PBCITHIM51-LE-1-V01_640604_รวมเล่ม_แบบฝึกหัด หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ม.5 เทอม 1_PC_(184)_WM - PDF Flipbook

PBCITHIM51-LE-1-V01_640604_รวมเล่ม_แบบฝึกหัด หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ม.5 เทอม 1_PC_(184)_WM

361 Views
45 Downloads
PDF 54,337,171 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


แบบฝึกหัดรำยวิชำพื้นฐำน

ภำษำไทย หลักภำษำและ กำรใช้ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ ๕ เล่ม ๑

n

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

io

ฝ่ำยวิชำกำร

Ed

uc

at

ชาญชัย เกษตรลาภอุดม วรารัตน์ สติใหม่ สวรรยา สนสนิท ธนาวุฒิ วจีสัจจะ

Le

ar

n

บรรณำธิกำร

ปลายฟ้า ดิษพัฒน์ นิศารัตน์ คะปัญญา กัญญาภัทร บุญปก กนกวรรณ จระกา

พรพิตรา โสมี สุทธิฌลา ทองแท่ง นันท์นภัส ไตรวิชสุทธิทอง

พุทธิพงศ์ ฉันทศิริเวทย์ ฉัตรธิดา ศิริวรเดชกุล มุกราตรี คงวุฒิติ นิสาชล เกียมา

พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๒๕๖๔ จัดพิมพ์และจ�ำหน่ำยโดย บริษัท เลิร์น เอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด

เลขที่ 444 ชั้น 12 อาคารเอ็ม บี เค ทาวเวอร์ ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02-114-6956 โทรสาร : 02-114-6955 Website : www.learneducation.co.th

สงวนลิขสิทธิ์ตำมพระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. ๒๕๕๘

n

ar

Le

n

io

at

uc

Ed

ค�ำน� ำ





Le



ar

n

Ed

uc

at

io

n

แบบฝึกหัดรายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สารชัน้ มัธยมศึกษา ปีท ี่ ๕ ได้เรียบเรียงเนือ้ หาสาระให้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมุง่ ส่งเสริมให้ผเู้ รียน ได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาทักษะภาษาไทย โดยเฉพาะเรือ่ งหลักภาษาและการใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร อันเป็น พืน้ ฐานการใช้ภาษาไทยในชีวติ ประจ�าวัน และเป็นประโยชน์ตอ่ การเรียนรูก้ ลุม่ สาระการเรียนรูอ้ นื่ ๆ ตลอดจนสามารถน�าไปประยุกต์ใช้เพื่อการด�าเนินชีวิตในสังคมได้ คณะผู้จัดท�าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน และเป็นส่วนส�าคัญในการพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทยที่สอดคล้องกับยุค สมัยปัจจุบัน และขอขอบคุณคณะครู ตลอดจนหน่วยงานและบุคลากรทุกท่านที่มีส่วนในการจัดท�า หนังสือเล่มนี้ไว้ ณ โอกาสนี้ หากมีข้อบกพร่องหรือข้อเสนอแนะประการใด ทางคณะผู้จัดท�ายินดี น้อมรับค�าติชมเพื่อน�ามาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น









คณะผู้จัดท�า

ค� ำ ช้ีแจงกำรใช้ห นั งสื อ

หนังสือแบบฝึกหัดรายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สารเล่มนีไ้ ด้ออกแบบ มาให้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ท�าให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และความคิดอ่าน ด้านภาษาไทยที่ดีและชัดเจนมากขึ้นจากเนื้อหาหลัก ซึ่งสามารถแยกอธิบายได้ ดังนี้ รู ไ้ ว้ใช่ว่ำ

รู ไ้ ว้ใช่ว่ำ

ar

n

Ed

ความรู้เสริมหรือเกร็ดความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียนรู้

uc

at

io

n

ชวนน้ องลองคิด

Le

น้ องลองท�ำ

ชวนน้ องลองคิด

ค�าถามชวนคิดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ไปซึ่งเป็นค�าถามปลายเปิดเพื่อให้ ฝึกทักษะในการคิดวิเคราะห์ ทบทวน

ก่อนจำก..

น้ องลองท�ำ

ทบทวนก่อนจำก

แบบทดสอบความรู้ท้ายเรื่อง เพื่อให้ผู้ เรียนประเมินว่าส่วนใดที่ท�าได้ดี และส่วนใดที่ยังต้องพัฒนา

สรุปองค์ความรู้ส�าคัญของเนื้อหา ในส่วนที่ได้เรียนไปแล้ว

จดให้จ�ำ

ตะลุยโจทย์

น� ำไปใช้

จดให้จ�ำ น� ำไปใช้

แบบทดสอบความรู้ท้ายหน่วย ที่มีลักษณะใกล้เคียงการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน

ส�าหรับจดบันทึกเนื้อหาเพิ่มเติม

at

io

n

ตะลุยโจทย์

uc

ควำมหมำยของจ�ำนวนดำวในแบบทดสอบตะลุยโจทย์

Ed

แบบทดสอบระดับง่าย

Le

ar

n

แบบทดสอบระดับปานกลาง แบบทดสอบระดับยาก

สำรบัญ ๒

ควำมเกี่ยวข้องระหว่ำงวัฒนธรรมกับภำษำ ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กับวัฒนธรรม



ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงภำษำกับวัฒนธรรม



ลักษณะของประโยค รู ปแบบของประโยค

๐๓

Le

ar

กำรใช้ส�ำนวน

n

กำรร้อยเรียงประโยค

กำรเพิ่มค�ำ

uc

กำรร้อยเรียงถ้อยค�ำ

Ed

๐๒

at

io

n

๐๑

๒๐ ๒๐ ๒๖ ๓๒ ๓๘

๔๘

ค�ำซ้�ำ

๔๘

ค�ำซ้้อนและค�ำประสม

๕๔

ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น

๖๒

สำรบัญ ๗๒

ควำมคิดกับภำษำ ควำมคิดกับภำษำ

๗๒

กำรพัฒนำควำมคิด

๗๘

uc

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

๘๘

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

๘๘

กำรสื่ อสำรในชีวิตประจ�ำวัน

๙๔

๐๖

Le

ar

n

Ed

๐๕

at

io

n

๐๔

กำรถำมและกำรตอบ

กำรถำมและกำรตอบ

๑๐๘ ๑๐๘

สำรบัญ ๐๗

๑๒๐

กำรฟังและกำรอ่ำนให้เกิดวิจำรณญำณ กำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

at

้ ลักภำษำไทย ม.๕ เทอม ๑ สรุ ปควำมรู ห กำรร้อยเรียงถ้อยค�ำ

๑๓๘

ควำมคิดกับภำษำ

uc

๑๓๔

กำรเพิ่มค�ำ

๑๔๖

กำรถำมและกำรตอบ

๑๕๔

กำรฟังและกำรอ่ำนให้เกิดวิจำรณญำณ

๑๕๘

n

๑๕๐

ar

๑๐

๑๔๒

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

Le

๐๙

๑๓๔

ควำมเกี่ยวข้องระหว่ำงวัฒนธรรมกับภำษำ

Ed

๐๘

io

n

๑๒๐

ตะลุยโจทย์

บรรณำนุกรม

๑๖๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

uc

at

io

n

ท ๔.๑ ม.๕/๑ อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา

ar

n

สามารถอธิบายความหมายของวัฒนธรรมได้ สามารถบอกความแตกต่างและอธิบายความหลากหลายของแต่ละวัฒนธรรมได้ สามารถบอกเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยได้ สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมได้ สามารถบอกความส�าคัญของภาษามาตรฐานและภาษาถิ่นได้

Le

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

Ed

จุดประสงค์

ความเก่ียวข้อง ั นธรรมกับภาษา ระหว่างวฒ

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

ภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่ส�าคัญ ในการสื่อสารหรือสื่อความเข้าใจระหว่างกัน อีกทั้งยังแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองและ สะท้อนวัฒนธรรมของกลุ่มชนนั้น ๆ ได้อีกด้วย ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ ทีแ่ นบแน่นกันเป็นอย่างมาก บางครัง้ ภาษามีอทิ ธิพลต่อการถ่ายทอดวัฒนธรรม ในขณะ เดียวกันวัฒนธรรมก็มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภาษาเช่นเดียวกัน

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

๑.

ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กับวัฒนธรรม

n

มนุษย์กับวัฒนธรรม

uc Ed

n

ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงภำษำกับวัฒนธรรม

ar

ภำษำกับวัฒนธรรม ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภำษำและวัฒนธรรม

Le

๒.

at

เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรม

io

ควำมหลำกหลำยของวัฒนธรรม

ศัพท์ที่ควรทรำบเกี่ยวกับวัฒนธรรม

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ความสั มพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับวัฒนธรรม

มนุษย์กับวัฒนธรรม

uc

at

io

n

ค�าว่า “วัฒนธรรม” ตามความหมายของ นักสังคมศาสตร์ หมายถึง แบบแผนชีวิตหรือระบบ การด�าเนินชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ ของสังคม

Ed

“สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ............เป็นวัฒนธรรม”

การแต่งกาย อาหาร ยานพาหนะ ศาสนา คือ .....................................

2

Le

ar

n

มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ เพราะมีความเจริญและมีวัฒนธรรมที่ซับซ้อนกว่า และมีสถาบันต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบของวัฒนธรรม .........................

.........................

.........................

จัดระเบียบสังคม

ตัดสินข้อพิพาท

ขัดเกลาจิตใจ

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

ควำมหลำกหลำยของวัฒนธรรม

ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชนเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

io

ภูมิอำกำศ

Le

ควำมอุดมสมบูรณ์ หรือควำมแร้นแค้น

ar

n

Ed

uc

at

ที่ตั้ง เช่น กลุ่มชนที่อยู่สุขสบาย ในที่อุดมสมบูรณ์มักจะมี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ส่วนกลุ่มชนที่แร้นแค้นจะ หวงแหนทุกอย่างที่หามา ได้ด้วยความยากล�าบาก

เช่น กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ใน เขตขั้วโลกสมาชิกใน ครอบครัวจะแยกกันหา อาหาร ส่วนกลุ่มชนในเขต มรสุมที่มีอาหารสมบูรณ์ จะให้สมาชิกคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้หาอาหาร

n

เช่น กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ใน เขตหนาวมีประเพณีการ เล่นรอบกองไฟ กลุ่มชนที่ อาศัยอยู่ริมน�้ามีประเพณี การแข่งเรือ

เช่น กลุ่มชนที่ตั้งถิ่นฐาน ใกล้กลุ่มชนที่มีอ�านาจ มากกว่าต้องระมัดระวัง ไม่ให้เกิดการกระทบ กระทั่งกัน

กลุ่มชน แวดล้อม

เช่น กลุ่มชนที่มีนักปราชญ์ หรือผู้น�าที่มีความรู้ความ สามารถจะมีความเจริญ ก้าวหน้ากว่ากลุ่มชนอื่น นักปรำชญ์หรือ ประมุขของกลุ่มชน ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

3

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

เอกลักษณ์ ทำงวัฒนธรรม

คือ แบบแผนในการด�ารงชีวิตของมนุษย์ในวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว เช่น เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยที่มีทั้งเป็นรูปธรรมและนามธรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

การมีเสรีภาพในการ นับถือศาสนา

at

io

n

ความไม่กีดกัน คนต่างชาติต่างภาษา

ความรักสนุก

uc

เอกลักษณ์

การค�านึงถึงกาลเทศะ

ของ

Ed

วัฒนธรรมไทย

n

ความรักสงบ

ความมีน�้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

Le

ar

ความพอใจ การประนีประนอม

4

ความเกรงใจ

การไม่แบ่งชั้นวรรณะ

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้นกั เรียนเขียนเครือ่ งหมาย หน้าข้อความทีถ่ กู ต้อง และเขียนเครือ่ งหมาย หน้าข้อความทีไ่ ม่ถกู ต้อง

................. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น



................. สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาตินับเป็นวัฒนธรรม



................. วัฒนธรรมคือแบบแผนในการด�าเนิินชีวิตของมนุษย์



................. วัฒนธรรมของสัตว์มีความซับซ้อนกว่าวัฒนธรรมของมนุษย์

ข้อใดไม่จัดเป็นวัฒนธรรม ๑. เพลง ๒. ภาษา ๓. ภูเขาไฟ ๔. วรรณกรรม

๒.

ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชนเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ๑. การหาอาหาร ๒. ความสามารถของผู้น�า ๓. สภาพภูมิอากาศบริเวณที่อยู่อาศัย ๔. ลักษณะทางภูมิศาสตร์บริเวณที่อยู่อาศัย

Le

ar

๑.





ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

n

ค�ำชี้แจง

Ed

uc

at

io

n



ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

5

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน ทบทวน

ก่ก่ออนจำก.. นจำก..

เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรม คือ แบบแผนในการด�ารงชีวิต ของมนุษย์ที่มีความโดดเด่น เฉพาะตัวแตกต่างจากกลุ่มชนอื่น

มนุษย์กับวัฒนธรรม

at

io

n

วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนชีวิตหรือระบบ การด�าเนินชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้น และสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติไม่นับ เป็นวัฒนธรรม

uc

เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของไทย ความไม่กีดกันคนต่างชาติ ต่างภาษา การมีเสรีภาพในการนับถือ ศาสนา ความรักสงบ ความพอใจการประนีประนอม การไม่แบ่งชั้นวรรณะ ความมีน�้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเกรงใจ การค�านึงถึงกาลเทศะ ความรักสนุก

n

Le

ar

มนุษย์มีสถาบันต่าง ๆ เป็นส่วน ประกอบของวัฒนธรรม การปกครอง ศาลสถิตยุติธรรม ศาสนา

Ed

ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง มนุษย์กับวัฒนธรรม

ควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรมของ แต่ละกลุ่มชนเกิดจำกปัจจัยต่ำง ๆ ดังนี้

ที่ตั้ง

6

ภูมิอากาศ

ความอุดมสมบูรณ์ หรือความแร้นแค้น

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

กลุ่มชนแวดล้อม

นักปราชญ์ หรือประมุข

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ความสั มพันธ์ระหว่าง ภาษากับวัฒนธรรม

ภำษำกับวัฒนธรรม

n

ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันหลายมิติ สามารถสรุปเป็นประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้

io

้ ำษำสื บทอดวัฒนธรรม ๑. กำรใชภ

ar

n

Ed

uc

at



.................

Le

LAW

.................

.................

มนุษย์ธ�ารงวัฒนธรรมไว้ โดยการมุขปาฐะ (บอกปาก ต่อปาก) จารึก และบันทึก

มนุษย์สร้างวัฒนธรรมโดย การใช้ภาษาในการบอกกล่าว เรื่องที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ เช่น การบัญญัติกฎหมาย

8

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

มนุษย์พัฒนาวัฒนธรรม โดยการคิดส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย เพื่อให้วัฒนธรรม มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น และส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพยนี้ ได้กลายเป็น แง่คิดให้แก่คนรุ่นต่อ ๆ ไป

๒. ภำษำสะท้อนวัฒนธรรม

ภาษาจะพัฒนาไปตามค่านิยมของคนในกลุ่มชนนั้น ๆ ดังนั้นเราจะเห็นวัฒนธรรมของกลุ่มชนสะท้อน ออกมาผ่านการใช้ถ้อยค�าส�านวนในภาษา เช่น ในภาษาไทย ดังนี้ ใช้ค�ำแทนตัว

้ เชิง ่ ชัน ค�ำแสดงควำมลดหลัน

เช่น ค�าบอกเครือญาติ ค�าบอกอาชีพ ค�าบอก ต�าแหน่ง

ค�ำไทยแท้มักจะใช้ในกำรสนทนำ

ค�ำศั พท์แสดงควำมละเอียด

Ed

หรือกำรสื่ อสำรอย่ำงไม่เป็นทำงกำร

uc

at

io

n

เช่น ค�าที่ใช้เรียกเครือญาติ ซึ่งแสดงล�าดับอายุหรือ ค�าราชาศัพท์ที่ใช้กับบุคคล ระดับต่าง ๆ

Le

ar

n

เช่น ใช้ค�าว่า กิน สื่อสารใน ครอบครัวหรือเพื่อนสนิท และใช้ค�าว่า รับประทาน ซึ่งเป็นค�าในภาษาอื่นใน การสนทนาที่เป็นทางการ

ค�ำลักษณนำมช่วยจ�ำแนก ลักษณะของสิ่ งของต่ำง ๆ

เช่น ปากกา พู่กัน ใช้ค�าลักษณนามว่า ด้าม

่ งใกล้ตัว ในกำรกล่ำวถึงเรือ

เช่น ค�าแสดงความสัมพันธ์ ในครอบครัว เช่น ปู่ ย่า พ่อ แม่ ค�าขยายรสอาหาร ต่าง ๆ เช่น ขม ฝาด ชืด

กำรเล่นกับภำษำใน รู ปแบบต่ำง ๆ

เช่น การใช้ค�าที่มีสัมผัส คล้องจอง การซ�้าค�า การผวนค�า เป็นต้น

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

9

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

้ ำษำสั มพันธ์กับวัฒนธรรม ๓. กำรใชภ

กำรใช้ค�ำรำชำศัพท์

n

...................................................

io

ภำษำและวัฒนธรรม

at

มีความสัมพันธ์กันอย่าง แนบแน่น ดังนั้นลักษณะ บางประการในวัฒนธรรม จึงมีอิทธิพลต่อการใช้ ภ าษา เช่ น ในภาษาไทย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

................................................... ...................................................

Le

ar

n

Ed

uc

ระดับภำษำ

10

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

กำรใช้ค�ำรื่นหู ...................................................

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภำษำและวัฒนธรรม

at

io

n

............................ เป็นภาษาราชการที่ใช้ในกิจการส�าคัญของ ประเทศ เช่น การตรากฎหมาย การท�าหนังสือ สัญญา บางชาติอาจจะมีภาษาราชการมากกว่า ๑ ภาษา

Le

ar

n

Ed

....................

....................

คนแต่ละท้องถิ่นในประเทศใช้ภาษามาตรฐาน ............................................................

uc

....................

.................... เป็นภาษาของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มี ลักษณะเฉพาะตัว ทัง้ ถ้อยค�าและส�าเนียง ภาษาถิน่ เป็นเครื่องมือในการสื่อสารที่ส�าคัญ ของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ นอกจากนี้ยังแสดง ถึงวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิน่ ได้อกี ด้วย

...............

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

11

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ี วรทรำบเกี่ยวกับวัฒนธรรม ค�ำศั พท์ท่ค

ทำงรูปธรรม หมายถึง ชุมชน รวมความถึงกลุ่มชนที่รวมอยู ่ ในบริเวณเดียวกัน

สั งคม

at

io

n

ทำงนำมธรรม หมายถึง ความคิด นึกรวมกับค่านิยมของชุมชนหนึง่ ๆ

Ed n

ประเพณี

Le

ar

สิง่ ทีป่ ฏิบตั สิ บื ทอดกันมาตัง้ แต่ บรรพบุรษุ และส่งต่อกันมาจนถึง ลูกหลาน

uc

สถำบัน

สิง่ ทีส่ งั คมจัดตัง้ ขึน้ เพราะเห็นว่าเป็น สิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์และจ�าเป็นต่อวิถชี วี ติ ของคนในสังคม

ค่ำนิ ยม

12

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

เป็นความรูส้ กึ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องทางกาย เช่น ความพึงพอใจ ความรังเกียจ ซึง่ เป็นไปตามยุคสมัยและสามารถ เปลีย่ นแปลงได้ตามกาลเวลา

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้นกั เรียนน�าตัวอักษรทางฝัง่ ขวามือมาเติมหน้าข้อความทีส่ มั พันธ์กนั ให้ถกู ต้อง

................. มนุษย์คิดส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย

ก. ภาษาสร้างวัฒนธรรม



................. มนุษย์ใช้ภาษาในการบัญญัติกฎหมาย

ข. ภาษาธ�ารงวัฒนธรรม



................. มนุษย์จดบันทึกหรือจารึกเรื่องราวต่าง ๆ

ค. ภาษาพัฒนาวัฒนธรรม

๑.

ข้อใดแสดงการใช้ภาษาอย่างไม่เหมาะสม ๑. ใช้ภาษาถูกกาลเทศะ ๒. ใช้ค�าราชาศัพท์สนทนากับพระสงฆ์ ๓. ใช้ภาษาถิ่นในการรายงานต่อที่ประชุม ๔. ใช้ค�าลักษณนามของสิ่งของได้ถูกต้อง

๒.

หากต้องการสือ่ สารกับคนในประเทศทีอ่ าศัยอยูต่ า่ งภูมภิ าคกันจะต้องใช้ภาษาใดในการสือ่ สาร ๑. ภาษาถิ่น ๒. ภาษาปาก ๓. ภาษาสแลง ๔. ภาษามาตรฐาน

Le

ar

n





ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

Ed

ค�ำชี้แจง

uc

at

io

n



ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

13

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน ทบทวน

ก่ก่ออนจำก.. นจำก..

ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงภำษำกับวัฒนธรรม

ภำษำกับวัฒนธรรม กำรใช้ภำษำสืบทอดวัฒนธรรม

at

Le

ar

n

Ed

ภำษำสะท้อนวัฒนธรรม ภำษำสะท้อน วัฒนธรรมไทย

n

พัฒนา มนุษย์พัฒนาวัฒนธรรม เช่น การคิดส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย

io

ธ�ารง มนุษย์ธ�ารงวัฒนธรรมไว้ เช่น บันทึก

uc

สร้าง มนุษย์สร้างวัฒนธรรม เช่น บัญญัติกฎหมาย

การแบ่งล�าดับชนชั้น ค�าราชาศัพท์ ค�าแสดงล�าดับอายุ กาลเทศะและความเหมาะสม ระดับภาษา มีสิ่งต้องห้ามและค�าต้องห้าม เลี่ยงการใช้ค�าไม่สุภาพ

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภำษำและวัฒนธรรม ภำษำมำตรฐำน ภาษาราชการที่คนในประเทศ สามารถใช้สื่อสารเพื่อให้เข้าใจตรงกัน ค�ำศัพท์ทคี่ วรทรำบเกีย่ วกับวัฒนธรรม สังคม

สถำบัน ประเพณี

14

ค่ำนิยม

ความเกี่ยวข้ องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

ภำษำถิ่น ภาษาที่ใช้กันเฉพาะใน ท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

uc

at

io

n

ท ๔.๑ ม.๕/๒ ใช้ค�าและกลุ่มค�าสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์

ar

n

สามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างประโยคได้ สามารถจ�าแนกรูปแบบประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสารได้ สามารถอธิบายหลักการร้อยเรียงประโยคได้ สามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับส�านวน ภาษิต และค�าพังเพยได้ สามารถน�าส�านวน ภาษิต และค�าพังเพยไปประยุกต์ใช้ได้

Le

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

Ed

จุดประสงค์

การร้อยเรียงถ้อยค�า

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

การศึกษาการร้อยเรียงถ้อยค�าเป็นการส่งเสริมให้ผู้พูดเกิดทักษะการใช้ภาษาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถสื่อสารได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น สารที่ต้องการสื่อ ออกไปตรงตามวัตถุประสงค์ การสื่อสารก็จะเกิดความผิดพลาดได้น้อยหรือแทบ จะไม่เกิดขึ้นเลย

ผังมโนทัศน์

๑.

ลักษณะของประโยค

n

ส่วนประกอบของประโยค

io

ล�ำดับค�ำในประโยค

uc Ed

n

รู ปแบบของประโยค

ar

ประโยคตำมเจตนำของผู้ส่งสำร ชนิดของประโยค

Le

๒.

at

ควำมยำวของประโยค

๓.

กำรร้อยเรียงประโยค

n

ข้อสังเกตเกี่ยวกับประโยค

Ed n

้ � ำนวน กำรใชส

ar

ส�ำนวน ภำษิต ค�ำพังเพย ภำพสะท้อนจำกส�ำนวน

Le

๔.

uc

at

io

หลักในกำรร้อยเรียงประโยค

ข้อสังเกตเกี่ยวกับส�ำนวน ควำมยำวของประโยค

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ลักษณะของประโยค การร้ อยเรียงถ้อยคา� ส่ วนประกอบของประโยค

io

n

ประโยคมีส่วนประกอบที่ส�าคัญ ๒ ส่วน คือ ภาคประธานและภาคแสดง

ภำคแสดง

ผู้หญิงคนนั้น

ถือร่มสีแดงคันใหญ่

at

ภำคประธำน

uc



ar

n

Ed

ภาคประธาน คือ ........................ และอาจมีค�าขยายประธานด้วย ภาคแสดงเป็นส่วนที่บอกว่า......................................................................................... อาจเพิ่มรายละเอียดเข้าไปให้ประโยคซับซ้อนมากขึ้น และอาจมีการเพิ่มค�าเชื่อม เช่น ............................................... ระหว่างประโยคเพื่อให้รู้วา่ ประโยคทั้ง ๒ เกี่ยวข้องกันอย่างไร ค�าเชื่อม

สวมเสื้อสีแดง

แต่

ประโยค ผู้หญิง

ภำคแสดง

Le

ภำคประธำน

............................. ............................. ประโยคที่มีส่วนประกอบแตกต่ำงกัน อำจมีควำมหมำยเหมือนกัน .............................

20

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ประโยค ภำคประธำน ภำคแสดง ผู้ชาย

สวมเสื้อสีเขียว

เจ้านายให้เงินโบนัสเขา เขาได้รับเงินโบนัสจากเจ้านาย เขาดูหนังอย่างตั้งใจ เขาดูหนังด้วยความตั้งใจ

ล�ำดับค�ำในประโยค

การล�าดับค�าในประโยคมีความส�าคัญมากเพราะหากเรียงล�าดับค�าสลับกัน ความหมายของประโยคก็จะเปลี่ยนไปจากเดิมและท�าให้การสื่อสารผิดพลาดได้ ฉัน เป็น ...........................

n

ฉันสอนการบ้านน้อง

io

น้อง เป็น ...........................

at

น้อง เป็น ...........................

uc

น้องสอนการบ้านฉัน

Ed

ฉัน เป็น ...........................

n

อย่างไรก็ตาม บางประโยคแม้จะมีการเรียงล�าดับค�าในประโยคสลับกัน แต่ความหมายของประโยคจะเปลี่ยนไปน้อยมากหรือแทบจะไม่เปลี่ยนไปเลย

Le

ar

เธอน่าจะได้พบกับเขาที่บ้านคุณพ่ออย่างช้าวันพรุ่งนี ้ ที่บ้านคุณพ่อ พรุ่งนี้อย่างช้าเธอน่าจะได้พบกับเขา

สิ่งที่แตกต่างกันของ ๒ ประโยคนี้คือ .................. ผู้รับสารจะรู้สึกว่าค�าที่อยู่ต้นหรือท้ายประโยคส�าคัญกว่าค�าที่อยู่กลางประโยค ควำมยำวของประโยค

ประโยคจะยาวขึ้นเมื่อผู้พูดเพิ่ม รายละเอียดให้มากขึ้น เช่น สถานที่ เวลา หรืออาจเพิ่มค�าขยายนามหรือกริยาใน ประโยค

ธาราไปรับประทานอาหารกับครอบครัว ธาราไปรับประทานอาหารเย็นกับครอบครัวที่ร้านประจ�า การร้อยเรียงถ้อยค�า

21

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้แยกส่วนประกอบของประโยคต่อไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง

๑.

io

n

พี่ชายของฉันชอบรับประทานขนมไทยที่คุณย่าเป็นคนท�า ภาคประธาน ........................................................................................................................ ภาคแสดง ........................................................................................................................ ๒.

ประโยคในข้อใดมีส่วนประกอบแตกต่างจากพวก ๑. เพื่อนของนิราซื้อกระเป๋าใบใหญ่ ๒. คุณยายของไนล์เป็นคนภาคเหนือ ๓. พ่อของนทีเป็นวิศวกรของบริษัทชื่อดัง ๔. พี่สาวของนานะไปเที่ยวที่ภูเขาที่สูงที่สุดในไทย

๒.

ข้อใดเมื่อเปลี่ยนล�าดับในประโยคแล้ว ความหมายของประโยคเปลี่ยนไป ๑. ลิลินจะไปเที่ยวกับลิลลี่ ลิลลี่จะไปเที่ยวกับลิลิน ๒. ไลลาหน้าตาเหมือนน้อง น้องหน้าตาเหมือนไลลา ๓. ลันนาเป็นพี่ของลันเตา ลันเตาเป็นพี่ของลันนา ๔. เลออนเอาผักใส่ในตะกร้า เลออนเอาตะกร้ามาใส่ผัก

22

Le

ar

๑.





ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

n

ค�ำชี้แจง

Ed

uc

at

หัวหน้าของเขาใช้กระเป๋าสานจากผักตบชวา ภาคประธาน ........................................................................................................................ ภาคแสดง ........................................................................................................................

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ทบทวน

ก่อนจำก..

ลักษณะของประโยค

uc

๒. ภำคแสดง กล่าวถึงกริยา กรรม และค�าขยาย

Le

ar

n

Ed

๑. ภำคประธำน ผู้กระท�า และค�าขยาย

at

io

n

ส่วนประกอบของประโยค ประโยคมีส่วนประกอบ ที่ส�าคัญ ๒ ส่วน คือ

ล�ำดับค�ำในประโยค หากเรียงล�าดับค�า ในประโยคสลับกัน ความหมายของประโยค อาจจะเปลี่ยนแปลงได้

ควำมยำวของประโยค ประโยคจะยาวขึ้นเมื่อผู้พูดเพิ่มรายละเอียด ให้มากขึ้น เช่น สถานที่ เวลา หรืออาจเพิ่ม ค�าขยายนามหรือกริยาในประโยค

การร้อยเรียงถ้อยค�า

23

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

รู ปแบบของประโยค การร้ อยเรียงถ้อยคา� ้ ่ งสำร ประโยคตำมเจตนำของผูส



สามารถแบ่งได้ ๓ ประเภท คือ

io

n

.........................

uc

at

เป็นประโยคบอกเล่าเรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการแจ้งให้ผู้รับสารทราบ การบอกเล่าเรื่องราวอาจมีเนื้อความปฏิเสธอยู่ในประโยคด้วย

Ed

เขาชอบอ่านนวนิยายสยองขวัญ เขาไม่ชอบอ่านนวนิยายสยองขวัญ .........................

Le

ar

n

เป็นประโยคที่ผู้พูดใช้ถามเรื่องราวเพื่อให้ผู้ฟังตอบ มักจะมีค�าว่า หรือ หรือไม่ ใคร อะไร อย่างไร ฯลฯ อาจมีเนื้อความปฏิเสธอยู่ในประโยค ด้วย เธอชอบฟังเพลงเกาหลีหรือ เธอไม่ชอบฟังเพลงเกาหลีหรือ ......................... เป็นประโยคที่ผู้พูดใช้เพื่อบอกผู้ฟังให้กระท�าบางอย่างตามความ ต้องการของผู้พูด อาจจะเรียกว่า ประโยคค�าสั่งหรือประโยคขอร้อง ท้ายประโยคมักมีค�าว่า ซิ นะ เถอะ และอาจมีเนื้อความปฏิเสธอยู่ใน ประโยคด้วย มักจะมีค�าว่า อย่า ต้อง ไม่ เธอไปกินข้าวกับเขาเถอะนะ เธอต้องไม่ไปกินข้าวกับเขา

26

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ชนิ ดของประโยค

ประโยคแบ่งได้ ๓ ชนิด ตามใจความของประโยค ดังนี้ ประโยคที่มีค�ากริยาส�าคัญเพียงค�าเดียว ................................................... ประโยค ความเดียว

n

ฉันก�าลังท�างาน

at

io

แม่ท�าอาหาร

Ed

uc

ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคย่อยหลาย ๆ ประโยคเข้าด้วยกัน โดย อาจมีค�าเชื่อม เช่น ............................. เชื่อมประโยคเหล่านี้เข้าด้วยกัน ประโยค ความรวม

n

ฉันและน้องดูรายการโทรทัศน์

ar

เธอซื้อรถจักรยานยนต์หรือรถยนต์

Le



ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคใจความส�าคัญและอนุประโยค มักเชื่อมกันด้วยค�าว่า ที่ ซึ่ง อัน ผู้ ว่า ให้ โดยจะอยู่ ............... อนุประโยค ประโยค ความซ้้อน

เขาเป็นศัลยแพทย์ที่ผ่าตัดได้เก่งที่สุดในโรงพยาบาลนี้ กระเป๋าซึ่งท�ามาจากวัสดุธรรมชาติก�าลังเป็นที่นิยม

การร้อยเรียงถ้อยค�า

27

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้นกั เรียนน�าตัวอักษรทางฝัง่ ขวามือมาเติมหน้าข้อความทีส่ มั พันธ์กนั ให้ถกู ต้อง

๑.

28

uc

๑.

ประโยคในข้อใดผู้พูดมีเจตนาแตกต่างจากข้ออื่น ๑. คุณต้องไม่ไปช่วยเขาแล้วนะ ๒ คุณต้องหัดควบคุมอารมณ์บ้างนะ ๓. คุณต้องท�างานให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกลับบ้าน ๔. คุณต้องออกจากบ้านกี่โมงหรือถึงจะไม่ไปท�างานสาย

๒.

ข้อใดเป็นประโยคความเดียว ๑. เบตาแคโรทีนมีคุณสมบัติในการต้านสารอนุมูลอิสระ ๒. เบตาแคโรทีนท�าให้เซลล์ผิวที่สร้างขึ้นมาใหม่มีสุขภาพดี ๓. เบตาแคโรทีนซึ่งพบมากในผักผลไม้มีส่วนช่วยบ�ารุงสายตา ๔. การรับประทานฟักทองและมะละกอช่วยป้องกันจอประสาทตาเสื่อมได้

Le

ar

n





ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

Ed

ค�ำชี้แจง

at

io

n

................. เธอต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ก. ประโยคความเดียว ๒. ................. ฉันก�าลังจะรับประทานอาหาร ข. ประโยคความรวม ๓. ................. เขาเป็นศิลปินที่ก�าลังโด่งดังมากในต่างประเทศ ค. ประโยคความซ้อน

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ทบทวน

รูปแบบของประโยค

ก่อนจำก..

ถำมให้ตอบ ผู้พูดใช้ ถามเรื่องราว เพื่อให้ผู้ฟัง ตอบ

ฉัน

เธอ

Le

ar

n

Ed

uc

at

ประโยค ตำมเจตนำ ของ ้ ่ งสำร ผูส

io

แจ้งให้ทรำบ ผู้พูดใช้บอกเล่า เรื่องราว ที่ต้องการ แจ้งให้ผู้ฟัง ทราบ

n

บอกให้ทำ� ผู้พูดใช้เพื่อบอกผู้ฟังให้ท�าตามความต้องการ อาจจะเรียกว่า ประโยคค�าสั่งหรือ ประโยคขอร้อง

ประโยคควำมเดียว ประโยคที่มี ค�ากริยาส�าคัญ เพียงค�าเดียว และไม่มี ค�าเชื่อม

ชนิ ด ของ ประโยค

ประโยคควำมรวม ประโยคย่อย หลาย ๆ ประโยค รวมกัน มีค�าสันธาน เชื่อมกัน เช่นค�าว่า และ แต่ หรือ

ประโยคควำมซ้อน มีประโยคใจความส�าคัญและอนุประโยค เชื่อมกันด้วยค�าว่า ที่ ซึ่ง อัน ผู้ ว่า ให้ อยู่หน้าอนุประโยค

การร้อยเรียงถ้อยค�า

29

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การร้อยเรียงประโยค

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับประโยค

io

n

ประโยคอาจประกอบด้วยค�าที่เรียงต่อกันหลายบรรทัดหรือมีค�าเดียว แล้วแต่ว่าผู้ส่งสาร ต้องการแสดงความคิดให้ชัดเจนเพียงใด

ประโยคมักจะมีค�ากริยา แต่บางประโยคก็ไม่มีค�ากริยา เรียก “ประโยคไร้กริยา”

n



Ed

uc

at

ห้ามเข้า ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต ห้ามเข้า ที่นี่เป็นทรัพย์สินส่วนบุคคล ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต ห้ามเข้า

Le

ar

เธอชื่อหนูดี คุณยายอายุ ๖๐ ปี

ประโยคที่มีลักษณะต่างจากประโยคทั่วไป ขึ้นต้นประโยคด้วยค�าว่า “เป็น” หรือ “มันเป็น” มันเป็นหน้าที่ของเขาที่ต้องท�างานให้เสร็จ มีค�าว่า “ถูก” อยู่หน้าค�ากริยา โดยไม่ท�าให้ความหมายเป็นไปในเชิงลบ เขาถูกเลือกให้ถือพานไหว้ครู

32

การร้อยเรียงถ้อยค�า

หลักในกำรร้อยเรียงประโยค

ในการร้อยเรียงประโยคเข้าด้วยกัน เนื้อความจะต้องมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและแสดงความคิด ของผู้ส่งสารได้ถูกต้องตามล�าดับ ส่วนถ้อยค�าในประโยคจะเกี่ยวเนื่องกันด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้ ื่ ม กำรเชอ

n

การท�าให้ประโยคต่อเนื่องกันโดยใช้ค�าสันธานเชื่อม หรือใช้สันธานวลี ดังนี้

ขัดแย้งกัน

at

io

คล้อยตำมกัน

Ed

เขาตัดสินใจลาออก และ ไปเรียนต่อที่ ต่างประเทศ

...........................................................

uc

...........................................................

ar

n

เลือกอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ ง

...........................................................

Le



ต�ารวจรู้ตัวผู้กระท�าผิดแล้ว แต่ ยังไม่มี หลักฐานเพียงพอ เป็นเหตุเป็นผล

...........................................................

ฉันอยากกินเค้ก หรือไม่ก็ ชานมไข่มุก

เขาไม่ชอบกินข้าวเช้า จึง มักจะ ปวดท้องเป็นประจ�า

เกี่ยวข้องกันทำงเวลำ

่ นไข เงือ

...........................................................

...........................................................

เขารอให้ทุกคนกลับบ้านก่อน แล้วจึง ปิดไฟในอาคาร

ถ้ำ เธออยากสอบได้คะแนนดี ๆ ก็ ต้อง ตั้งใจอ่านหนังสือ

การร้อยเรียงถ้อยค�า

33

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

กำรซ้�ำ

การใช้ค�าหรือวลีที่หมายถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระท�าปรากฏซ�้า ๆ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องกัน แม่บ้านกวาดใบไม้ที่หล่นลงพื้นไปแค่พักเดียว ใบไม้ก็หล่นกองเต็มพื้นอีกแล้ว

io

n

กำรละ

uc

at

การละประโยคที่กล่าวถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการกระท�าเดียวกัน โดยไม่จ�าเป็นต้องกล่าวซ�้า

Ed

เขาชอบเดินทางไปท่องเที่ยวคนเดียว แต่ฉันไม่

n

กำรแทน

Le

ar

การใช้ค�าหรือวลีอื่นแทนการกล่าวถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการกระท�า เดียวกัน ที่บ้านของคุณปูม่ ีห้องสมุด เพราะท่านชอบอ่านหนังสือมาก

34

การร้อยเรียงถ้อยค�า

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

บทความข้างต้นไม่ปรากฏการเชื่อมความในลักษณะใด ๑. เงื่อนไข ๒. ขัดแย้งกัน ๓. คล้อยตามกัน ๔. เกี่ยวข้องกันทางเวลา

๒.

ประโยคในข้อใดปรากฏการละ ๑. แม่ตั้งใจท�าอาหาร เพราะทุกคนชอบกินอาหารของแม่ ๒. ทั้งเธอและเขาต่างก็ท�างานหนักจนไม่มีเวลาดูแลตัวเอง ๓. พี่สาวของฉันเคยไปเที่ยวประเทศจอร์แดนแล้ว ฉันยังไม่เคย ๔. วีณาร้องเพลงเพราะมาก เธอจึงได้เป็นตัวแทนไปประกวดร้องเพลง

๓.

ข้อใดปรากฏการร้อยเรียงประโยคลักษณะเดียวกับประโยคต่อไปนี้ “น้องชอบกินเค้กร้านนี้ ฉันก็ด้วย” ๑. พี่ไม่ชอบที่ที่มีคนเยอะ เขาไม่ไปดูคอนเสิร์ตกับฉันแน่ ๒. คุณน้าท�าอาหารเก่งมาก เคยเป็นคุณครูสอนท�าอาหารด้วย ๓. เขาผอมลงมาก เพราะเขาท�างานหนัก ๔. ฉันและน้องชอบไปเดินดูนิทรรศการภาพถ่าย

Le



ar

n

Ed

uc

๑.





at

io

n

“น�้าผึ้งเป็นผลผลิตของน�้าหวานจากดอกไม้และจากแหล่งอื่น ๆ ที่ผึ้งน�ามาเก็บสะสมไว้ น�้าผึ้งมีคุณค่าทางสารอาหารมากมายแต่ก็ให้โทษได้เช่นเดียวกัน หากรับประทานมากเกินไป ก็เป็นอันตรายต่อร่างกายได้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เพราะอาจจะท�าให้ระดับน�้าตาล ในเลือดสูงขึ้นได้”

การร้อยเรียงถ้อยค�า

35

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก.. กำรเชื่อม

กำรซ�้ำ

uc

at

io

n

การใช้ค�าหรือวลีที่หมายถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระท�า ปรากฏซ�้า ๆ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องกัน

Ed

การท�าให้ประโยคต่อเนือ่ งกันโดยใช้ ค�าสันธานเชื่อม หรือใช้สันธานวลี ดังนี้ คล้อยตามกัน ขัดแย้งกัน เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นเหตุเป็นผล เกี่ยวข้องกันทางเวลา เงื่อนไข

Le

กำรละ

ar

n

หลัก

การละประโยคที่กล่าวถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการกระท�าเดียวกัน โดยไม่จ�าเป็นต้องกล่าวซ�้า

36

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ในกำรร้อยเรียง ประโยค

กำรแทน การใช้ค�าหรือวลีอื่นแทนการกล่าว ถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการกระท�า เดียวกัน

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การใช้ส�านวน ส� ำนวน ภำษิ ต ค�ำพังเพย

ถ้อยค�าที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน มีความหมาย ไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่

at

io

n

...............................

...............................

Ed

uc

ถ้อยค�าที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน มีความหมาย เป็นคติสอนใจ

ถ้อยค�าที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน มีความหมาย กลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง

n

...............................

ar

ภาษิตและค�าพังเพยล้วนมีความหมายไม่ตรงตัว ดังนั้นจึงถือว่าเป็น ส�ำนวน



Le

ภำพสะท้อนจำกส� ำนวน

ส�านวนสะท้อนวิถีชีวิต สังคมและวัฒนธรรม กำรหำเลี้ยงชีพ

วัวหายล้อมคอก

ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น

่ ควำมเชือ

ทัศนะเกี่ยวกับบุคคล

กงเกวียนก�าเกวียน

38

ธรรมชำติรอบตัว

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับส� ำนวน

มีเสี ยง

ในบำงส� ำนวนมีค�ำ

ั ษณะเป็นกลุม ่ ค�ำ มีลก

ตรงข้ำมกัน

ประโยค

ประโยค หรือกลุ่ม

ที่มีควำมหมำย

Le

มือไวใจเร็ว

ar

n

Ed

uc

at

io

n

สั มผัส

เรียนผูกแล้วต้องเรียนแก้

ถ่านไฟเก่า

การร้อยเรียงถ้อยค�า

39

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ส�านวนในข้อใดสะท้อนภาพการหาเลี้ยงชีพ ๑. ก้างขวางคอ ๒. ตีปลาหน้าไซ ๓. น�้าซึมบ่อทราย ๔. หมากัดอย่ากัดตอบ

๓.

ข้อใดไม่ใช่ส�านวน ๑. แก้เผ็ด ๒. ก่อกวน ๓. ขึ้นคาน ๔. คว�่าบาตร

40

Le

ar

n

Ed



n

๒.

io

ข้อใดกล่าวผิด ๑. ภาษิตเป็นคติสอนใจ ๒. ค�าพังเพยต้องอาศัยการตีความ ๓. ภาษิตและค�าพังเพยถือว่าเป็นส�านวน ๔. ส�านวนมีความหมายที่ตรงตัวและเข้าใจง่าย

uc

๑.





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

at

ค�ำชี้แจง

การร้อยเรียงถ้อยค�า

ทบทวน

ก่อนจำก..

กำรใช้ส�ำนวน ๑.

io

n

ส�ำนวน มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมี ความหมายอื่นแฝงอยู่ ๒.

Ed

uc

at

ภำษิต มีความหมายเป็นคติสอนใจ

ar

n

๓.

ค�ำพังเพย มีความหมายกลาง ๆ เพื่อให้ตีความ เข้ากับเรื่อง

Le

ภาษิตและค�าพังเพยมีความหมาย ไม่ตรงตัว ดังนั้นจึงถือว่าเป็นส�านวน

ภำพสะท้อนจำกส�ำนวน ส�านวนจะสะท้อนวิถีชีวิต สังคมและวัฒนธรรม เช่นการ หาเลี้ยงชีพ ความเชื่อ ค่านิยม ธรรมชาติรอบตัว

๔.

ข้อสังเกตเกี่ยวกับส�ำนวน มีเสียงสัมผัส

๕.

ในบางส�านวนจะมีค�าที่มีความหมายตรงข้ามกัน มีลักษณะเป็นกลุ่มค�า ประโยค หรือกลุ่มประโยค

การร้อยเรียงถ้อยค�า

41

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

uc

at

io

n

ท ๔.๑ ม.๕/๒ ใช้ค�าและกลุ่มค�าสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ท ๔.๑ ม.๕/๕ วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น

ar

n

สามารถอธิบายความหมายและหลักในการสร้างค�าซ�้าได้ สามารถอธิบายความหมายและหลักในการสร้างค�าซ้อนได้ สามารถอธิบายความหมายและหลักในการสร้างค�าประสมได้ สามารถอธิบายความแตกต่างของค�าซ้อนและค�าประสมได้ สามารถอธิบายและแยกแยะค�าที่มาจากภาษาอื่นได้

Le

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

Ed

จุดประสงค์

การเพ่ ิมค�า

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

ค�าในภาษาไทยมีทั้งค�าที่เป็นค�าไทยแท้ซึ่งใช้กันมาตั้งแต่โบราณ และค�าที่เกิด ขึ้ น ใหม่ บ างค� า อาจจะเปลี่ ย นแปลงจากค� า เดิ ม ที่ มี อ ยู ่ หรื อ เป็ น ค� า ที่ คิ ด ขึ้ น ใหม่ ในแต่ละยุคสมัย นอกจากนีย้ งั มีการรับเอาค�าจากภาษาอืน่ มาปรับใช้ให้เข้ากับอักขรวิธี ของภาษาไทย ท�าให้ปัจจุบันในภาษาไทยมีค�ามากมายให้เราได้เลือกใช้กันตาม ความเหมาะสม

ผังมโนทัศน์

๑.

ค�ำซ้�ำ

n

ค�ำซ�้ำ

io

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำซ�้ำ

uc Ed

n

ค�ำซ้้อนและค�ำประสม

ar

ค�ำซ้อน

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำซ้อน

Le

๒.

at

กำรใช้ไม้ยมก

ค�ำประสม ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำประสม ควำมยำวของประโยค

ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น

ar

n

Ed

uc

io

at

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำที่มำจำกภำษำอื่น

n

ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น

Le

๓.

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ค�าซ้�า ค�ำซ้�ำ

at

เช่น นายด�าด�านา ด�า ค�าแรก เป็นค�า .............................................. ด�า ค�าที่สอง เป็นค�า ..............................................

Ed

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับค�ำซ้�ำ

uc



io

n

คือ การเพิ่มค�าโดยออกเสียงซ�้าในค�าเดิมต่อเนื่องกัน และเมื่อเขียนจะใช้เครื่องหมาย ..................... เติมหลังค�าที่ต้องการซ�้า ถ้าเป็นค�าเดียวกันแต่ท�าหน้าที่ต่างกันถือว่า .................... ค�าซ�้า

เช่น

ar

n

๑. ค�ำซ้�ำอำจมีหน้ ำที่แตกต่ำงกัน

Le

ท�ำให้คำ� นำมกลำยเป็นพหูพจน์ เพื่อน ๆ อยากไปเที่ยวทะเล ท�ำกริยำให้ต่อเนื่องกัน เขายืน ๆ อยู่ก็เป็นลมไป เพิ่มน�้ำหนักของค�ำ แม่ของเธอใจดี๊ใจดี

เปลี่ยนควำมหมำย เธอจะท�างานลวก ๆ แบบนี้ไม่ได้

48

การเพิ่มค�า

เพิ่มจ�ำนวน ฉันขนของคนเดียวเป็นสิบ ๆ ถุง ท�ำให้น�้ำหนักของค�ำเบำลง เธอกับน้องหน้าตาคล้าย ๆ กัน บอกควำมหมำยไม่ชี้เฉพำะ บ้านของเธออยูแ่ ถว ๆ นี้หรือ

๒. ค�ำซ้�ำบำงค�ำต้องออกเสี ยงซ้�ำเสมอ



คนที่มายืนท�าลับ ๆ ล่อ ๆ อยู่หน้าหมู่บ้านเมื่อวันก่อน คือคนที่ถูกต�ารวจจับเพราะเป็นขโมย

เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่

io

(กาพย์เห่เรือ)

uc

at

กำรใชไ้ ม้ยมก

Ed

หลักในกำรเขียนไม้ยมก

เว้นวรรคข้างหน้าและข้างหลังไม้ยมก ค�ำ

เว้นวรรค

ซา�้ ค�า

Le



เว้นวรรค ค�ำ

ar

ี ำรใชไ้ ม้ยมก วิธก



n



n

๓. ในปัจจุบันบทร้อยกรองที่มีค�ำซ้�ำจะไม่นิยมใชไ้ ม้ยมก

เสื้อผ้ามีแต่ตัวสวย ๆ ทั้งนั้นเลย

ซ�้าวลี เขาร้องตะโกนว่า “ไฟไหม้ ๆ” กรณี ท่ไี ม่ใชไ้ ม้ยมก



ค�าที่มีเสียงซ�้ากัน แต่เป็นค�าคนละชนิดหรือมีหน้าที่ต่างกัน ค�าที่ไม่ใช้ไม้ยมก เช่น ค�าที่มาจากภาษาต่างประเทศ ได้แก่ .......................................... หรือเป็นค�าเฉพาะที่ถือว่าเป็นหนึ่งค�า คือ .................. ในปัจจุบันบทประพันธ์หรือบทร้อยกรอง ไม่นิยมใช้ไม้ยมก การเพิ่มค�า

49

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

๑.

ค�าซ�้าในข้อใดที่ท�าให้ความหมายของค�าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ๑. เรื่องง่าย ๆ แค่นี้ ยังต้องให้ฉันช่วยอีกหรือ ๒. เธอแน่ใจนะว่าท�าโทรศัพท์หล่นหายแถว ๆ นี้ ๓. หน้าเธอเด๊กเด็ก ใช้ครีมยี่ห้ออะไร แนะน�าฉันบ้างสิ ๔. เขาท�างานลวก ๆ ไปส่งอาจารย์ เขาเลยได้คะแนนน้อย

๒.

ค�าซ�้าในข้อใดต้องออกเสียงซ�้าเสมอ ๑. ใครก็ชอบของสวย ๆ งาม ๆ ทั้งนั้น ๒. เขาต้องหลบ ๆ ซ่อน ๆ เพราะหนีเจ้าหนี้ ๓. เขาเป็นคนเก่ง ไม่ใช่มีความรู้แค่ งู ๆ ปลา ๆ ๔. ค�่า ๆ มืด ๆ ไม่ควรออกไปไหนมาไหนคนเดียวนะ

๓.

ข้อใดใช้ไม้ยมกไม่ถูกต้อง ๑. คน ๆ นี้ไม่น่าไว้ใจเลย ๒. เขาท�างานมาเป็นปี ๆ แต่เงินเดือนก็ไม่ขึ้นเลย ๓. อากาศร้อน ๆ แบบนี้ได้กินไอศกรีมสักถ้วยก็คงดี ๔. เขาได้แต่พยักหน้าหงึก ๆ โดยไม่ออกความคิดเห็นอะไรเลย

50

uc

Le

ar

n

Ed



at

io





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

n

ค�ำชี้แจง

การเพิ่มค�า

ทบทวน

ก่อนจำก..

ค�ำซ�้ำ

Le

uc

Ed

ar

การน�าค�ามาเขียนซ�้า โดยเติม ไม้ยมก (ๆ) หลังค�าที่ต้องการซ�้า ถ้าเป็น ค�าเดียวกันแต่ทา� หน้าที่ ต่างกันไม่ถือว่าเป็นค�าซ�้า

ค�าซ�้าอาจท�าหน้าที่ แตกต่างกัน เช่น ท�าให้ค�านามกลายเป็น พหูพจน์ ท�าให้น�้าหนักของ ค�าเบาลงหรือเพิม่ ขึน้ ฯลฯ ค�าซ�้าบางค�าต้องออกเสียง ซ�้าเสมอ บทร้อยกรองที่มีค�าซ�้าจะ ไม่นิยมใช้ไม้ยมกแต่จะ เขียนค�าค�านั้นซ�้า

n

ค�ำซ�้ำ

เขียนเว้นวรรคข้างหน้า และข้างหลังไม้ยมก ใช้ซ�้าค�าหรือซ�้าวลี ค�าคนละชนิดหรือต่าง หน้าที่กันใช้ไม้ยมกไม่ได้ ค�าที่ไม่ใช้ไม้ยมก ได้แก่ นานา เชาเชา อันอัน จะจะ

io

at

ข้อสังเกตเกีย่ วกับค�ำซ�ำ้

n

กำรใช้ไม้ยมก

การเพิ่ มค�า

51

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

้ นและค�ำประสม ค�ำซ้อ ค�ำซ้้อน

at

io

n

คือ การเพิ่มค�าโดยน�าค�าที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกันมาวางซ้อนกันจนเกิด เป็นค�าใหม่ ซึง่ ค�าใหม่นอี้ าจจะมีความหมายไม่ตา่ งกับค�าเดิมมากนัก แต่อาจมีบางค�าทีค่ วามหมายเปลีย่ นไปบ้าง

ซ้้อนเพื่อเสี ยง

เกิดจากการน�าค�าที่มีเสียงสัมผัส พยัญชนะหรือเสียงสระมาวางชิดกัน เพื่อให้เกิดความไพเราะ

Le

ar

n

Ed

เกิดจากการน�าค�าที่มีความหมาย เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกัน มาวางชิดกัน

uc

ซ้้อนเพื่อควำมหมำย

กดดัน ปลอดโปร่ง ขัดขวาง สูงต�่า ดีชั่ว ขาดเหลือ

54

การเพิ่มค�า

ท้อแท้ ซุบซิบ อ้างว้าง ประเจิดประเจ้อ หัวจิตหัวใจ

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับค�ำซ้้อน

uc

at

io

n

ค�า ๑ พยางค์หรือ ๒ พยางค์ ซ้อนกันกลายเป็น ค�าซ้อน ๔ พยางค์ (ไม่นิยมซ้อนค�า ๓ พยางค์) แม่น�้าล�าคลอง

Le

ar

n

Ed

ค�าซ้อนบางค�ามีค�าใดค�าหนึ่งเป็นค�าภาษาถิ่น หรือมาจากภาษาอื่นซึ่งมีความหมายไปใน ทิศทางเดียวกันกับอีกค�าหนึ่งที่น�ามาซ้อนกัน ทองค�า ค�าซ้อนบางค�าบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เทียบกับภาษา ต่างประเทศ ต้านทาน = resist ค�าซ้อนบางค�า หากสลับต�าแหน่งค�า ความหมายจะ เปลี่ยนแปลงไป แน่นหนา .......................................................... หนาแน่น ......................................................... ค�าซ้อนส่วนใหญ่สลับต�าแหน่งค�ากันไม่ได้

การเพิ่มค�า

55

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ค�ำประสม

คือ การเพิ่มค�าโดยน�าค�าตั้งแต่ ๒ ค�าขึ้นไปมาประสมกันจนเกิดเป็นค�าใหม่ ความหมายใหม่ อาจจะมีเค้าของความหมายเดิมหรือไม่ก็ได้ ควำมหมำยเปลี่ยนไป

มีเค้ำของควำมหมำยเดิม

ผีเสื้อ

io

n

วิ่งเปี้ยว

ลูกเสือ

uc

at

รถยนต์

Ed

ค�าประสมเป็นค�าค�าเดียว หากแยกค�ากันความหมายจะไม่เหมือนเดิม

ar

n

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับค�ำประสม

Le

มักเป็นค�านาม ค�ากริยา และค�าวิเศษณ์

56

........................

........................

........................

เครื่องซักผ้า น�้ายาปรับผ้านุ่ม

วางท่า เย่อหยิ่ง จองหอง

ใจด�า ใจร้าย ใจจืด

การเพิ่มค�า

ค�าประสมที่เป็นค�านาม ค�ากริยา และค�าวิเศษณ์ ไม่จ�าเป็นต้องขึ้นต้นด้วยค�าประเภทนั้น ๆ เสมอไป

+ ........................

........................

ค�าประสมจ�านวนมากเกิดจากค�าตั้งแล้วมีค�าต่าง ๆ มาเสริม พ่อ

n

Ed

พ่อค้า พ่อสื่อ พ่อครัว พ่อบ้าน

ar

นักร้อง นักแสดง นักดนตรี

Le

นั ก



n

........................

ต้มย�ำ

io

ย�ำ

at

ต้ม

uc



=

ค�าประสมจ�านวนมากมีความหมายเปรียบเทียบ

ตีนผี เรียกผู้ที่ขับรถเร็วจนน่าหวาดเสียว และไม่รักษากฎจราจร

มือหนึ่ง ผู้มีความสามารถยอดเยี่ยม ในทางใดทางหนึ่ง การเพิ่มค�า

57

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้นกั เรียนน�าค�าในกรอบไปเติมตามประเภทของค�าให้ถกู ต้อง เจ้ำชู้ มักมำก เท็จจริง มัวหมอง แข็งข้อ ยืนหยัด

58

.............................................. .............................................. ..............................................

Ed

uc

at

io

n

.............................................. .............................................. ..............................................

ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

ค�าที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่ค�าซ้อน ๑. ไฟฟ้าในอาคารขัดข้องจึงท�าให้ไฟดับ ๒. คนร้ายขัดขืนการจับกุมจากเจ้าหน้าที่ต�ารวจ ๓. น้องไม่ชอบที่ถูกขัดใจ จึงไม่ยอมไปโรงเรียน ๔. เขาท�าทุกวิถีทางเพื่อขัดขวางไม่ให้เธอเลื่อนต�าแหน่ง

๒.

ค�าในข้อใดเป็นค�าประสมทุกค�า ๑. ยกพื้น ยกเค้า ยกทรง ๒. ลูกชุบ ลูกหลาน ลูกคิด ๓. ขาดทุน ขาดตอน ขาดแคลน ๔. ปล่อยไก่ ปล่อยวาง ปล่อยใจ

Le

ar

๑.





ค�ำประสม

n

ค�ำชี้แจง

ค�ำซ้้อน

การเพิ่มค�า

ทบทวน

ก่อนจำก..

io ค�ำซ้อนและ ค�ำประสม

Le

ar

n

Ed

uc

at

ซ้อนเพื่อควำมหมำย น�าค�าที่มีความหมายเหมือน ใกล้เคียง หรือตรงกันข้ามกันมาวางชิดกัน ซ้อนเพื่อเสียง น�าค�าที่มีเสียงสัมผัสพยัญชนะ หรือเสียงสระมาวางชิดกันเพื่อให้ เกิดความไพเราะ

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำซ้อน ค�าซ้อนบางค�ามี ๔ พยางค์ ค�าซ้อนบางค�ามีภาษาถิ่น ค�าซ้อนบางค�าที่สลับ ต�าแหน่งค�า ความหมาย เปลี่ยนไป ค�าซ้อนส่วนใหญ่สลับ ต�าแหน่งค�ากันไม่ได้

n

ค�ำซ้อน น�าค�าที่มีความหมายใกล้เคียงกัน หรือตรงกันข้ามมาวางซ้อนกันจน เกิดเป็นค�าใหม่

ค�ำประสม น�าค�าตั้งแต่ ๒ ค�าขึ้นไปมาประสมกัน จนเกิดเป็นค�าใหม่ ความหมายใหม่ อาจจะมีเค้าของความหมายเดิมหรือ ไม่ก็ได้ ค�าประสมเป็นค�าค�าเดียว หากแยกกัน ความหมายจะไม่เหมือนเดิม

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำประสม มักเป็นค�านาม ค�ากริยา และ ค�าวิเศษณ์ ค�าประสมเกิดจากค�าตั้งแล้ว มีค�าต่าง ๆ มาเสริม ค�าประสมจ�านวนมากมี ความหมายเปรียบเทียบ

การเพิ่ มค�า

59

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ค�าที่มาจากภาษาอื่น

ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น

io

n

คือ การเพิ่มค�าโดยการน�าค�าจากภาษาอื่นมาใช้ ค�าจากภาษาอื่นที่ปรากฏในภาษาไทยมีมากถึง ๑๔ ภาษา เช่น เขมร จีน ชวา บาลี สันสกฤต อังกฤษ ฯลฯ ...........................

n

Ed

uc

at

...........................

Le

ar

มักขึ้นต้นด้วย บ�า บัง บัน บรร ค�า ช�า ต�า อ�า ท�า ส�า ฯลฯ เช่น .............................................. มีตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เช่น .............................................. เป็นค�าแผลง เช่น ..............................................

62

การเพิ่มค�า

เป็นค�า ๒ พยางค์ เช่น .............................................. ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล�้า เช่น .............................................. ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น ............................................. แต่บางค�าต้องปรับให้สอดคล้องกับ ระบบเสียงในภาษาไทยจึงต้องใส่ วรรณยุกต์ก�ากับด้วย เช่น ..............................................

...........................

เป็นค�าโดด มักใช้วรรณยุกต์ตรี หรือจัตวา มีการสะกดตรงตามมาตรา ส่วนใหญ่เป็นชื่ออาหาร ของใช้ ระบบการค้าขาย เช่น ............................................... .......................................................

ใช้ค�าตรงศัพท์ (ค�าทับศัพท์) มีลักษณะเป็นค�าหลายพยางค์ เสียงพยัญชนะบางเสียงไม่มีใน ภาษาไทย เช่น .............................

io

at

uc

Ed

บรีฟ แฟลต ดราฟต์ คีย์บอร์ด คอนเสิร์ต เทนนิส

...........................

Le

ar

n

...........................

n

...........................

นิยมใช้ตัว ฬ เช่น ........................ ไม่นิยมควบกล�้าและอักษรน�า เช่น .............................................. นิยมใช้ “ริ” เช่น .......................... มีพยัญชนะซ�้ากัน เช่น ..................

นิยมใช้ตัว ฑ เช่น ....................... นิยมควบกล�้าและอักษรน�า เช่น .............................................. นิยมใช้ รร เช่น .......................... มีตัว ศ ษ ที่ไม่มีในภาษาบาลี เช่น ..............................................

ค�าไทยที่ใช้ตัว “ศ” มี เพียง ............ ค�า คือ ......................................... การเพิ่มค�า

63

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

n

ค�าที่รับมาจากภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย จะดัดแปลงให้เข้ากับระบบเสียงและระบบ อักขรวิธีของภาษาไทย โดยรักษารูปค�าเอาไว้ เพื่อให้สังเกตได้ว่าเป็นค�าที่มาจากภาษานั้น ๆ

io

ข้ อสั งเกต

ค�าที่รับมาจากภาษาอื่นจะเลี่ยงการเขียนรูป วรรณยุกต์ ( ่ ้ ๊ ๋) ก�ากับ ยกเว้นค�าที่ใช้กันจน ชินแล้ว

at

เกี่ยวกับ

uc

ค�ำที่มำจำก

Le

ar

n

Ed

ภำษำอื่น

64

การเพิ่ มค�า

ในภาษาไทยมีปรากฏค�ายืมที่มาจากภาษา ............................................ มากที่สุด ซึ่งจะผูกค�าโดยใช้วิธีการ .................... คือ การน�าค�ามาประกอบกันเป็นค�าใหม่ บางค�าก็มีการกลืนเสียงที่เรียกว่า ................ ธน+กิจ = ธนกิจ ธน+อาคาร = ธนาคาร

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ค�าในข้อใดไม่ใช่ค�าที่มาจากภาษาอื่น ๑. ศก ๒. ศึก ๓. โศก ๔. ศักดิ์

๒.

ข้อใดกล่าวถูกต้อง ๑. ในภาษาไทยไม่ปรากฏการน�าค�าภาษาเขมรมาใช้ ๒. ค�าบาลีและสันสกฤตคือค�าที่มาจากภาษาอื่นที่น�ามาใช้ในภาษาไทยมากที่สุด ๓. ค�าทีม่ าจากภาษาอืน่ แม้จะไม่มเี สียงวรรณยุกต์ แต่เมือ่ น�ามาใช้ในภาษาไทยจะเติมวรรณยุกต์ ๔. ค�าทีม่ าจากภาษาอืน่ ถูกปรับให้เข้ากับระบบอักขรวิธขี องภาษาไทยจนไม่เหลือเค้าโครงเดิม

๓.

ข้อใดคือค�ายืมทีม่ าจากภาษาจีนทุกค�า ๑. หวย เก้าอี ้ เจดีย์ ๒. ซาลาเปา บะหมี ่ บุหงา ๓. โต๊ะ เฉาก๊วย เย็นตาโฟ ๔. ตะหลิว เต้าเจีย้ ว ต�ารวจ

io at uc

Le

ar

n

Ed



n

๑.





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

การเพิ่มค�า

65

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก..

ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น การน�าค�าจากภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย

io

ภำษำเขมร มักขึ้นต้นด้วย บ�า บัง บัน บรร ค�า ช�า ต�า อ�า ท�า ส�า ฯลฯ มีตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เป็นค�าแผลง

at uc Ed

n

ภำษำอังกฤษ ใช้ค�าตรงศัพท์ (ค�าทับศัพท์) มีลักษณะเป็นค�าหลายพยางค์ เสียงพยัญชนะบางเสียงไม่ม ี ในภาษาไทย เช่น ดร ฟร บร

n

ภำษำชวำ ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล�้า ไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่บางค�าต้องปรับ ให้สอดคล้องกับระบบเสียงในภาษาไทย จึงต้องใส่วรรณยุกต์ก�ากับด้วย

Le

ar

ภำษำสันสกฤต นิยมใช้ตัว ฑ นิยมควบกล�้าและอักษรน�า นิยมใช้ รร มีตัว ศ ษ ที่ไม่มีในภาษาบาลี

ภำษำจีน เป็นค�าโดด มักใช้วรรณยุกต์ตรี หรือจัตวา มีการสะกดตรงตามมาตรา ส่วนใหญ่เป็นชื่ออาหาร ของใช้ ภำษำบำลี นิยมใช้ตัว ฬ ไม่นิยมควบกล�้าและอักษรน�า นิยมใช้ ริ มีพยัญชนะซ�้ากัน

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำที่มำจำกภำษำอื่น ค�าจะถูกดัดแปลงให้เข้ากับอักขรวิธีของภาษาไทย แต่ยังคงรูปค�าไว้เพื่อให้สังเกตได้ จะเลี่ยงการเขียนรูปวรรณยุกต์ ยกเว้นค�าที่ใช้กันจนเคยชินแล้ว

66

การเพิ่ มค�า

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

uc

at

io

n

ท ๓.๑ ม.๕/๒ วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล

ar

n

สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของภาษากับความคิดได้ สามารถอธิบายและจ�าแนกประเภทของการคิดได้ สามารถอธิบายการใช้ภาษาแสดงเหตุผลได้ สามารถบอกปัจจัยที่ส่งเสริมการคิดและอุปสรรคของการพัฒนาความคิดได้

Le

๑. ๒. ๓. ๔.

Ed

จุดประสงค์

ความคิดกับภาษา

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

ความคิดกับภาษาเป็นสิง่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์แนบแน่นกันเป็นอย่างมาก มนุษย์เป็น ผูค้ ดิ ค้นภาษา และใช้ภาษาเป็นเครือ่ งมือในการจัดระบบ พัฒนา และถ่ายทอดความคิด ของตน จนสามารถสร้างความเจริญงอกงามในสังคมได้ ดังนัน้ การศึกษาความสัมพันธ์ ของความคิดกับภาษาจึงจะช่วยให้เรามีทักษะการใช้ภาษาที่ดีขึ้น อีกทั้งยังจะช่วย พัฒนาความคิดของเราให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

๑.

ควำมคิดกับภำษำ

n

กำรใช้ภำษำกับควำมคิด

io

ทิศทำงในกำรคิด

uc Ed

n

กำรพัฒนำควำมคิด

ar

กำรใช้ภำษำแสดงเหตุผล ปัจจัยที่ส่งเสริมกำรคิด

Le

๒.

at

ประเภทของกำรคิด

อุปสรรคในกำรพัฒนำควำมคิด

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ความคิดกับภาษา ้ ำษำกับควำมคิด กำรใชภ ความคิด

่ งมือในกำร ๑. ภำษำเป็นเครือ

..................................

ความคิดกับภาษา

io at uc

ต่อภำษำ

ภาษาช่วยก�าหนดความคิด เช่น คนไทยเชือ่ ว่าการตัง้ ชือ่ บุคคล จะต้องตัง้ ให้มคี วามหมายดี เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล และเมือ่ ๓. ภำษำช่วยพัฒนำควำมคิด ต้องการถ่ายทอดความรูส้ กึ ของ ่ ยพัฒนำ และควำมคิดก็ชว ภำษำ ตนเองให้ผอู้ นื่ รับรูก้ จ็ ะเลือกใช้คา� ทีส่ อื่ ความหมายตรงกับความคิด มนุษย์ใช้ภาษาในการสือ่ ความคิดให้ผอู้ นื่ เข้าใจโดยการน�า ภาษามาร้อยเรียงต่อกัน ซึง่ การ ท�าเช่นนีค้ วามคิดจะถูกขัดเกลาให้ ชัดเจนมากขึน้ ความคิดก็จะก้าวไกล และรูจ้ กั ใช้ภาษาได้กว้างขวางขึน้

ar Le 72

..................................

และควำมคิดก็มีอิทธิพล

n

.....................................

ภาษา

๒. ภำษำมีอิทธิพลต่อควำมคิด

Ed

มนุษย์ถา่ ยทอดความรูส้ กึ นึกคิด ของตนให้ผู้อื่นรับรู้ได้โดยการใช้ ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษา ท่าทาง ซึ่งเราเรียกภาษาเหล่านี้ ว่าเป็น

n

สื่ อควำมคิด

ทิศทำงในกำรคิด

ความคิดเป็นนามธรรมที่ไม่มีตัวตน แต่เราสามารถรับรู้ความคิดของผู้อื่นได้จากการสื่อสารออกมาเป็น ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาท่าทาง

uc

at

io

n

ทิศทำงในกำรคิด

กำรคิดในทำงหำยนะ

ar

n

Ed

กำรคิดในทำงวัฒนะ

Le

การคิดในทางที่เจริญงอกงาม เป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น เช่น การคิดช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การคิดหาทางประนีประนอมกัน

การคิดในทางที่ท�าให้เกิดโทษ หรือสร้างความเดือดร้อนให้แก่ ตนเองและผู้อื่น

การคิดมีผลต่อ ...................... ถ้าคิดดีก็จะส่งผลให้มีการกระท�าที่ดี แต่ถ้าคิดไม่ดีก็จะน�าพาให้เรามีการกระท�าที่ไม่ดีไปด้วย

ความคิดกับภาษา

73

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

กำรคิดอย่ำงมีเหตุผล

เป็นการคิดโดยอาศัยหลักการหรือข้อเท็จจริง มาสนับสนุนอย่างเพียงพอ จึงท�าให้มีโอกาส ผิดพลาดน้อย

n

ประเภทของ กำรคิด

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

ตัวอย่ำง ผมตัดสินใจซื้อรถใหม่ เพราะรถคันเดิมที่ ใช้อยู่เครื่องยนต์มีสภาพเก่ามากแล้ว หากซ่อม ก็คงใช้งานได้ไม่นาน และเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุ ตัวอย่ำง ผมตัดสินใจซือ้ รถใหม่ เพราะเป็นรถรุน่ ใหม่ ทีม่ เี ครือ่ งยนต์แรง การออกแบบทัง้ ภายนอก และภายในหรูหรา และมีคนบอกว่าถ้าขับแล้ว จะไม่เกิดอุบัติเหตุ

กำรคิดอย่ำงไม่มีเหตุผล

เป็นการคิดทีข่ าดข้อสนับสนุนทีม่ นี า�้ หนัก เพียงพอ ผลของการคิดจึงมักจะเกิดข้อผิดพลาด และไม่เกิดประโยชน์

74

ความคิดกับภาษา

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

ตอนที ่ ๑ ให้นกั เรียนน�าตัวอักษรในกรอบด้านล่างไปเติมหน้าข้อความทีส่ มั พันธ์กนั ให้ถกู ต้อง ข. การคิดอย่างไม่มีเหตุผล

n

ก. การคิดอย่างมีเหตุผล ๑.

n

๑.

ข้อใดกล่าวถูกต้อง ๑. ความคิดมีอิทธิพลต่อภาษา แต่ภาษาไม่มีอิทธิพลต่อความคิด ๒. ความคิดมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ภาษา แต่ไม่มีผลต่อการกระท�า ๓. ระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ในการสื่อความคิดมีเพียงภาษาพูดและภาษาเขียน ๔. ความคิดมีลักษณะเป็นนามธรรม และภาษาช่วยสื่อความคิดให้ออกมาเป็นรูปธรรม

๒.

ข้อใดคือการคิดในทางหายนะ ๑. มารีญาคิดว่าจะก่อตั้งมูลนิธิเพื่อช่วยเหลือคนไร้บ้าน ๒. เฌอเอมรู้เรื่องที่ธนาได้ยักยอกเงินบริษัทจึงคิดจะเปิดเผยข้อมูลให้ทุกคนได้รับรู้ ๓. ซามีน่าคิดอยากจะบริจาคเงิน และสิ่งของให้แก่ชาวบ้านที่เดือดร้อนจากเหตุเพลิงไหม้ ๔. อแมนดาเปิดรับบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย แต่คิดว่าจะเอาเงินไปใช้จ่าย ซื้อของส่วนตัว

Le



ตอนที ่ ๒ ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

ar

ค�ำชี้แจง

Ed

uc

at

io

................. ฉันซื้อบ้านหลังนี้เพราะหมอดูบอกว่าถ้าอยู่แล้วจะไม่เจ็บป่วย ๒. ................. ฉันบริจาคเงินช่วยผูป ้ ระสบอุทกภัย เพราะอยากช่วยเหลือให้พวกเขาผ่านวิกฤตนีไ้ ปได้ ๓. ................. ฉันกินกล้วยหอมทุกเช้าเพราะมีไฟเบอร์ที่ช่วยให้ขับถ่ายได้ดี ๔. ................. ฉันซื้อยาลดน�้าหนักจากอินเทอร์เน็ตมากินเพราะเขาโฆษณาว่าถ้ากินแล้วจะมีหุ่นดี ภายใน ๗ วัน และไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย

ความคิดกับภาษา

75

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก..

ควำมคิดกับภำษำ

กำรใช้ภำษำกับควำมคิด

at

io

n

ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความคิด ภาษาและความคิดมีอิทธิพลต่อกัน ภาษาและความคิดช่วยพัฒนาซึ่งกันและกัน

uc

ทิศทำงในกำรคิด

n

Ed

กำรคิดในทำงวัฒนะ เป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น

Le

ar

กำรคิดในทำงหำยนะ ท�าให้เกิดโทษ หรือสร้างความเดือดร้อน ให้แก่ตนเองและผู้อื่น

ประเภทของกำรคิด

กำรคิดอย่ำงมีเหตุผล อาศัยหลักการหรือข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง มาสนับสนุนอย่างเพียงพอ กำรคิดอย่ำงไม่มีเหตุผล ขาดข้อสนับสนุนที่มีน�้าหนักเพียงพอ ผลของการคิดจึงมักจะไม่เกิดประโยชน์

76

ความคิดกับภาษา

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

กำรพัฒนำควำมคิด ้ ำษำแสดงเหตุผล กำรใชภ

io

n

การใช้ภาษาแสดงเหตุผลต้องประกอบด้วยส่วนส�าคัญ ๒ ส่วน คือ เหตุผลหรือข้อสนับสนุน และข้อสรุป โดยจะใช้ ............................... ในประโยคเพื่อแสดงเหตุผล เช่น

n

Ed

uc

at

เพราะว่า...................เพราะฉะนั้น.................... โดยที.่ ..................ฉะนัน้ .................................... เนื่องด้วย...................จึง................................... ...........................ทั้งนี้เพราะว่า......................... ............................เหตุผลก็คือ...........................

ar

สั นธำนที่ใช้น�ำหน้ ำข้อควำมที่เป็นเหตุผล

Le

เพราะ เพราะว่า เพราะเหตุที่ โดยที่ เนื่องด้วย เนื่องจาก ................

สั นธำนที่ใช้ก�ำกับข้อควำมที่เป็นข้อสรุ ป

จึง ดังนั้น ฉะนั้น เพราะฉะนั้น ฉะนั้น.....จึง เพราะฉะนั้น.....จึง ................

เพราะวิกฤตเศรษฐกิจต้มย�ากุ้งในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงท�าให้ครอบครัวของเขาล้มละลาย ................................................... เขาตากฝนเมื่อวานนี้ ................................................... วันนี้เขาเลยไม่สบาย หรือ วันนี้เขา .............. ไม่สบาย

78

ความคิดกับภาษา

ปัจจัยที่ส่งเสริมกำรคิด

uc

at

ทักษะในกำรใช้ภำษำ ผู้ที่ใช้ภาษาได้ดีจะรู้จักเลือกใช้ ถ้อยค�าที่สื่อความคิดได้อย่าง ชัดเจน ท�าให้คิดได้กว้างไกลกว่า คนที่ขาดทักษะในการใช้ภาษา

ar

n

Ed

ควำมรู้ ผู้ที่หมั่นศึกษาหาความรู้ จะสามารถหาข้อเท็จจริงมา สนับสนุนในเรื่องที่คิดได้มากกว่า ผู้ที่ไม่มีความรู้

io

n

การคิดจะมีประสิทธิภาพหรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

Le



สุขภำพร่ำงกำยและจิตใจ ผู้ที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ แข็งแรงสมบูรณ์ ย่อมส่งเสริมให้ มีสมรรถภาพในการคิดสิ่งต่าง ๆ ได้มากและละเอียดถี่ถ้วน

สภำพแวดล้อม การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เงียบสงบ บรรยากาศผ่อนคลาย จะท�าให้สามารถคิดได้ฉับไว มากกว่าสภาพแวดล้อมที่มี เสียงดังรบกวนการคิด

ความคิดกับภาษา

79

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ควำมเร่งรัด

Le

ar

n

Ed

uc

at

อคติ

io

การคิดหรือท�าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซ�้าซากเป็นเวลานาน ย่อม ท�าให้เกิดความเหนื่อยล้า หรือเบื่อหน่าย ส่งผลให้ ความสามารถในการคิด ลดน้อยลง

n

อุปสรรคในกำรพัฒนำควำมคิด

ความล�าเอียงเข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งท�าให้ขาดเหตุผลใน การคิดพิจารณาตามความ เป็นจริง

80

ความคิดกับภาษา

ควำมเหนื่ อยล้ำและ ควำมซ้�ำซ้ำกจ�ำเจ

การถูกเร่งรัดให้คิดหรือท�า สิ่งใดในเวลาที่จ�ากัดจะท�าให้ เกิดข้อผิดพลาดได้มาก เพราะการคิดต้องอาศัยเวลา ในการไตร่ตรอง

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง ๑.

ค�าที่ใช้แสดงเหตุผลในข้อใดไม่สามารถใช้แทนที่ค�าที่ขีดเส้นใต้ในประโยคต่อไปนี้ได้ “เพราะเธอมาท�างานสาย ฉะนั้นเธอจะถูกหักเงินเดือน” ๑. เนื่องจาก......................เพราะฉะนั้น...................... ๒. เนื่องด้วย......................ดังนั้น................................ ๓. เพราะว่า...........................จึง................................. ๔. เพราะว่า.......................เพราะฉะนั้น.....................

๒.

“วิภาวีเกิดความเครียดเพราะคิดหัวข้อวิจัยที่จะต้องน�าเสนออาจารย์ในวันจันทร์หน้าไม่ออก เธอจึงเก็บกระเป๋าและเดินทางไปเที่ยวทะเล บรรยากาศริมทะเลที่เงียบสงบ ท�าให้เธอ ผ่อนคลายลงและมีเวลาให้คิดทบทวนเรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น ในที่สุดเธอก็สามารถคิดหัวข้อ วิจัยไปน�าเสนออาจารย์ได้ทันเวลา” การที่วิภาวีสามารถคิดหัวข้อวิจัยได้เป็นผลที่เกิดจากปัจจัยใด ๑. ความรู้ ๒. สภาพแวดล้อม ๓. ทักษะในการใช้ภาษา ๔. สุขภาพร่างกายและจิตใจ

๓.

พฤติกรรมของใครไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคในการพัฒนาความคิด ๑. จอมขวัญไม่ชอบจันทร์เจ้า จึงไม่ยอมฟังความคิดเห็นของจันทร์เจ้า ๒. จอมทัพส่งต่องานให้เจ้าขาช้ากว่าก�าหนด จึงท�าให้เจ้าขามีเวลาท�างานน้อยลง ๓. จุ๊บแจงเรียนและท�างานไปพร้อม ๆ กัน เธอจึงมีเวลาพักผ่อนเพียงวันละ ๔ ชั่วโมง ๔. จ๊ะจ๋ามักจะเริ่มท�างานที่อาจารย์สั่งในทันที เพื่อที่จะได้ไม่ต้องมาเร่งท�าตอนใกล้จะส่ง

Ed

Le

ar

n



uc

at

io

n





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

ความคิดกับภาษา

81

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก..

กำรพัฒนำควำมคิด

io

n

กำรใช้ภำษำแสดงเหตุผล ประกอบด้วยส่วนส�าคัญ ๒ ส่วน คือ

ข้อสรุ ป

uc

at

เหตุผลหรือข้อสนั บสนุน

Le

ar

n

Ed

เพราะว่า..............เพราะฉะนั้น............... โดยที่...................ฉะนั้น.............................. เนื่องด้วย...................จึง.................................. ..................ทั้งนี้เพราะว่า.................................. ...................เหตุผลก็คือ.....................................

ปัจจัยที่ส่งเสริมกำรคิด ความรู้ ทักษะในการใช้ภาษา สภาพแวดล้อม สุขภาพร่างกายและจิตใจ

82

ความคิดกับภาษา

อุปสรรคในกำรพัฒนำควำมคิด อคติ ความเหนื่อยล้า และความซ�้าซากจ�าเจ ความเร่งรัด

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

n

จุดประสงค์

Ed

uc

at

io

n

ท ๓.๑ ม.๕/๓ ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วก�าหนดแนวทางน�าไปประยุกต์ใช้ ในการด�าเนินชีวิต ท ๓.๑ ม.๕/๕ พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม ท ๓.๑ ม.๕/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

Le

ar

๑. สามารถอธิบายความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับมารยาทและคุณธรรมในการสือ่ สารได้ ๒. สามารถอธิบายหลักในการสือ่ สารในชีวติ ประจ�าวันและน�าไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ๓. สามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปลูกฝังคุณธรรมในรูปแบบต่าง ๆ ได้

มารยาทและคุณธรรม ในการสื่อสาร

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

ในการสื่อสารหรือถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ โดยการใช้ภาษา เราจ�าเป็น ต้องมีมารยาทและคุณธรรมในการสื่อสาร เพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ ลดความ ขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น และท�าให้สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากยิ่งขึ้น

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

๑.

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

n

มำรยำทในกำรสื่อสำร

Ed

n

ี ิตประจ�ำวัน กำรสื่ อสำรในชว

ar

กำรสื่อสำรในครอบครัว กำรสื่อสำรในโรงเรียน

Le

๒.

at

uc

กำรสื่อสำรในบริบทต่ำง ๆ

io

คุณธรรมในกำรสื่อสำร

กำรสื่อสำรในสังคมทั่วไป กำรใช้ภำษำปลูกฝังคุณธรรม

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

มารยาทและคุณธรรม ในการสื่ อสาร

n

Ed

uc

at

io

มารยาทในการสื่อสาร หมายถึง กิริยาวาจาที่สุภาพเรียบร้อย โดยแสดงออกมาทั้งทางวัจนภาษาและอวัจนภาษา ซึ่งจะเป็นไปตาม ค่านิยมของคนในสังคม หรือบริบททางสังคมที่ก�าหนดขึ้น

n

มำรยำทในกำรสื่ อสำร

Le

ar

เช่น ในสังคมไทยถือว่าเท้าเป็นของต�่า เราจะไม่ยกเท้าขึ้นวาง บนที่สูง เช่น โต๊ะหรือเก้าอี้ หรือไม่ใช้เท้าชี้หรือเขี่ยสิ่งของ

ในบางสังคมไม่ได้ถือว่าเท้าเป็นของต�่า เพราะเป็นอวัยวะส่วน หนึ่งของร่างกาย ดังนั้นมารยาทในการสื่อสารหรือการแสดงออกของ แต่ละสังคม.....................................................

88

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

คุณธรรมในกำรสื่ อสำร

คุณธรรม หมายถึง คุณงามความดีที่มีอยู่ในตัวบุคคล ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม

Ed

คุณธรรมที่ส�ำคัญในกำรสื่ อสำร

uc

at

io

n

คุณธรรมเกิดจากการปลูกฝังและการอบรมสั่งสอน คุณธรรมที่ควรปลูกฝัง เช่น ความมีเมตตากรุณา เคารพสิทธิซงึ่ กันและกัน การเห็นประโยชน์สว่ นรวม มากกว่าส่วนตัว

Le

ar

n

มีความจริงใจ และไม่ละเมิดสิทธิ ซึ่งกันและกัน

มีความรัก ความเคารพ และความปรารถนาดี มีความรับผิดชอบ ในสิ่งที่พูดหรือกระท�า

มารยาทในการสื่อสาร เป็น ............................................ คุณธรรมในการสื่อสาร เป็น ............................................

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

89

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

กำรสื่ อสำรในบริบทต่ำง ๆ

หากพิจารณาการสื่อสารจากผู้ส่งสารและผู้รับสารจะสามารถจ�าแนกการสื่อสารได้เป็น ๔ ประเภท ดังนี้ การตัดสินใจ การวางแผน การแก้ปัญหา การปลอบใจตนเอง การเตือนตนเอง

กำรสื่ อสำรกับตนเอง

io at uc

Ed

กำรสื่ อสำรสำธำรณะ

กำรสื่ อสำรระหว่ำงบุคคล

เป็นการสือ่ สารของบุคคลตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป แต่ไม่ถงึ กับเป็นกลุม่

n

การสื่อสารระหว่างพ่อแม่ลูก พี่กับน้อง ครูกับนักเรียน หรือ เพื่อนกับเพื่อน

n

เป็นการคิดโต้ตอบกับตนเอง ด้วยการคิดในใจ หรือพูดคนเดียวกับตัวเอง

Le

ar

เป็นการสือ่ สารทีม่ เี ป้าหมายไปยังสาธารณชน หรือคนกลุม่ ใหญ่ โดยเนือ้ หาของสารมักจะให้ ความรูท้ เี่ ป็นประโยชน์ สร้างความเข้าใจและ เปิดเผยได้

การเรียนการสอนในห้องเรียน การบรรยายหรืออบรมในที่ต่าง ๆ

กำรสื่ อสำรมวลชน

ข่าวสารหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง

90

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

เป็นการสือ่ สารทีค่ ล้ายกับการสือ่ สาร สาธารณะ แต่มลี กั ษณะเฉพาะคือต้องอาศัย สือ่ ทีส่ ามารถกระจายสารได้อย่างรวดเร็วและ กว้างขวาง เช่น ............................................... เรือ่ งทีน่ า� เสนอควรค�านึงถึงข้อเท็จจริงทีเ่ กิด ประโยชน์แก่มวลชน

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง ๑.

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ๑. คุณธรรมเป็นพฤติกรรมด้านใน ๒. มารยาทเป็นพฤติกรรมด้านนอก ๓. คุณธรรมหมายถึงคุณงามความดีในตัวบุคคล ๔. มารยาทในการสื่อสารไม่สามารถแสดงออกได้ทางอวัจนภาษา

๒.

บุคคลในข้อใดไม่มีคุณธรรมในการสื่อสาร ๑. พรรณรายถ่ายวิดีโอให้ความรู้เรื่องการเอาตัวรอดจากแผ่นดินไหวลงในช่องยูทูบ ๒. พนิตารีวิวครีมหน้าขาวลงในเฟซบุ๊กส่วนตัวเพราะได้รับเงินโฆษณาแต่ไม่ได้ใช้จริง ๓. พรายดาวประชาสัมพันธ์โครงการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกผ่านอินสตาแกรมส่วนตัว ๔. เพลินพิศเขียนหนังสือขอโทษแพรไหมลงในทวิตเตอร์สว่ นตัวทีก่ ล่าวหาว่าเธอโกงเงินผูอ้ นื่

๓.

พฤติกรรมในข้อใดเป็นการสื่อสารลักษณะเดียวกันกับพฤติกรรมต่อไปนี้ “นาราได้เป็นตัวแทนนักเรียนออกไปกล่าวสุนทรพจน์หน้าเสาธงเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติด” ๑. นิรินฝึกพูดแนะน�าตัวเองหน้ากระจกก่อนไปสัมภาษณ์งาน ๒. นีญาติวหนังสือให้เพื่อนสนิทสองคนที่ร้านกาแฟก่อนจะถึงวันสอบ ๓. นวกรได้รับเชิญให้ไปบรรยายในงานสัมมนาวิชาการเรื่องการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น ๔. เนติรายงานข่าวปัญหาภัยแล้งผ่านการถ่ายทอดสดทางเฟซบุก๊ ในแฟนเพจช่องข่าว 24 NEWS

Le

ar

n

Ed



uc

at

io

n





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

91

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก.. มำรยำทในกำรสื่ อสำร

uc

มำรยำท

at

io

n

มารยาทในการสื่อสารเป็นพฤติกรรมภายนอกที่ แสดงออกมาทั้งทางวัจนภาษาและอวัจนภาษา โดยจะเป็นไป ตามค่านิยมของคนในสังคม หรือบริบททางสังคมที่ก�าหนดขึ้น

และคุณธรรม

ar

n

Ed

ในกำรสื่ อสำร

Le

คุณธรรมในกำรสื่ อสำร

คุณธรรมในการสื่อสารเป็น พฤติกรรมภายใน เป็นคุณงามความดี ที่มีอยู่ในตัวบุคคล เกิดจากการปลูกฝัง และการอบรมสั่งสอน

92

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

กำรสื่ อสำรในบริบทต่ำง ๆ

กำรสื่อสำรกับตนเอง คิดในใจ พูดคนเดียว กำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล สื่อสารตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ไม่ถึงกับเป็นกลุ่ม กำรสื่อสำรสำธำรณะ สื่อสารกับคนกลุ่มใหญ่ กำรสื่อสำรมวลชน คล้ายกับการสื่อสารสาธารณะแต่มีสื่อที่สามารถ กระจายสารได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ี ิตประจ�ำวัน กำรสื่ อสำรในชว กำรสื่ อสำรในครอบครัว

เป็นการสื่อสาร ............................. ของมนุษย์

uc

at

io

n



Le

ar

n

Ed

ใช้ถ้อยค�าที่สามารถสื่อสารได้ ชัดเจน มีการชี้แจงและอธิบายเหตุผล ใช้ถ้อยค�าที่สุภาพ

ข้อควรค�ำนึ ง

ของกำรสื่ อสำร ในครอบครัว

ประพฤติปฏิบัติต่อกัน เป็นอย่างดี มีความกตัญญูรู้คุณ เคารพและเอื้ออาทรต่อกัน

94

ท�าความเข้าใจถ้อยค�าของ คนต่างวัย เพราะคนในแต่ละวัย จะมีชุดค�าพูดที่แตกต่างกัน

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

มีมารยาท รู้จักกาลเทศะ อยูเ่ สมอเพราะจะท�าให้สงิ่ เหล่านีต้ ดิ ตัว ไปเมื่อไปสื่อสารในสถานการณ์อื่น ๆ

กำรสื่ อสำรในโรงเรียน

at

io

n

การสื่อสารในโรงเรียนจะเหมือนกับการสื่อสารในครอบครัว แต่จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิชาการ วิชาชีพ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และหลักการด�าเนินชีวิต

uc

กำรสื่ อสำร

ar

n

Ed

กับตนเอง

การอ่านหนังสือในใจ การคิดเพื่อตอบค�าถามครู

Le

การคุยกับเพื่อน การสนทนากับครู

กำรสื่ อสำร สำธำรณะ

กำรสื่ อสำร

ระหว่ำงบุคคล

การเรียนการสอนในห้องเรียน การพูดหน้าเสาธง

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

95

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

n

ครูต้องเตรียมเนื้อหาสาระให้เหมาะสมกับ เวลาเรียน ไม่ใช้วาจาข่มขู่หรือบังคับนักเรียน นักเรียนต้องมีความมานะ อดทน ตั้งใจฟังที่ ครูสอน แสดงกิริยามารยาทที่เหมาะสม ให้เกียรติซึ่งกันและกัน

uc

at

io

อาจมีโอกาสเกิดการโต้แย้งถกเถียงกัน แต่ทุกฝ่ายต้องยอมรับฟังความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน พูดคุยกันด้วยเหตุผล ไม่ทะเลาะวิวาทกัน

Ed

ข้อควรค�ำนึ ง ของ

กำรสื่ อสำร

Le

ar

n

ในโรงเรียน

ต้องระมัดระวังในการน�าข้อเท็จจริงหรือ ข้อสรุปบางอย่างไปเผยแพร่ให้แก่บุคคล ภายนอก เพราะอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด หรือเกิดความเสียหายได้ ควรแสดงกิริยามารยาทให้เหมาะสม กับกาลเทศะอยู่เสมอ

นักเรียนควรให้ความเคารพและปฏิบัติ อย่างเหมาะสมต่อผู้ที่อาวุโสกว่า

96

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

กำรสื่ อสำรในสั งคมทัว ่ ไป

เป็นการสื่อสารในที่อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ครอบครัวหรือในโรงเรียน เช่น การไปติดต่อธุระในสถานที่ต่าง ๆ

uc สื่อสารเพื่อแสดงความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ ควรเลือกใช้ถ้อยค�าและแสดงกิริยาท่าทางที่ เหมาะสม จริงใจ ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป

Le

ar

n

Ed

เริ่มต้นด้วยการทักทาย เช่น สวัสดี หรืออาจ ใช้ค�าอื่นในการทักทายผู้ที่สนิทสนมหรืออยู่ใน วัยเดียวกันว่า สบายดีไหม จะไปไหน กินข้าว หรือยัง ด้วยน�้าเสียงและท่าทางที่เป็นมิตร

at

io

n

ข้อควรค�ำนึ งของกำรสื่ อสำรในวงสั งคม

สื่อสารกับบุคคลที่ไม่รู้จัก เช่น การติดต่อธุระ ต่าง ๆ การสื่อสารต้องชัดเจน ตรงประเด็น สุภาพตามสมควร

ในการสื่อสารกับชาวต่างชาติ เราควรศึกษา วัฒนธรรมและมารยาทในการสื่อสารของชาติ นั้น ๆ ด้วย เพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น และเพื่อไม่ให้เราแสดงพฤติกรรม ที่เป็นการเสียมารยาทของชาตินั้น ๆ

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

97

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

้ ำษำปลูกฝังคุณธรรม กำรใชภ

n

คุณธรรมเกิดจากการปลูกฝังด้วยภาษา โดยเครื่องมือที่ใช้จะปรากฏทั้งในรูปแบบของวัจนภาษา เช่น ภาษิต นิทาน ต�านาน วรรณคดี และอวัจนภาษา เช่น การปฏิบัติให้เห็นเป็นแบบอย่าง

n

เป็นถ้อยค�าที่กล่าวสืบต่อกันมา ยาวนาน มีลักษณะเป็นค�าสั่งสอน เตือนสติ และแนะน�า โลภมากลาภหาย

Le

ar

ภาษิ ต

Ed

uc

at

io

การปลูกฝังคุณธรรมในรูปแบบวัจนภาษาจะมีทั้งการอ่าน และการฟัง ซึ่งสามารถน�ามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการด�าเนินชีวิตได้

เป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นเพื่อความ เพลิดเพลินโดยสอดแทรกข้อคิด คติเตือนใจ นิทานเรื่อง เทพารักษ์กับ คนตัดไม้ ที่ปลูกฝังคุณธรรม ในเรื่องความซื่อสัตย์

98

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

นิ ทาน

io

n

ต�านานก่องข้าวน้อยฆ่าแม่

วรรณคดี

ar

n

Ed

สามัคคีเภทค�าฉันท์ ที่ปลูกฝังคุณธรรม เรื่องความสามัคคี

uc

at

เป็นหนังสือที่ได้รับการยกย่อง ว่าแต่งดี ซึ่งให้ความเพลิดเพลิน และช่วยพัฒนาสติปัญญา นอกจากนี้ยังมีการปลูกฝัง คุณธรรม และสอดแทรกข้อคิด คติสอนใจ

Le

ต�านาน

เรื่องราวที่เล่ากันสืบ ๆ มา มักให้ ความรู้เกี่ยวกับสถานที่หรือบุคคล ส�าคัญ และแสดงให้เห็นคุณธรรม ของบุคคลเหล่านั้น

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

99

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง ๑.

ค�ากล่าวในข้อใดเหมาะสมน้อยที่สุดที่จะกล่าวกับเพื่อนได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวด ร้องเพลง ๑. เธอนี่เยี่ยมจริง ๆ เลยนะ ฉันว่าแล้วว่ายังไงเธอก็ชนะ ๒. ไม่รู้มาก่อนเลยนะว่าเธอร้องเพลงเพราะขนาดนี้ ยินดีด้วยนะ ๓. ฉันไปดูเธอแข่งรอบสุดท้ายด้วย ร้องเพราะมากเลย ฉันดีใจกับเธอมากจริง ๆ ๔. เธอชนะเพราะคู่แข่งเขาตื่นเต้นมากเกินไปหรือเปล่า ฉันว่าเธอก็ไม่ได้ร้องเพลงเพราะ ขนาดนั้น

๒.

บุคคลในข้อใดกล่าวทักทายกับผู้ที่สนทนาด้วยไม่เหมาะสม ๑. นะโมกล่าวทักทายเพื่อนสนิทที่อยู่คนละห้องว่า “อ้าว จะไปไหนเหรอ” ๒. นิวเยียร์กล่าวทักทายพี่ชายที่ก�าลังบวชเป็นพระว่า “สวัสดีค่ะ หลวงพี่” ๓. นานะทักทายเพื่อนโรงเรียนเก่าที่เจอกันที่เรียนพิเศษ “สวัสดี เป็นยังไงบ้าง ไม่เจอกัน นานเลย” ๔. น�้ามนต์กล่าวทักทายเพื่อนของแม่ที่บังเอิญเจอกัน “สวัสดีค่ะคุณน้า ช่วงนี้ไม่แวะไปที ่ บ้านเลย คุณแม่บ่นคิดถึงทุกวันเลยค่ะ”

๓.

ส�านวนในข้อใดปลูกฝังคุณธรรมตรงกับส�านวน “คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ” ๑. คบเด็กสร้างบ้าน ๒. คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย ๓. คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ ๔. คบศัตรูเป็นมิตร ดั่งเอาอสรพิษมาเลี้ยงไว้

100

Le

ar

n



Ed

uc

at

io

n





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

ทบทวน

ก่อนจำก..

ี ิตประจ�ำวัน กำรสื่ อสำรในชว

กำรสื่ อสำรในครอบครัว

ข้อควรค�ำนึง ประพฤติปฏิบัติต่อกันเป็นอย่างดี มีการชี้แจงและอธิบายเหตุผล ใช้ถ้อยค�าที่สุภาพ ท�าความเข้าใจถ้อยค�าของคนต่างวัย

n

at

io

ข้อควรค�ำนึง ครูและนักเรียนให้เกียรติซงึ่ กันและกัน รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน พูดคุยกันด้วยเหตุผล ไม่ทะเลาะ วิวาทกัน ต้องระมัดระวังการเผยแพร่ข้อมูล บางอย่าง

uc Ed

กำรสื่ อสำรในสั งคมทัว ่ ไป

กำรสื่ อสำรในโรงเรียน

Le

ar

n

ข้อควรค�ำนึง ทักทายด้วยน�า้ เสียงและท่าทีทเี่ ป็นมิตร ใช้ถ้อยค�าและแสดงกิริยาท่าทาง ที่จริงใจ การสื่อสารต้องชัดเจน ตรงประเด็น สุภาพตามสมควร การสื่อสารกับชาวต่างชาติ เราควร ศึกษามารยาทในการสื่อสารของ ชาตินั้น ๆ เพื่อให้การสื่อสารมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

กำรใช้ภำษำปลูกฝังคุณธรรม

ภำษิต เป็นถ้อยค�าสัง่ สอน เตือนสติ และแนะน�า นิทำน แต่งขึ้นเพื่อความเพลิดเพลินโดยสอดแทรก ข้อคิด คติเตือนใจ ต�ำนำน เรื่องราวนมนานที่เล่ากันสืบ ๆ มา มักให้ ความรู้เกี่ยวกับสถานที่หรือบุคคลส�าคัญ วรรณคดี เป็นหนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีให้ ความเพลิดเพลินและช่วยพัฒนาสติปัญญา มารยาทและคุณธรรมในการสื่ อสาร

101

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

uc

at

io

ท ๓.๑ ม.๕/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

n

ี ัด ตัวช้ว

Ed

จุดประสงค์

Le

ar

n

๑. สามารถบอกจุดประสงค์ของการถามและการตอบได้ ๒. สามารถบอกข้อควรค�านึงในการถามและการตอบได้ ๓. สามารถอธิบายวิธีการตั้งค�าถามและตอบค�าถามได้

การถามและการตอบ

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

การถามและการตอบเป็ น กระบวนการสื่ อ สารที่ ม นุ ษ ย์ ใ ช้ อ ยู ่ เ สมอ ทั้ ง ใน การด�าเนินชีวิตประจ�าวันและในการท�างานหรือกิจธุระต่าง ๆ ดังนั้นเราจึงควรให้ ความส� า คั ญ กั บ จุ ด ประสงค์ ข้ อ ควรค� า นึ ง และวิ ธี ก ารในการถามและการตอบ เพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพและด�าเนินไปได้อย่างราบรื่น

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

กำรถำมและกำรตอบ

n

จุดประสงค์ในกำรถำม

io

ข้อควรค�ำนึงในกำรถำม

uc

Ed

จุดประสงค์ในกำรตอบ

at

วิธีกำรตั้งค�ำถำม

n

ข้อควรค�ำนึงในกำรตอบ

ar

วิธีกำรตอบที่ดี

Le

๑.

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การถามและการตอบ

at

io

n

เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็น

Ed

uc

เพื่อทดสอบว่าผู้ตอบมีความรู้ หรือไม่ หรือความคิดเห็นอย่างไร

เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบของกลวิธี ให้ความรู้หรือข้อคิดแก่บุคคลอื่น

Le

ar

n

จุดประสงค์ ในกำรถำม

เพื่อแสดงอัธยาศัยไมตรี

เพื่อแสดงความสนใจ

108

การถามและการตอบ

ข้อควรค�ำนึ งในกำรถำม

io

n

มีมารยาทในการถาม เป็นค�าถามที่สุภาพ ไม่ถามเรื่องส่วนตัว ไม่ละลาบละล้วง โอ้อวด หรือยกตนข่มท่าน

Ed

uc

at

รูจ้ กั ฐานะของบุคคลทีถ่ กู ถามว่าเป็นใคร มีความรูห้ รือความคิด ในเรือ่ งนัน้ เพียงใด สมควรถามหรือไม่

Le

ar

n

ดูกาลเทศะก่อนถาม คือ พิจารณาว่าผู้ที่เราก�าลังถามอยู่ใน อารมณ์อย่างไร หากถามจะก่อให้เกิดความร�าคาญใจหรือไม่

เป็นค�าถามทีม่ สี าระ คือ ........................................ และน่าสนใจ ผูถ้ ามต้องมีความรูค้ วามสนใจในเรือ่ งทีถ่ าม

........................................................ มีการล�าดับเนื้อความที่ด ี ไม่สับสน ไม่ยาวจนเกินไปเพื่อให้ผู้อ่านจับประเด็นได้ การถามและการตอบ

109

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ี ำรตัง วิธก ้ ค�ำถำม ตัง ้ ค�ำถำมเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง

แหลมพรหมเทพอยู่ที่ไหน

มักใช้ค�าว่า ........................................ ...................................................................

ใครเป็นผู้ประดิษฐ์อักษรไทย

n

ตัง ้ ค�ำถำมเพื่อให้ได้ข้อคิดเห็น

ตัง ้ ค�ำถำมเพื่อทดสอบ

Le

ar

n

บางครั้งจะมีการออกค�าสั่งก�ากับ เพื่อให้รู้ว่าควรตอบไปในทิศทางใด

ฟ้าทะลายโจรช่วยรักษาโรคอะไรบ้าง ท�าอย่างไรจึงจะท�าให้การท�างานมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

้ ำม ตัง ้ ค�ำถำมเพื่อให้แสดงควำมสุภำพของผูถ

ใช้ค�าหรือกลุ่มค�าที่สุภาพในการถาม เช่น ............................................................

110

การถามและการตอบ

at

เป็นค�าถามที่ต้องการให้ผู้ตอบแสดง ................................................................. .................................................................

uc

Ed

เพราะเหตุใดคนไทยจึงนิยมไปเทีย่ ว ที่ประเทศญี่ปุ่น

io

คุณมีวิธีการอย่างไรในการช่วยลด ปริมาณขยะ

จงบรรยายสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติที่ประทับใจมาโดยสังเขป จงเปรียบเทียบวิถีชีวิตของคน ในเมืองกับชนบท

ตัง ้ ค�ำถำมเพื่อให้ได้ค�ำตอบหลำกหลำย

เป็นค�าถามที่จะช่วยให้ได้ความรู้และ ความคิดที่กว้างขวางขึ้น เหมาะกับการคิด ร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อให้ได้ความคิดหรือ ข้อเท็จจริงที่ดีที่สุด ขอประทานโทษนะคะ ไม่ทราบว่า หอประชุมไปทางไหนคะ กรุณาเล่าให้เราฟังหน่อยสิคะว่าคุณ ทั้งสองคนมาท�าธุรกิจร่วมกันได้อย่างไร

Ed

at จุดประสงค์ ในกำรตอบ

ar

n

เพื่อใช้ร่วมเป็นส่วนประกอบของ กลวิธีให้ความรู้หรือข้อคิดแก่บุคคลอื่น

uc

เพือ่ แสดงให้ผถู้ ามทราบว่าผูต้ อบมี ความรูเ้ พียงใดหรือความคิดเห็นอย่างไร

io

n

เพื่อให้ข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น

Le

เพื่อสนองอัธยาศัยไมตรี

เพื่อสนองความสนใจ

การถามและการตอบ

111

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ข้อควรค�ำนึ งในกำรตอบ

จับประเด็นให้ได้ว่าผู้ถามต้องการถามถึงสิ่งใด และ........................................ ต้องค�านึงว่าผู้ถามเป็นใครและเลือกใช้ภาษาในการตอบค�าถามให้ชัดเจน และเหมาะสม

uc

at

io

n

มีมารยาทในการตอบค�าถาม โดยเลี่ยงไม่ตอบค�าถามที่อาจจะก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ตนเองและผู้อื่น ถ้าจ�าเป็นต้องตอบก็ควรตอบให้สุภาพนุ่มนวล

.......................................

Ed

ี ำรตอบที่ดี วิธก

Le

ar

n

ผู้ตอบค�าถามต้องจับประเด็นให้ได้ ก่อนแล้วจึงตอบค�าถาม และเมือ่ ตอบค�าถาม เสร็จ ก็ควรเปิดโอกาสให้ผู้ถาม ถามต่อไป จนหมดข้อสงสัย

ผู้

....................................... ในกรณีที่มีหลายค�าถามต่อเนื่องกัน ต้องตอบให้ครบทุกค�าถาม

112

การถามและการตอบ

....................................... ผูต้ อบต้องชีแ้ จง หรือแสดงความคิดเห็น ให้ผู้ถามเข้าใจโดยชัดเจน ไม่เยิ่นเย้อ

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง ๑.

ค�าถามในข้อใดมีจุดประสงค์ต่างจากข้ออื่น ๑. พืชเศรษฐกิจของภาคใต้คืออะไร ๒. เพราะเหตุใดคนในชนบทจึงอพยพเข้ามาท�างานในเมือง ๓. ปัจจัยส�าคัญที่ส่งผลต่อการขยายพันธุ์ของเต่าทะเลคืออะไร ๔. ในการเรียนมหาวิทยาลัยตลอด ๔ ปีที่ผ่านมา สิ่งที่คุณประทับใจมากที่สุดคืออะไร

๒.

ค�าตอบในข้อใดเหมาะสมที่สุดในการสนทนา เมฆา : ผมชอบรับประทานส้มต�าปูปลาร้ามากเลยครับ มาหยา : ดิฉันไม่ชอบเลยค่ะ …………………....................... ๑. ทานเยอะเดี๋ยวเป็นโรคไต ๒. ชอบทานต�าไทยมากกว่าค่ะ ๓. หน้าตาไม่ค่อยน่าทานเท่าไหร่ ๔. กลิ่นเหม็นขนาดนั้นดิฉันทานไม่ลงค่ะ

๓.

ข้อใดเป็นการสนทนาในลักษณะ “ไปไหนมาสามวาสองศอก” ๑. ค�าถาม : คุณจะมาช่วยเราท�าโครงการนี้ได้ไหม ค�าตอบ : ได้เสมอเมื่อเธอต้องการ ๒. ค�าถาม : เมื่อไหร่ต่างจังหวัดจะมีรถไฟฟ้าเหมือนในกรุงเทพบ้างนะ ค�าตอบ : ไม่นานเกินรอ ๓. ค�าถาม : เศรษฐกิจในปีนี้ทรุดหนักกว่าปีที่ผ่านมา ภาคธุรกิจควรปรับตัวอย่างไร ค�าตอบ : เพิ่มช่องทางในการขายสินค้าออนไลน์มากขึ้น ๔. ค�าถาม : วิธีการแก้ปัญหาน�้าเน่าเสียในคลองแสนแสบและส่งกลิ่นเหม็นท�าได้อย่างไร ค�าตอบ : ชาวบ้านแถวนั้นเทขยะลงไปน่ะสิ

Le

ar

n

Ed



uc

at

io

n





ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

การถามและการตอบ

113

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ทบทวน

ก่อนจำก..

ข้อควรค�ำนึ งในกำรถำม

สุภาพไม่ละลาบละล้วง รู้จักกาลเทศะและความเหมาะสม เป็นค�าถามที่มีสาระ ภาษากะทัดรัดและชัดเจน

จุดประสงค์ในกำรถำม

ให้ทราบข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น ทดสอบความรู้ เป็นส่วนประกอบของกลวิธีให้ ความรู้หรือข้อคิด แสดงอัธยาศัยไมตรี แสดงความสนใจ

io

n

ี ำรตัง วิธก ้ ค�ำถำม

Ed

uc

at

วิธีการตั้งค�าถามจะแตกต่างกันไป แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ถาม แต่วิธีการ ตั้งค�าถามที่ดีคือ ต้องถามให้ชัดเจน ตรงประเด็น ไม่เยิ่นเย้อ เลือกใช้ค�าให้ เหมาะสมกับจุดประสงค์ในการถาม

และกำรตอบ

Le

ar

n

กำรถำม

จุดประสงค์ในกำรตอบ

ให้ข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น แสดงให้ผู้ถามทราบว่าผู้ตอบ มีความรู้เพียงใด ใช้ร่วมเป็นส่วนประกอบของ กลวิธีให้ความรู้หรือข้อคิด สนองอัธยาศัยไมตรี สนองความสนใจ

114

การถามและการตอบ

ข้อควรค�ำนึ งในกำรตอบ

จับประเด็นค�าถามและตอบ ให้ตรงค�าถาม เลือกใช้ภาษาให้ชดั เจน และเหมาะสมถูกกาลเทศะ ี ำรตอบที่ดี วิธก

ตอบให้ตรงค�าถาม ตอบให้แจ่มแจ้ง ตอบให้ครบถ้วน

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ี ัด ตัวช้ว

Ed

uc

at

io

n

ท ๓.๑ ม.๕/๓ ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วก�าหนดแนวทางน�าไปประยุกต์ใช้ ในการด�าเนินชีวิต ท ๓.๑ ม.๕/๔ มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู

ar

สามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการฟังและการอ่านให้เกิด วิจารณญาณได้ สามารถอธิบายหลักการฟังและอ่านสารให้ความรู้ได้ สามารถอธิบายหลักการฟังและอ่านสารโน้มน้าวใจได้ สามารถอธิบายหลักการฟังและอ่านสารจรรโลงใจได้ สามารถอธิบายความแตกต่างของสารให้ความรู้ สารโน้มน้าวใจ และสารจรรโลงใจได้

Le

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

n

จุดประสงค์

การฟังและการอ่าน ให้เกิดวิจารณญาณ

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

การฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะส�าคัญที่มีความจ�าเป็นต่อ การด�าเนินชีวิตเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาปัจจุบันที่เรามีโอกาส ได้รับสื่อหรือข่าวสารที่มีความหลากหลายทั้งด้านเนื้อหาสาระ และแหล่งที่มา ดังนั้น เราจึงควรคิดพิจารณาให้ถี่ถ้วนและรอบคอบเสียก่อนที่จะตัดสินใจเชื่อ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

กำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

n

กำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

at

io

จุดมุ่งหมำยของกำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

uc

กระบวนกำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

ar

n

Ed

กำรพัฒนำวิจำรณญำณโดยกำรฟังและอ่ำนสำรประเภทต่ำง ๆ

Le

๑.

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การฟังและการอ่าน อย่างมีวิจารณญาณ

io

at

หมายถึง การฟังและการอ่านโดยใช้สติปญ ั ญา วิเคราะห์ไตร่ตรอง สารทีไ่ ด้รบั อย่างรอบคอบ มีเหตุผลก่อนน�าไปใช้

n

กำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

Ed

uc

การฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ จะต้องฟังและอ่านให้สัมฤทธิผลก่อนแล้ว จึงพัฒนาต่อไปในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้

n

้ ูดหรือผูเ้ ขียนมีจุดประสงค์ในกำรส่ งสำรอย่ำงไรบ้ำง พิจำรณำว่ำผูพ

Le

ar

่ งที่ฟังหรืออ่ำนมีควำมเป็นไปได้มำกน้ อยเพียงใด วิเครำะห์ว่ำเรือ ่ ถือมำกน้ อยเพียงใด ่ งที่ฟังหรืออ่ำนน่ ำเชือ วิเครำะห์ว่ำเรือ

่ เรือ ่ งที่ฟังหรืออ่ำนมีประโยชน์ และให้แง่คิดอย่ำงไร ประเมินได้วำ ้ ่ งสำรมีควำมเข้ำใจอย่ำงไร เพียงไร วินิจฉั ยว่ำผูส ้ ่ งสำรใช้กลวิธก ี ำรถ่ำยทอดอย่ำงไร พิจำรณำว่ำผูส

120

การฟั งและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

จุดมุ่งหมำยของกำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

.................................

at

.................................

io

n

ฟังบรรยายในห้องเรียน ฟังหรืออ่านข่าวสาร

.................................

Ed

uc

ฟังเพลง ชมละครหรือภาพยนตร์

Le

ar

n

มีหลากหลายอาชีพที่ต้องใช้ทักษะการฟังหรือ อ่านเป็นพิเศษเพื่อให้การท�างานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น

................................. ท�าให้มีมุมมองและความรู้ที่กว้างไกลขึ้น และ สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้

การฟังและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

121

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

กระบวนกำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

ได้ยิน ได้อ่าน รับรู้ เข้าใจ

io

n

วิเคราะห์ ใคร่ครวญ วินิจฉัย ประเมินค่า ใช้ประโยชน์

uc

at

เกิดการฟังและอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

n

Ed

กระบวนการฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจะเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดก็ต่อเมื่อผู้ฟัง หรือผู้อ่านรู้จักเลือกรับสารได้อย่างเหมาะสม และควบคุมไม่ให้ .............. มาสกัดกั้นการคิดอย่าง มีวิจารณญาณได้

Le

ar

กำรพัฒนำวิจำรณญำณโดยกำรฟังและอ่ำนสำรประเภทต่ำง ๆ

ในการพัฒนาวิจารณญาณโดยการฟังและอ่านสาร ประเภทต่าง ๆ จะต้องสามารถจ�าแนกสารตามลักษณะ ของเนื้อหาให้ได้ก่อน ลักษณะของเนื้อหามี ๓ ประเภท คือ ........................................................... ........................................................... ...........................................................

122

การฟั งและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

สำรให้ควำมรู ้



ข้อมูลที่ให้ความรู้ ข้อเท็จจริง หลักการ เช่น ข่าวสาร ข้อมูลทางวิชาการ

io

n

หลักในกำรฟังและกำรอ่ำนสำรให้ควำมรู ้

Ed

uc

at

พิจารณาคุณค่าว่ามีประโยชน์ควรค่า แก่การฟังและการอ่านหรือไม่

ตั้งใจฟังหรืออ่านให้จบ และจับประเด็น หรือใจความส�าคัญของเรื่องให้ได้

Le

ar

n

ฝึกแยกแยะ ..................................... และพิจารณาความน่าเชื่อถือของสาร

บันทึกประเด็นส�าคัญ หรือประเด็น ค�าถามที่ควรแก่การอภิปราย

ประเมินคุณค่าของสารว่ามีความส�าคัญ หรือประโยชน์มากน้อยเพียงใด พิจารณากลวิธีในการใช้ภาษาว่ามีความ น่าสนใจ และถูกต้องตามระดับการสื่อสาร หรือไม่ การฟังและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

123

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

สำรโน้ มน้ ำวใจ



ชักจูงใจให้คล้อยตาม เช่น การโฆษณา การโต้วาที

io

n

หลักในกำรฟังและกำรอ่ำนสำรโน้ มน้ ำวใจ

uc

at

สารมีความดึงดูดใจหรือมีความน่าเชื่อถือเพียงใด

Ed

พิจารณาว่าสารที่น�าเสนอนั้นมีความจ�าเป็น ต่อความต้องการพื้นฐานมากน้อยเพียงใด

Le

ar

n

พิจารณาว่าสารที่น�าเสนอมีประโยชน์มากน้อย เพียงใด

สารนั้นเร่งเร้าให้เชื่อเกี่ยวกับสิ่งใด และต้องการ ให้ปฏิบัติตามอย่างไร ภาษาที่ใช้ในการโน้มน้าว มีลักษณะ .................. อย่างไร

124

การฟั งและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

สำรจรรโลงใจ

uc

at

io

การใช้ภาษาเหมาะสม กับรูปแบบ เนื้อหา และผู้รับสารหรือไม่

Ed

พิจารณาว่าสารให้ ความจรรโลงใจในด้านใด มีความสมเหตุสมผล หรือไม่

n

ให้ความเพลิดเพลิน หรือให้แง่คดิ คติสอนใจ เช่น บทเพลง สุนทรพจน์ โอวาท

หลักในกำรฟังและ

n

กำรอ่ำนสำรจรรโลงใจ

Le

ar

ฟังหรืออ่าน ด้วยความตั้งใจ และท�าใจให้สบาย

ท�าความเข้าใจ เนื้อหาส�าคัญและใช้ จินตนาการตามอย่าง เหมาะสม

การฟังและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

125

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง ๑.

126

io

at

uc

Ed

n

ar

ข้อใดมีจุดมุ่งหมายในการฟังหรือการอ่านต่างจากข้ออื่น ๑. กอไหมฟังเพลงใหม่ของศิลปินที่เธอชื่นชอบ ๒. กอบัวฟังละครวิทยุเพราะคุณย่าชอบพูดถึงบ่อย ๆ ๓. กอไก่อ่านสารานุกรมเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านของไทย ๔. กอหญ้าอ่านนวนิยายเรื่องตราบฟ้ามีตะวันที่เพื่อนแนะน�าว่าสนุก

๓.

การอ่านในข้อใดควรใช้วิจารณญาณมากที่สุด ๑. การอ่านนวนิยาย ๒. การอ่านสารานุกรม ๓. การอ่านบทความวิชาการ ๔. การอ่านแผ่นพับโฆษณาหาเสียง

Le

๒.





“ดอกไม้แต่ละชนิดผลิบานในฤดูของมันเอง ตอนนี้อาจจะยังไม่ถึงช่วงเวลาของคุณ อาจสายไปหน่อยเมื่อเทียบกับคนอื่น แต่ถ้าฤดูนั้นมาถึง คุณจะงดงามไม่แพ้ดอกไม้ชนิดอื่น” (เพราะเป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด) จากข้อความข้างต้น ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของผู้เขียน ๑. ให้ก�าลังใจ ๒. ปลอบประโลมใจ ๓. ต้องการให้รู้จักอดทน ๔. สอนให้มีความพยายาม

n



ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

การฟั งและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

ทบทวน

ก่อนจำก..

จุดมุ่งหมำยของกำรฟัง

กำรฟังและกำรอ่ำน

และกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

อย่ำงมีวิจำรณญำณ

เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ เพือ่ ความบันเทิง เพือ่ ประกอบอาชีพ เพือ่ พัฒนาตนเอง

uc

at

io

n



Ed

การฟังและการอ่านโดยวิเคราะห์ ไตร่ตรองสารทีไ่ ด้รบั อย่างรอบคอบ พิจารณาได้ว่าผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายใน การเขียนอย่างไร มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ และมีประโยชน์อย่างไร ตลอดจนสามารถ วิเคราะห์ว่าผู้เขียนใช้วิธีการถ่ายทอดความ รู้สึกนึกคิดอย่างไร

กำรอ่ำนอย่ำงมี

ar

n

กำรฟังและ

วิจำรณญำณ

กระบวนกำรฟังและกำรอ่ำน

กำรพัฒนำวิจำรณญำณโดยกำรฟัง

Le

เกิดการฟังและอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ

การฟังหรือการอ่านสารประเภท ต่าง ๆ มีหลักในการพิจารณาที่ แตกต่างกัน แต่ในการพิจารณาสารนัน้ มีหลักเกณฑ์รว่ มกัน คือ เข้าใจจุดประสงค์ของผูส้ ง่ สาร พิจารณาความน่าเชือ่ ถือ ประโยชน์ แง่คดิ และวิธกี ารใช้ภาษาในการถ่ายทอดสาร

ได้ยนิ ได้อา่ น รับรู ้ เข้าใจ วิเคราะห์ ใคร่ครวญ ประเมินค่า ใช้ประโยชน์

อย่ำงมีวิจำรณญำณ

และอ่ำนสำรประเภทต่ำง ๆ

การฟังและการอ่านให้ เกิดวิจารณญาณ

127

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

n

ar

Le

n

io

at

uc

Ed

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ผังมโนทัศน์

ควำมเกี่ยวข้องระหว่ำงวัฒนธรรมกับภำษำ

๒.

กำรร้อยเรียงถ้อยค�ำ

๓.

กำรเพิ่มค�ำ

๔.

ควำมคิดกับภำษำ

๕.

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

๖.

กำรถำมและกำรตอบ

๗.

กำรฟังและกำรอ่ำนให้เกิดวิจำรณญำณ

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

๑.

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ความเกี่ยวข้ องระหว่าง วัฒนธรรมกับภาษา

ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กับวัฒนธรรม

io

at

มนุษย์มี ......................... เป็นส่วน ประกอบของวัฒนธรรม เช่น สถาบันการ ปกครอง ศาลสถิตยุติธรรม และศาสนา

uc

n

Ed

แบบแผนชีวิตหรือระบบการด�าเนิน ชีวติ ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ สิง่ ทีม่ อี ยูต่ ามธรรมชาติ ไม่นับเป็นวัฒนธรรม

n

วัฒนธรรม

Le

ar

.......................................

คือแบบแผนในการด�ารงชีวิตของ มนุษย์ที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว แตกต่าง จากกลุ่มชนอื่น

ควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม

เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย ความไม่กีดกันคนต่างชาติต่างภาษา มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา ความรักสงบ ประนีประนอม ไม่แบ่งชั้นวรรณะ มีน�้าใจ เกรงใจ รู้จักกาลเทศะ รักสนุก

เกิดจากความแตกต่างของที่ตั้ง ภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์หรือ ความแร้นแค้น กลุ่มชนแวดล้อม นักปราชญ์หรือประมุขของกลุ่มชน

134

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

ควำมสั มพันธ์ระหว่ำงภำษำกับวัฒนธรรม

สร้าง ................................................. ธ�ารง ................................................. พัฒนา ..............................................

กำรใช้ภำษำสื บทอดวัฒนธรรม

io

n

ภำษำสะท้อนวัฒนธรรม

การแบ่งล�าดับ ชนชั้น

ระดับภาษา

กาลเทศะและความเหมาะสม

เลี่ยงการใช้ค�าไม่สุภาพ

มีสิ่งต้องห้ามและค�าต้องห้าม

Le

ar

n

ค�าราชาศัพท์ ค�าแสดงล�าดับอายุ

...................................

Ed

...................................

uc

at

ภำษำสะท้อนวัฒนธรรมไทย

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภำษำและวัฒนธรรม

................................... ภาษาราชการที่คนในประเทศสามารถใช้ สื่อสารเพื่อให้เข้าใจตรงกัน ................................... ใช้กันเฉพาะในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

135

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

at

Le

ar

n

Ed

uc



ข้อใดไม่ได้แสดงถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย ๑. เชื้อสายประเพณีไม่มีกีดกั้น ๒. ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด ๓. ไม่เคยอ่อนน้อมเราไม่ยอมแพ้ใคร ๔. แม้จะถือศาสนาใด ๆ เกิดเป็นไทยต้องเป็นไทยทั่วกัน

io

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

136

n

ค�ำชี้แจง

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การร้ออยเรี ยเรีย ยงถ้ การร้ งถ้ออยค ยค�าา�

ลักษณะของประโยค

...............................

n

ส่ วนประกอบของประโยค

io

...............................

uc

ar

n

รู ปแบบของประโยค

ล�ำดับค�ำในประโยค

Ed

ควำมยำวของประโยค

at

หากสลับค�าในประโยค ความหมาย ของประโยคอาจเปลี่ยนแปลง

Le

้ ่ งสำร ประโยคตำมเจตนำของผูส

.............................. .............................. ..............................

ประโยคจะยาวขึ้นเมื่อเพิ่ม รายละเอียดอื่น ๆ

ชนิ ดของประโยค

ประโยคควำมเดียว มีค�ากริยาส�าคัญ ................... และไม่มีค�าเชื่อม ประโยคควำมรวม ประโยคย่อยหลาย ๆ ประโยครวมกัน มีค�าสันธานเชื่อมกัน เช่น ............................. ประโยคควำมซ้อน มีประโยคใจความส�าคัญและอนุประโยค เชื่อมกันด้วยค�าว่า ................................... หน้าอนุประโยค

138

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

หลักในกำรร้อยเรียงประโยค

........................ การใช้คา� หรือวลีซา�้ เพือ่ แสดงความเกีย่ วข้องกัน

n

........................ ท�าให้ประโยคต่อเนือ่ งกันโดยใช้สนั ธานเชือ่ ม ซึง่ มีลกั ษณะการเชือ่ ม ดังนี้ คล้อยตามกัน ขัดแย้งกัน เลือกอย่างใดอย่างหนึง่ เป็นเหตุเป็นผล เกีย่ วข้องกันทางเวลา เงือ่ นไข

Ed

uc

at

io

........................ การไม่กล่าวถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการ กระท�าเดียวกันซ�า้ ๆ

Le

ar

้ � ำนวน กำรใชส

n

........................ การใช้คา� หรือวลีอนื่ แทนการกล่าวถึงบุคคล เหตุการณ์ หรือการกระท�าเดียวกัน

ส� ำนวน

มีความหมายไม่ตรงตามตัว ภำษิ ต

................................................... ค�ำพังเพย

มีความหมายกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง

ข้อสั งเกตเกี่ยวกับส� ำนวน

.................................. ในบางส�านวนจะมีคา� ทีม่ ี ความหมายตรงข้ามกัน มีลกั ษณะเป็นกลุม่ ค�า ประโยค หรือกลุ่มประโยค

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

139

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

uc

Le

ar

n

Ed 140

n



ประโยคในข้อใดผู้พูดมีเจตนาเช่นเดียวกับประโยคต่อไปนี้ “เธอช่วยหยุดโวยวายสักทีได้ไหม” ๑. ถ้าเขามา ฉันจะไป ๒. ถ้าคุณย่าไม่ว่าอะไร ฉันก็จะไป ๓. ถ้าเธอรู้ว่าเขารัก เธอจะรักเขาตอบไหม ๔. ถ้ามีคนมาถามอะไร ให้บอกไปนะว่าไม่รู้

at

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

io

ค�ำชี้แจง

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การเพิ่มค�า

io

uc

กำรใช้ไม้ยมก เขียนเว้นวรรคข้างหน้าและข้างหลังไม้ยมก ค�าคนละชนิดหรือต่างหน้าทีก่ นั ใช้ไม้ยมกไม่ได้ ค�าทีไ่ ม่ให้ใช้ไม้ยมก ได้แก่ ................................ ........................................................................

Le

ค�ำซ้้อน

ar

n

Ed

ข้อสังเกตเกีย่ วกับค�ำซ�ำ้ ค�าซ�า้ อาจท�าหน้าทีต่ า่ งกัน เช่น ท�าให้ความหมาย ของค�าหนักขึน้ หรือเบาลง ค�าซ�า้ บางค�าต้องออกเสียงซ�า้ เสมอ บทร้อยกรองทีม่ คี า� ซ�า้ มักจะไม่ใช้ไม้ยมก แต่จะเขียนค�าค�านัน้ ซ�า้

at

น�าค�ามาเขียนซ�้าโดยเติมไม้ยมก (ๆ) หลังค�าที่ต้องการซ�้า ค�าเดียวกันแต่ท�าหน้าที่ต่างกันไม่ถือว่าเป็นค�าซ�้า

n

ค�ำซ้�ำ

น�าค�าที่มีความหมาย ................................................................. มาวางซ้อนกันจนเกิดเป็นค�าใหม่ ซ้อนเพื่อควำมหมำย น�าค�าทีม่ คี วามหมายเหมือน ใกล้เคียงหรือตรงกัน ข้ามกัน มาวางชิดกัน ซ้อนเพื่อเสียง น�าค�าทีม่ เี สียงสัมผัส .............................................. มาวางชิดกันเพือ่ ให้เกิดความไพเราะ

142

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำซ้อน ค�าซ้อนบางค�ามี ๔ พยางค์ ค�าซ้อนบางค�ามีภาษาถิ่น ค�าซ้อนบางค�าที่สลับต�าแหน่งค�า ความหมาย เปลี่ยนไป ค�าซ้อนส่วนใหญ่สลับต�าแหน่งค�ากันไม่ได้

ค�ำประสม

น�าค�าตั้งแต่ ๒ ค�าขึ้นไปมาประสมกันจนเกิดเป็นค�าใหม่ ความหมายใหม่ อาจจะมีเค้าของ ความหมายเดิมหรือไม่ก็ได้ ค�าประสมเป็นค�าค�าเดียว หากแยกค�ากันความหมายจะไม่เหมือนเดิม

n

ข้อสังเกตเกี่ยวกับค�ำประสม .....................................................................

io

เกิดจาก ................... แล้วมีคา� ต่าง ๆ มาเสริม

at

ค�าประสมจ�านวนมากมีความหมาย .......................

Ed

uc

ค�ำจำกภำษำอื่น

ภำษำอังกฤษ

ภำษำเขมร

ใช้ค�าตรงศัพท์ (ค�าทับศัพท์) เสียงพยัญชนะควบกล�้า บางเสียงไม่มีในภาษาไทย เช่น ดร ฟร บล

มักขึน้ ต้นด้วย บ�า บัง บัน บรร ค�า ช�า ต�า อ�า ท�า ส�า ฯลฯ มักมีตวั จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เป็นค�าแผลง

ภำษำบำลี

ภำษำสั นสกฤต

Le

ar

ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล�้า ไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่บาง ค�าต้องใส่วรรณยุกต์ก�ากับ ด้วย

n

ภำษำชวำ

ภำษำจีน

เป็นค�าโดด และมักมีเสียง วรรณยุกต์ตรีหรือจัตวา สะกดตรงตามมาตรา ส่วนใหญ่เป็นชือ่ อาหาร ของใช้

นิยมใช้ตัว ฬ ไม่นยิ มควบกล�า้ และอักษรน�า นิยมใช้ ริ มีพยัญชนะซ�า้ กัน

นิยมใช้ตวั ฑ นิยมควบกล�า้ และอักษรน�า นิยมใช้ รร มีตวั ศ ษ ซึง่ ไม่มใี นภาษาบาลี

ข้อสังเกตค�ำที่มำจำกภำษำอื่น ค�าจะถูกดัดแปลงให้เข้ากับอักขรวิธีของภาษาไทย แต่ยังคงรูปค�าไว้เพื่อให้สังเกตได้ สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

143

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

n io

Le

ar

n

Ed

uc



ข้อใดเป็นค�าซ้อนทุกค�า ๑. ขัดถู โยกย้าย เตารีด ๒. คัดสรร เชิดชู หมางเมิน ๓. ยกย่อง แจ้งความ รวบรวม ๔. เครื่องเขียน ยกยอ เกรงกลัว

at

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

144

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

ิดกับยภาษา ความค � การร้ อยเรี งถ้อยคา

ควำมคิดกับภำษำ ประเภทของกำรคิด

ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความคิด ภาษาและความคิด ................................ ภาษาและความคิดช่วยพัฒนา ซึง่ กันและกัน

กำรคิดอย่ำงมีเหตุผล มีข้อเท็จจริงมาสนับสนุนอย่างเพียงพอ กำรคิดอย่ำงไม่มีเหตุผล ขาดข้อสนับสนุนที่มีน�้าหนักเพียงพอ

io

at

uc

ar

n

กำรคิดในทำงวัฒนะ เป็นประโยชน์แก่ตนเองและผูอ้ นื่

Ed

ทิศทำงในกำรคิด

n

กำรใช้ภำษำกับควำมคิด

Le

กำรพัฒนำควำมคิด กำรใช้ภำษำแสดงเหตุผล

......................................

.......................

ปัจจัยที่ส่งเสริมกำรคิด

ความรู้ ทักษะในการใช้ภาษา สภาพแวดล้อม สุขภาพร่างกายและจิตใจ

146

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

กำรคิดในทำงหำยนะ สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผูอ้ นื่ เพราะว่า........เพราะฉะนั้น........ โดยที่...............ฉะนั้น................. เนื่องด้วย..........จึง...................... ................ทั้งนี้เพราะว่า.............. ................เหตุผลก็คือ................. อุปสรรคในกำรพัฒนำควำมคิด

............................................................ ............................................................ ............................................................

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

n

io

at

uc

Ed

n ar



ข้อใดเป็นโครงสร้างการใช้เหตุผลในข้อความต่อไปนี้ “ตะไคร้หอมเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยาหลายประการ มีกลิ่นหอมตรงรอย ต่อระหว่างใบกับกาบ คนนิยมน�ามาสกัดเป็นน�้ามันหอมระเหยเพื่อใช้ไล่ยุง และแมลง” ๑. ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ข้อสรุป ๒. ข้อสนับสนุน ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ๓. ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ข้อสนับสนุน ๔. ข้อสรุป ข้อสนับสนุน ข้อสนับสนุน

Le

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

147

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

มารยาทและคุณธรรม

การร้อยเรียงถ้อยค�า ในการสื่ อสาร

มำรยำทและคุณธรรมในกำรสื่ อสำร

at uc

คุณธรรมในกำรสื่ อสำร

เป็นพฤติกรรมภายใน เป็นคุณงามความดีที่มีอยู่ในตัวบุคคล ...........................................................

Le

ar

n

Ed

เป็นพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา ทั้งทาง ............................................... เป็นไปตามค่านิยมของคนในสังคม

io

n

มำรยำทในกำรสื่ อสำร

กำรสื่ อสำรในบริบทต่ำง ๆ

150

กำรสื่อสำรกับตนเอง

กำรสื่อสำรสำธำรณะ

................................................

สื่อสารกับคนกลุ่มใหญ่

กำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล

กำรสื่อสำรมวลชน

สื่อสารตั้งแต่ ........................ ไม่ถึงกับเป็นกลุ่ม

คล้ายกับการสื่อสารสาธารณะแต่มี ............... ที่กระจายสารได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

กำรสื่ อสำรในครอบครัว

ข้อควรค�ำนึง

io

กำรสื่ อสำรในโรงเรียน

n

ประพฤติปฏิบัติต่อกันเป็นอย่างดี มีการชี้แจงและอธิบายเหตุผล ใช้ถ้อยค�าที่สุภาพ ท�าความเข้าใจถ้อยค�าของคนต่างวัย

at

ข้อควรค�ำนึง

ครูและนักเรียนให้เกียรติซึ่งกันและกัน รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน พูดคุยกันด้วย เหตุผล ไม่ทะเลาะวิวาทกัน ระมัดระวังการเผยแพร่ขอ้ มูลบางอย่างสูภ่ ายนอก

Le

ar

n

Ed

uc

.......................... ..........................

กำรสื่ อสำรในสั งคมทัว ่ ไป

ข้อควรค�ำนึง ทักทายด้วยน�้าเสียงและท่าทีที่ .......................... ใช้ถ้อยค�าและแสดงกิริยาท่าทางที่ .................... การสื่อสารต้องชัดเจนสุภาพตามสมควร การสื่อสารกับชาวต่างชาติ เราควรศึกษา มารยาทในการสื่อสารของชาตินั้น ๆ เพื่อให้ การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

กำรใช้ภำษำปลูกฝังคุณธรรม

...................... เช่น ภาษิต นิทาน ต�านาน วรรณคดี ...................... เช่น การปฏิบัติให้เห็นเป็นแบบอย่าง สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

151

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

น้ องลองท�ำ

at

Le

ar

n

Ed

uc



ข้อความในข้อใดไม่ท�าให้ผู้ฟังเสียความรู้สึก ๑. กระเป๋าเธอสวยนะ แต่ดูพื้น ๆ ไปหน่อย ๒. พักนี้เธอดูเครียด ๆ นะ มีอะไรให้ช่วยไหม บอกได้นะ ๓. ถึงเธอจะดูท่าทางไม่ได้เรื่อง แต่ก็มีความคิดดีเหมือนกันนะ ๔. ปกติเธอท�างานเรียบร้อยกว่านี้นะ ท�าไมครั้งนี้ถึงสะเพร่าจัง

io

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

152

n

ค�ำชี้แจง

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การถามและการตอบ การร้ อยเรียงถ้อยคา�

..........................

.......................... จุดประสงค์ในกำรตอบ

ให้ทราบข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น ..................................................... เป็นส่วนประกอบของกลวิธีให้ความรู้ หรือข้อคิด แสดงอัธยาศัยไมตรี แสดงความสนใจ

ให้ข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น แสดงให้ผู้ถามทราบว่าผู้ตอบมีความรู้ เพียงใด ใช้ร่วมเป็นส่วนประกอบของกลวิธี ให้ความรู้หรือข้อคิด สนองอัธยาศัยไมตรี .........................................................

Ed

uc

at

io

n

จุดประสงค์ในกำรถำม

ar

n

ข้อควรค�ำนึ งในกำรถำม

Le

สุภาพ ไม่ละลาบละล้วง รู้จักกาลเทศะและความเหมาะสม เป็นค�าถามที่มีสาระ ....................................................... ี ำรตัง วิธก ้ ค�ำถำม

วิธีการตั้งค�าถามจะแตกต่างกันไป แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ถาม แต่วิธีการตั้ง ค�าถามทีด่ คี อื ต้องถามให้ชดั เจนตรงประเด็น ไม่เยิน่ เย้อ เลือกใช้คา� ให้เหมาะสมกับ จุดประสงค์ในการถาม

154

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

ข้อควรค�ำนึ งในกำรตอบ

จับประเด็นค�าถามและตอบให้ตรง ค�าถาม เลือกใช้ภาษาให้ชัดเจนและ เหมาะสมถูกกาลเทศะ

ี ำรตอบที่ดี วิธก

ตอบให้ตรงค�าถาม ตอบให้แจ่มแจ้ง ตอบให้ครบถ้วน

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

n

io

at

uc

Ed n ar



การได้ท�าความรู้จักและพิจารณาบุคคลก่อนที่เราจะถามบุคคลนั้น เป็นสิ่งที่ จ�าเป็นหรือไม่เพราะเหตุใด ๑. จ�าเป็น เพราะว่าจะได้รู้จักรูปร่างหน้าตา ๒. ไม่จ�าเป็น เพราะใช้เวลาในการถามไม่นาน ๓. จ�าเป็น เพราะว่าจะได้เลือกใช้ถ้อยค�าได้เหมาะสม ๔. ไม่จ�าเป็น เพราะว่าเมื่อถึงเวลาก็จะทราบเองว่าบุคคลนั้นเป็นใคร

Le

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

155

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ิ าภาษาไทย แบบฝึกหั ด รายวช

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

การฟั งและการอ่าน

การร้อยเรียงถ้อยค�า ให้ เกิดวิจารณญาณ

กำรฟังและกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณ

และกำรอ่ำน

Ed

จุดมุ่งหมำยของกำรฟัง

uc

at

io

n

การใช้สติปัญญา ........................................... สารที่ได้รับอย่างรอบคอบ พิจารณาได้ว่าผู้เขียน มีจุดมุ่งหมายในการเขียนอย่างไร มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ และมีประโยชน์อย่างไร ตลอดจน สามารถวิเคราะห์ว่าผู้เขียนใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดอย่างไร

Le

ar

n

อย่ำงมีวิจำรณญำณ

เพื่อเพิ่มพูนความรู้ เพื่อความบันเทิง เพื่อประกอบอาชีพ เพื่อพัฒนาตนเอง

กระบวนกำรฟังและกำรอ่ำน อย่ำงมีวิจำรณญำณ

ได้ยิน ได้อ่าน รับรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ ใคร่ครวญ ประเมินค่า ........................ เกิดการฟังและอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

158

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

กำรพัฒนำวิจำรณญำณโดยกำรฟัง และอ่ำนสำรประเภทต่ำง ๆ

สารประเภทต่าง ๆ ได้แก่ สารให้ความรู้ สารจรรโลงใจ และสารโน้มน้าวใจ มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาร่วมกัน คือ เข้าใจจุดประสงค์ของผู้ส่งสาร พิจารณาความน่าเชื่อถือ แง่คิด ประโยชน์ และวิธีการใช้ภาษา ในการถ่ายทอด

น้ องลองท�ำ

ค�ำชี้แจง

n

io

at

uc

Ed

n

ar



“ขาว เด้ง ใส SPEEDWHITE ด้วยสารสกัดจากสมุนไพรถึง ๒๓ ชนิด เพียงวันละ ๑ เม็ดก่อนนอนเห็นผลตั้งแต่ ๗ วันแรก ลองเลย!!!!!” ข้อความข้างต้นเป็นสารประเภทใด และมีจุดมุ่งหมายอย่างไร ๑. สารจรรโลงใจ เพือ่ ให้ผรู้ บั สารให้คณ ุ ค่ากับความงามในจิตใจมากกว่าความงาม ภายนอก ๒. สารโน้มน้าวใจ เพื่อให้ผู้รับสารเชื่อว่าผลิตภัณฑ์ SPEEDWHITE ไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อร่างกาย ๓. สารให้ความรู้ เพื่อให้ผู้รับสารทราบว่าผลิตภัณฑ์ SPEEDWHITE ประกอบ ด้วยสมุนไพรถึง ๒๓ ชนิด ๔. สารโน้มน้าวใจ เพื่อให้ผู้รับสารเชื่อว่าผลิตภัณฑ์ SPEEDWHITE จะท�าให้ผิว ขาว กระชับ และกระจ่างใส

Le

๑.

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

159

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

ตะลุยโจทย์ ค�ำชี้แจง

ให้นกั เรียนเลือกค�าตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

การที่ภาษาไทยปรากฏการใช้ค�าราชาศัพท์ สามารถสะท้อนวัฒนธรรมใด ได้เด่นชัดที่สุด ๑. คนไทยมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๒. สังคมไทยมีการแบ่งล�าดับชนชั้น ๓. สังคมไทยมีค�าต้องห้ามที่เลี่ยงไม่ให้กล่าวถึง ๔. คนไทยให้ความส�าคัญกับกาลเทศะและความเหมาะสม

๒.

“เจริญกรุง บ�ารุงเมือง เฟื่องนคร” การตั้งชื่อถนนทั้ง ๓ สายสะท้อนการใช้ ภาษาในลักษณะใด ๑. การเล่นกับภาษา ๒. การใช้ค�าแทนตัว ๓. การใช้ค�าลักษณนาม ๔. การใช้ค�าแสดงความลดหลั่นชั้นเชิง

๓.

ข้อใดไม่ปรากฏวัฒนธรรมไทยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษา ๑. ขออภัยที่ต้องให้รอนานนะครับ ๒. ขออนุญาตไปปัสสาวะค่ะคุณครู ๓. อาหารไทยส่วนมากมีรสชาติเผ็ดร้อนค่ะ ๔. ขอกราบนิมนต์พระคุณเจ้าเป็นประธานในพิธีปิดการประชุมครับ



Le

ar

n



Ed

uc

at

io



n

๑.

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

161

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

๔.

ผู้ใดเกิดเป็นสตรีอันมีศักดิ์ สงวนงามตามระบอบให้ชอบกล

๕.

ประโยคในข้อใดผู้พูดมีเจตนาถามให้ตอบ ๑. ใครจะชอบเธอเท่าฉันไม่มีหรอก ๒. เธอช่วยกินให้เร็ว ๆ หน่อยได้ไหม ๓. เธอว่าเขาจะรู้หรือไม่ว่าฉันเป็นคนท�า ๔. แม่บอกว่าที่ไหน ๆ เขาก็ท�ากันแบบนี้ทั้งนั้นแหละ

๖.

ส�านวนในข้อใดเป็นประโยค ๑. ช้างเท้าหน้า ๒. ข้าวใหม่ปลามัน ๓. ข้าวแดงแกงร้อน ๔. นกน้อยท�ารังแต่พอตัว

162

Le

ar

n





Ed

uc

at

io

n



บ�ารุงรักกายไว้ให้เป็นผล จึงจะพ้นภัยพาลการนินทา (สุภาษิตสอนหญิง) ๑. ประการหนึ่งซึ่งจะเดินด�าเนินขาด ค่อยเยื้องยาตรยกย่างไปกลางสนาม อย่าไกวแขนสุดแขนเขาห้ามปราม เสงี่ยมงามสงวนไว้แต่ในที ๒. จงซื่อต่อภัสดาสวามี จนชีวีศรีสวัสดิ์เจ้าตัดษัย อย่าให้มีราคินที่กินใจ อุปไมยเหมือนอนงค์องค์สีดา ๓. จะนุ่งห่มดูพอสมศักดิ์สงวน ให้สมควรรับพักตร์ตามศักดิ์ศรี จะผัดหน้าทาแป้งแต่งอินทรีย์ ดูฉวีผิวเนื้ออย่าเหลือเกิน ๔. จงรักนวลสงวนนามห้ามใจไว้ อย่าหลงใหลจ�าค�าที่ร�่าสอน คิดถึงหน้าบิดาและมารดร อย่ารีบร้อนเร็วนักมักไม่ดี

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

๗.



ส�านวนในข้อใดไม่ใช่ค�าพังเพย ๑. น�้าขึ้นให้รีบตัก ๒. กระต่ายขาเดียว ๓. เหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ ๔. ท�านาบนหลังคน ข้อใดปรากฏกลวิธีการร้อยเรียงประโยคแตกต่างจากข้ออื่น ๑. วนิดาชอบแมวมาก เธอจึงตัดสินใจซื้อมาเลี้ยง ๒. ถึงคุณยายจะเป็นคนขี้บ่น แต่แกก็รักหลานทุกคนมากนะ ๓. วรรณกรเป็นคนขยัน เขามักจะได้รับค�าชมเชยจากเจ้านายเสมอ ๔. เพือ่ น ๆ หลายคนวางแผนจะไปเทีย่ วกับครอบครัวในวันหยุดยาวแล้ว แต่ฉนั ยัง

๙.

ข้อใดเป็นประโยคชนิดเดียวกันกับประโยคต่อไปนี้ “เดือนหนาวก�าลังท�าการบ้านแต่ดาวเหนือก�าลังอ่านหนังสือ” ๑. เดือนหนาวก�าลังรับประทานอาหารเย็นกับดาวเหนือ ๒. ดาวเหนือและเดือนหนาวนั่งรถประจ�าทางไปโรงเรียน ๓. ดาวเหนือซื้อเทียนหอมกลิ่นมะพร้าวที่เดือนหนาวเป็นคนแนะน�า ๔. เดือนหนาวผู้เป็นน้องสาวของดาวเหนือก�าลังฝึกซ้อมร้องเพลงอย่างตั้งใจ

๑๐.



io

at

uc

Ed

n

ar



Le



n

๘.

ข้อใดไม่ใช่หลักในการสังเกตค�าภาษาสันสกฤต ๑. นิยมใช้ รร ๒. นิยมใช้ตัว ฑ ๓. นิยมใช้อักษรควบกล�้าและอักษรน�า ๔. มีพยัญชนะซ�้า ตามหลักตัวสะกดตัวตาม

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

163

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

๑๓.

๑๔.



164

n

Le

ar

n



ข้อใดเป็นค�าภาษาเขมรทุกค�า ๑. เสด็จ ช�ารุด บรรทม ๒. สวรรค์ บัลลังก์ ต�ารา ๓. บรรพต บังคับ บ�าเพ็ญ ๔. ด�าเนิน ปาหนัน อ�านาจ

io



ข้อใดไม่ปรากฏค�าประสม ๑. มะลิ เจ้ามือ บุคคล ๒. แจกจ่าย หักหน้า ใจความ ๓. ยาวเหยียด เครื่องบิน มดด�า ๔. สร้างสรรค์ ห้าวหาญ มัวหมอง

at

๑๒.

uc



ค�าซ�้าในข้อใดที่ท�าให้ความหมายของค�าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ๑. บ้านของเขาอยู่ใกล้ ๆ กับที่ท�างาน ๒. เรื่องกล้วย ๆ แบบนี้ เขาท�าได้อยู่แล้ว ๓. แม่มักจะเตือนให้ฉันขับรถระวัง ๆ เสมอ ๔. ร้านคุณยายมีแต่ขนมอร่อย ๆ ทั้งนั้นเลย

Ed

๑๑.

ข้อใดมีหลักในการสร้างค�าเช่นเดียวกันกับค�าว่า “โง่เขลา” ทุกค�า ๑. ช่างไม้ บากบั่น จุกจิก ๒. ไฟฟ้า หัวแข็ง แจกจ่าย ๓. อ้วนพี ผีสาง เลือกเฟ้น ๔. เงียบสงบ รูปร่าง เครื่องบิน

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

๑๕.



at

uc

ข้อใดมีโครงสร้างการใช้เหตุผลเหมือนกับข้อความต่อไปนี้ “เขาไม่มีเวลาดูแลตัวเอง เพราะว่าเขาท�างานหนัก” ๑. ลูกชายของเธอไปวิ่งเล่นตากฝนเมื่อตอนเย็นเลยไม่สบาย ๒. เนื่องด้วยเกิดอุบัติเหตุรถชนบนถนนเส้นนี้ จึงท�าให้การจราจรติดขัด ๓. มธุรดีมีอาการปวดตา เนื่องจากต้องท�างานหน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๔. เมธาวีได้รบั ทุนการศึกษาไปเรียนต่อทีต่ า่ งประเทศ เธอจึงลาออกจากทีท่ า� งาน

Le

๑๗.

ar

n



ตัวเลือกในข้อใดไม่สามารถน�ามาเติมในช่องว่างเพื่อแสดงเหตุผลได้ _________ การจราจรติดขัด _________ เขาเลยมาท�างานสาย ๑. เพราะ ดังนั้น ๒. เนื่องจาก ฉะนั้น ๓. เนื่องด้วย ฉะนั้น ๔. เพราะฉะนั้น ดังนั้น

Ed

๑๖.

io

n



ส�านวนในข้อใดมีการแสดงเหตุผล ๑. นกสองหัว ๒. น�้าลดตอผุด ๓. เกลือเป็นหนอน ๔. ถอยหลังเข้าคลอง

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

165

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

๑๘.

Ed

uc

at

io

n



ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดเป็นข้อสรุป (๑) ข้าวมันปู เป็นข้าวกล้องชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงกว่าข้าวขัด สีขาวทีเ่ รารับประทานกันทัว่ ไป (๒) สารอาหารทีพ่ บในข้าวมันปู ได้แก่ ธาตุเหล็ก วิตามินเอ บี และซี (๓) ซึ่งจะช่วยบ�ารุงเลือด ป้องกันโรคหัวใจ ป้องกันอาการ แขนขาไม่มีแรง รักษาอาการมือเท้าบวม (๔) ปัจจุบัน ข้าวมันปูเป็นอีกหนึ่งทาง เลือกทีท่ างโรงพยาบาลหรือศูนย์ดแู ลผูส้ งู อายุนา� มาใช้ประกอบอาหารให้แก่ผปู้ ว่ ย หรือผู้สูงอายุรับประทาน ๑. (๑) ๒. (๒) ๓. (๓) ๔. (๔)

166

n

Le



ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ๑. การคิดในใจหรือพูดคนเดียวกับตนเองเป็นการสื่อสารกับตนเอง ๒. การสื่อสารระหว่างบุคคลคือการสื่อสารตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปแต่ไม่ถึงกับเป็น กลุ่มใหญ่ ๓. การถ่ายทอดสดรายงานข่าวผ่านเฟซบุ๊กในแฟนเพจช่องข่าวเป็นการสื่อสาร สาธารณะ ๔. การสื่อสารมวลชนต้องอาศัยสื่อที่สามารถกระจายข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง

ar

๑๙.

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

๒๒.

n

io

at

uc



บุคคลในข้อใดสะท้อนให้เห็นการกระท�าทีไ่ ม่ได้มีคุณธรรมอย่างแท้จริง ๑. ดินพาแม่ไปท�าบุญที่วัดเพราะแม่รู้สึกไม่สบายใจ ๒. น�้าพาแมวจรจัดที่ถูกรถชนไปหาหมอและน�ามาดูแลต่อเพราะรู้สึกสงสาร ๓. ลมเข้าไปตีสนิทและคอยช่วยเหลือคุณยายซึง่ อยูต่ วั คนเดียวเพราะต้องการเงิน ๔. ไฟท�าอาหารไปเลี้ยงเด็ก ๆ ที่สถานรับเลี้ยงเด็กก�าพร้าทุกเดือนเพราะตนเคย อยู่ที่นี่มาก่อน

Ed

๒๑.

n



“วันใหม่ไปซื้อของที่ตลาดให้คุณแม่ แต่พบว่าร้านประจ�าที่คุณแม่ซื้อของ ขายแพงกว่าร้านอื่น เธอจึงขอต่อราคาด้วยความสุภาพและเป็นมิตร แต่แม่ค้า ไม่พอใจจึงตวาดใส่เธอ” จากสถานการณ์ข้างต้น หากนักเรียนเป็นวันใหม่ พฤติกรรมใดที่ไม่ควรปฏิบัติมากที่สุด ๑. ไม่ตอบโต้และไปซื้อของร้านอื่น ๒. ไม่ตอบโต้และซื้อของจากร้านนี้ ๓. กล่าวขอโทษและไปซื้อของร้านอื่น ๔. ตะโกนตอบโต้แม่ค้าและซื้อของจากร้านนี้

ar

๒๐.



รอคิด ก่อนพร้อง เขียนร่าง เรียงแฮ โสตทั้งห่างภัย (โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ) จากบทประพันธ์ข้างต้นปลูกฝังคุณธรรมเรื่องใด ๑. ไตร่ตรองค�าพูดของผู้อื่นก่อนเชื่อ ๒. ไม่พูดจาว่าร้ายหรือส่อเสียดผู้อื่น ๓. คิดใคร่ครวญให้ดีเสียก่อนที่จะพูด ๔. ไม่ควรน�าความลับของผู้อื่นไปพูดต่อ

Le

พาทีมีสติรั้ง รอบคอบชอบแลผิด ค�าพูดพ่างลิขิต ฟังเพราะเสนาะต้อง



สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

167

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

๒๓.



168

n io

“เดือนอ้ายเป็นนักแสดงชื่อดังซึ่งก�าลังให้สัมภาษณ์กับนักข่าวในงานเปิดตัว น�า้ หอมทีเ่ ขาเป็นพรีเซนเตอร์ แต่มนี กั ข่าวคนหนึง่ ถามเขาเกีย่ วกับเรือ่ งของสีเทียน เพื่อนนักแสดงที่เขาเคยร่วมงานด้วยว่า เขามีความคิดเห็นอย่างไรที่สีเทียนกลาย เป็นมือที่สามของคู่รักนักแสดงคู่หนึ่งจนท�าให้ต้องเลิกรากันไป” จากสถานการณ์ ข้างต้น หากเดือนอ้ายต้องการเลี่ยงที่จะตอบ ตัวเลือกในข้อใดเหมาะสมที่สุด ๑. ขอไม่ตอบนะครับ มันไม่ใช่เรื่องของผม ๒. ผมว่าค�าถามนี้พี่ไม่ควรเอามาถามผมนะครับ ๓. ผมว่าเราไม่ควรไปยุ่งเรื่องส่วนตัวของเขาครับ ๔. ผมไม่มีความคิดเห็นกับเรื่องนี้เพราะผมไม่ทราบเรื่องเลยครับ

Le

๒๕.

n

Ed

uc



ข้อใดไม่ใช่ความส�าคัญของการจับประเด็น ๑. ท�าให้ตอบค�าถามได้ยืดยาว ๒. ท�าให้ตอบค�าถามได้ตรงประเด็น ๓. ท�าให้ตอบค�าถามได้ครบถ้วนทุกค�าถาม ๔. ท�าให้สามารถยกตัวอย่างประกอบค�าตอบได้

at

๒๔.

ar



การตอบค�าถามหรืออธิบายเรื่องยาก ๆ ควรตอบอย่างไร ๑. ใช้ภาษาง่าย ๆ ๒. อธิบายอ้อมค้อม ๓. ตอบด้วยข้อความสั้น ๆ ๔. ใช้ศัพท์เฉพาะทางวิชาการ

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

๒๖.



at uc

“เชื้อไวรัส COVID-19 สามารถแพร่จากคนสู่คนผ่านทางละอองน�้ามูกหรือ น�้าลายซึึ่งออกมาเมื่อผู้ป่วยโรค COVID-19 ไอ จาม หรือพูด บางครั้งละออง เหล่านี้อาจจะไปติดอยู่ตามโต๊ะ ลูกบิดประตูหรือราวจับ เมื่อเราเผลอไปจับเชื้อ ก็จะติดตามมือเรามา นี่จึงเป็นเหตุผลว่าท�าไมเราจึงต้องหมั่นล้างมือให้สะอาด อยู่เสมอ” สารข้างต้นมีจุดประสงค์อย่างไร ๑. ให้ความคิดเห็น ๒. ให้ข้อคิดและคติเตือนใจ ๓. ให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติ ๔. ให้ความเพลิดเพลินและความสนุกสนาน

Le

๒๘.

ar

n



สารประเภทใดที่มักใช้ภาษาเร้าอารมณ์ ๑. สารประเภทให้ความรู้ ๒. สารประเภทจรรโลงใจ ๓. สารประเภทโน้มน้าวใจ ๔. ถูกทุกข้อ

Ed

๒๗.

io

n



คนเราเมื่อเจอหน้ากัน มักจะถามกันว่า “ไปไหนมา” “จะไปไหน” หรือ “กินข้าวมาแล้วหรือยัง” ค�าถามดังกล่าวเป็นการถามเพื่อจุดประสงค์ใด ๑. เพื่อทดสอบความรู้ ๒. เพื่อแสดงอัธยาศัยไมตรี ๓. เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น ๔. เพื่อใช้เป็นกลวิธีให้ความรู้หรือข้อคิดเห็นแก่บุคคลอื่น

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

169

แบบฝึกหั ด รายวิชาภาษาไทย

หลักภาษาเเละการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ม.๕

๒๙.

๓๐.

ริษยา ใส่ร้าย ฆาตขู่ เข็ญเฮย โทษให้ผู้ใด (โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ) บทประพันธ์ข้างต้น ผู้เขียนต้องการบอกอะไรแก่ผู้อ่าน ๑. ไม่พูดกลับกลอก ๒. ไม่พูดค�าหยาบคาย ๓. ไม่พูดจาว่าร้ายให้ผู้อื่น ๔. ไม่พูดไร้สาระหรือหาประโยชน์ไม่ได้



170

Le

ar

n

เหินห่างโมหะร้อน สละส่อเสียดมารษา ค�าหยาบจาบจ้วงอา- ไป่หมิ่นนินทาบ้าย

Ed

uc

at

io

n



บุคคลในข้อใดเป็นผู้ที่มีวิจารณญาณในการรับสาร ๑. มีนาศึกษาข้อมูลสินค้าและนึกถึงความจ�าเป็นทีต่ อ้ งใช้กอ่ นตัดสินใจซือ้ ทุกครัง้ แม้ว่าจะเป็นสินค้าลดราคา ๒. ม่านฟ้าตัดขาดความสัมพันธ์กับไมค์เพราะเชื่อว่าไมค์จะมาหลอกลวงตน เหมือนตัวละครในนิยายที่เพิ่งอ่านจบ ๓. มาตังรีบไปกักตุนซื้อน�้ามันพืชที่ห้างสรรพสินค้าทันทีที่อ่านข่าวที่มู่ลี่ส่งต่อมา ในเฟซบุ๊กว่าพรุ่งนี้ราคาน�้ามันพืชจะขึ้น ๔. มิวสิคตัดสินใจเลือกพรรค ก ในการเลือกตัง้ ประธานนักเรียน เพราะมีนโยบาย ให้นักเรียนมาโรงเรียนสายได้ ๑ วันต่อสัปดาห์โดยไม่ถูกหักคะแนน

สรุ ปความรู ้หลักภาษาไทย ม.๕ เทอม ๑

น� ำไปใช้

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

จดให้จ�ำ

บรรณำนุกรม

Le

ar

n

Ed

uc

at

io

n

คณะกรรมการคัดสรรวรรณกรรมแห่งชาติ. (๒๕๔๒). ประชุมโคลงสุภาษิตในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. คิมรันโด. (๒๕๕๕). เพราะเป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด. กรุงเทพฯ: สปริงบุ๊คส์. จิตต์นิภา ศรีไสย์ และคณะ. (๒๕๖๓). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม.๕ (ฉบับ อญ.). กรุงเทพฯ: บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ. ภาสกร เกิดอ่อน และคณะ. (๒๕๕๔). ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๕ : หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. ส�านักงานกระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.). ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๔). หลักภาษาและการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค. ส�านักงานราชบัณฑิตยสภา. (๒๕๕๙). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. (พิมพ์ครัง้ ที ่ ๑๑). กรุงเทพฯ: ส�านักงานราชบัณฑิตยสภา. ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ. ประชุมสุภาษิตสอนหญิง. สืบค้นเมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๔๖๓, จากเว็บไซต์: https://vajirayana.org.

Data Loading...