โครงการ IFTE 2565 - PDF Flipbook

โครงการ IFTE 2565

102 Views
56 Downloads
PDF 177,878 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


~1~ แบบฟอร์มรายละเอียดโครงการ พร้อมทั้งจาแนกรายละเอียดตัวคูณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดลาพูน แบบฟอร์มรายละเอียดโครงการ  ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์  ความสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์  ความสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์  ความสอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา  ความสอดคล้องกับกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 หมุดหมายที่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์  นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ที่ 1 การเสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์  ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ ข้อ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคน นโยบายเร่งด่วนที่ ข้อ7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21  ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์  ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพ  ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การศึกษาสานักงานศึกษาธิการจังหวัดลาพูน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนา ประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการ 1. ชื่อโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ลักษณะโครงการ  โครงการต่อเนื่อง  โครงการใหม่ 2. ผู้รับผิดชอบโครงการผู้รับผิดชอบโครงการนางสาวบุณยาพร ศรีคาซาว ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ หมายเลขโทรศัพท์ 065-4469591 E-mail : [email protected] 3. หลักการและเหตุผลความจาเป็น การที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้ความสาคัญ กับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็ง และมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาทั้งในระยะ กลางและระยะยาว โดยเฉพาะ “การพัฒนาคน” ให้มีการเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีสิ่งที่สาคัญที่สุดคือ ทักษะการเรียนรู้และการเสราสร้างปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โยการน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ทั้งในเชิงระบบและ โครงสร้างของสังคมไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่ อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคม เป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ” พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสั ง คม สร้ างการเติบ โตบนคุ ณภาพชีวิต ที่เป็ น มิตรกับ สิ่ ง แวดล้ อม และมี ภ าครั ฐ ของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม สานักงานศึกษาธิการจังหวัดลาพูน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้เล็งเห็น ความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน คุณภาพการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างคุณลักษณะและทักษะที่จาเป็น ต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียนเพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าสู่สังคมคุณภาพในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ จึงได้จัดทาโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนาการเรียนรู้ของสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเรียนรู้ มีทักษะจาเป็นในการดารงชีวิต

~2~ 4. วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด 2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน คัดเลือกนวัตกรรม การบริหาร การจัดการเรียนรู้ การ นิเทศ ติดตามและประเมินผล 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาให้สถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานผ่าน เกณฑ์เพิ่มขึ้น 5. เป้าหมายโครงการ (Output) เป้าหมายเชิงปริมาณ 1) จังหวัดลาพูนมีข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ในการสืบค้นข้อมูล ในเว็บไซด์ของหน่วยงานทางการศึกษา จานวน 1 แห่ง 2) จั ง หวั ด มี รู ป แบบ/แนวทางการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นา นวั ต กรรมการบริ ห ารจั ด การ การจั ดการเรียนรู้ การนิเทศ ติ ดตามและประเมินผลแก่ศึกษานิเทศก์ในการขับเคลื่อนการจั ดการศึกษาในระดับจั งหวัด จานวน 1 แนวทาง 3) มีเครื อข่ายบู ร ณาการความร่ ว มมือการนิ เทศ ติดตามและประเมินผล และสนับ สนุนการบริ หารจั ด การศึกษาในระดับจังหวัดอย่างน้อย 4 เครือข่าย 4) สถานศึ ก ษาในระดั บ จั ง หวั ด ได้ รั บ การนิ เ ทศ ติ ด ตามและประเมิ น ผลจากหน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด อย่างน้อย 2 ครั้ง เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1) จังหวัดลาพูนมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ในการ สืบค้นข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงานทางการศึกษา จานวน 1 แห่ง 2) ศึ ก ษานิ เ ทศก์ น ารู ป แบบ/แนวทางการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นา นวั ต กรรมการบริ ห ารจั ด การ การจัดการเรียนรู้ ดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลขับเคลื่อนการจัดการศึกษาในระดับจังหวัด 3) มี Coaching Teams ระดับจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางการบูรณาการเครือข่ายความร่วมมือ 4) มีรายงาน วิจัย แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ที่สอดคล้องเหมาะสมตามบริบท ของพื้นที่จากการนิเทศ ติดตามและประเมินผลจากหน่วยงานต้นสังกัด กลุ่มเป้าหมายโครงการ (Target Group) - ผู้ บ ริ ห าร ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และผู้ เ รี ย นในสถานศึ ก ษาทุ ก สั ง กั ด ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ล าพู น จานวน 150 คน - สถานศึกษาในจังหวัดลาพูนจานวน 50 แห่ง 6. ตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการ (Outputs) และตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการ (Outputs) 1) จังหวัดลาพูนมีข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ในการสืบค้นข้อมูล ในเว็บไซด์ของหน่วยงานทางการศึกษา จานวน 1 แห่ง 2) จั ง หวั ด มี รู ป แบบ/แนวทางการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นา นวั ต กรรมการบริ ห ารจั ด การ การจั ดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผลแก่ศึกษานิเทศก์ในการขับเคลื่อนการจั ดการศึกษาในระดับจั งหวัด จานวน 1 แนวทาง 3) มีเครื อข่ายบู ร ณาการความร่ ว มมือการนิ เทศ ติดตามและประเมินผล และสนับ สนุนการบริ หารจั ด การศึกษาในระดับจังหวัดอย่างน้อย 4 เครือข่าย 4) สถานศึ ก ษาในระดั บ จั ง หวั ด ได้ รั บ การนิ เ ทศ ติ ด ตามและประเมิ น ผลจากหน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด อย่างน้อย 2 ครั้ง

~3~ - ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) 1) จังหวัดลาพูนมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ในการ สืบค้นข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงานทางการศึกษา จานวน 1 แห่ง 2) ศึ ก ษานิ เ ทศก์ น ารู ป แบบ/แนวทางการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นา นวั ต กรรมการบริ ห ารจั ด การ การจัดการเรียนรู้ ดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลขับเคลื่อนการจัดการศึกษาในระดับจังหวัด 3) มี Coaching Teams ระดับจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางการบูรณาการเครือข่ายความร่วมมือ 4) มี ร ายงาน วิ จั ย แนวทางการนิ เ ทศ ติ ด ตามและประเมิ น ผล ที่ ส อดคล้ อ งเหมาะสมตามบริ บ ท ของพื้นที่จากการนิเทศ ติดตามและประเมินผลจากหน่วยงานต้นสังกัด วิธีดาเนินการ/กิจกรรม กิจกรรม 1. จัดทา ศูนย์กลางข้อมูล สารสนเทศ นวัตกรรม และ งานวิจัยทางการ ศึกษา 2. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรมทางการ บริหารจัดการ การจั ด การเรี ย นรู้ การนิ เทศ ติดตาม และประเมินผล 3.การจัดทาคู่มือ การนิเทศ และการ นิเทศ ติดตามผล การดาเนิน โครงการ 4.การแลกเปลี่ยน เรียนรู้แนวทางการ พัฒนาและการ คัดเลือกวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practice) ถอด บทเรียน และ สังเคราะห์ผล

ระยะเวลาดาเนินงาน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) ผู้รับผิดชอบ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กลุ่มนิเทศฯ

กลุ่มนิเทศฯ

กลุ่มนิเทศฯ

กลุ่มนิเทศฯ

~4~ ระยะเวลาดาเนินงาน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) ผู้รับผิดชอบ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 5. สรุปรายงานผล กลุ่มนิเทศฯ การดาเนิน โครงการ 7. ระยะเวลาดาเนินการ (วัน/เดือน/ปี) วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – 30 กันยายน 2565 8. สถานที่ดาเนินการ พื้นที่จังหวัดลาพูน 9. งบประมาณ จานวน....107,000…..บาท จาก.......สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.............. (ระบุรายละเอียด พร้อมตัวคูณ) กิจกรรม/รายละเอียด งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 จัดทาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษา - รวบรวมข้อมูลข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสาหรับคณะทางานและผู้เข้าร่วมประชุม(๒๐คน x 35 บาท x ๒ มื้อ) ๑,๔๐๐ - ค่าอาหารกลางวันสาหรับคณะทางาน และผู้เข้าร่วมประชุม (๒๐คน x ๑๐๐ บาท x ๑ มื้อ) ๒,๐๐๐ - ค่าพาหนะสาหรับคณะทางาน 4,000 - ค่าถ่ายเอกสาร จานวน 20 เล่มๆละ 100 บาท 2,000 กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 2.1 การประชุมการพัฒนาแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาการจัดการเรียนรู้และการนิเทศ ค่าใช้จ่ายดังนี้ การประชุมคณะทางาน (จานวน 2 ครั้ง) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 10 คนจานวน 4 มื้อๆละ 35 บาท 1,400 - ค่าอาหารกลางวัน จานวน 10 คน จานวน 2มือ้ ๆละ 100 บาท 2,000 2.2 การอบรมออนไลน์การพัฒนาแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาการจัดการเรียนรู้และการนิเทศ สาหรับศึกษานิเทศก์ - ค่าตอบแทนวิทยากร จานวน 1 คน 3 ชม.ๆละ 600 บาท 1,800 - ค่าพาหนะค่าวิทยากร อาเภอป่าซาง จานวน 2เที่ยวๆละ 150 บาท 300 - ค่าสถานที่ จานวน 1 วัน ๆ ละ 1,000 บาท 1,000 สาหรับ ผู้บริหาร ครู - ค่าตอบแทนวิทยากร จานวน 1 คน 6ชม.ๆละ 600 บาท 3,600 - ค่าพาหนะวิทยากร อาเภอบ้านโฮ่ง จานวน 2 เที่ยวๆละ 200 บาท 400 - ค่าสถานที่ จานวน 1 วันๆละ 1,000 บาท 1,000 2.3 การส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลแก่สถานศึกษา - จัดสรรให้สถานศึกษา จานวน 13 แห่งๆละ 1,500 บาท 19,500 2.4 การบูรณาการการพัฒนาการศึกษาในระดับจังหวัด - ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะทางาน จานวน 9 คนๆ ละ 120 บาท จานวน 2 วัน 2,160 - ค่าพาหนะ 5,000

~5~ กิจกรรม/รายละเอียด งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 3 การจัดทาคู่มือการนิเทศ และการนิเทศ ติดตามผลการดาเนินโครงการ 3.1 การจัดทาคู่มือการนิเทศ - ค่าเอกสารการประชุม จานวน 15 คนๆ ละ 100 บาท 1,500 - ค่าจ้างเข้าเล่มคู่มือการนิเทศ จานวน 15 เล่ม ๆละ 100 บาท 1,500 3.2 การนิเทศ ติดตามผลการดาเนินโครงการ - ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะคณะนิเทศ 4,200 กิจกรรมที่ 4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการพัฒนาและการคัดเลือกวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ถอดบทเรียน และสังเคราะห์ผล ระดับจังหวัด 4.1 การประชุมคณะทางาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะทางาน (15 คนx 35 บาทx2 มื้อ) 1,050 - ค่าอาหารกลางวันคณะทางาน (15 คนx100 บาทx1 มื้อ) 1,500 - ค่าพาหนะคณะทางาน จานวน 15 คน 3,000 4.2 การดาเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการพัฒนาและการคัดเลือกวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ถอดบทเรียน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมและคณะทางาน (50คนx35x2มื้อ) 3,500 - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรมและคณะทางาน (50คนx100x1มื้อ) 5,000 - ค่าโล่รางวัลจานวน 3 รางวัลๆละ 1,000 บาท 3,000 - ค่าสถานที่ จานวน 1 วันๆละ 1,500 บาท 1,500 - อุปกรณ์ในการดาเนินกิจกรรม 6,390 ระดับภาค - ค่าบู๊ทนิทรรศการ จานวน 3 รายการๆละ 5,000 บาท 15,000 - ค่าที่พัก จานวน 8 คนๆละ 600 บาท 4,800 - ค่าพาหนะ 6,000 กิจกรรมที่ 5 สรุปรายงานผลการดาเนินโครงการ - ค่าจ้างเข้าเล่มรายงาน จานวน 5 เล่มๆละ 100 บาท 1,500 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 107,000 *ขอถัวจ่ายทุกรายการ 10. การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ ความเสี่ยง ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินโครงการในการส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุมหรือกิจกรรม อาจมีข้อจากัด ประกอบกับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการจัด ประชุม อบรม สัมมนา การบริหารความเสี่ยง ดาเนินงานภายใต้ความเป็นจริงในบริบทที่ส ามารถดาเนินการได้ลดความขัดเเย้งระหว่างหน่วยงานให้มากที่สุด บนพื้นบานที่จะสามารถขับเคลื่อนและพัฒนางานให้ดีที่สุด 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดลาพูนมีนวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษาเพื่อนามาวางแผนส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดลาพูนมีผลงานที่ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือและแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับจังหวัด ที่สอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่

~6~ 3. สถานศึกษามีความเข้มแข็งเกิดเป็นโรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ สถานศึกษาอื่นต่างสังกัด (ลงชื่อ)...............................................................ผู้เขียน/ผู้เสนอโครงการ (นางสาวบุณยาพร ศรีคาซาว) ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ (ลงชื่อ)...............................................................ผู้เห็นชอบโครงการ (นางดารัณ รักหน้าที่) ตาแหน่ง ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล (ลงชื่อ)...............................................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายสมโภชน์ ศรีชะนา) ตาแหน่ง รองศึกษาธิการจังหวัดลาพูน รักษาการในตาแหน่งศึกษาธิการจังหวัดลาพูน

Data Loading...