่งวา “พระองคเจาดิศวรกุมารกําลังประชวร” พระองคเจาเมื่อกลาวพระองคถึงพระองคเองยอมรับสั่งวา “ฉันกําลังปวย” ตัวอยางคําราชาศัพทสําหรับพระภิกษุบางคํา คํานาม

ภัตตาหาร อาหาร ไทยทาน สิ่งของถวาย อาสนะ ที่นั่ง กุฏิ ที่พักในวัด เภสัช ยารักษาโรค ธรรมาสน ที่แสดงธรรม

คําสรรพนาม อาตมา ภิกษุเรียกตนเองกับผูอื่น ผม กระผม ภิกษุเรียกตนเองใชกับภิกษุดวยกัน มหาบพิตร ภิกษุเรียกพระมหากษัตริย โยม ภิกษุเรียกคนธรรมดาที่เปนผูใหญกวา พระคุณเจา คนธรรมดาเรียกสมเด็จพระราชาคณะ ทาน คนธรรมดาเรียกสมเด็จพระราชาคณะ

70

คํากริยา

ประเคน ยกของดวยมือมอบใหพระ ถวาย มอบให ฉัน กิน อาพาธ ปวย มรณภาพ ตาย อนุโมทนา ยินดีดวย จําวัด นอน คําลักษณะนาม รูป เปนลักษณะนามสํา หรับนับจํานวนภิกษุ เชน พระภิกษุ 2 รูป คนทั่วไปนิยมใชคําวา องค 3. คําที่ใชสําหรับสุภาพชน การใชถอยคําสําหรับบุคคลทั่วไป จําเปนตองใชใหสมฐานะและเกียรติยศ ความสัมพันธ ระหว า งผู ที่ ติ ด ต อ สื่ อ สารกั น จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง อายุ เพศ และตํ า แหน ง หน า ที่ ก ารงานด ว ย นอกจากนั้น เวลา และ สถานที่ยังเปนเครื่องกําหนดอีกดวยวา ควรเลือกใชถอยคําอยางไรจึงจะ เหมาะสม ตัวอยางคําสุภาพ เชน คํานาม บิดา พอ มารดา แม และใชคําวาคุณ นําหนาชื่อ เชน คุณพอ คุณลุง คุณประเสริฐ คุณครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ ขี้ ปสสาวะ เยี่ยว โค วัว กระบือ ควาย สุนัข หมา สุกร หมู คํากริยา รับประทานอาหาร กิน ถึงแกกรรม ตาย คลอดบุตร ออกลูก ทราบ รู เรียน บอกใหรู คําสรรพนาม ดิฉัน ผม กระผม บุรุษที่ 1 คุณ ทาน เธอ บุรุษที่ 2 และ 3 การใชสรรพนามใหสุภาพ คนไทยนิยมเรียกตามตําแหนงหนาที่ดวย เชน ทานอธิบดี ทานหัวหนากอง เปนตน คําวิเศษณ คําขานรับ เชน คะ เจาคะ ครับ ครับผม เปนตน คําขอรอง เชน โปรด ไดโปรด กรุณา เปนตน คําลักษณะนาม ลักษณะนามเพื่อยกยอง เชน อาจารย 5 ทาน แทนคําวา คน ลักษณะนามเพื่อใหสภุ าพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคําวา ลูก ผลไม 5 ผล แทนคําวา ลูก

71

เรื่องที่ 5 ภาษาพูดและภาษาเขียน ลักษณะของภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาพูด หมายถึง เสียงที่เปลงออกมา เพื่อใชสื่อสารในการพูดคุยสนทนากับบุคคลตาง ๆ ซึ่งไมเนนความเปนทางการมากนัก ภาษาเขียน หมายถึง สัญลักษณที่ใชในการแทนเสี ยง และใชเขียนเพื่ อติดตอสื่ อสารกับ ผูอื่น ซึ่งมักจะเปนความเปนทางการ

ตัวอยาง ภาษาพูด ชั้น เคา มั้ย

ภาษาเขียน ฉัน เขา ไหม

ภาษาพูด ทําไง กระได เทาไหร

ภาษาเขียน ทําอยางไร บันได เทาไร

การใชภาษาพู ด และภาษาเขียน ควรใชใหเหมาะสมกับบุคคล และสถานการณ ในการ สื่อสาร เชน ถาเราพูดคุยกันเพื่อนก็ใชภาษาพูด ถาติดตอสื่อสารกับครู ผูใหญ หนวยงานราชการ ในการรายงาน จดหมาย บันทึกการประชุม เปนตน การใชภาษาพูด และภาษาเขียน ภาษาพูด บางทีเราก็เรียกวา ภาษาปาก หรือภาษาเฉพาะกลุม เชน กลุมวัยรุน กลุมเพื่อน สนิท กลุมมอเตอรไซครับจาง ซึ่งภาษาพูดไมเครงครัดในหลักภาษา บางครั้งฟงแลวไมสุภาพ มักใช ระหวางผูสนิทสนม และใชในบทสนทนาของตัวละครในบทละคร เพื่ อความเหมาะสมกับฐานะ ตัวละคร ภาษาเขียน จะมีลั ก ษณะเครงครั ดในหลั กภาษา ระดั บที่เครงครัด มากเรียกวา ภาษา แบบแผนใชเขียนสื่อสารที่เปนทางการ เขียนติดตอราชการ เปนตน สวนระดับเครงครัดไมมากนัก เรียกว า ภาษากึ่งแบบแผน หรื อภาษาไมเป นทางการ จะใชใ นการเขียนในวรรณกรรม เขีย น บทความ คําประพันธ การเขียนคําขวัญ และเขียนโฆษณา เปนตน

72

ลักษณะเปรียบเทียบภาษาพูด กับภาษาเขียน 1. ภาษาพู ด เป นภาษาเฉพาะกลุ ม หรื อวั ย จะมีก ารเปลี่ ย นแปลงคํ า พู ดอยูเ สมอ เช น ภาษาพูด – ภาษาเขียน วัยโจ – วัยรุน, แหว – ผิดหวัง, โหลยโทย – แยมาก, ดิ้น – เตนรํา เซ็ง – เบื่อ เปนตน 2. ภาษาพู ดมักเปนภาษาไทยแท เปนภาษาชาวบา น เขาใจงาย ส วนภาษาเขียนมักจะ ใชภาษาแบบแผน ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาบาลี สันสกฤต เชน ภาษาพู ด – ภาษาเขีย น ในหลวง – พระมหากษัตริ ย, เมี ย – อนุภ รรยา, ปอดลอย – หวาดกลัว, เกือก – รองเทา, ตีนเปลา – เทาเปลา เปนตน 3. ภาษาพูดมักจะเปลี่ยนแปลงเสียง และนิยมตัดคําใหสั้นลง แตภาษาเขียนจะเครงครัด ตามรูปคําเดิม เชน ภาษาพูด – ภาษาเขียน เพ – พี่, ใชปะ – ใชหรือเปลา, ใชมะ – ใชไหม เปนตน 4. ภาษาพูดที่ยืมคําจากภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน เมื่อนํามาใช มักจะตัดคําใหสั้นลง สวนภาษาเขียนจะใชคําแปลภาษาไทย หรือคําทับศัพท เชน ภาษาพูด – ภาษาเขียน แอบ (abnormal) – ผิดปกติ, กอบ (copy) – สําเนาตนฉบับ, เวอร (over) – เกินควร, กุนซือ (ภาษาจีน) – ที่ปรึกษา, บวย (ภาษาจีน) – สุดทาย เปนตน ความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียน การจะตัดสินวาคําใดเปนภาษาพูด คําใดเปนภาษาเขียนนั้นเปนเรื่องยากมาก ทั้งนี้ เพราะขึ้นอยูกับกาลเทศะ และบุคคลที่จะสื่อสาร และใชคํานั้น ๆ และบางคําเปนคํากลาง ๆ ใชได ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียนพอสรุปไดดังนี้ 1. คํา บางคํา จะใชเฉพาะในภาษาพู ดเทา นั้น ภาษาเขียนจะไมใชเลย เชน แย เยอะแยะ โอโฮ จบไปเลย เปนตน 2. ภาษาเขีย นจะไมใชสํ า นวนเปรียบเทีย บ หรือคํา แสลงที่ยังไมเปนที่ ยอมรับในภาษา เชน คําวา โดดรม ชักดาบ และพลิกล็อค เปนตน 3. ภาษาเขียนจะเรียบเรียงถอยคํา ใหส ละสลวยชัดเจนไมซ้ํา คํา ซ้ํา ความโดยไมจํ า เปน สวนภาษาพูด อาจจะมีการซ้ําคํา และซ้ําความได เชน การพูดกลับไปกลับมา เปนย้ําคําเพื่อเนน ขอความนั้น ๆ 4. ภาษาเขียน ผูเขียนไมมีโอกาสเปลี่ยนแปลงแกไขไดเมื่อเขียนเสร็จเรียบรอยแลว แตภาษาพูดผูพูดมีโอกาสชี้แจงแกไขไดในตอนทาย

73

5. การใชคําในภาษาเขียน ใชคํามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซึ่งนิยมใชเฉพาะราชการ และขอเขียนที่เปนวิชาการมากกวาภาษาพูด เชน ภาษาเขียน – ภาษาพูด สุ นัข – หมา, กระบือ – ควาย, แพทย – หมอ, ภาพยนตร – หนัง, ถึงแกกรรม – ตาย, ปวดศีรษะ – ปวดหัว, เงิน – ตังค เปนตน 6. ภาษาพู ดมักจะออกเสี ยงไมตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอยางหนึ่งแตเวลาออกเสี ยง จะเพี้ยนเสียงไป และสวนมากจะเปนเสียงสระ เชน ภาษาเขียน – ภาษาพูด หรือ – เหรอ, เรอะ, แมลงวัน – แมงวัน เปนตน 7. ภาษาพูด สามารถแสดงอารมณของผูพูดไดดีกวาภาษาเขียน เพราะภาษาพูดมีการเนน เสียงสั้นยาว สูงต่ํา ไดตามความตองการ เชน ภาษาเขียน – ภาษาพูด ตาย – ตาย, ใช – ชาย, ไป – ไป เปนตน 8. ภาษาพู ด นิยมใชคํา ซ้ํา และคํา ซอน บางชนิดชวยเนนความหมายของคํา ใหชัดเจน ยิ่งขึ้น เชน คําซ้ําดี๊ดี, อานเอิ่น, อาหงอาหาร, และคําซอน เชน คํามิดหมี, ทองหยอง, เดินเหิน เปนตน 9. ภาษาพู ดนิยมใชคํา ชวยพู ด หรือคําลงทาย เพื่ อใหการพู ดสุ ภาพ และไพเราะยิ่งขึ้น เชน นั่งนิ่ง ๆ ซิจะ, จะไปไหนคะ, ไปตลาดคะ เปนตน

เรื่องที่ 6 การใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนที่ส ละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการ ออกเสี ยง ลั กษณะนิสั ยคนไทยเปนคนเจ า บทเจ า กลอน เวลาพู ดหรือเขี ยนจึ งนิยมใชถอยคํ า สํา นวนปนอยูเสมอ คํา สํา นวนตาง ๆ เหลา นี้ชวยใหการสื่ อสารมีความหมายชัดเจน ไดความ ไพเราะ ถา ยทอดอารมณความรูสึ กไดดี บางครั้งใชเปนการสื่อความหมายเพื่อเปรียบเปรยได อยางคมคายลึกซึ้ง เหมาะสมกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนไทย ซึ่งแสดงถึงอัธยาศัยที่ดีตอ คนอื่นเปนพื้นฐาน ประเภทของถอยคําสํานวน 1. ถอยคําสํานวน เปนสํานวนคําที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคําใหม เชน คําผสม คําซอน หรือคําที่เกิดจากการผสมคําหลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย ไมแปลตรงตามรูปศัพท แตมีความหมายในเชิงอุปไมย เชน

74

ไกออน กิ่งทองใบหยก เกลือจิ้มเกลือ แกวงเทาหาเสี้ยน ขิงก็ราขาก็แรง แขวนนวม คว่ําบาตร คมในฝก

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

คนที่ยังไมชํานาญในชั้นเชิง ความเหมาะสมของคูกันนั้นมีมาก มีความดุรายเขาหากัน แกเผ็ดกัน การหาเรื่องเดือดรอน ตางฝายก็รายเขาหากัน เลิกการกระทําที่เคยทํามากอน การบอกปฏิเสธไมคบคาสมาคมดวย มีความฉลาดรอบรูแตยังไมแสดงออก เมื่อไมถึงเวลา งามหนา หมายถึง นาขายหนา งูกินหาง หมายถึง เกี่ยวโยงกันเปนทอดๆ จนตรอก หมายถึง หมดหนทางที่จะหนีได จระเขขวางคลอง หมายถึง คอยกีดกันไมใหคนอื่นทําอะไรไดสะดวก ชักหนาไมถึงหลัง หมายถึง รายไดไมพอจับจาย ชุบมือเปบ หมายถึง ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอื่น หญาปากคอก หมายถึง เรื่องงายๆ คิดไมถึง 2. คําพังเพย หมายถึง ถอยคําที่กลาวขึ้นมาลอย ๆ เปนกลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ สามารถนําไปตีความแลวนําไปใชพูด หรือเขียนใหเหมาะสมกับเรื่องที่เราตองการสื่อสารความหมายได มีลักษณะคลายคลึงกับสุภาษิตมาก อาจเปนคํากลาวติ ชม หรือแสดงความคิดเห็น เชน รําไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนที่ทําอะไรผิดแลวมักกลาวโทษสิ่งอื่น ขี่ชางจับตั๊กแตน หมายถึง การลงทุนมากเพื่อทํางานที่ไดผลเล็กนอย ชี้โพรงใหกระรอก หมายถึง การแนะนําใหคนอื่นทําในทางไมดี เสียนอยเสียยาก หมายถึง การไมรูวาสิ่งไหนจําเปนหรือไมจําเปน เสียมากเสียงาย ใชจายไมเหมาะสม คําพังเพยเหลานี้ยังไมเปนสุภาษิตก็เพราะวา การกลาวนั้นยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง ที่แนนอน ยังไมไดเปนคําสอนที่แทจริง 3. สุภาษิต หมายถึง คํากลาวดี คําพูดที่ถือเปนคติ เพื่ออบรมสั่งสอนใหทําความดี ละเวนความชั่ว สุภาษิตสวนใหญมักเกิดจากหลักธรรมคําสอน นิทานชาดก เหตุการณ หรือ คําสั่งสอนของบุคคลสําคัญ ซึ่งเปนที่เคารพนับถือ เลื่อมใสของประชาชน ตัวอยางเชน

75

ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน ทําดีไดดีทําชั่วไดชั่ว ใจเปนนายกายเปนบาว ที่ใดมีรักที่นั่นเปนทุกข หวานพืชเชนไรยอมไดผลเชนนั้น ความพยายามอยูที่ไหนความสําเร็จอยูที่นั่น ฯลฯ ตัวอยางการนําคําพังเพยไปใชในความหมายเปรียบเทียบ เมื่อกอนนี้ดูไมคอยสวย เดี๋ยวนี้แตงตัวสวยมากนี่แหละ ไกงามเพราะขน คนงานเพราะแตง เจามันฐานะต่ําตอยจะไปรักลูกสาวคนรวยไดยังไง ตักน้ําใสกะโหลกชะโงกดูเงา ตนเอง เสียบาง เราอยาไปทําอะไรแขงกับเขาเลย เขากับเราไมเหมือนกัน อยาเห็นชางขี้ขี้ตามชาง แหม...ฉันว าฉันหนีจากเพื่ อนเกา ที่เลวแลวมาเจอเพื่อนใหมก็พอ ๆ กัน มันเขาตํา รา หนีเสือ ปะจระเข เขาชอบถวงความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอื่ นอีกนี่แหละ คนมือ ไมพาย เอาเทาราน้ํา 4 อุปมาอุ ปไมย หมายถึง ถอยคํา ที่เปนสํานวนพวกหนึ่ง กล าวทํานองเปรียบเทียบ ใหเห็นจริงเขาใจแจมแจงชัดเจน และสละสลวยนาฟงมากขึ้น การพูดหรือการเขียนนิยมหาคํา อุปมาอุปไมยมาเติมใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขา ใจงา ย เชน คนดุ หากตองการให ความหมายชัดเจน นาฟง และเกิดภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระมาก การสื่อความยังไมชัดเจนไมเห็นภาพ ตองอุปมาอุปไมยวา “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด” หรือ “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร” ก็จะทําใหเขาใจความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในการเขียนบทรอยแกวหรือรอยกรองก็ตาม เราไมอาจเขียนใหละเอียดลึกซึ้ง เพื่อสื่ อ ความไดแจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได ก็จําเปนตองใชอุปมาเพื่อเปรียบเทียบให ผูรับสารจากเราไดรับรูความจริง ความรูสึ ก โดยการใชคําอุปมาเปรียบเทียบ ในการแตงคํา ประพันธ ก็นิยมใชอุปมากันมากเพราะคําอุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํา นวนการเขียนให ไพเราะนาอาน กินใจ ประทับใจมากขึ้น สังเกตการใชอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบในตัวอยางตอไปนี้ ทานจะไปทัพครั้งนี้ อยาเพิ่งประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนที่ปรึกษา อุปมา เหมือนเสืออันคะนองอยูในปาใหญ ทานเรงระวังตัวจงดี ตัวอยางอุปมาที่ควรรูจัก แข็งเหมือนเพชร กลมเหมือนมะนาว

กรอบเหมือนขาวเกรียบ กลัวเหมือนหนูกลัวแมว

76

กินเหมือนหมู แกมแดงเหมือนตําลึงสุก ขมเหมือนบอระเพ็ด ขาวเหมือนสําลี เขียวเหมือนพระอินทร งงเปนไกตาแตก เงียบเหมือนปาชา

คดเคี้ยวเหมือนเขาวงกต งายเหมือนปอกกลวยเขาปาก โงเหมือนควาย ใจเสาะเหมือนปอกกลวยเขาปาก เบาเหมือนปุยนุน พูดไมออกเหมือนน้ําทวมปาก รกเหมือนรังหนู

กิจกรรมทายบทที่ 5 หลักการใชภาษา (10 คะแนน) ใหผูเรียนเขียนคําตาง ๆ ตามที่กําหนด พรอมใหความหมายที่ถูกตองอยางละ 5 คํา - คําราชาศัพท - สํานวน - สุภาษิต - คําพังเพย - คําสุภาพ

77

บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม เรื่องที่ 1 ความหมายวรรณคดี และวรรณกรรม วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือที่ไดรับการยกยองวาแตงดี กลาวคือ มีลักษณะ เดนในการใชถอยคํา ภาษา และเดนในการประพันธ ใหคุณคาทางอารมณและความรูสึกแกผูอาน โดยแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ 1. มีเนื้อหาดี มีประโยชน และเปนสุภาษิต 2. มีศิลปะการแตงที่ยอดเยี่ยมทั้งดานศิลปะการใชคํา โวหาร และถูกตองตาม หลักไวยากรณ 3. เปนหนังสือที่ไดรับความนิยมและสืบทอดกันมายาวนานกวา 100 ป คุณคาของวรรณคดี มี 2 ประการ คือ 1. คุณ ค า ทางสุ น ทรียภาพหรือความงาม เชน ศิล ปะของการประพั น ธทั้งการบรรยาย การเปรียบเทียบการเลือกสรรถอยคําใหมีความเหมาะสม กระทบอารมณ ผูอา น มีสัมผั สใหเกิด ความไพเราะ เปนตน 2. คุณ คาทางสารประโยชน เปนคุณ คา ทางสติปญญาและสั งคม วรรณคดีจ ะเขียนตาม ความเปนจริงของชีวิต ใหคติส อนใจแกผู อา น สอดแทรกสภาพของสั ง คม วัฒนธรรมประเพณี ทําใหผูอานมีโลกทัศนกวางขึ้น วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสือ งานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด เชน หนังสือ จุลสาร สื่อเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึก เสียง ภาพ ประเภทของวรรณกรรม แบงตามเนื้อหา 4 ประเภท 1. ประเภทร อยแก ว คื อ วรรณกรรมที่ไ ม มีลั กษณะบั งคั บ ไมบั ง คับ จํ า นวนคํา สั ม ผั ส หรือเสียงหนักเบา วรรณกรรมที่แตงดวยรอยแกว ไดแก นิทาน นิยาย นวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ ขาว 2. ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวาฉันทลักษณ เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมประเภทรอยกรอง ไดแก บทละคร นวนิยาย บทพรรณนา บทสดุดี

78

3. สารคดี เปนหนังสือที่แตงขึ้นเพื่ อใหความรู ความคิด ประสบการณ แกผูอาน จะเปน รูปแบบรอยแกวหรือรอยกรองก็ได เชน สารคดีทองเที่ยว ชีวประวัติ บันทึกจดหมายเหตุ หนังสือ คติธรรม บทความ 4. บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมที่แตงขึ้น เพื่อมุงใหความเพลิดเพลินสนุกสนาน เชน เรื่องสั้น นิทาน นวนิยาย บทละครพูด

เรื่องที่ 2 วรรณกรรมปจจุบัน วรรณกรรมปจ จุ บัน หมายถึ ง วรรณกรรมที่มีลั ก ษณะต า ง ๆ เปลี่ ยนแปลงไปจากเดิ ม เพราะรับอิทธิพ ลหรือแนวคิดของชาวตะวันตก เปนวรรณกรรมที่ไมเนนวรรณศิล ปทางภาษา มากนัก ไมเนน ในเรื่องของการใชภาษา แตเ นนในเรื่องของการสื่ อแนวคิด สื่ อขอคิดแกผู อา น มากกวา ไดแก วรรณกรรมประเภทรอยแกว ในปจจุบันจะอยูในรูปของบันเทิงคดี เชน เรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน บทละคร สารคดี วรรณกรรมประเภทรอยกรอง ในปจจุบันเปนวรรณกรรมที่แตกตางจากเดิมคือวรรณกรรม ที่ไมเนนวรรณศิล ปทางภาษามากนัก ไมเนนในเรื่องการใชภาษาแตเนนไปในเรื่องของการสื่ อ แนวคิด สื่อขอคิดแกผูอานมากกวา ลักษณะวรรณกรรมปจจุบัน วรรณกรรมปจจุบัน มีลักษณะดังนี้ 1. รูปแบบ วรรณกรรมปจจุ บันมีรูปแบบการแตงขยายตัวมากขึ้นกวาวรรณกรรมในอดีต เชน สารคดี นวนิยายและเรื่องสั้ น บทละคร บทรอยกรองซึ่งใชถอยคํางาย ๆ ไมเครงครัดดา น ฉันทลักษณ 2. เนื้อหา ซึ่งตางจากวรรณกรรมในอดีตที่ไมมุงเนนศิลปะการแตง โดยเสนออารมณของ คนดูคนอานดวยภาพของจริง สิ่งที่ใกลตัว สิ่งที่พบเห็นไดจริง จะเนนเรื่องการเสนอขอคิด หรือ ความคิดเห็น 3. แนวคิดหรือปรัชญาของเรื่อง วรรณกรรมปจจุบันโดยเฉพาะนวนิยาย เรื่องสั้นมีกลวิธี การนําเสนอเรื่องใหนาติดตามอยางมากมาย ตั้งแตการเปดเรื่อง ปดเรื่องใหนาสนใจและประทับใจ

79

เรื่องที่ 3 วรรณกรรมทองถิ่น วรรณกรรมท องถิ่น หมายถึง เรื่องราวของชาวบา นที่เล า สื บ ตอกันมาหลายชั่วอายุค น ทั้งการพูดและการเขียนในรูปของคติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําที่มี หลากหลายรูปแบบ เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย ภาษิต คํา คม บทเทศน และคํากลาวในพิธีกรรมตาง ๆ ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่น 1. วรรณกรรมทองถิ่น โดยทั่วไปมีวัดเปนศูนยกลางเผยแพรกวีผู ประพั นธ สวนมาก คือ พระภิกษุ และชาวบาน 2. ภาษาที่ ใช เป น ภาษาถิ่ น ใชถ อ ยคํ า สํ า นวนที่เ รี ยบง า ย ชาวบ า นทั่ ว ไปรูเ รื่ องและใช ฉันทลักษณที่นิยมในทองถิ่นนั้นเปนสําคัญ 3. เนื้อเรื่องสวนใหญเปนเรื่องจั กร ๆ วงศ ๆ มุงความบันเทิงและสอดแทรกคติธรรมทาง พุทธศาสนา 4. ยึดคา นิย มและปรัชญาพุ ทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรื อธรรมะยอ มชนะอธรรม เปนตน ประเภทวรรณกรรมทองถิ่น วรรณกรรมทองถิ่นแบงไดเปน 2 ประเภทคือ 1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขียนเปนลายลั กษณ อักษรเปนวรรณกรรม ปากเปล า ถา ยทอดโดยการบอกหรือการเล า หรือการรอง ไดแก บทกล อมเด็ก นิทานพื้ นบา น ปริศนาคําทาย ภาษิต 2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณอักษร ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตร ในทองถิ่น และตําราความรูตาง ๆ คุณคาของวรรณกรรมทองถิ่น 1. คุณคาตอการอธิบาย ความเปนมาของชุมชนและเผาพันธุ 2. สะทอนใหเห็นโลกทัศนและคานิยมตาง ๆ ของแตละทองถิ่นโดยผานทางวรรณกรรม 3. เปนเครื่องมืออบรมสั่งสอนจริยธรรมของคนในสังคมสามารถนําไปประยุกตใชในสังคม ปจจุบันได 4. เปน แหล งบั นทึ กขอ มูล เกี่ย วกั บวัฒ นธรรมประเพณี และการดํา เนิ นชีวิ ตของคนใน ทองถิ่น

80

เรื่องที่ 4 หลักการและแนวทางการพิจารณาวรรณคดี การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหนึ่งอยางสั้น ๆ โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีนั้นใหผูอานรูจักวามีเนื้อเรื่องอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร ผูพิจารณามีความคิดเห็นอยางไรตอวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะ การวิจารณวรรณกรรม หลักการพิจารณาวรรณคดี 1. แยกองคประกอบของหนังสือหรือวรรณคดีที่จะวิจารณใหได 2. ทําความเขาใจองคประกอบที่แยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน 3. พิจารณาหรือวิเคราะหหนังสือหรือวรรณคดีตามหัวขอตอไปนี้ 3.1 ประวัติความเปนมาและประวัติผูแตง 3.2 ลักษณะการประพันธ 3.3 เรื่องยอ 3.4 การวิเคราะหเรื่อง 3.5 แนวคิดและจุดมุงหมายในการแตง 3.6 คุณคาดานตาง ๆ การพินิจคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมมี 4 ประเด็นดังนี้ 1. คุณคาดานวรรณศิล ป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซึ่งอาจจะเกิดจากรสของคํา ที่ผูแตงเลือกใชและรสความไพเราะที่ใหความหมายกระทบใจผูอาน 2. คุณคาดานเนื้อหา คือ การใหความรูสึกในดานตาง ๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิด แกผูอาน 3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและ วรรณกรรมที่ดีสามารถจรรโลงสังคมไดอีกดวย 4. การนําไปประยุกตใชในชีวิตประจํา วัน เพื่ อใหผู อา นไดประจักษในคุณ คาของชีวิตได ความคิดและประสบการณจ ากเรื่องที่อาน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต นํา ไปเปนแนวปฏิบัติ หรือแกปญหารอบ ๆ ตัว แนวทางในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวาง ๆ เพื่อใหครอบคลุมงานเขียน ทุกชนิด ซึ่งผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไร ซึ่งจะมีแนวในการ พินิจที่จะตองประยุกตหรือปรับใชใหเหมาะสมกับงานเขียนนั้น ๆ

81

หลักเกณฑกวาง ๆ ในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม มีดังนี้ 1. ความเปนมาหรือประวัติของหนังสือและผูแตงเพื่อชวยใหวิเคราะหในสวนอื่น ๆ ไดดีขึ้น 2. ลักษณะคําประพันธ 3. เรื่องยอ 4. เนื้อเรื่อง ใหวิเคราะหเรื่องตามหัวขอตามลํ าดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ได ตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใชถอยคํา สํานวนในเรื่อง การแตงวิธีคิดที่สรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน เปนตน 5. แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวในเรื่องซึ่งจะตองวิเคราะหออกมา 6. คุ ณ ค า ของวรรณคดี แ ละวรรณกรรม ซึ่ ง ผู พิ นิ จ จะต อ งไปแยกแยะหั ว ข อ ย อ ยให สอดคลองกับลักษณะหนังสือที่จะพินิจนั้น ๆ ตามความเหมาะสมตอไป การอานวรรณคดีเพื่อพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลป วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะ ในการแตงหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมที่ถึงขึ้นวรรณคดี หนังสือที่ไดรับการยกยอง วาแตงดี จากความหมายนี้ การพิ จ ารณาคุณคา ดา นวรรณศิลปตองศึกษาตั้งแตการเลื อกชนิดคํา ประพันธใหเหมาะสมกับประเภทงานเขียน ถูกตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรือตัวละคร ในเรื่องและรสวรรณคดี การรูจักตกแตงถอยคําใหไพเราะสละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะภาษากวี และทําใหผูอานเกิดความสะเทือนอารมณ ภาษากวีเพื่อสรางความงดงามไพเราะแกบทรอยแกวรอยกรองนั้น มีหลักสําคัญที่เกี่ยวของ กัน 3 ดาน ดังนี้ 1. การสรรคํา 2. การเรียบเรียงคํา 3. การใชโวหาร การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหสื่ อความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและอารมณ ไดอยาง งดงามโดยคํานึงถึงความงามดานเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ การสรรคําทําไดดังนี้ การเลือกคําใหเหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง การใชคําใหถูกตองตรงตามความหมาย การเลือกใชคําพองเสียง คําซ้ํา การเลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียงสัมผัส

82

การเลือกใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลือกใชคําไวพจนไดถูกตองตรงตามความหมาย การเรียบเรียงคํา คือ การจัดวางคําที่เลื อกสรรแลวใหมาเรียงรอยกันอยางตอเนื่องตาม จังหวะ ตามโครงสรางภาษาหรือตามฉันทลักษณ ซึ่งมีหลายวิธี เชน จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญจากนอยไปหามาก จนถึงสิ่งสําคัญสูงสุด จัดลํา ดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญนอยไปหามาก แตกลับหักมุมความคิดผูอา น เมื่อถึงจุดสุด จัดลําดับคําใหเปนคําถามแตไมตองการคําตอบหรือมีคําตอบอยูในตัวคําถามแลว เรียงถอยคําเพื่อใหผูอานแปลความหมายไปในทางตรงขามเพื่อเจตนาเยาะเยย ถากถาง เรียงคําวลี ประโยคที่มีความสําคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป การใชโวหาร คือ การใชถ อยคํา เพื่ อ ใหผู อา นเกิดจิ นตภาพเรียกว า “ภาพพจน” ซึ่ง มี หลายวิธีที่ควรรูจัก ไดแก อุป มา คือ การเปรียบเทียบสิ่ งหนึ่งวา เหมือนกับสิ่ งหนึ่ง โดยมีคําเปรียบปรากฏอยูดวย คําเปรียบเทียบเหลานี้ไดแก เหมือน ดุจ เลห เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน อุป ลัก ษณ คือ การเนนความหมายวา สิ่ งหนึ่งเหมือนกับสิ่ งหนึ่งมากจนเหมือนกับเปน สิ่งเดียวกันโดยใชคําวา เปน กับ คือ เชน “แมเปนโสมสองหลา” สุจริตคือเกราะบังศาสตรพอง” การพิจารณาวรรณคดีดานสังคม สังคม คือ ชนชาติและชุมชนที่อยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาที่สะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานิยมและ จริยธรรมของคนในสังคมที่วรรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชีวิต เห็นใจความทุกขยากของ เพื่อนมนุษยดวยกันชัดเจนขึ้น ดังนั้นการพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเนื้อหา ภูมิปญญาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมหรือ จริยธรรมของสังคมใหมีสวนกระตุนจิตใจของผูอานใหเขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ พัฒนาสังคมไทยรวมกัน โดยพิจารณาตามหัวขอดังนี้ 1. การแสดงออกถึงภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชาติ 2. สะทอนภาพความเปนอยู ความเชื่อ คานิยมในสังคม 3. ไดความรู ความบันเทิง เพลิดเพลินอารมณไปพรอมกัน 4. เนื้อเรื่องและสาระใหแงคิดทั้งคุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม ยกระดับ จิตใจเห็นแบบอยางการกระทําของตัวละครทั้งขอดีและขอควรแกไข

83

จากการพิ จ ารณาตามหัว ขอ ข า งตน นี้ แล ว การพิ จ ารณาคุณ คา วรรณคดี ดา นสั ง คมให พิจารณาโดยแบงออกได 2 ลักษณะใหญ ๆ ดังนี้ ดานนามธรรม ไดแก ความดี ความชั่ว คานิยม จริยธรรมของคนในสังคม ฯลฯ ดานรูปธรรม ไดแก สภาพความเปนอยู วิถีชีวิต การแตงกายและการกอสรางทางวัตถุ ฯลฯ

เรื่องที่ 5 เพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ความหมายของเพลงพื้นบาน เพลงพื้ นบา น คือ บทเพลงที่เกิดจากคนในทองถิ่นตา ง ๆ คิดรูป แบบการรอง การเล น เปนบทเพลงที่มีทวงทํา นอง ภาษาเรียบงา ย ไมซับซอน มุงความสนุกสนานรื่ นเริง ใชเลนกันใน โอกาสตาง ๆ เชน สงกรานต ตรุษจีน ลอยกระทง การเกี่ยวขาว นวดขาว ลักษณะของเพลงพื้นบาน เพลงพื้นบานจะมีลักษณะเดน ๆ ดังนี้ 1. สํ า นวนภาษาใชธรรมดาพื้ น ๆ ไมมีบาลี สั นสกฤตปน ฟ งเขา ใจงา ย ถอยคํา คมคาย อยูในตัวทําใหเกิดความสนุกสนาน 2. มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความคมคายในการใชภาษากระทบกระเทียบเปรียบ เปรยชวนใหคิด จากประสบการณที่พบเห็นในวิถีชีวิตทองถิ่น 3. มีภาษาถิ่นปะปนอยูทําใหสะทอนใหเห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิตประเพณีความเชื่อ 4. มีลักษณะภาษาตองคลองจองกัน เชน เพลงลามะลิลา ไปเอยไป 5. มักจะมีคํารองซ้ํา เชน เพลงพวงมาลัย เพลงฉอย เปนตน ประเภทของเพลงพื้นบาน แบงตามการเลนได 2 ประเภทคือ 1. เพลงเด็ก จําแนกได 4 ประเภทคือ 1.1 เพลงรองเลน เชน โยกเยกเอย 1.2 เพลงหยอกเลน เชน ผมจุก ผมมา 1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใครมา น้ําตาใครไหล 1.4 เพลงประกอบการเลน เชน จ้ําจี้มะเขือเปาะ

84

2. เพลงผูใหญ 2.1 เพลงกลอมเด็ก 2.2 เพลงปฏิพากย เชน เพลงฉอย เพลงรําวง 2.3 เพลงประกอบการเลน เชน รําโทน เขาผี 2.4 เพลงประกอบพิธี เชน ทําขวัญนาค 2.5 เพลงเกี่ยวกับอาชีพ เชน เตนกํารําเคียว 2.6 เพลงแขงขัน คุณคาของเพลงพื้นบาน เพลงพื้ นบา นมีคุณ คา อยา งมากที่สํ า คัญคือใหความบันเทิง สนุกสนาน มีน้ํา ใจ สามัคคี ในการทํางานชวยเหลือกัน สะทอนวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต การแตงกาย เพลงกลอมเด็ก เพลงกลอมเด็ก คือ เพลงที่รองเพื่อกลอมเด็กนอย ๆ เกิดความเพลิดเพลินและอบอุนใจจะ ไดหลับงายและหลับสบายเปนเพลงที่มีเนื้อความสั้น ๆ รองงาย ชาวบานในอดีตรองกันไดเนื่องจาก ไดยินไดฟงมาตั้งแตเกิด คือ ไดฟงพอแมรองกลอมตนเอง นอง หลาน ฯลฯ โดยมีจุดประสงคเพื่อ 1. เพลงกลอมเด็กมีหนาที่กลอมใหเด็กหลับโดยตรง ดังนั้นจึงเปนเพลงที่มีทํานองฟงสบาย แสดงความรักใครหวงใยของผูใหญที่มีตอเด็ก 2. เพลงกลอมเด็กมีหนาที่แอบแฝงหลายประการ การสอนภาษาเพื่อใหเด็กออกเสียงตาง ๆ ไดโดยการหัดเลียนเสียง และออกเสียงตาง ๆ ไดเร็วขึ้น เพลงกลอมเด็ก เปนวัฒนธรรมทองถิ่นอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นความเชื่อคานิยมของคน ในทองถิ่นตาง ๆ คนทุกชาติทุกภาษาในโลกมีบทเพลงกลอมเด็กดวยกันทั้งนั้น สันนิษฐานวาเพลง กลอมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเลานิทานใหเด็กฟงกอนนอน ดังนั้น เพลงกลอมเด็กบางเพลงจึงมี ลักษณะเนื้อเรื่องที่เปนเรื่องเปนราว เชน จันทโครพ ไชยเชษฐ พระรถเสน เปนตน การที่ตองมี เพลงกลอมเด็กก็เพื่อใหเด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับงาย เกิดความอบอุนใจ ลักษณะของเพลงกลอมเด็ก ลักษณะกลอนของเพลงกลอมเด็กจะเปนกลอนชาวบาน ไมมีแบบแผนแนนอน เพียงแตมี สัมผั สคล องจองกันบา ง ถอยคํา ที่ใชในบางครั้งอาจไมมีความหมายเนื้อเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอมเรื่องราวตาง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิต ความเปนอยู สะทอนใหเห็นความรักความหวงใยของ แมที่มีตอลูก สั่งสอน เสียดสีสังคม เปนตน สามารถแยกเปนขอ ๆ ไดดังนี้

85

เปนบทรอยกรองสั้น ๆ มีคําคลองจองตอเนื่องกัน มีฉันทลักษณไมแนนอน ใชคํางาย ๆ สั้นหรือยาวก็ได มีจังหวะในการรองและทํานองที่เรียบงาย สนุกสนานจดจําไดงาย กิจกรรมทายบทที่ 6 การอานวรรณกรรม กิจกรรมที่ 6.1 วรรณกรรมประเภทรอยแกว (5 คะแนน) 1. ใหผูเรียนอานหนังสือนวนิยาย เรื่องสั้น ขาว หรือบทความ 1 เรื่อง และอานวรรณคดี เชน

ขุนชาง ขุนแผน รามเกียรติ (หรือหนังสือที่แตงดวยคําประพันธ) 1 เรื่อง 2. ใหผู เรียนอธิบ ายความแตกต า งของหนังสื อ 2 ประเภท พรอมทั้งยกตัว อยา งประกอบ เพิ่มเติม กิจกรรมที่ 6.2 วรรณกรรมประเภทรอยกรอง (5 คะแนน) ใหผูเรียนอานคําประพันธตอไปนี้ พรอมทั้งสรุปเนื้อหา

ถึงบางพูดพูดดีเปนศรีศักดิ์ แมพูดชั่วตัวตายทําลายมิตร เปนมนุษยสุดนิยมที่ลมปาก แมพูดดีมีคนเขาเมตตา

มีคนรักรสถอยอรอยจิต จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา จะพูดจาจงพิเคราะหใหเหมาะความ

อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้นซาก แมเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย

แตลมปากหวานหูมิรูหาย

เจ็บจนตายนั่นเพราะเหน็บใหเจ็บใจ

86

บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ ภาษาไทยมีคุณ คา และความสําคัญมากมายหลายประการ อาทิ มีคุณคา ทางวัฒนธรรม คุณคาดา นการติดตอสื่ อสาร เพื่อการแสวงหาความรู เพื่อการเขา ใจอันดีตอกัน สรางความเปน เอกภาพของคนในชาติ เปนเครื่องจรรโลงใจ และเปนเครื่องมือเปนชองทางในการประกอบอาชีพ ซึ่งปจ จุ บันอาชีพ ที่ใชทักษะภาษาไทยดานการพู ด และการเขียนเปนพื้นฐาน เปนอาชีพ ที่สรา ง ความมั่นคงของชีวิตอีกทางหนึ่ง ซึ่งมีชองทางและอาชีพ ดังนี้

เรื่องที่ 1 อาชีพที่ใชทักษะการพูดเปนชองทางในการประกอบอาชีพ การพู ด เป นทั กษะสํ า คัญ อีก ทักษะหนึ่ง ที่ต องอาศั ยวรรณศิล ป คือ ศิ ล ปะการใชภ าษา ที่จะสามารถโนมนาวใจ กอใหเกิดความนาเชื่อถือ เห็นคลอยตาม สรา งสัมพันธภาพที่ดีระหวา ง ผูพู ดและผูฟ ง หรือโนมนา วใจใหใชบริการหรือซื้อสิ่ งอุปโภคบริโภคในทางธุรกิจ ได การพูดจึงเปนชองทางนําไปสูอาชีพตาง ๆ ไดดังนี้ 1.1 อาชีพดานสื่อสารมวลชนทุกรูปแบบ ทั้งในวงราชการ เอกชน และวงการ ธุรกิจ ไดแก 1.1.1 อาชีพ นักโฆษณาประชาสัมพันธ ทั้งการโฆษณาสินคาและบริการ โฆษณา การจัดงานตาง ๆ ของชุมชน หนวยงานราชการ โดยใชรถประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธ ผานเสียงตามสาย โดยการพบปะติดตอ ตอบคําถามตางๆ เปนขั้นตน และในขั้นที่สู งขึ้นไป คือ การใช ทั ก ษะการพู ดและเขี ยนประกอบกั นเพื่ อ คิ ดหาถ อ ยคํ า ในเชิ งสร า งสรรค ในการโฆษณา ประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ ที่เรียกวาการโฆษณาสินคาและบริการ 1.1.2 อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เปนอีกอาชีพหนึ่งที่ตองใชทักษะในการพูด การมี โวหาร และวาจาคารมที่คมคาย ลึกซึ้งกินใจ เพื่อใหผูฟงติดตามรายการอยางตอเนื่องดวยความ นิยม มีทั้งนักจัดรายการวิทยุชุมชน วิทยุเอกชน และรายการวิทยุของทางราชการ ตลอดจนการใช ภาษาพูดเพื่อสรางความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันของผูฟง เชน นักจัดรายการวิทยุของทางราชการ 1.1.3 อาชีพ พิธีกร ในป จจุ บันอาชีพ พิธีกรเปนอี กอาชีพหนึ่งที่ส ามารถทํารายได อยางดีใหแกผูประกอบอาชีพ ไมวา จะเปนพิธีกรในชุมชนที่ทําหนาที่ในงานของราชการและงาน ของเอกชน เชน พิ ธีกรรงานประจํ า ปต าง ๆ พิ ธีกรการประกวดนางงามของท องถิ่น พิ ธีกรงาน

87

ประเพณี สํ าคัญทางศาสนา พิธีกรงานมงคลสมรส พิ ธีกรงานอุปสมบท พิ ธีกรงานศพหรืองาน พระราชทานเพลิงศพ และพิธีกรงานพิเศษในโอกาสตาง ๆ ของทางราชการ

เรื่องที่ 2 อาชีพที่ใชทักษะการเขียนเปนชองทางกับการประกอบอาชีพ การเขียนเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหนึ่งที่เปนชองทางในการนําภาษาไทยไปใชประโยชนใน การประกอบอาชีพตาง ๆ ได การจะใชภาษาเขียนเพื่อประโยชนในการประกอบอาชีพก็เชนเดียวกับ การพูด คือ ตอ งมีว รรณศิล ปข องภาษา เพื ่อ ใหสิ ่ง ที ่เ ขีย นสามารถดึง ดูด ความสนใจดึง อารมณความรูสึกรวมของผูอาน โนมนาวใจใหผูอานเห็นคลอยตาม และเพื่อสรางความบันเทิงใจ รวมทั้งสรา งความรูความเขา ใจแกผู อา น ตลอดถึงความเปนอันหนึ่ง อันเดีย วกันของสวนรวม อาชีพ ที่ส ามารถนํา ทักษะการเขียนภาษาไทยไปใชเ พื ่อการประกอบอาชีพ ไดโ ดยตรง ไดแ ก อาชีพดังนี้ 2.1 อาชีพ ดา นสื่อ สารมวลชนทุก รู ป แบบ ทั้ งในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิ จ ไดแก อาชีพดังนี้ 2.1.1 อาชีพผู สื่ อขาว ผู เขียนขาว เปนอาชีพ ที่ตองใชศิล ปะการเขียนและการใช ภาษาที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน 2.1.2 อาชีพผูพิสูจนอักษรและบรรณาธิการ เปนอาชีพที่ตองมีความรูในการเขียน การสะกดคํา การใชถอยคําสํานวนภาษา สุภาษิต คําพังเพยและหลักภาษาไทยเปนอยางดี จัดได วาเปนอาชีพที่ชวยธํารงรักษาภาษาไทยไดอาชีพหนึ่ง 2.2 อาชีพดานการสรางสรรคงานศิลปะรูปแบบตาง ๆ ทั้งในวงราชการ เอกชน และ วงการธุรกิจ ไดแกอาชีพ ดังนี้ 2.2.1 อาชีพกวี นักเขียน ทั้งการเขียนสารคดี นวนิยาย เรื่องสั้น การเขียนบทละคร เวที บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร ผูประกอบอาชีพเหลา นี้ นอกจากมีศิลปะการเขียน และ การเลือกใชถอยคําภาษามาใชเปนอยางดีตองเปนคนที่อานมาก ฟงมาก เพื่อนําขอมูลที่ไดรับไปใช ประโยชนในการเขียนสื่อสารสรางความสนุกสนาน บันเทิงใจ จรรโลงใจแกผูอานและควรเปนผูมี ความคิดริเริ่มสรางสรรค และจินตนาการเปนองคประกอบ จึงจะทําใหอาชีพที่ประกอบประสบ ความสําเร็จดวยดี นอกเหนือจากอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแลว ยังมีการประกอบอาชีพ อื่น ๆ อีกที่ใ ชภ าษาไทยเปนชอ งทางโดยออ ม เพื่อ นํา ไปสู ความสําเร็จในอาชีพของตนเอง เชน อาชีพลาม มัคคุเทศก เลขานุการ นักแปล และนัก ฝกอบรม ครู อาจารย เปนตน

88

เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ ในการนําความรูทางภาษาไทย ทั้งทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชีพ นั้นเพียงการศึกษาในชั้นเรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชีพตองเพิ่มพูนความรู และประสบการณดานภาษาและดานตาง ๆ เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ ดังจะ ยกตัวอยางอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงเพื่อเปนตัวอยาง ดังนี้ 1. อาชีพนักโฆษณา - ประชาสัมพันธ เปนอาชีพ ที่ผูประกอบการ ตองเพิ่มพู นความรูในเรื่องการเขียน และการ พู ด แบบสร างสรรค รวมทั้ งฝ กประสบการณ โดยการฝ กเขี ยนบ อย ๆ ตลอดจนการศึ กษาดูงานของ หนวยงาน หรือบริษัทเอกชนที่ประสบความสําเร็จในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม ในการเพิ่มพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชีพดานนี้ ควรศึกษา เนื้อหาความรูที่จะนําไปใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้ 1) ศิล ปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธเปนอาชีพ ที่ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดานประกอบกัน ในการพู ดน้ําเสี ยงตองนุมนวลหรือเราใจขึ้นอยูกั บ สถานการณ ของเรื่องที่จะโฆษณาหรือประชาสั มพันธ รูจั กเลือกใชถอยคํา ที่เปนการใหเกียรติแก ผูฟงหรือเคารพขอมูลที่เจาของงานใหมา 2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่ นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอ ยคํ า ที่ ใ ช ต ามโอกาส กาลเทศะและความสั ม พั น ธ ร ะหว า งบุ ค คลที่ เ ป น ผู สื่ อ สารและผู รั บ สาร ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปนหลายกลุม หลายชนชั้นตามสภาพอาชีพถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษา จึ ง มี ค วามแตกต า งกั น เป น ระดั บ ตามกลุ ม คนที่ ใ ช ภ าษา เช น ถ อ ยคํ า ที่ ใ ช กั บ พระภิ ก ษุ ส งฆ แ ละ พระราชวงศ อาจใชถอยคําอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็อาจจะใชภาษาอีก อยางหนึ่ง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึ งตองคํา นึงถึงความเหมาะสมและเลื อกใชใหถูกตองเหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล ในภาษาไทย จะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ 2.1) ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธีหรืองานพิธีของรัฐ

89

2.2) ภาษาระดั บ ทางการ เป น ภาษาที่ ใ ช ใ นที่ ป ระชุ ม ที่ มี แ บบแผนการบรรยาย การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน 2.3) ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุ มในห องเรียน การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ 2.4) ภาษาระดั บสนทนาทั่ วไป เปน ภาษาที่ ใ ชส นทนาทั่ ว ๆ ไป กั บคนที่ ไ มคุ นเคย มากนัก เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน 2.5) ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา ของครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยูในวงจํากัด 3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฏในการสื่อสาร ซึ่งนักโฆษณาประชาสัมพันธตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมา ในทางที่ไมพึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง 4) ดา นการพัฒนาบุคลิ กภาพ ในบางครั้งนักโฆษณา - ประชาสั มพั นธตองปรากฏตัวตอ บุคคลทั่วไปในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่ และงานทั่วไป ซึ่งจะชวยสรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง 5) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักโฆษณา - ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู ติด ตามขา วสารขอ มูล ทุก ดา นอยา งสม่ํา เสมอ เพื ่อ นํา มาใชเ ปน ขอ มูล ในการพัฒ นาการ โฆษณา - ประชาสั ม พั น ธ ให น า สนใจอยูต ลอดเวลา รวมทั้ ง ต อ งแสวงหาความรู ใ นด า นการ ประเมินผล เพื่ อใชประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการ ตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพใหดียิ่งขึ้น 2. อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เปนอาชีพ ที่ผู ประกอบการตองเปน คนที่ ตรงต อเวลา มีจ รรยาบรรณวิชาชี พ มี ความ เปนกลางในการนํา เสนอขา วสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนา และตองเพิ่ มพู นความรูในเรื่อง การเขีย น และการพู ด เพราะการเปน นักจั ดรายการวิ ทยุ ผู จั ดต องเขีย นสคริป ตที่จ ะใชในการ ดํา เนิ นรายการไดเ อง และพู ด ตามสคริ ปต ได อย า งเป นธรรมชาติ รวมทั้ง ตอ งอ า นมาก ฟ ง มาก เพื่ อเก็บ รวบรวมขอ มูล ไว ใ ชใ นการจัด ทํ า รายการวิท ยุ ซึ ่ง มีส ถานที่ที ่ผู ป ระกอบการสามารถ ฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของภาครัฐและเอกชน

90

องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม ในการเพิ่มพูนความรูเพื่อการเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี ผูประกอบอาชีพดานนี้ควรศึกษา เนื้อหาความรูที่จะนํามาใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้ 1) ศิล ปะการพู ด และศิล ปะการเขี ยน เพราะเปนอาชีพ ที่ตอ งอาศัยศาสตรทั้ง สองดา น ประกอบกัน 2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอ ยคํา ที ่ใ ชต ามโอกาส กาลเทศะ และความสัม พัน ธร ะหวา งบุค คลที่เ ปน ผู ส ง สารและ ผู รับสาร ซึ่ งกลุ มบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุ ม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยู อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตา งกันเปนระดับ ตามกลุ มคนที่ใชภาษา เชน ถอยคํา ที่ใ ชกับ พระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสาร ถึงผูอาน ก็จะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํา นึงถึงความเหมาะสมและ เลือกใชใหถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ 2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษาที่ใชในที่ประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน 2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน 2.4 ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนัก เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน 2.5 ภาษาระดั บกั นเอง เปน ภาษาระดับ ที่เรี ยกวา ระดั บปากเป นภาษาสนทนาของ ครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยูในวงจํากัด 3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูส งสารที่ปรากฏ ใหรูสึ กหรือเปนร องรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูส งสารตองการจะสื่ อออกมาเปนความรูสึ กแฝง ที่ปรากฏในการสื่อสาร ซึ่งนักจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมาในทาง ที่ไมพึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง 4) เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คําราชาศัพท การออกเสียง ร ล และการออกเสียงคําควบกล้ํา

91

5) ดา นการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนักจัดรายการวิทยุตองปรากฏตัวตอบุคคลทั่วไป ในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานที่ไป ซึ่งจะชวยสรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง 6) การพั ฒนาองคความรูในตนเอง นักจั ดรายการวิทยุ ตองหมั่ นแสวงหาความรูติดตาม ขา วสารขอมูล ทุกดา นอยา งสม่ํา เสมอ เพื่อนํา มาใชเปน ขอมูล ในการพัฒนาการจัดรายการวิท ยุ ใหน า สนใจอยูต ลอดเวลา รวมทั้ งตอ งแสวงหาความรูใ นด า นการประเมิ นผล เพื่ อใชป ระโยชน ในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพั ฒนา อาชีพใหดียิ่งขึ้น 3. อาชีพพิธีกร เปนอาชีพ ที่ผูประกอบอาชีพ ตองมีพื้ นฐานความรูในเรื่องการพูดเปนอยา งดี เพราะเปน อาชีพที่ตองใชการพูดเปนเครื่องมือในการสื่อสารกับผูอื่น การใชคําพูดและถอยคําภาษาจึงเปนเรื่อง สําคัญตอการสรางความรูสึกที่ดีหรือไมดีตอผูฟง นอกจากนี้บุคลิกภาพและการแตงกายของผูทําหนาที่ พิธีกรก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่จะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมทั้งควรเปนผูที่ตรงตอเวลา เพื่อเปนความ เชื่อถือในวิชาชีพไดสวนหนึ่ง องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม ในการเพิ่มพูนองคความรูในการประกอบอาชีพพิธีกร ควรศึกษาเนื้อหาความรูที่จะนําไปใช ในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้ 1. ศิลปะการพูดหรือศิลปะการใชภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองอาศัยศาสตร (ความรู) และศิลปของการพูดเปนอยางมาก ซึ่งตองอาศัยการฝกฝนบอย ๆ 2. ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคํา ที่ ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสั มพั น ธระหวา งบุคคลที่ เปนผู ส ง สารและผู รับสาร ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษาจึ งมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆ และ พระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยา งหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผู อา น ก็จ ะใช ภาษาอีกอยางหนึ่ง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตอง เหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล

92

ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ 2.2 ภาษาระดั บ ทางการ เป น ภาษที่ ใ ช ใ นที่ ป ระชุ ม ที่ มี แ บบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน 2.3 ภาษาระดับกึ่ งทางการ เปนภาษที่ ใชใ นการอภิ ปราย ประชุ มกลุ มในหองเรีย น การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน 2.4 ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไปกั บคนที่ไมคุนเคยมากนัก เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน 2.5 ภาษาระดั บกันเอง เปนภาษาระดับ ที่เรีย กวา ระดับ ปากเปนภาษาสนทนาของ ครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นองพูดอยูในวงจํากัด 3. เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ ใหรูสึก หรือเปนรองรอยในภาษา หรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมา เปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฏในการสื่อสาร 4. เรื่องของหลั กการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คําราชาศัพท การออกเสียง ร ล และการออกเสียงคําควบกล้ํา 5. เรื่องของการพัฒนาบุคลิกภาพและการแตงกาย ผูทําหนาที่พิธีกร เปนผูที่ตองปรากฏ กายตอหนาคนจํานวนมาก บุคลิกภาพและการแตงกาย จึงเปนเรื่องสําคัญที่จะปรากฏเปนสิ่งแรก ใหผู ที่พบเห็นเกิดความประทับใจหรือไม ถา ประทับใจผู คนจะจดจ อรอฟ งการพู ดเปนประการ ตอมา ถาผูพูดสามารถพูดไดประทับใจ จะกอเกิดเปนความนิยมชมชอบตามมาและจะกอเกิดเปน ความสําเร็จของอาชีพในที่สุด 6. ดานการพัฒนาองคความรูในตนเอง พิธีกรตองหมั่นแสวงหาความรูที่เกี่ยวของกับการ ประกออาชีพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาอาชีพของตนเอง เชน เรื่องของการวัดผลประเมินผลการทํา หนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ซึ่งจะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพใหดียิ่งขึ้น

93

กิจกรรมทายบทที่ 7 การพูดอธิบาย (10 คะแนน) กิจกรรมที่ 7.1 อาชีพที่อาศัยการพูดในการประกอบอาชีพ ครูใหผูเรียนอธิบายอาชีพที่ตองอาศัย “การพูด” ในการประกอบอาชีพ กิจกรรมที่ 7.2 อาชีพที่ตองอาศัยการเขียนในการประกอบอาชีพ ครูใหผูเรียนอธิบายอาชีพที่ตองอาศัย “การเรียน” ในการประกอบอาชีพ

94

เฉลยกิจกรรมทายบท กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การอานบทความ (10 คะแนน) ใหผูเรียนอานบทความขางลางนี้ และสรุปเนื้อหาใจความสําคัญของเรื่อง และบอกประโยชนที่ได จากบทความนี้ แนวคําตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

อานถูกตอง ชัดเจน สรุป ลําดับ เนื้อหา เหตุการณ ไดเปนขั้นเปนตอน แยกแยะบทความวาตอนใดมีความสําคัญ ตอนใดเปนสวนขยายได วิเคราะห/วิจารณบทความนั้นได

เกณฑการใหคะแนน 1. ผูเรียนอานถูกตอง สรุปเนื้อไดใจความตรงประเด็นเพียงอยางเดียวได (3 คะแนน) 2. ผูเรียนอานถูกตอง สรุปเนื้อไดใจความตามประเด็น สามารถแยกแยะใจความสําคัญของ

เนื้อหาได 5 คะแนน 3. ผูเรียนอานถูกตอง ชัดเจน สรุปเนื้อไดใจความ สามารถแยกแยะใจความสําคัญของเนื้อหา ได บอกไดวาประโยคใดขยายความ และสามารถวิเคราะหเนื้อเรื่องนั้นไดตรงประเด็น (10 คะแนน)

95

เฉลยกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 การพูดในโอกาสตางๆ (5 คะแนน) 2.2 ใหผูเรียนเขียนคําพูดสําหรับพูดในโอกาสตาง ๆ พรอมออกมาพูดหนาชั้นเรียน เชน (5 คะแนน) 1.การกลาวตอนรับ 2.การกลาวอวยพร 3.การกลาวขอบคุณ 4.การพูดใหโอวาท ฯลฯ

แนวคําตอบ 1.พูดตรงประเด็น เนื้อหาเหมาะสมกับโอกาสตาง ๆ 2.พูดออกเสียงถูกตอง 3.ผูพูดมีความเชื่อมั่น 4.ใชภาษาถอยคําเหมาะสม

เกณฑการใหคะแนน พูดตรงประเด็น ออกเสียงชัดเจน มีบุคลิกภาพดี ใชภาษาที่เหมาะสมกับโอกาสตาง ๆ 5 คะแนน พูดตรงประเด็น ออกเสียงชัดเจน ใชภาษาที่เหมาะสมกับโอกาสตางๆ แตบุคลิกภาพไมดีได 4 คะแนน พูดตรงประเด็น ออกเสียงคอนขางชัดเจน ใชภาษาที่เหมาะสมเปนบางคําและบุคลิกภาพ ไมดีได 3 คะแนน พูดตรงประเด็น ออกเสียงไมชัดเจน ใชภาษาที่เหมาะสมเปนบางคําและบุคลิกภาพไมดีได 2 คะแนน พูดตรงประเด็น บางสวนออกเสียงไมชัดเจน ใชภาษาที่เหมาะสมเปนบางคําและ บุคลิกภาพไมดีได 1 คะแนน

96

เฉลย กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 การอานบทรอยกรอง (10 คะแนน) ผูสอนอานทํานองเสนาะและใหผูเรียนตอบวา เปนลักษณะคําประพันธประเภทใด ผูสอนแจกทํานองเสนาะแกผูเรียนตามกลุม และใหผูเรียนอานทํานองเสนาะ และ อธิบายถึงลักษณะการเขียน ผูสอนสรุปหลักการอานทํานองเสนาะ กลอนสุภาพ/กลอนแปด สรวงสวรรคชั้นกวีรุจีรัตน ผองประภัศรพลอยหางพราวเวหา พริ้งไพเราะเสนาะกรรณวัณณนา สมสมญาแหงสวรรคชั้นกวี อิ่มอารมณชมสถานวิมานมาศ อันโอภาสแผผายพรายรังสี รัศมีมีเสียงเพียงดนตรี ประทีปทีฆรัสสะจังหวะโยน ระเมียรไมใบโบกสุโนกเกาะ สุดเสนาะเสียงนกซึ่งผกโผน โผตนนั้นผันตนไปตนโนน จังหวะโจนสงจับริมกันไป

กลอนหก เมืองใดไมมีทหาร เมืองใดไรจอมพารา เมืองใดไมมีพาณิชเลิศ เมืองใดไรศิลปโสภณ

เมืองนั้นไมนานเปนขา เมืองนั้นไมชาอับจน เมืองนั้นยอมเกิดขัดสน เมืองนั้นไมพนเสื่อมทราม

โคลงสี่สุภาพ จากนามาลิ่วล้ํา บางยี่เรือราพลาง เรือแผงชวยพานาง บางบรับคําคลอง

ลําบาง พี่พรอง เมี่ยงมาน นานา คลาวน้ําตาคลอ

97

แนวคําตอบ ผูเรียนตอบลักษณะคําประพันธได 2. ผูเรียนอานทํานองเสนาะไดถูกตอง 3. ผูเรียนอธิบายถึงลักษณะการเขียนไดถูกตอง

1.

เกณฑการใหคะแนน 1.ผูเรียนสามารถบอกลักษณะคําประพันธแตละประเภทได (3 คะแนน) 2.ผูเรียนสามารถอานทํานองเสนาะไดถูกตอง (2 คะแนน) 3.ผูเรียนอธิบายลักณะการเขียนคําประเภทตาง ๆ ได (5 คะแนน) เฉลย กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 การเขียน (5 คะแนน) ผูสอนมอบหมายใหผูเรียนเขียนประวัติตนเอง เพื่อสมัครงานตามหัวขอตอไปนี้ ชื่อ..................................................................................................................................... ที่อยู................................................................................................................................... อีเมล................................................................................................................................. โทรศัพท........................................................................................................................... จุดมุงหมายในการทํางาน .......................................................................................................................................................... ประวัติการศึกษา .......................................................................................................................................................... ประสบการณทํางาน ........................................................................................................................................................ ทักษะและความสามารถพิเศษอื่น ๆ .......................................................................................................................................................... แนวคําตอบ อยูในดุลยพินิจของผูสอนวาเขียนไดตรงประเด็นตามประวัติหรือไม

98

เกณฑการใหคะแนน เขียนไดถูกตอง

1-3 หัวขอ ได

1 คะแนน

เขียนไดถูกตอง

4-5 หัวขอ ได

2 คะแนน

เขียนไดถูกตอง

6 หัวขอ

ได

3 คะแนน

เขียนไดถูกตอง

7 หัวขอ

ได

4 คะแนน

เขียนไดถูกตอง

8 หัวขอ

ได

5 คะแนน

เฉลย กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 หลักการใชภาษา (10 คะแนน) ใหผูเรียนเขียนคําตาง ๆ ตามที่กําหนด พรอมใหความหมายที่ถูกตองอยางละ 5 คํา คําราชาศัพท สํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําสุภาพ แนวคําตอบ สํานวนไทย กินโตะ หมายความวา รุมทําราย กินปูนรอนทอง หมายความวา ทําอาการพิรุธขึ้นเอง พกหินดีกวาพกนุน หมายความวา ใจคอหนักแนนดีกวาหูเบา กงกรรมกงเกวียน หมายความวา กรรมสนองกรรม ลูกหมอหมายความวา คนเกาของสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง

99

คําพังเพย ชี้โพรงใหกระรอก ปลูกเรือนตามใจผูอยู รําไมดีโทษปโทษกลอง

หมายความวา หมายความวา หมายความวา

กําแพงมีหู ประตูมีชอง เห็นกงจักรเปนดอกบัว

หมายความวา หมายความวา

สุภาษิต ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว

หมายความวา

ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข

หมายความวา

ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน จะพึ่งคนอื่น ความพยายามอยูที่ไหน

หมายความวา หมายความวา

หวานพืชเชนไร ยอมไดผลเชนนั้น หมายความวา

คําราชาศัพท เสวย สิ้นพระชนม ทรงเครื่อง ภัตตาหาร ทรงดนตรี

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

รับประทาน ตาย แตงตัว อาหาร เลนดนตรี

การแนะนําใหคนอื่นทําในทางไมดี จะทําอะไรใหคิดถึงผูที่จะใชสิ่งนั้น คนทําผิดไมยอมรับผิด กลับไปโทษ คนอื่น พูดอะไรใหระวังคนแอบไดยิน เห็นสิ่งไมดีเปนสิ่งดี ทําสิ่งที่ดียอมไดผลดีตอบแทน ทําสิ่ง ไมดียอมไดสิ่งไมดีตอบแทน เมื่อมีความรักมักจะทําใหเกิดความ ทุกข คนตองพยายามพึ่งตนเอง กอนที่ ตองมีความพยายามที่จะทําสิ่งใดๆ ความสําเร็จอยูที่นั่น จึงจะพบกับ ความสําเร็จ ทําสิ่งใดไวยอมไดผลตอบแทน เชนนั้น

100

คําสุภาพ พูดเท็จ รับประทาน ศีรษะ ทราบ ผักทอดยอด

หมายความวา หมายความวา หมายความวา หมายความวา หมายความวา

โกหก กิน หัว รู ผักบุง

เกณฑการใหคะแนน 1. เขียนคําราชาศัพท, สํานวน, คําสุภาษิต, คําสุภาพ บอกความหมายไดถูกตอง ได 2. 3. 4. 5.

1-2 คะแนน เขียนคําราชาศัพท, คําสุภาษิต, คําสุภาพได 2 ประเภท และบอกความหมายไดถูกตอง ได 3-4 คะแนน เขี ย นคํ า ราชาศั พ ท , สํ า นวน, สุ ภ าษิ ต , คํ า พั ง เพย, สุ ภ าพได 2 ประเภท และบอก ความหมายไดถูกตอง ได 5-6 คะแนน เขี ยนคํ า ราชาศัพ ท , สํ า นวน, สุ ภาษิ ต, คํา พั ง เพย, คํ า สุ ภ าพได 4 ประเภท และบอก ความหมายไดถูกตองได 7-8 คะแนน เขียนคํา ราชาศัพ ท, สํ า นวน, สุ ภาษิต, คํา พังเพย, คํา สุ ภาพไดทั้ง 5 ประเภทและบอก ความหมายไดถูกตองได 9-10 คะแนน

101

เฉลย กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 การอานวรรณกรรม 10 คะแนน กิจกรรมที่ 6.1 วรรณกรรมประเภทรอยแกว (5 คะแนน) 1.ใหผูเรียนอานหนังสือนวนิยาย เรื่องสั้น ขาว หรือบทความ 1 เรื่อง และอานวรรณคดี เชน ขุนชาง ขุนแผน รามเกียรติ (หรือหนังสือที่แตงดวยคําประพันธ) 1 เรื่อง 2.ใหผูเรียนอธิบายความแตกตางของหนังสือ 2 ประเภท พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ เพิ่มเติม แนวคําตอบ อธิบายไดวา วรรณกรรมประเภทรอยแกว คือวรรณกรรมที่ไมมีลักษณะบังคับ ไมบังคับ จํานวนคํา บังคับเสียงหนัก-เบา ไดแก นิทาน เรื่องสั้น บทความ ขาว สวนวรรณกรรมประเภทรอย กรอง คือ วรรณกรรม ที่มีลักษณะบังคับในการแตง เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลลิต เกณฑการใหคะแนน 1. ผูเรียนบอกความแตกตางไดถูกตอง ระหวางวรรณกรรม ประเภทรอยแกวและรอยกรอง (3 คะแนน) 2. ผูเรียนบอกความแตกตางไดถูกตอง ระหวางวรรณกรรม ประเภทรอยแกวและรอย กรอง พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบไดถูกตอง (5 คะแนน) กิจกรรมที่ 6.2 วรรณกรรมประเภทรอยกรอง (5 คะแนน) ใหผูเรียนอานคําประพันธตอไปนี้ พรอมทั้งสรุปเนื้อหา ถึงบางพูดพูดดีเปนศรีศักดิ์ แมพูดชั่วตัวตายทําลายมิตร เปนมนุษยสุดนิยมที่ลมปาก แมพูดดีมีคนเขาเมตตา อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้นซาก แมเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย

มีคนรักรสถอยอรอยจิต จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา จะพูดจาจงพิเคราะหใหเหมาะความ แตลมปากหวานหูมิรูหาย เจ็บจนตายนั่นเพราะเหน็บใหเจ็บใจ

102

แนวคําตอบ คําประพันธดังกลาว จะพูดถึงเรื่องการพูดจาไพเราะ มีแตคนรักคนชื่นชม แตเมื่อพูดไมดี อาจจะทําใหตัวเองตองตาย การที่เราจะพูดอะไรตองคิด พิจารณาใหเหมาะสมวาจะพูดอยางไร ใหคนฟงรูสึกดีกับการพูด เกณฑการใหคะแนน - ผูเรียนสรุปคําประพันธไดครบทุกบทและไดเนื้อหาใจความชัดเจน ถูกตอง (5 คะแนน) - ผูเรียนสรุปคําประพันธได 2 บทและไดเนื้อหาใจความชัดเจน ถูกตอง (4 คะแนน) - ผูเรียนสรุปคําประพันธได 1 บทและไดเนื้อหาใจความชัดเจน ถูกตอง (3 คะแนน) - ผูเรียนสรุปคําประพันธได 1 บทและไดเนื้อหาใจความชัดเจนบางสวน (2 คะแนน) - ผู เ รี ย นสรุ ป คํ า ประพั น ธ ไ ด 1 บทแต ไ ด เ นื้ อ หาใจความไม ค อ ยชั ด เจน ถู ก ต อ ง (1 คะแนน)

103

เฉลย กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7 การพูดอธิบาย (10 คะแนน) กิจกรรมที่ 7.1 อาชีพทีอ่ าศัยการพูดในการประกอบอาชีพ ครูใหผูเรียนอธิบายอาชีพที่ตองอาศัย “การพูด” ในการประกอบอาชีพ แนวตอบ 1.อาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองมีความรูในดานภาษาไทย เพราะตองพูดหรือสัมภาษณตอ สาธารณชน ฉะนั้น นอกจากบุคลิกภาพดีแลว การพูดจึงเปนสิ่งสําคัญที่อาชีพพิธีกรจะตองใช ภาษาใหถูกตอง 2.อาชีพนักโฆษณา เปนอาชีพที่มีความจําเปนจะตองมีความรูภาษาไทยเปนอยางดี เพราะจะตอง พูดโนมนาวใจใหคนเชื่อ 3.อาชีพประชาสัมพันธ เปนอาชีพหนึ่งที่ตองรูและเขาใจภาษาไทย เพราะจะตองสื่อสารขอมูลให คนทั่วไปรับทราบ 4.อาชีพนักจัดรายการวิทยุ-โทรทัศน เปนอาชีพที่ตองสื่อสารใหความรู ความบันเทิงแกผูคนทั่วไป ซึ่งตองใชภาษาไทยไดเปนอยางดี เกณฑการใหคะแนน (5 คะแนน) 1.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการพูดได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 2 อาชีพ (1-2 คะแนน) 2.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการพูดได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 3 อาชีพ (3-4 คะแนน) 3.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการพูดได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 4 อาชีพ (5 คะแนน)

104

กิจกรรมที่ 7.2 อาชีพที่ตองอาศัยการเขียนในการประกอบอาชีพ ครูใหผูเรียนอธิบายอาชีพที่ตองอาศัย “การเรียน” ในการประกอบอาชีพ แนวตอบ 1.อาชีพผูสื่อขาว ผูเขียนขาว เปนอาชีพที่ตองใชศิลปะการเขียนและการใชภาษาที่ดึงดูดความ สนใจของผูอาน 2.อาชีพผูพ ิสูจนอกั ษรและบรรณาธิการ เปนอาชีพที่ตองมีความรูในการเขียนสะกดคํา การใช ถอยคํา สํานวนภาษา สุภาษิต คําพังเพย และหลักภาษาไทยเปนอยางดี 3.อาชีพกวี นักเขียน ซึ่งหมายถึงการเขียนสารคดี นวนิยาย เรื่องสั้น บทละคร เปนตน อาชีพ ดังกลาว เปนอาชีพที่ตองมีความรู ความเขาใจ ในดานภาษาไทย ตองมีการเลือกใชถอยคําภาษามา เปนอยางดี เพื่อเขียนใหคนจํานวนมากอาน จึงตองมีการเลือกใชถอยคําภาษามาใชเปนอยางดี

เกณฑการใหคะแนน (5 คะแนน) 1.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการเขียนได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 1 อาชีพ 2.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการเขียนได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 2 อาชีพ 3.บอกอาชีพที่ตองอาศัยการเขียนได พรอมทั้งใหเหตุผลถูกตอง 3 อาชีพ

(1-2 คะแนน) (3-4 คะแนน) (5 คะแนน)

105

บรรณานุกรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. สํานักงาน . หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิ ช าภาษไทย ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2554) หลั ก สู ต ร การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (เอกสารอัดสําเนา) http://www.app.eduzones.com/portal/siamese/article.php?contentid=18589 สืบคน เมือ 15 มกราคม 2557 http://www.elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/CA202/chapter5.pdf สืบคน เมือ 15 มกราคม http://www.gotoknow.org/posts/9213 สืบคนเมือ 15 มกราคม 2557 http://www.krunahonline.blogspot.com/2012/01/blog-post_1573.html สืบคนเมือ 15 มกราคม 2557 http://www.maceducation.com/e-knowledge/2501121120/03.htm มกราคม 2557

สื บ ค น เมื อ 15

http://www.sites.google.com/site/reportofstudysubjects/bth-thi-1-wrrnkrrm-thiypaccuban สืบคนเมือ 15 มกราคม 2557 http://www.slideshare.net/amkasorn/ss-4485389 สืบคนเมือ 15 มกราคม 2557 http://www.tangklon.com สืบคนเมื่อ 15 มกราคม 2557

106

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา 1. นายประเสริฐ 2. นายชาญวิทย 3. นายสุรพงษ 4. นางวัทนี 5. นางกนกพรรณ 6. นางศุทธินี

บุญเรือง ทับสุพรรณ จําจด จันทรโอกุล สุวรรณพิทักษ งามเขตต

เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผูเรียบเรียงและบรรณาธิการ 1. นายวิเชียร ฟองกันทา 2. นางสาวเอมอร แกวกล่าํ ศรี 3. นางสาวอริญชัย อินทรนัฎ

ขาราชการบํานาญ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ กศน.อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี กศน.เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป 3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง 4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี 5. นางสาวชมพูนท สังขพิชัย

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผูพิมพตนฉบับ 1. นางสาวสุลาง 2. นางจุฑากมล

เพ็ชรสวาง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน อินทระสันต กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผูออกแบบปก นายศุภโชค

ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

107

คณะผูจัดทํากิจกรรมทายบทเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู ระหวางวันที่ 1- 3 มิถุนายน 2559 ณ หองประชุมบรรจง ชูสกุลชาติ ชั้น 6 สํานักงาน กศน. ที่ปรึกษา 1. นายสุรพงษ จําจด 2. นายกิตติศักดิ์ รัตนฉายา 3. นางพรรณทิพา ชินชัชวาล

เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. ผูอํานวยการกลุมพัฒนาระบบการทดสอบ

ผูเขียน/ผูเรียบเรียง และบรรณาธิการ 1. นายเริง กองแกว 2. นางสาวนิตยา มุขลาย 3. นางสาวเอมอร แกวกล่ําศรี 4. นางสาวอริญชัย อินทรนัฏ

สํานักงาน กศน. จังหวัดนนทบุรี สํานักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี กศน.อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี กศน.เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

คณะทํางาน 1. นางเกณิกา ซิกวารทซอน 2. นายธานี เครืออยู 3. นางสาวจุรีรัตน หวังสิริรัตน 4. นางสาวอุษา คงศรี 5. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพัฒน 6. นายภาวิต นิธิโสภา 7. นางสาวหทัยมาดา ดิฐประวรรตน

กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ

108

Data Loading...