999999999999999 - PDF Flipbook

999999999999999

173 Views
111 Downloads
PDF 1,830,785 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๕7-๒๕60

กันยายน 2555 สํานักงานจังหวัดปทุมธานี โทร. 0 2581 3886

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 และพระราช กฤษฎี กาว าดว ยหลั กเกณฑและวิ ธี ก ารบริ หารกิจ การบ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กํ าหนดให จังหวัด ทํ า แผนพัฒนาจังหวัดใหสอดคลองกับแผนบริหารราชการแผนดิน แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต องการของประชาชนในทองถิ่ น จั งหวั ด จั งหวั ด ปทุ มธานี จึ งได จัด ทํ าแผนพั ฒ นาจั งหวั ด ปทุ มธานี พ.ศ. 2557-2560 ขึ้น เพื่อเปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัดปทุมธานีตอไป แผนพั ฒนาจั งหวัด ปทุมธานีฉบั บนี้ได รับความเห็ นชอบจากคณะกรรมการบริห ารงานจังหวัดแบบ บูรณาการจังหวัดปทุมธานี ( ก.บ.จ. ปทุมธานี) เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2555 มีหลักการบนพื้นฐานที่สงเสริมการ ดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสอดคลองแผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2555-2558 แนวนโยบาย พื้นฐานแหงรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และแผนพัฒนาประเทศดานตางๆ ที่คํานึงถึง ผลประโยชนของจังหวัดปทุมธานีในภาพรวม ประกอบดวยสาระสําคัญ 5 ส ว น ได แ ก ข อ มู ล สภาพทั่ ว ไปของ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และข อ มู ล สรุ ป ผลการดํา เนิ น การตามแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด (พ.ศ. 2553-2556) ขอมูล สรุปความตองการและศักยภาพของประชาชนในทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี ขอมูลการวิเคราะหศักยภาพเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของพื้นที่ และทิศทางนโยบายการพัฒนาในมิติที่สําคัญ สรุปขอมูลแผนพัฒนา จังหวัด และแผนงานโครงการที่มีลําดับความสําคัญตามนโยบายของจังหวัดปทุมธานี (จ. 1) โดยทั้ง 5 สวนจะชวยสราง ความชัดเจน และกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสวนราชการตางในจังหวัดปทุมธานีใหเปนไปตามเปาหมาย เกิด ความสามัคคี ปรองดอง ความสมานฉันท ความผาสุก ความเปนอยูที่ดี ความสงบและปลอดภัยของสังคมสวนรวม จังหวัดปทุมธานีมีความเชื่อมั่นวาแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานีฉบับนี้ จะเปนเครื่องมือสําคัญของการ ทํางานและการบริหารราชการจังหวัด ซึ่งทุกสวนราชการในจังหวัดปทุมธานีมีสวนรวมดําเนินการผลักดันและบูรณาการ นโยบายในการบริ ห ารราชการจั ง หวั ด ไปสู ก ารปฏิ บั ติ ไ ด อ ย า งเป น รู ป ธรรม ครบถ ว นสมบู ร ณ จึ ง ขอขอบคุ ณ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการจังหวัดปทุมธานี หัวหนาสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผูที่เกี่ยวของ ที่ มี สวนรวมดําเนินการใหแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 เปนไปดวยความเรียบรอย สําเร็จลุลวงตาม วัตถุประสงคและเปาหมาย เปนผลดีตอการบริหารราชการจังหวัดปทุมธานีใหเกิดประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ตอไป

(นายขจรศักดิ์ สิงโตกุล) ผูวาราชการจังหวัดปทุมธานี

“ปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนยการเรียนรู และสังคมสันติสุข”

สารบัญ

บทนํา

หนา 1

ส ว นที่ 1 ข อ มู ล สภาพทั่ ว ไปของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และข อ มู ล สรุ ป ผลการดํา เนิ น การตาม แผนพั ฒ นาจั ง หวั ด (พ.ศ. 2553-2556) 1.1 ข อ มู ล สภาพทั่ ว ไปของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี 1.2 ข อ มู ล สรุ ป ผลการดํา เนิ น การตามแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด (พ.ศ. 2553-2556)

2 2 39

สวนที่ 2 ขอมูลสรุปความตองการและศักยภาพของประชาชนในทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี

43

สวนที่ 3 ขอมูลการวิเคราะหศักยภาพเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของพื้นที่ และทิศทางนโยบายการพัฒนาในมิติที่สําคัญ

45

สวนที่ 4 สรุปขอมูลแผนพัฒนาจังหวัด

87

สวนที่ 5 แผนงาน/โครงการ แบบ จ.1

93



บทนํา การบริหารราชการจังหวัดปทุมธานีมีความมุงหมายที่จะสรางความสามัคคี ปรองดอง ใหเกิดขึ้นใน สังคมปทุ มธานี ซึ่งจะนําไปสู ความร วมมื อกั นในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครองของจังหวั ด ปทุมธานีใหกาวหนาเพื่อประโยชนสุขของประชาชนชาวจังหวัดปทุมธานี ซึ่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผนดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ บานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กําหนดใหจังหวัดทําแผนพัฒนาจังหวัดใหสอดคลองกับแผนบริหารราชการ แผนดิน แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความตองการของประชาชนในทองถิ่นจังหวัด มา พิจารณากําหนดเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน สวนราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแตละภารกิจประมาณการ รายไดและรายจายและทรัพยากรตางๆที่จะตองใช ระยะเวลาการดําเนินการ และการติดตามประเมินผลเพื่อใหเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถตอบสนองความตองการของประชาชน และรองรับตอกระแสการเปลี่ยนแปลงใน บริบทของประเทศและบริบทโลกไดอยางยั่งยืน รวมทั้งกําหนดวิธีการและวางกลไกในการถายทอดนโยบายของจังหวัด ปทุมธานีไปสูการปฏิบัติของหนวยงานตางๆ ตลอดระยะเวลาการบริหารราชการสี่ปของคณะกรรมการบริหารราชการ จังหวัดแบบบูรณาการปทุมธานี การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 ของคณะกรรมการบริหารราชการจังหวัด แบบบูรณาการปทุมธานียึดเจตนารมณของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด แผนบริหารราชการแผนดิน แนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความตองการของประชาชนในทองถิ่นจังหวัด เปนแนวทางในการจัดทํา แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 ซึ่งแตละสวนราชการจะตองนําไปเปนกรอบในการจัดทํา แผนปฏิบัติ ราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 ในการ กําหนดเปนรายละเอียดของแตละโครงการที่จะดําเนินการในแตละป เพื่อใชเปนแนวทางในการขอจัดสรรงบประมาณ รายจ ายประจํ าป อั นเป นการผลักดันใหประเด็น ยุทธศาสตรต ามแผนพัฒ นาจั งหวัด ปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 ประสบความสําเร็จตามเปาประสงคที่กําหนด แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 มีเนื้อหาสาระสําคัญประกอบดวย 5 สวน ไดแก ส ว นที ่ ห นึ่ ง ข อ มู ล สภาพทั่ ว ไปของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และข อ มู ล สรุ ป ผลการดํ า เนิ น การ ตามแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด (พ.ศ. 2553-2556) ส ว นที่ ส อง ขอมูลสรุปความตองการและศักยภาพของประชาชนในทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี สวนที่สาม ขอมูลการวิเคราะหศักยภาพเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมของ พื้นที่ และทิศทางนโยบายการพัฒนาในมิติที่สําคัญ สวนที่สี่ สรุปขอมูลแผนพัฒนาจังหวัด สวนที่หา แผนงานโครงการที่มีลําดับความสําคัญตามนโยบายของจังหวัดปทุมธานี (จ. 1)



สวนที่ 1 ขอมูลสภาพทั่วไปของจังหวัดปทุมธานีและขอมูลสรุปผลการดําเนินการตามแผนพัฒนา จังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2553-2556) ๑.๑ สภาพทั่วไปของจังหวัดปทุมธานี ความเปนมาของจังหวัดปทุมธานี เดิมจังหวัดปทุมธานีเปนถิ่นฐานบานเมืองแลวไมนอยกวา ๓๐๐ ป นับตั้งแตรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ มหาราช แหงกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อพุทธศักราช ๒๒๐๒ มังนันทมิตรไดกวาดตอนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัยจากศึกพมา เขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จพระเจาอยูหัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระ นารายณมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหครอบครัวมอญเหลานั้น ไปตั้งบานเรือนอยูที่บานสามโคก จากนั้นมา ชุมชนสามโคกไดพัฒนามากขึ้นเปนลําดับ ตอมาในแผนดินสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช แหงกรุงธนบุรี ชาวมอญได อพยพหนีพมาเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร อีกเปนครั้งที่ ๒ สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ อนุญาตใหตั้งบานเรือนที่บานสามโคก และครั้งสุดทายในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดมีการ อพยพชาวมอญครั้งใหญจากเมืองเมาะตะมะ เขาสูประเทศไทยเรียกวา “มอญใหญ” พระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให ชาวมอญบางสวนตั้งบานเรือนอยูที่บานสามโคกอีกเชนเดียวกัน ฉะนั้นจากชุมชนขนาดเล็ก “บานสามโคก” จึง กลายเปน “เมืองสามโคก” ในกาลตอมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ทรงเอาพระทัยใสดูแล ทํานุบํารุงชาวมอญเมืองสามโคกมิไดขาด ครั้ง เมื่อเดือน ๑๑ พุทธศักราช ๒๓๕๘ ไดเสด็จประพาสออกเยี่ยมพสกนิกรที่เมืองสามโคก และประทับที่พลับพลาริมแมน้ํา เจาพระยาฝงซายเยื้องเมืองสามโคก ยังความปลาบปลื้มใจใหแกชาวมอญเปนลนพน จึงไดพากันหลั่งไหล นําดอกบัวขึ้น ทูลเกลาฯ ถวายเปนราชสักการะอยูเปนเนืองนิจ ยังความซาบซึ้งในพระราชหฤทัยเปนที่ยิ่ง จึงบันดาลพระราชหฤทัยให พระราชทานนามเมืองสามโคกเสียใหมวา “เมืองประทุมธานี” ซึ่งวันนั้นตรงกับวันที่ ๒๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๕๘ ดวยพระมหากรุณาธิคุณดังกลาวชื่อเมืองปทุมธานี จึงไดกําเนิดนับตั้งแตบัดนั้น เปนตนมา ในปพุทธศักราช ๒๔๕๙ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหใชคําวา “จังหวัด” แทน “เมือง” และใหเปลี่ยนการเขียนชื่อจังหวัดใหมจาก “ประทุมธานี” เปน “ปทุมธานี” ในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๕๙ ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหยุบจังหวัดธัญบุรีมาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕ จังหวัดปทุมธานีจึงไดแบงการปกครองเปน ๗ อําเภอ ดังที่เปนเชนปจจุบันนี้ นับตั้งแตพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดพระราชทานนามเมืองประทุมธานีเปนตนมา จังหวัด ปทุมธานีก็เจริญรุงเรืองขึ้นเปนลําดับ เปนจังหวัดที่อุดมสมบูรณ มีศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณอื่น ๆ เปนของตัวเอง ซึ่ง เปนสิ่งที่ชาวปทุมธานีภาคภูมิเปนอยางยิ่ง และเปนจังหวัดในเขตปริมณฑลที่มีความเจริญรุงเรืองมากยิ่งขึ้นตอไปใน อนาคตอันใกล



สัญลักษณจังหวัดปทุมธานี (ตราประจําจังหวัด)

ตราสัญลักษณจังหวัดปทุมธานี รูปวงกลมมีสัญลักษณดอกบัวหลวงสีชมพูอยูตรงกลาง และรวงขาวสีทองอยู ๒ ขาง ดอกบัวและตนขาว หมายถึง ความสมบูรณดวย พืชพันธุธัญญาหาร จังหวัดปทุมธานี ใชอักษรยอวา "ปท"

คําขวัญของจังหวัดปทุมธานี

“ถิ่นบัวหลวง เมืองรวงขาว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระตําหนักรวมใจ สดใสเจาพระยา กาวหนาอุตสาหกรรม” ธงประจําจังหวัดปทุมธานี

๔ ความหมายของธงประจําจังหวัด สีน้ําเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย สีขาว หมายถึง ศาสนา ดอกบัวหลวงกับตนขาว หมายถึง ความอุดมสมบูรณดวยพืชพันธุธัญญาหารโดยเฉพาะอยางยิ่งดอกบัวและขาว ความหมายรวมของธงประจําจังหวัดปทุมธานี จึงหมายถึงวาชาวจังหวัดปทุมธานี เปนหมูคณะที่มีความรัก และความสามัคคีเปนปกแผนอันเปนสวนหนึ่งของชาติไทย ทีม่ ีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความสําคัญของธงประจําจังหวัดปทุมธานี เปนการเชิดชูเกียรติของจังหวัด บงบอกถึงสัญลักษณของจังหวัด เปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจชาวจังหวัดปทุมธานี ใหมีความรักทองถิ่นและมีความรวมมือรวมใจกันสรางสรรค ความเจริญ และมีความเอื้ออารีตอกัน

ดอกไมประจําจังหวัดปทุมธานี

ดอกบัวหลวง

ตนไมประจําจังหวัด

ตนปาริชาติ

ที่ตั้งและอาณาเขตของจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีตั้งอยูในภาคกลางประมาณเสนรุงที่ ๑๔ องศาเหนือ และเสนแวงที่ ๑๐๐ องศาตะวันออก อยู เหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง ๒.๓๐ เมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๕๒๕.๘๕๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ ๙๕๓,๖๖๐ ไร หางจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) เปนระยะทางประมาณ ๒๗.๘ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง คือ - ทิศเหนือ ติดตอกับอําเภอบางไทร อําเภอบางปะอินและอําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อําเภอ หนองแค และอําเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี - ทิศตะวันออก ติดตอกับอําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก และอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา - ทิศตะวันตก ติดตอกับอําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และ อําเภอไทรนอย จังหวัดนนทบุรี - ทิศใต ติดตอกับเขตหนองจอก เขตคลองสามวา เขตสายไหม เขตบางเขน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และอําเภอปากเกร็ด อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

๕ แผนที่แสดงขอบเขตจังหวัดปทุมธานี

เสนทางคมนาคมที่สําคัญ ไดแก - ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) เปนทางหลวงสายหลักเชื่อมโยงกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผานอําเภอลําลูกกา อําเภอธัญบุรี และอําเภอคลองหลวง - ทางหลวงหมายเลข 346 (ปทุมธานี - ลาดหลุมแกว) เชื่อมโยงจังหวัดปทุมธานี กับจังหวัดนครปฐม และจังหวัดสุพรรณบุรี ผานอําเภอเมืองปทุมธานี และอําเภอลาดหลุมแกว - ทางหลวงหมายเลข 347 (บางพูน - ศูนยศิลปาชีพบางไทร) เปนทางหลวงสายหลักดานทิศเหนือที่ เชื่อมโยงกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และภาคเหนือ ผานอําเภอเมืองปทุมธานี และอําเภอสามโคก - ทางหลวงหมายเลข 345 เปนโครงขายทางหลวงสายหลักดานทิศใตที่สําคัญของทางหลวงวงแหวนรอบ นอก ทําใหสามารถติดตอกับภาคใต ภาคตะวันตก และภาคเหนือ - ทางหลวงหมายเลข 306 เปนทางหลวงสายหลักในแนวเหนือ-ใต เชื่อมโยงกับจังหวัดนนทบุรี ผานยาน อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมที่สําคัญของจังหวัด มีปริมาณการจราจรสูง และประสบปญหาการจราจรมาก - ทางหลวงหมายเลข 307 เปนทางหลวงสายหลักในเขตผังเมืองรวมแนวเหนือ -ใต เชื่อมโยงโครงขาย รอบนอกที่สําคัญ ไดแก ทางหลวงหมายเลข 345, 346, 306 ผานยานอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และสถานที่ ราชการของจังหวัด มีการพัฒนาพื้นที่สองขางทางเปนอยางมาก ทําใหในปจจุบันประสบปญหาการจราจร - ทางดวนแจงวัฒนะ - บางพูน

ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญของจังหวัดเปนที่ราบลุมริมสองฝงแมน้ําโดยมีแมน้ําเจาพระยาไหลผานใจกลางจังหวัดในเขต อําเภอเมืองปทุมธานีและอําเภอสามโคก ทําใหพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีถูกแบงออกเปน ๒ สวน คือ ฝงตะวันตกของ จังหวัดหรือบนฝงขวาของแมน้ําเจาพระยาไดแก พื้นที่ในเขตอําเภอลาดหลุมแกวกับพื้นที่บางสวนของอําเภอเมือง และ

๖ อําเภอสามโคก กับฝงตะวันออกของจังหวัด หรือบนฝงซ ายของแมน้ําเจาพระยา ไดแก พื้นที่อําเภอเมืองบางสวน อําเภอธัญบุรี อําเภอคลองหลวง อําเภอหนองเสือ อําเภอลําลูกกา และบางสวนของอําเภอสามโคกโดยปกติระดับน้ํา ในแมน้ําเจาพระยาในฤดูฝนจะเพิ่มสูงขึ้นเฉลี่ยประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ซึ่งทําใหเกิดภาวะน้ําทวมในบริเวณพื้นที่ราบ ริมฝงแมน้ําเจาพระยาเปนบริเวณกวาง และกอใหเกิดปญหาอุทกภัยในพื้นที่ฝงขวาของแมน้ําเจาพระยา สําหรับพื้นที่ ทางฝงซายของแม น้ําเจาพระยานั้น เนื่องจากประกอบดว ยคลองซอยเป นคลองชลประทานจํานวนมาก สามารถ ควบคุมจํานวนปริมาณน้ําได ทําใหปญหาเกี่ยวกับอุทกภัยมีนอยกวา

ลักษณะของดิน พื้นที่จังหวัดสวนใหญเปนที่ราบลุม ดินมีลักษณะเปนดินเหนียวจัด สภาพดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดจัด มี pH ประมาณ ๖ - ๔ ซึ่งเปนลักษณะของดินเปรี้ยว โดยจําแนกไดดังนี้ (๑) ดินเปรี้ยวนอย มีเนื้อที่ ๓๕,๙๖๔.๐๖ ไร คิ ด เป น ร อยละ ๕.๒๐ (๒) ดิ น เปรี้ ย วปานกลาง ๔๒๖,๒๙๒.๕๔ ไร คิ ด เป น ร อยละ ๖๑.๕๘ (๓) ดิ น เปรี้ ย วจั ด ๒๒๙,๙๙๑.๐๔ ไร คิดเปนรอยละ ๓๓.๒๒ ซึ่งสภาพพื้นที่ดังกลาวทําใหไมเหมาะสมกับการปลูกพืชไร และการปลูกขาว ไดผลผลิตต่ํา ซึ่งตองมีการปรับปรุงโดยการใชปูนขาว หรือปูนมารล ควบคูกับการใชปุยเคมีเพื่อใหการเพาะปลูกไดผล ผลิตดีขึ้น

ลักษณะภูมิอากาศ สถิติภูมิอากาศ ป 2554 บาโรมิเตอรสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 6 เมตร เสนรุงที่ 14 06 เหนือ เสนแวงที่ 100 37 ตะวันออก ขอมูล

ความชื้นสัมพัทธ % ปริมาณ จํานวน อุณหภูมิอากาศ ซ สูงสุด ต่ําสุด เฉลี่ย สูงสุด ต่ําสุด เฉลี่ย น้ําฝน/ วันที่ มม. ฝนตก

ปริมาณร้ํา ระเหย มม.

เดือน มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฏาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

31.9 33.6 31.6 24.9 34.5 33.4 33.5 33.1 32.6 32.4 32.6 30.7

20.8 23 23.1 24.8 25.6 25.7 25.3 25.3 25.2 25.4 25.4 21.9

26.3 28.3 27.4 29.8 30.1 29.5 29.4 29.2 28.9 28.9 29 26.3

88 95 91 95 95 93 93 94 95 94 84 77

50 54 59 60 62 63 63 63 66 65 55 50

69 75 75 77 78 78 78 78 80 79 70 64

0 75.1 145.8 77.2 260.1 86.1 115.9 167.5 307.6 279.6 15.2 0

0 2 10 9 25 20 19 20 22 21 1 0

127.0/4.1 107.9/4.0 123.8/4.0 138.7/4.6 142.0/5.1 141.2/4.7 159.1/5.1 142.2/4.7 113.8/4.4 41.7/3.8 -

ความ ทิศทาง ปริ ม าณ เร็ม ลม แสงแดด ชม./วัน ลม กม./ ชม. 5 NE 8.2 5 E,SE 6.4 7 N 3.7 5 S 5.8 4 E 5.9 7 SW 3.6 7 SW 5 6 SW 3.8 6 SW 3.8 4 NE 60 5 NE 9.3 6 NE 8

๗ จากขอมูลของสถานีอุตุนิยมวิทยา คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี พบวาในป พ.ศ.๒๕๕4 จังหวัดปทุมธานีมี ปริมาณน้ําฝน 1,530.1 มิลลิเมตร จํานวนวันที่มีฝนตก ๑๔9 วัน ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดทั้งป 75.08 % และมี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปที่ ๒๘.59 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิสูงสุดที่ ๓3.6 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ําสุดที่ 20.8 องศาเซลเซียส ลดลงจากปผานมา รอยละ ๒๕.๒๓

การแบงเขตการปกครอง ในปจ จุบั น จังหวัด ปทุ มธานีแบ งการปกครองสว นภู มิภาคออกเปน ๗ อํ าเภอ ๖๐ ตําบล ๔๖๖ หมูบ าน การปกครองสวนทองถิ่น ๖๕ แหง ประกอบไปดวย องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง เทศบาลนคร 1 แหง เทศบาลเมือง ๗ แหง เทศบาลตําบล ๑๙ แหง และองคการบริการสวนตําบล ๓๗ แหง อําเภอประกอบไปดวย อําเภอเมืองปทุมธานี อําเภอธัญบุรี อําเภอคลองหลวง อําเภอลําลูกกา อําเภอลาดหลุมแกว อําเภอสามโคก และ อําเภอหนองเสือ

จํานวนประชากร จังหวัดปทุมธานี มีประชากร ณ วันที่ ๓๐ ธ.ค. ๒๕๕๔ ทั้งสิ้น ๑,๐๐๕,๗๖๐ คน เพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๓ คิดเปนรอยละ ๒.๐๔ จําแนก เปนชาย ๔๗๘,๑๘๒ คน หญิง ๕๒๗,๕๗๘ คน จํานวนประชากรชายคิดเปนรอยละ ๔๗.๕๔ ประชากรหญิงคิดเปนรอยละ ๕๒.๔๖ ของประชากรทั้งหมด มีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น ๔๗๐,๖๙๘ ครัวเรือน ตารางที่ ๑ : แสดงจํานวนประชากรตามทะเบียนราษฎรของจังหวัดปทุมธานี อําเภอ

ชาย (คน)

หญิง (คน)

เมืองปทุมธานี 85,820 93,602 ธัญบุรี 89,242 100,447 คลองหลวง 110,571 126,600 ลําลูกกา 113,582 124,938 ลาดหลุมแกว 28,478 29,794 สามโคก 25,525 26,928 หนองเสือ 24,964 25,269 รวม 478,182 527,578 ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดปทุมธานี: ๓0 กันยายน ๒๕๕4

รวม (คน)

จํานวนครัวเรือน

179,422 189,689 237,171 238,520 58,272 52,453 50,233 1,005,760

84,216 88,001 120,836 115,283 27,995 19,389 14,978 470,698

ประชากรแฝง ประเมินไวมีจํานวนรวม ๔๗๐,๙๙๖ คน เปนชาย ๒๒๗,๔๕๖ คน หญิง ๒๔๓,๕๔๐ คน โดยเขามา ทํางานเปนแรงงานตามสถานที่ตาง ๆ เชน สถานที่กอสราง ตลาดสด และโรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ตารางที่ ๒ : แสดงจํานวนประชากรแฝงในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี

๘ อําเภอ เมืองปทุมธานี ลาดหลุมแกว

ประชากรแฝง ชาย (คน) หญิง (คน) 2,665

2,489

สามโคก คลองหลวง

รวม (คน) 44,711 5,154 22,850

17,363

11,877

29,240

หนองเสือ ธัญบุรี

78}400

86}687

165,087

ลําลูกกา รวม

57,160

58,450

115,550

สถานที่ทํางานของประชากร แฝง โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม หองเชา หมูบานจัดสรร โรงงานอุตสาหกรรม หมูบาน จัดสรร ตลาดไท โรงงานอุตสาหกรรม สวนพืชผัก โรงงานอุตสาหกรรม ยานการคา หอพัก สถานประกอบการ หมูบานจัดสรร

แหลงที่มาของขอมูล ปค.อ.เมืองปทุมธานี ปค.อ.ลาดหลุมแกว ปค.อ.สามโคก ปค.อ.คลองหลวง ปค.อ.หนองเสือ ปค.อ.ธัญบุรี ปค.อ.ลําลูกกา

ที่มา : ที่ทําการปกครองอําเภอทุกอําเภอ: กุมภาพันธ ๒๕๕5 ขอมูลแรงงานตางดาวที่หลบหนีเขาเมือง จังหวัดปทุมธานี ป ๒๕๕๔ แรงงานตางดาว ๓ สัญชาติ ทั้งหมด

๕๐,๐๓๒ ราย

นายจาง / สถานประกอบการทั้งหมด

๙,๕๔๑ ราย

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนแรงงานกลุมใบอนุญาตหมดอายุ 20 มกราคม 2555 แยกตามสัญชาติ / เพศ เพศ ชาย หญิง รวม

พมา 68 72 140

สัญชาติ ลาว 1 1

กัมพูชา -

รวม 68 73 141

ผูประกอบการ (ราย) 104 ราย

ตารางที่ 4 แสดงจํานวนแรงงานกลุมใบอนุญาตหมดอายุ 14 มิถุนายน 2555 แยกตามสัญชาติ / เพศ เพศ ชาย หญิง รวม

พมา 11,438 9,167 22,605

สัญชาติ ลาว 3,161 2,423 5,584

กัมพูชา 9,675 5,871 15,546

สรุปขอมูลแรงงานตางดาวถูกกฎหมาย จังหวัดปทุมธานี ป ๒๕๕๔ แรงงานตางดาวถูกกฎหมายทั้งหมด

๒๘,๗06 ราย

รวม 24,274 17,461 43,735

ผูประกอบการ (ราย) 6,738 ราย

๙ นายจาง / สถานประกอบการทั้งหมด

๙,๓๙๙ ราย

ตารางที่ 5 แสดงขอมูลแรงงานตางดาวถูกกฎหมายจังหวัดปทุมธานี ป 2554 แยกตามสัญชาติ / เพศ เพศ ชาย หญิง รวม

สัญชาติ ลาว 1,037 1,121 2,158

พมา 9,841 8,499 18,340

กัมพูชา 2,562 2,407 4,969

รวม 13,440 12,027 25,467

ผูประกอบการ (ราย) 8,857 ราย

ตารางที่ 6 แสดงกลุมแรงงานตางดาวนําเขา MOU แยกตามสัญชาติ / เพศ เพศ ชาย หญิง รวม

สัญชาติ ลาว 559 512 1,071

พมา 0 0 0

กัมพูชา 1,189 979 2,168

รวม

ผูประกอบการ (ราย)

1,748 1,491 3,239

542 ราย

การศึกษา จังหวัดปทุมธานีแบงพื้นที่การศึกษาระดับประถมศึกษาเปน 2 เขต ประกอบดวย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ครอบคลุมพื้นที่ ๔ อําเภอ คือ อําเภอเมืองปทุมธานี คลองหลวง สามโคก และอําเภอ ลาดหลุมแกว สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ ครอบคลุมพื้นที่ ๓ อําเภอ ไดแก อําเภอธัญบุรี ลําลูกกา และอําเภอหนองเสือ และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 ครอบคลุมพื้นที่ 7 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองปทุมธานี คลองหลวง สามโคก อําเภอลาดหลุ มแกว อําเภอธัญบุรี ลําลู กกา และอํ าเภอหนองเสือ ในป การศึกษา ๒๕๕4 มีสถานศึกษาในสังกัดสํานั กงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้ นฐานและ อื่น ๆ รวม ๑๙1 แห ง และ สํานักงานบริหารงานการศึกษาเอกชน ๘2 แหง รวม ๒73 แหง จํานวนหองเรียน 5,080 หองเรียน ครู 6,326 คน นักเรียนจํานวน 1,039,876 คน ตารางที่ 7 แสดงจํานวนโรงเรียน หองเรียน ครู ของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต ๑ เขต ๒ และ เขต 4 อําเภอ เมืองฯ ธัญบุรี คลองหลวง

จํานวนโรงเรียน

จํานวนหอง

จํานวนครู

รัฐ/ อื่นๆ

เอกชน

รวม

รัฐ/ อื่น ๆ

เอกชน

รวม

รัฐ/ อื่น ๆ

เอกชน

รวม

29 ๑๔ ๓7

20 ๒3 13

๔9 ๓7 50

๖๖2 537 619

304 673 212

966 1,210 831

949 724 939

467 674 234

๑,416 ๑,398 1,173

๑๐ ลําลูกกา ๓4 20 ๕4 ๕๓1 578 ๑,1๐๙ 664 607 ๑,271 ลาดหลุมแกว ๒๖ 3 29 314 61 ๓7๕ 405 72 ๔77 สามโคก ๒4 1 25 ๒50 23 ๒๗3 262 23 285 หนองเสือ ๒๗ ๒ ๒๙ ๒๘8 ๒8 ๓16 287 19 306 รวม 191 82 273 ๓,๒01 ๑,879 5,080 4,230 ๒,096 6,326 ที่มา : สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ เขต ๒ และ มัธยมศึกษา เขต 4 ตารางที่ 8 จํานวนนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ เขต ๒ และ มัธยมศึกษา เขต 4 จํานวนนักเรียน ภาครัฐ/อื่น ๆ ภาคเอกชน รวม เมืองฯ 22,869 9,161 32,030 ธัญบุรี 13,934 16,812 30,746 คลองหลวง 25,578 5,747 31,325 ลําลูกกา 17,071 13,530 30,601 ลาดหลุมแกว 8,523 2,044 10,567 สามโคก 4,719 426 5,145 หนองเสือ 6,482 380 6,862 รวม 99,176 48,100 1,039,876 ที่มา : สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ เขต ๒ และ มัธยมศึกษา เขต 4 อําเภอ

การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานีมีสถานศึกษาในสังกัดของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี ๗ แหง และหองสมุดประชาชน ๗ แหง ไดแก ๑. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองปทุมธานี ๒. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอสามโคก ๓. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอลาดหลุมแกว ๔. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอลําลูกกา ๕. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอคลองหลวง ๖. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอธัญบุรี ๗. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหนองเสือ มีหองสมุดประชาชน ๗ แหง ไดแก ๑. หองสมุดประชาชนจังหวัดปทุมธานี ๒. หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอลาดหลุมแกว

๑๑ ๓. หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอธัญบุรี ๔. หองสมุดประชาชนอําเภอสามโคก ๕. หองสมุดประชาชนอําเภอคลองหลวง ๖. หองสมุดประชาชนอําเภอลําลูกกา ๗. หองสมุดประชาชนอําเภอหนองเสือ

สาธารณสุข จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี มี ส ถานพยาบาล ประกอบด ว ย โรงพยาบาลทั่ ว ไป ๑ แห ง โรงพยาบาลชุ ม ชน ๗ แห ง โรงพยาบาลเฉพาะทาง ๒ แหง โรงพยาบาลเอกชน ๗ แหง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงอื่น ๑ แหง สถานี อนามั ย ๗๘ แห ง ศูน ย บ ริ การสาธารณสุ ขเทศบาล ๒๑ แห ง คลิ นิ ก (ทุ กประเภท) ๔๓๙ แหง จํ านวนเตี ย ง ๒,๘๕๒ เตียง สําหรับบุคลากรดานสาธารณสุข ประกอบดวย แพทย ๔๒๓ คน ทันตแพทย ๖๔ คน เภสัชกร ๙๔ คน อัตราสวนแพทยตอจํานวนประชากรจังหวัดปทุมธานี เมื่อป ๒๕๕๕ เทากับ ๑: ๒,๓๓๐ คน สูงกวามาตรฐาน (แพทยมาตรฐาน ๑: ๖,๐๐๐ คน) ตารางที่ 9 แสดงจํานวนสถานพยาบาลและอัตราสวนเตียงตอประชากรจังหวัดปทุมธานี ปงบประมาณ ๒๕๕๕

ประเภทสถานบริการ

จํานวน (แหง)

๑ ๗ ๒ ๑ ๗ ๗๘ ๒๑ ๔๓๙ ๕๕๖ ที่มา: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเฉพาะทาง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงอื่น โรงพยาบาลเอกชน สถานีอนามัย ศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาล คลินิก (ทุกประเภท) รวม

จํานวน (เตียง)

๓,๗๗ ๒๔๐ ๘๕๘ ๕๐๙ ๘๖๘ ๐ ๐ ๐ ๒,๘๕๒

อัตราสวนเตียง ตอประชากร จังหวัดป (๒๕๕๔) (ปชก. ณ ธ.ค. ๕๓) ๙๘๕,๖๔๓

อัตราสวนเตียง ตอประชากร จังหวัดป(๒๕๕๓) (ปชก.ณ ธ.ค.๕๒) ๙๕๖,๓๗๖

อัตราสวนเตียง ตอประชากร จังหวัดป (๒๕๕๒) (ปชก. ณ ธ.ค. ๕๑) ๙๒๙๒๕๐

๑ :๒,๖๑๔ ๑ :๔,๑๐๗ ๑ :๑,๑๔๘ ๑ :๑,๙๓๖ ๑ :๑,๑๓๕

๑ :๑,๙๖๒ ๑ :๓,๒๖๒ ๑ :๙๑๖ ๑ :๑,๗๐๖ ๑ :๑,๐๓๘ ๐ ๐ ๐ ๑;๓๓๕

๑:๒,๔๖๔ ๑:๓,๘๗๒ ๑:๑,๐๘๓ ๑:๑,๘๒๕ ๑:๑,๐๗๐ ๐ ๐ ๐ ๑:๓๒๕

-

๑;๓๔๕

๑๒ ตารางที่ 10 แสดงอัตรากําลังบุคลากรดานสาธารณสุข ปงบประมาณ ๒๕๕๕ ประเภท บุคลากร

เกณฑ (คน)

จํานวนที่มี (คน)

แพทย ๑๒๐ ๔๒๓ ทันตแพทย ๑๒๖ ๖๔ เภสัชกร ๑๑๘ ๙๔ ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี

อัตราสวนตอ ประชากร จังหวัด ป ๒๕๕๑ ๑ :๒,๓๓๐ ๑ :๑๕,๔๐๐ ๑ :๑๐,๔๘๖

อัตราสวนตอ ประชากร จังหวัด ป ๒๕๕๐ ๑ :๒,๒๖๑ ๑ :๑๔,๙๔๓ ๑ :๑๐,๑๗๔

อัตราสวนตอ ประชากร ประเทศ ป ๒๕๔๙ ๑:๒,๑๙๖ ๑ :๑๔,๕๑๙ ๑ :๙,๘๘๕

หมายเหตุ : จํานวนแพทย ทันตแพทย และเภสัชกร รวม รพ.ภาครัฐ ๘ แหง รพ.เฉพาะทาง ๒ แหง (ศูนยมหาวชิราลง กรณ, สถาบันธัญญารักษ) รพ.นอกสังกัด ๑แหง (รพ.ธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติฯ) ตารางที่ 11 แสดงความครอบคลุ ม ของการหลั ก ประกั น สุ ข ภ าพของประชาชนในจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ปงบประมาณ ๒๕๕๕ ประเภทหลักประกันสุขภาพ

ปงบประมาณ ๒๕๕๕ จํานวน (คน)

บัตรประกันสุขภาพถวนหนา ๕๒๙,๕๖๗ (บัตรทอง) ประกันสังคม ๒๒๐,๑๙๗ ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ ๙๓,๖๑๔ สิทธิอื่นๆ (อาทิ คนไทยในตาง ๔,๘๙๕ แดน ขาราชการการเมือง ฯลฯ) ไมมีสิทธิ ๔,๓๑๐ บุคคลรอพิสูจน ๓๓,๕๗๗ รวม ๘๘๖,๑๒๔ ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี: (ขอมูล ณ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔)

รอยละ ๕๙.๗๖ ๒๔.๘๕ ๑๐.๕๖ ๐.๕๕ ๐.๔๙ ๓.๗๙ ๑๐๐

ศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนในจั งหวั ด ปทุ มธานี ส ว นใหญ นั บ ถื อศาสนาพุ ทธ รองลงมาคื อ ศาสนาอิ ส ลามและศาสนาคริ ส ต ตามลําดับ สําหรับจํานวนศาสนสถานในจังหวัดโดยจํา แนกไดดังนี้ วัดในพุทธศาสนา 185 แหง มัสยิด ๓๐ แหง โบสถ (คริสต) ๓9 แหง ตารางที่ 12 แสดงจํานวนศาสนสถาน แยกตามพื้นที่อําเภอ อําเภอ/ตําบล

จํานวนศาสนสถาน

๑๓ พุทธ คริสต อําเภอเมืองปทุมธานี 41 5 อําเภอคลองหลวง 23 10 อําเภอธัญบุรี 10 12 อําเภอสามโคก 40 1 อําเภอลําลูกกา 33 8 อําเภอลาดหลุมแกว 18 2 อําเภอหนองเสือ 20 1 รวม 185 39 ที่มา : สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานีและสํานักพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี

อิสลาม 3 4 1 2 11 6 3 30

ตารางที่ ๑3 แสดงการนับถือศาสนาประชากรระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ จังหวัด/อําเภอ/ ตําบล

การนับถือศาสนา ป พ.ศ. ๒๕๕๒

ป พ.ศ. ๒๕๕๓

พุทธ คริสต อิสลาม พุทธ คริสต อิสลาม จังหวัดปทุมธานี ๙๐๕,๔๗๐ ๔,๑๘๘ ๔๖,๗๑๘ ๙๓๓,๘๘๒ ๔,๓๔๒ ๔๗,๔๑๙ อําเภอเมืองปทุมธานี ๑๖๙,๒๕๕ ๖๖๗ ๙๔๐ ๑๗๓,๘๘๘ ๖๒๐ ๙๖๓ อําเภอคลองหลวง ๒๑๑,๗๘๑ ๗๙๑ ๘,๐๐๑ ๒๒๑,๖๙๗ ๘๔๓ ๘,๐๐๒ อําเภอธัญบุรี ๑๘๓,๘๖๑ ๒๘๕ ๔๕๑ ๑๘๗,๐๘๘ ๓๐๓ ๔๘๖ อําเภอสามโคก ๔๖,๐๖๓ ๖๙๐ ๕,๐๐๙ ๔๖,๑๖๗ ๘๐๖ ๕,๑๕๐ อําเภอลําลูกกา ๒๐๗,๐๔๕ ๑,๖๒๘ ๑๕,๗๖๗ ๒๑๕,๐๘๗ ๑,๖๒๗ ๑๖,๒๐๔ อําเภอลาดหลุมแกว ๔๒,๒๙๑ ๑๒๗ ๑๒,๔๓๖ ๔๔,๒๒๙ ๑๔๓ ๑๒,๕๐๘ อําเภอหนองเสือ ๔๕,๑๗๔ ๔,๐๘๔ ๔๕,๗๒๖ ๔,๑๐๖ รวม ๙๐๕,๔๗๐ ๔,๑๘๘ ๔๖,๗๑๘ ๙๓๓,๘๘๒ ๔,๓๔๒ ๔๗,๔๑๙ ที่มา : สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี และสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี: กุมภาพันธ ๒๕๕๕

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน จังหวัดปทุมธานีมีคดีประเภทประทุษรายตอทรัพยสูงขึ้นเปนระยะมีสาเหตุจากการที่มีจํานวนประชากรในพื้นที่ เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากประชาชนตางทองถิ่นตางเขามาทํางานตามสถานประกอบการตางๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรม หมู บ านจั ด สรร และห างสรรพสิ น คา รวมทั้ งเด็ กและเยาวชนที่ เข ามาศึ กษาในสถานศึ กษาระดั บ อาชี วศึ กษา และ อุดมศึกษาในเขตจังหวัด โดยที่ปญหาอาชญากรรมที่ประกอบโดยเด็กและเยาวชนไมวาจะเปนการมีเพศสัมพันธ มั่วสุม ยาเสพติด ทะเลาะวิวาท ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย หรืออาชญากรรมรุนแรง มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งในแงความรุนแรงและ

๑๔ ปริมาณ ซึ่งเปนเครื่องบงชี้วาเด็กและเยาวชนไทยมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่นําไปสูอาชญากรรมเพิ่มขึ้นซึ่งมีสาเหตุมาจาก การเลียนแบบพฤติกรรมที่มีการเผยแพรทางสื่อที่ไรพรมแดน และจากการที่คาครองชีพสูงขึ้น การใชจายจนเกินตัว นั้น เปนปญหาที่สงผลกระทบตอบุคคลบางกลุมจึงทําใหมีการกออาชญากรรมในคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย สําหรับปญหา อาชญากรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนเมือง จะเกิดปญหาในชุมชนแออัดเพราะสถานที่ดังกลาวมีบุคคลหลายประเภท ซึ่งบุคคล ทั่วไปสามารถเขาออกชุมชนไดตลอดเวลา เปนแหลงรวมบุคคลประเภทติดยาเสพติด คนจรจัดที่ยากตอการควบคุม ตารางที่ ๑4 แสดงสถิติคดีอาญา ๕ กลุม ของ ภ.จว.ปทุมธานีเปรียบเทียบป ๒๕๕๓ กับ ป ๒๕๕๔ ป

ปงบ ๒๕๕3

ปงบ ๒๕๕4

ประเภทความผิด เกิด จับ เกิด ๑. คดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ ๙๘ ๕๙ ๙๑ ๒. คดีประทุษรายตอชีวิตรางกายเพศ ๖๔๗ ๓๒๕ ๕๘๘ ๓. คดีประทุษรายตอทรัพย(รวม) ๑,๖๑๘ ๗๗๘ ๑,๕๓๕ ๔. คดีที่นาสนใจ (รวม) ๑,๒๔๙ ๒๐๐ ๑,๑๓๙ ๕. คดีที่รัฐเปนผูเสียหาย (รวม) ๗,๖๖๘ ๙,๑๖๕ ๕,๙๕๕ ๖. คดียาเสพติด ๖,๖๒๕ ๖,๗๓๙ ๔,๗๓๘ ที่มา : กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดปทุมธานี : กุมภาพันธ ๒๕๕๕ (ศูนยปฏิบัติการจังหวัด)

จับ ๖๐ ๓๐๑ ๗๗๐ ๑๙๔ ๗,๗๔๙ ๔,๘๗๕

ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดปทุมธานี ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GROSS PROVINCIAL PRODUCT AT CURRENT MARKET PRICES) ในปพ.ศ. ๒๕๕๓ มีมูลคารวม ๒๙๐,๗๗๑ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา คิดเปนรอยละ ๑๓.๐ เปนมูลคาผลิตภัณฑในภาค เกษตรกรรม ๘,๐๘๘ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ ๓๖.๖ และภาคนอกเกษตร ๒๘๒,๖๘๓ ลานบาท เพิ่มขึ้น จากปที่ผานมารอยละ ๑๒.๔ รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per capita GPP) เทากับ ๓๔๙,๑๕๗ บาท เพิ่มขึ้นจากปที่ ผานมารอยละ ๑๑.๔ ตารางที่ ๑5 : ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดปทุมธานี ณ ราคาประจําป จําแนกตามรายสาขาการผลิต (วิธี Top Down) หนวย : ลานบาท ลําดับ สาขา ๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

ภาคเกษตร สาขาพืชผล ปศุสัตว และการปาไม สาขาประมง ภาคนอกเกษตร สาขาเหมืองแรและยอยหิน สาขาอุตสาหกรรม สาขาไฟฟา ประปา และโรงแยกกาซ สาขากอสราง

๔,๕๔๕ ๔,๙๑๐ ๕๙๖๒ ๕,๙๒๒ ๘,๐๘๘ ๔,๑๙๑ ๔,๕๓๔ ๕,๖๖๒ ๕,๕๘๓ ๗,๗๓๕ ๓๕๔ ๓๗๖ ๓๐๐ ๓๓๘ ๓๕๓ ๑๘๕,๓๕๑ ๑๙๓,๓๔๒ ๒๒๐,๔๗๐ ๒๕๑,๔๔๙ ๒๘๒,๖๘๓ ๕๑ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๕๔ ๑๒๙,๓๗๑ ๑๓๓,๗๑๒ ๑๕๖,๒๕๐ ๑๘๖,๕๕๔ ๒๑๓,๖๒๖ ๘,๑๑๗ ๗,๙๔๗ ๗,๔๑๘ ๘,๔๖๘ ๙,๒๕๕ ๗,๙๖๒ ๗,๗๐๓ ๗,๗๐๔ ๖,๕๓๗ ๖,๖๑๗

๑๕ ลําดับ

สาขา

๒๕๔๙

๒๕๕๐

๒๕๕๑

๒๕๕๒

๒๕๕๓

๗.

สาขาการขายสง การขายปลีก การ ซอมแซมยานยนต จักรยานยนต ของใช สวนบุคคลและของใชในครัวเรือน สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคาและการ คมนาคม สาขาตัวกลางทางการเงิน สาขาบริการดานอสังหาริมทรัพย การให เชาและบริการทางธุรกิจ สาขาการบริหารราชการและการปองกัน ประเทศ รวมทั้งการประกัน สังคมภาค บังคับ สาขาการศึกษา สาขาการบริการดานสุขภาพและสังคม สาขาการใหบริการดานชุมชน สังคมและ บริการสวนบุคคลอื่นๆ สาขาลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) รายไดเฉลี่ยตอหัว (บาท) จํานวนประชากร (๑,๐๐๐ คน)

๙,๒๘๔

๑๐,๔๕๓

๑๑,๙๓๖

๑๑,๗๘๓

๑๑,๗๘๙

๖,๙๒๑ ๕,๒๓๙

๗,๖๕๔ ๕,๙๑๓

๘,๓๓๕ ๖,๕๙๐

๘,๗๐๔ ๖,๖๑๘

๙,๕๑๓ ๖,๖๖๙

๓,๔๗๒ ๔,๔๑๕

๓,๘๗๔ ๔,๔๓๙

๔,๕๒๖ ๔,๓๓๒

๔,๘๒๒ ๔,๒๔๘

๕,๑๕๓ ๔,๘๒๘

๒,๕๗๓

๒,๗๕๒

๔,๐๙๖

๔,๖๕๐

๔,๘๔๓

๓,๘๙๘ ๒,๓๙๖ ๑,๕๘๗

๔,๓๕๖ ๒,๕๕๑ ๑,๘๗๙

๔,๖๔๑ ๒,๓๘๕ ๒,๐๗๓

๔,๑๙๘ ๒,๔๖๒ ๒,๒๙๒

๕,๑๑๒ ๒,๖๒๘ ๒,๕๓๖

๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖.

๖๔ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๒ ๑๘๙,๘๙๖ ๑๙๘,๒๕๒ ๒๒๖,๔๓๒ ๒๕๗,๓๗๑ ๒๙๐,๗๗๑ ๒๓๘,๘๔๒ ๒๔๖,๐๓๐ ๒๗๗,๗๕๕ ๓๑๓,๔๘๓ ๓๔๙,๑๕๗ ๗๙๕ ๘๐๖ ๘๑๕ ๘๒๑ ๘๓๓

ที่มา : สํานักงานคลังจังหวัดปทุมธานี : กุมภาพันธ ๒๕๕๕

ดานการคา การประมวลผลดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ เดือนมกราคม 2555 มีรายการสินคาและบริการที่ใช คํานวณ จํานวน 417 รายการ สําหรับจังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 271 รายการ ครอบคลุมสินคาหมวดอาหารและ เครื่องดื่ม เครื่องนุงหม เคหสถาน การตรวจรักษา และบริการสวนบุคคล ยานพาหนะ การขนสงและการสื่อสาร การ บันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา ยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล เพื่อนํามาคํานวณราคาผูบริโภคของ จังหวัดปทุมธานี ไดผลดังนี้ 1. ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ เดือนมกราคม 2555 ป 2550 ดั ช นี ร าคาผู บ ริ โ ภคทั่ ว ไปของประเทศ เท า กั บ 100 และเดื อ นมกราคม 2555 เท า กั บ 113.21 เที ยบกับ เดื อนธัน วาคม 2554 เทากับ 112.77 สูงขึ้น รอยละ 0.39 หากเทีย บกั บเดือน มกราคม 2554 สู งขึ้ นร อยละ 3.38 (อัต ราเงิน เฟ อ) ทั้ งนี้ กระทรวงพาณิช ยคาดการณืเงิน เฟ อทั้ งป 2555 เทากับรอยละ 3.30 – 3.80 2. ดัชนีราคาผูบริโภคของจังหวัดปทุมธานี เดือนมกราคม 2555 ป 2550 ดั ชนี ราคาผู บ ริโ ภคของจั งหวั ดปทุมธานี เท ากับ 100 และเดื อนมกราคม 2555 เทากั บ 113.1 และเดือนธันวาคม 2554 เทากับ 113.2 3. การเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผูบริโภคของจังหวัดปทุมธานี เดือนมกราคม 2555 เมื่อเทียบกับ 3.1 เดือนธันวาคม 2554 ลดลงรอยละ 0.1

๑๖ 3.2 เดือนมกราคม 2555 สูงขึ้นรอยละ 3.6 4. ดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดปทุมธานี เดือนมกราคม 2555 เทียบกับเดือนธันวาคม 2554 ลดลงรอยละ 0.1 (ธันวาคม 2554 ลดลงรอยละ 0.9) สาเหตุจากสินคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ลดลงรอยละ 1.2 และหมวด อื่นๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ 0.8 4.1 ดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ลดลงรอยละ 1.2 (เดือนธันวาคม 2554 ลดลงรอยละ 2.3) จาก การลดลงของหมวดผักและผลไม รอยละ 6.1 เปนการลดลงของผักสดและผลไม รอยละ 13.0และ 1.8 ตามลําดับ ไดแก ผัดสดและผลไมชนิดตางๆ (พริกสด ตนหอม มะเขือเทศ ผักกาดขาว ผักบุงจีน ผักชี แตงกวา ถั่วลันเตา หัว ผักกาดขาว ผักคะนา กะหล่ําปลี หอมแดง สมเขียวหวานและมะมวง) เปนตน รวมทั้งการลดลงของราคาเนื้อสุกร ไขสด ไขไก ไขเปด สําหรับหมวดสินคาที่มีราคาสูงขึ้นไดแก ปลา สัตวน้ํา และผลิตภัณฑนมชนิดตางๆ (นมสด นมขนหวาน ครีมเทียม) รวมทั้งการสูงขึ้นของหมวดขาว แปง และผลิตภัณฑจากแปง รอยละ 0.2 (ขาวสารเจา และแปงสาลี) เครื่อง ประกอบอาหาร รอยละ 2.0 (เครื่องปรุงอาหารตางๆ เชน ซอส ซีอิ๊ว น้ําสมสายชู กาแฟพรอมดื่ม บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป และอาหารปรุงสําเร็จ) 4.2 ดัชนีหมวดอื่นๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ 0.8 (เดือนธันวาคม 2554 สูงขึ้นรอยละ 0.3) โดยสินคาสําคัญที่มีความเคลื่อนไหว คือ ราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิงในประเทศโดยเฉลี่ยปรับสูงขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กอน รอยละ 4.8 คากระแสไฟฟา รอยละ 2.1 คาน้ําประปา รอยละ 1.2 สิ่งที่เกี่ยวกับทําความสะอาด (ผงซักฟอก) น้ํายาลางจาน แปรงสีฟนและเครื่องใชเบ็ดเตล็ดภายในบาน เชน จาน/ชาม 5. ถาพิจารณาเทียบกับเดือนมกราคม 2554 ดัชนีราคาสูงขึ้นรอยละ 3.6 สาเหตุสําคัญจากการสูงขึ้ นของ ดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ร อยละ 6.5 โดยเปนผลมาจากการสูงขึ้นของอาหารบริโ ภคในบานร อยละ 20.4 เนื้อสัตว เปดไก และสัตวน้ํา รอยละ 5.7 อาหารบริโภคนอกบาน รอยละ 7.8 ไขและผลิตภัณฑนม รอยละ 6.9 เครื่อง ประกอบอาหาร รอยละ 5.1 ขาว แปงและผลิตภัณฑจากแปง รอยละ 2.2 เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล รอยละ 1.1 สํา หับผักและผลไม ลดลงรอยละ 5.0 สําหรับดัชนีราคาสินคาหมวดอื่นๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้น รอยละ 1.3 จากการสูงขึ้นของหมวดการ บันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา รอยละ 6.7 (คาบัตรชมภาพยนตร คาใชจายเกี่ยวกับสัตวเลี้ยง (อาหารสัตว เลี้ยง) วารสารรายปกษ คาเลาเรียน และคาธรรมเนียมการศึกษา) หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล รอยละ 3.1 (สุ ร าและเบี ย ร ) หมวดเคหะสถาน ร อยละ 1.9 (วั ส ดุ กอ สร า ง ค า แรงช า งประปา ค า แรงช างไฟฟ า และทาสี ค า กระแสไฟฟา คาน้ําประปา เครื่องใชเบ็ดเตล็ดภายในบาน) หมวดการตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล รอยละ 1.5 (คา ยาและเวชภัณฑ คาตรวจโรคและคาบริการของโรงพยาบาลเอกชน คาทําฟน คาของใชสวนบุคคล) หมวดเครื่องนุงหม และรองเทา รอยละ 0.1 (คาจางซักรีด คาจางตัดเสื้อผา) สําหรับดัชนีราคาน้ํามันเชื้อเพลิงลดลงรอยละ 2.1 ที่มา- สํานักงานพาณิชยจังหวัดปทุมธานี,สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา การลงทุนเพื่อประกอบการดานพาณิชยกรรม ป ๒๕๕๒ มียอดการจดทะเบียนนิติบุคคลรวมทั้งสิ้น ๒๕,๘๘๘ ราย จําแนกเปน บริษัทจํากัด ๑๕,๙๖๓ รายหางหุนสวนฯ ๙,๙๒๕ ราย การเปรียบเทียบจํานวนและทุนจดทะเบียน นิติ บุ คคลระหว างป ๒๕๕๒ กั บ ป ๒๕๕๑ มี จํ านวนเพิ่ มขึ้น ร อยละ ๒๒.๙๔ และ ทุ นจดทะเบี ยนเพิ่ มขึ้ น รอยละ ๑๗.๘๗

๑๗ ตารางที่ ๑6 แสดงการเปรียบเทียบการจดทะเบียนนิติบุคคล ป ๒๕๕2 – ๒๕๕4 ทะเบียนนิติ เพิ่มขึ้น/ลดลง ป ๒๕๕๑ ป ๒๕๕๒ บุคคล (ป 52-53) จํานวน (ราย) 1,780.00 2,315.00 30.06% ทุนจดทะเบียน 3,220,966,100.00 3,584,833,000.00 11.30% ที่มา: สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดปทุมธานี

เพิ่มขึ้น/ลดลง (ป 53-54) 7.60% 84.80%

ดานการเกษตร จังหวัดปทุมธานีมีพื้นที่ทําการเกษตร ๕๐๙,๐๙๐.๕๐ ไร หรือคิดเปนรอยละ ๕๖.๘๑ ของพื้นที่ทั้งหมด ดวย ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเปนที่ราบลุมที่เอื้อแกการเพาะปลูก จึงทําใหจังหวัดปทุมธานีมีพื้นที่ทําการเกษตรอยูใน ทุกอําเภอ โดยอําเภอหนองเสือเปนอําเภอที่มีพื้นที่ทําการเกษตรมากที่สุด รองลงมาคืออําเภอลาดหลุมแกว อําเภอลํา ลูกกา และอําเภอคลองหลวงตามลําดับ สวนใหญเปนการปลูกขาว รองลงมาไดแก ไมผล-ไมยืนตน พืชผัก ไมดอกไม ประดั บ และพื ช พลั ง งาน โดยการใช ที่ ดิ น เพื่ อ การเกษตรกรรมมี แนวโน มลดลง เนื่ อ งจากการขยายตั ว ของธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพยจากกรุงเทพมหานคร จนเกิดการขยายตัวของเขตเมืองและเขตอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตที่ นาสนใจ คือ ที่ดินรกรางวางเปลา ซึ่งมิไดมีการใชประโยชนในการเกษตร มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเนื่องจากการซื้อขายที่ดิน เพื่อเก็งกําไร จังหวัดปทุมธานี มีการรวมกลุมของเกษตรกร เพื่อเพิ่มรายไดใหมากขึ้น เพิ่มความมั่นคงใหกับชีวิตโดยแบงกลุม การเกษตรไดออกเปน ๖ กลุม เชน กลุมสงเสริมอาชีพ กลุมแมบานเกษตรกร กลุมยุวเกษตรกร กลุมสายใยรักฯ กลุม วิสาหกิจชุมชน และศูนยขาวชุมชน จังหวัดปทุมธานีมีพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจดังนี้ พืชเศรษฐกิจที่สําคัญและประสิทธิภาพการผลิตของจังหวัดปทุมธานี พืชเศรษฐกิจหลักที่สําคัญของจังหวัดปทุมธานี ไดแก อันดับที่หนึ่ง ขาว เปนพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่เพาะปลูกทั่วทุกอําเภอในพื้นที่ ๓๖๓,๗๗๒ ไร เกษตรกร ๒๑,๒๐๓ ราย ผลผลิตเฉลี่ย ๙๙๐ กก./ไร อันดับที่สอง ไมผล-ไมยืนตน มีพื้นที่ปลูก ๒๙,๘๓๑ ไร ไดแก มะมวง กลวยหอม อันดับที่สาม พืชผัก มีพื้นที่เพาะปลูก ๒๑,๓๘๘ ไร สวนใหญจะปลูกเชิงการคา และพืชที่อนาคตไกล คือ พืช น้ํามัน ในจังหวัดปทุมธานี มีพืชน้ํามัน ๑๒,๐๐๐ ไร อยูในอําเภอหนองเสือ ดานปศุสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญและประสิทธิภาพการผลิตของจังหวัดปทุมธานี โค เปนผลผลิตดานปศุสัตวที่มีมูลคาการผลิตมากเปนอันดับหนึ่ง ในป ๒๕๕2 มีมูลคาผลผลิต 525.26 ลาน บาท ลดลงจากปกอน 147.68 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 21.95 เนื่องจากปริมาณการผลิตโคที่ลดลงอัน เปนผลมาจากคานิยมในการเลี้ยงที่ลดลง กระบือ เปนผลผลิตดานปศุสัตวที่มีมูลคาการผลิตมากเปนอันดับสอง ในป ๒๕52 รองจากโค มีมูลคาผลผลิต 146.68 ลานบาท ลดลงจากปกอน 635.14 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 81.24 ลดลงอยางมากเมื่อเทียบ กับปที่แลว ทั้งนี้เนื่องจากคานิยมการเลี้ยงลดลง เพราะการใชงานกระบือลดลง และราคากระบือที่ขายใหโรงฆาสัตวสูง

๑๘ กวาราคาโค เกษตรกรจึงนิยมขายกระบือเพื่อนําไปชําแหละและขายใหพอคาคนกลางมากขึ้น ปริมาณกระบือจึงลดลง มาก ไขเปด เปนผลผลิตดานปศุสัตวที่มีมูลคาการผลิตมากเปนอันดับสาม ในป ๒๕๕2 มีมูลคาผลผลิต 212.68 ลานบาท ลดลงจากปกอน 82.90 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 28.054 เปนผลเนื่องมาจากนโยบายของรัฐที่ ควบคุมระบบการเลี้ยงเปดจากเปดไลทุง เปนการเลี้ยงในโรงเรือนหรือเลาเปดที่ไดมาตรฐานซึ่งมีตนทุนสูงและใหผลผลิต นอยกวาเปดไลทุงทําใหเกษตรกรลดการเลี้ยงเปดลง สงผลใหปริมาณไขเปดลดลงตามไปดวย สุกรขุน เปนผลผลิตดานปศุสัตวที่มีมูลคาการผลิต มากเปนอันดับสี่ ในป ๒๕๕2 มีมูลคาผลผลิต ๑43.38 ลานบาท ลดลงจากปกอน 8.21 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 5.42 เนื่องจากการปรับลดลงการผลิตและ ปญหาโรคทองรวงในลูกสุกรในชวงที่ผานมา ไกพื้นเมือง เปนผลผลิตดานปศุสัตวที่มีมูลคาการผลิตเปนอันดับหา ในป ๒๕๕2 มีมูลคาผลผลิต 26.23 ลานบาท ลดลงจากปกอน 0.26 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ0.98 เนื่องจากราคาไกทเี่ กษตรกรขายไดลดต่ําลง ดานสัตวน้ําเศรษฐกิจที่สําคัญและประสิทธิภาพการผลิตของจังหวัดปทุมธานี สัตวน้ําที่มีปริมาณผลิตจากการเพาะเลี้ยงมากในจังหวัดปทุมธานี ไดแก ปลาดุก ปลานิล ปลาสวาย และปลา ตะเพียน ตามลําดับ มีการเพาะเลี้ยงกระจายทุกอําเภอ อําเภอทีม่ ีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงมากที่สุด ไดแก อําเภอลํา ลูกกา อําเภอหนองเสือ อําเภอคลองหลวง อําเภอเมืองปทุมธานี อําเภอสามโคก อําเภอลาดหลุมแกว และอําเภอ ธัญบุรี ตามลําดับ ในป ๒๕๕3 มีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา จํานวน 21,204,890 กิโลกรัม ลดลงจากป กอนรอยละ 3.4 เนื่องมาจากผลกระทบจากสถานการณ ทางการเมืองในปที่ผานมา แตในขณะที่มีมูลคาเพิ่มจาก การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํามีมูลคา 245,871,339 บาท เพิ่มสูงขึ้นจากปกอนรอยละ 2.79 เนื่องมาจากราคาผลผลิตที่เพิ่ม สูงขึ้น

๒.๑๔. ผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น (OTOP) การลงทะเบียนผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ จังหวัดปทุมธานี ดําเนินการรับลงทะเบียนผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ ระหวางวันที่ ๑๔–๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยอําเภอเปนหนวยดําเนินการรับลงทะเบียน ปรากฏวามี ผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP สนใจมาลงทะเบียน จํานวนทั้งสิ้น ๒๔๒ ราย ผานการรับรองขึ้น ทะเบียนเปนผูผลิต/ ผูประกอบการ OTOP จังหวัดปทุมธานี จํานวน ๒๓๔ ราย แยกเปน ผูผลิตชุมชน จํานวน ๑๑๕ ราย ผูประกอบการรายเดียว จํานวน ๑๐๑ ราย SMEs จํานวน ๑๘ ราย และมีผลิตภัณฑที่ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ OTOP จํานวน ๘๙๙ ผลิตภัณฑ การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑไทย ป ๒๕๕๓ จังหวัดปทุมธานี ดําเนินการรับสมัครผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ที่ผานการลงทะเบียนผูผลิต/ ผูประกอบการ OTOP ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ เขาคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑไทย ป ๒๕๕๓ ระหวางวันที่ ๒๔-๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ อาคาร ๔ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรีและคณะทํางานพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑที่สมัครเขารับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑไทย จังหวัดปทุมธานี ประจําป ๒๕๕๓ ดําเนินการพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑฯ ที่

๑๙ เขาคัดสรรฯ ในวันที่ ๒๕-๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ อาคาร ๔ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี โดยสรุปมีผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ที่สนใจสงผลิตภัณฑเขาคัดสรรฯ จํานวน ๑๕๕ ราย รายละเอียด ดังนี้ กลุมผูผลิตชุมชน จํานวน ๘๐ ราย ผูผลิตชุมชนที่เปนเจาของรายเดียว จํานวน ๖๓ ราย SMEs จํานวน ๑๒ ราย และแยกรายละเอียดตามประเภทผลิตภัณฑ ดังนี้ * ประเภทอาหาร จํานวน ๓๒ ผลิตภัณฑ * ประเภทเครื่องดื่ม จํานวน ๘ ผลิตภัณฑ * ประเภทผาและเครื่องแตงกาย จํานวน ๓๑ ผลิตภัณฑ * ประเภทของใช ของตกแตงและของที่ระลึก จํานวน ๖๘ ผลิตภัณฑ * ประเภทสมุนไพรที่ไมใชอาหาร จํานวน ๑๖ ผลิตภัณฑ หมายเหตุ - มีผลิตภัณฑที่ไมประสงคสงเขาคัดสรรระดับประเทศ จํานวน ๓ ผลิตภัณฑ คือ ผลิตภัณฑประเภทอาหาร จํานวน ๒ ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑประเภทของใชฯ จํานวน ๑ ผลิตภัณฑ กระทรวงมหาดไทย ไดมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ ไทย ป พ.ศ.๒๕๕๓ ในสวนของจังหวัดปทุมธานี ไดรับการประกาศผลการคัดสรรระดับดาว ดังนี้ ระดับ ๕ ดาว จํานวน ๓ ผลิตภัณฑ ระดับ ๔ ดาว จํานวน ๓๖ ผลิตภัณฑ ระดับ ๓ ดาว จํานวน ๔๘ ผลิตภัณฑ ระดับ ๒ ดาว จํานวน ๔๒ ผลิตภัณฑ ระดับ ๑ ดาว จํานวน ๑๘ ผลิตภัณฑ รวม ๑๔๗ ผลิตภัณฑ หมายเหตุ - มีผลิตภัณฑที่ไมไดรับการประกาศผลดาว จํานวน ๔ ผลิตภัณฑ เปาหมายประมาณการรายไดจากการจําหนายสินคา OTOP ป ๒๕๕๔ จังหวัดปทุมธานี มีผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ที่ผานการลงทะเบียนเปนผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP ป ๒๕๕๔ จํานวนทั้งสิ้น ๒๓๔ ราย ผลิตภัณฑที่ลงทะเบียนมีจํานวนทั้งสิ้น ๘๙๙ ผลิตภัณฑ และใหแตละ อําเภอจัดทําประมาณการรายไดจากการจําหนายสินคา โดยใชฐานขอมูลผูผลิต/ผูประกอบการ OTOP และผลิตภัณฑ OTOP ที่ลงทะเบียน ในป ๒๕๕๓ เปนฐานในการประมาณการรายไดของแตละอําเภอ ซึ่งสรุปผลประมาณการรายได จากการจําหนายสินคา OTOP ของจังหวัดปทุมธานีรวมทั้งสิ้น ๑๘๙,๕๙๖,๕๐๔ บาท (หนึ่งรอยแปดสิบเกา-ลานหา แสนเกาหมื่นหกพันหารอยสี่บาทถวน) สรุปผลการจัดเก็บรายไดจากการจําหนายสินคา OTOP ตั้งแตเดือนตุลาคม ๒๕๕๓ ถึงเดือนกันยายน ๒๕๕๔ รวม ๑๒ เดือน เปนเงินทั้งสิ้น ๒๑๘,๔๗๓,๒๕๗ บาท (สองรอยสิบแปดลานสี่แสนเจ็ดหมื่นสามพันสอง-รอย หาสิบเจ็ดบาทถวน) คิดเปนรอยละ ๑๑๕.๒๓ ของเปาหมายรายได

๒๐ ตารางที่ 17 แสดงขอมูลผลการจําหนายสินคา OTOP ในแตละปงบประมาณ ดังนี้ ประมาณการ ยอดจําหนาย รายได ภายในประเทศ ๒๕๔๙ ๑,๐๔๐,๑๒๕,๗๑๔ ๗๕๖,๖๒๕,๓๐๙ ๒๕๕๐ ๑,๐๓๙,๕๐๐,๐๐๐ ๖๐๔,๒๓๐,๒๓๙ ๒๕๕๑ ๑,๑๕๓,๖๑๒,๒๒๑ ๗๐๕,๙๘๕,๐๙๓ ๒๕๕๒ ๓๒๔,๓๒๐,๖๐๐ ๒๙๔,๑๙๙,๔๙๓ ๒๕๕๓ ๔๔๘,๓๑๒,๑๓๔ ๓๗๒,๖๔๗,๗๔๔ ๒๕๕๔ ๑๘๙,๕๙๖,๕๐๔ ๑๗๔,๓๒๖,๔๓๕ ที่มา : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี : กันยายน ๒๕๕๔ ปงบประมาณ

ยอดจําหนาย ตางประเทศ ๓๘๐,๗๓๗,๖๘๕ ๔๙๔,๔๔๘,๐๖๓ ๔๔๗,๐๙๘,๘๕๐ ๑๑๔,๙๒๖,๐๕๓ ๗๘,๔๒๔,๙๔๕ ๔๔,๑๔๖,๘๒๒

รวมรายได ๑,๑๓๗,๓๖๒,๙๙๔ ๑,๐๙๘,๖๗๘,๓๐๒ ๑,๑๕๓,๐๘๓,๙๔๓ ๔๐๙,๑๒๕,๕๔๖ ๔๕๑,๐๗๒,๖๘๙ ๒๑๘,๔๗๓,๒๕๗

ดานอุตสาหกรรม ขอมูลทั่วไป ๑. ขอมูลทั่วไป ๑.๑. จํานวนโรงงาน ขอมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี มี โ รงงานอุ ต สาหกรรมที่ ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตทั้ ง สิ้ น จํ า นวน ๓,๑๐๔ โรงงาน เงิ น ลงทุ น ๓๗๙,๙๕๑,๔๗๘,๑๗๒ บาท มีการจางงาน ๒๘๖,๐๐๖ คน (เปนชาย ๑๒๖,๘๙๑ คน หญิง ๑๕๙,๑๑๕ คน) แบงเปน ๓ จําพวก ประกอบดวย ตารางที่ 18 แสดงจํานวนโรงงาน ทุน คนงาน และเครื่องจักร จําพวก จํานวน เงินทุน (บาท) คนงานชาย คนงานหญิง ที่ โรงงาน

รวม

แรงมา

๑ ๒ ๓

๑๘ ๒๗๙ ๒,๘๐๗

๗๐,๖๑๕,๐๐๐ ๑,๙๕๐,๗๒๙,๙๙๕ ๓๗๗,๙๓๐,๑๓๓,๑๗๗

๑๐๔ ๒,๓๘๒ ๑๒๔,๒๙๑

๑๒๘ ๑,๘๔๑ ๑๕๗,๒๙๒

๒๓๒ ๔,๒๒๓ ๒๘๑,๕๘๓

๒๔๓.๗๑ ๘,๗๒๘.๙๖ ๓,๕๙๐,๗๙๓.๒๒

รวม

๓,๑๐๔

๓๗๙,๙๕๑,๔๗๘,๑๗๒

๑๒๖,๘๙๑

๑๕๙,๑๑๕

๒๘๖,๐๐๖

๓,๖๒๓,๐๙๘.๗๒

ตารางที่ 19 แสดงการกระจายตัวของโรงงาน อ.เมือง

จํานวน โรงงาน ๔๕๒

อ.คลองหลวง

๑๐๐๔

อ.ธัญบุรี อ.หนองเสือ อ.ลาดหลุมแกว

๒๘๔ ๖๕ ๓๓๔

ชื่ออําเภอ

เงินทุน (บาท) ๘๒,๓๘๘,๑๗๘,๕๑๑ ๒๒๓,๑๘๔,๗๐๙,๓๖ ๐ ๑๕,๒๒๓,๗๑๓,๖๕๗ ๑๓๒๙๐๖๓๐๔๓ ๑๙๒๓๐๒๙๒๒๗๖

คนงานชาย คนงานหญิง

รวม

แรงมา

๒๖,๒๔๘

๒๗,๗๑๔

๕๓,๙๖๒

๑,๑๔๕,๐๘๓.๔๙

๕๕,๓๖๘

๘๕,๒๕๘

๑๔๐,๖๒๖

๑,๔๕๕,๖๖๑.๑๔

๘,๘๗๗ ๑,๖๓๓ ๑๐,๖๑๐

๑๑,๙๖๖ ๗๗๐ ๑๑,๘๗๒

๒๐,๘๔๓ ๒,๔๐๓ ๒๑,๔๘๒

๓๒๕,๖๑๖.๗๓ ๑๙,๖๖๖.๐๖ ๓๒๐,๗๕๕.๘๖

๒๑ ชื่ออําเภอ อ.ลําลูกกา อ.สามโคก รวม

จํานวน โรงงาน ๗๐๖ ๒๕๙ ๓๑๐๔

เงินทุน (บาท)

คนงานชาย คนงานหญิง

๒๗๑๘๘๓๗๗๑๔๗ ๑๑๔๐๗๑๔๑๗๘ ๓๗๙๙๕๑๔๗๘๑๗๒

๑๙,๐๐๓ ๕,๑๕๒ ๑๒๖,๘๙๑

๑๙,๐๙๓ ๓,๔๔๒ ๑๕๙,๑๑๕

รวม

แรงมา

๓๘,๐๙๖ ๘,๕๙๔ ๒๘๖,๐๐๖

๒๖๑,๖๒๔.๗๕ ๙๔,๖๙๐.๖๙ ๓,๖๒๓,๐๙๘.๗๒

อําเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยูมากที่สุด คือ อําเภอคลองหลวง ๑,๐๐๔ โรง (๓๒.๓๕%) รองลงมา ไดแก อําเภอลําลูกกา ๗๐๖ โรง (๒๒.๗๕%) , อําเภอเมือง ๔๕๒ โรง (๑๔.๕๖%), อําเภอลาดหลุมแกว ๓๓๔ โรง (๑๐.๗๖%) , อําเภอธัญบุรี ๒๘๕ โรง (๙.๑๕%) , อําเภอสามโคก ๒๕๙ โรง (๘.๓๔%) และอําเภอหนองเสือ ๖๕ โรง (๒.๐๙%) รอยละ ๑๔.๓๗ หรือจํานวน ๔๔๖ โรงของโรงงานทั้งหมดอยูในแหลงชุมชนอุตสาหกรรม มีการจัดตั้งเขต ประกอบการอุตสาหกรรม ๑ แหง คือ เขตประกอบการอุตสาหกรรมของ บริษัท ไทยซูซูกิมอเตอร จํากัด ตั้งอยู ณ อําเภอธัญบุรี และมีเอกชนดําเนินกิจการที่มีลักษณะคลายนิคมอุตสาหกรรม ๒ แหง ไดแก ชุมชนอุตสาหกรรมที่มี จํานวนโรงงานมาก จํานวน ๒ แหง คือ บริษัท นวนคร จํากัด ตั้งอยู อ.คลองหลวง มีเนื้อที่ประมาณ ๖,๔๙๕ ไร มีโรงงาน ๒๔๒ โรงงาน, เขตอุตสาหกรรม บริษัท สวนอุตสาหกรรมบางกะดี จํากัด ตั้งอยู อ.เมือง มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๒๒๒ ไร มีโรงงาน ๔๒ โรงงาน นอกจากนี้และเปนการกอสรางอาคารโรงงานสําเร็จรูปของเอกชนไวบริการแกนักลงทุน จํานวน ๙ แหง ไดแก แฟคคอม ที่อําเภอลาดหลุมแกว, แฟคเฮาส, แจนเซน มินิแฟคตอรี่, อรดา ,บิ๊กล็อทแฟคตอรี่ ที่อําเภอลําลูกกา, บิ๊ก แลนด, รังสิต พรอสเพอร เอสเตท, เอ็มเอ็มซี มินิแฟคทอรี(นวไท) ที่อําเภอคลองหลวง และ ศรีปทุมมินิแฟคตอรี่ ตารางที่ 20 แสดงจํานวนโรงงานแยกตามหมวดอุตสาหกรรม รายการ อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย อุตสาหกรรมเครื่องหนัง อุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไม อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครือ่ ง เรือน อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑจาก กระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมปโตรเคมีและผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมอโลหะ

จํานวน ๘๐ ๒๓๘ ๒๒ ๖๔ ๓๐ ๒๘ ๑๗๓

เงินลงทุน ๔,๕๐๐,๔๕๕,๕๙๕ ๑๗,๕๑๓,๘๔๗,๒๕๙ ๑๖,๑๗๒,๑๘๑,๗๙๕ ๗,๒๖๘,๘๖๒,๕๖๕ ๗๘๓,๘๕๗,๔๑๕ ๔,๙๙๑,๖๗๐,๙๖๗ ๔,๓๕๘,๔๒๗,๓๒๖

คนงาน ๒,๔๙๘ ๒,๒๐๓๔ ๕,๙๘๐ ๗,๑๗๙ ๔,๑๑๙ ๒,๘๕๑ ๗,๓๙๐

แรงมา ๑๐๒,๕๗๗.๒๐ ๔๑๖,๖๒๐.๙๓ ๒๕๓,๐๕๔.๙๐ ๑๓๑,๙๒๔.๐๗ ๓,๙๙๒.๔๗ ๒๒,๕๔๖.๓๙ ๙๙,๒๖๖.๗๑

๑๑๖

๒,๒๓๗,๒๔๖,๖๙๙

๔,๙๘๒

๒๙,๕๘๔.๓๐

๙๐

๕,๒๘๗,๓๓๕,๓๒๕

๔,๙๑๖

๓๐๘,๗๒๕.๗๔

๔๙ ๑๙๘ ๒๔ ๓๙ ๒๔๘ ๑๘๐

๑,๙๘๕,๖๙๙,๕๒๒ ๓๙,๐๖๑,๒๘๖,๒๗๕ ๑,๕๐๗,๐๖๘,๐๑๕ ๙,๖๔๔,๗๑๗,๐๖๖ ๑๕,๕๒๑,๒๕๖,๘๐๕ ๑๐,๒๓๒,๖๙๕,๐๓๑

๑,๘๔๕ ๙,๗๓๔ ๘๒๓ ๕,๕๕๐ ๑๒,๔๖๖ ๘,๗๙๗

๑๐,๐๔๖.๐๑ ๒๔๑,๔๑๑.๔๕ ๓๓,๓๒๒.๔๖ ๑๕๗,๗๒๗.๓๗ ๑๙๘,๘๓๕.๒๔ ๑๔๘,๑๙๔.๖๗

๒๒ รายการ อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรมไฟฟา อุตสาหกรรมขนสง อุตสาหกรรมอื่นๆ รวม

จํานวน ๒๙ ๔๗๒ ๒๒๕ ๒๐๕ ๒๕๐ ๓๔๔ ๓,๑๐๔

เงินลงทุน ๑๖,๓๔๑,๐๖๔,๕๕๕ ๓๔,๗๔๖,๑๕๐,๕๔๒ ๔๓,๘๖๕,๙๓๒,๓๐๗ ๑๐๕,๖๒๑,๖๖๓,๐๓๐ ๑๕,๖๒๑,๖๖๓,๐๓๐ ๒๒,๖๐๒,๐๑๗,๒๕๗ ๓๗๙,๙๕๑,๔๗๘,๑๗๒

คนงาน ๗,๓๗๗ ๒๑,๐๑๙ ๒๘,๓๗๑ ๙๒,๖๑๗ ๑๒,๔๕๐ ๒๓,๐๐๘ ๒๘๖,๐๐๖

แรงมา ๑๕๘,๖๓๖.๔๗ ๒๖๙,๗๐๒.๙๗ ๒๑๓,๙๐๔.๐๘ ๕๒๒,๒๙๕.๓๗ ๑๒๕,๔๗๗.๗๐ ๑๘๐,๓๐๒.๒๒ ๓,๖๒๓,๐๙๘.๗๒

2. สภาวการณดานอุตสาหกรรม ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จังหวัดปทุมธานีมีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตทั้งสิ้น 3,104 โรงงาน เพิ่มขึ้นจากชวงเดือน เดียวกันของปที่แลว คิดเปนรอยละ 5.72 มีเงินทุน 3.800 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 4.40 และจํานวน แรงงาน 286,006 คน เพิ่มขึน้ คิดเปนรอยละ 4.21

ตารางที่ 21 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาต (เปรียบเทียบ ป 2553-2554) รายการ จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ∆% เงินทุน ∆% จํานวนแรงงาน ∆% จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ∆% เงินทุน ∆% จํานวนแรงงาน ∆% จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ∆% เงินทุน ∆% จํานวนแรงงาน ∆%

ป 2553 ธ.ค. โรงงานอุตสาหกรรมทั้งสิ้น โรง 2,970 รอยละ 4.06 แสนลานบาท 3.640 รอยละ 3.38 คน 274,456 รอยละ - 0.53 โรงงานที่ไดรบั อนุญาตประกอบกิจการใหม โรง 171 รอยละ 54.05 แสนลานบาท 6.906 รอยละ 63.84 คน 5,076 รอยละ 1.46 โรงงานที่ไดรบั อนุญาตขยายโรงงาน โรง 46 รอยละ 15.00 แสนลานบาท 7.976 รอยละ - 77.87 คน 3,673 รอยละ 349.02 โรงงานที่เลิกกิจการ หนวย

ป 2554 ธ.ค. 3,140 5.72 3.800 4.40 286,006 4.21 163 - 4.68 11.062 60.18 7,781 53.29 39 - 15.22 7.303 - 8.44 4,925 34.09

๒๓ รายการ

หนวย

จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ∆% เงินทุน ∆% จํานวนแรงงาน ∆%

โรง รอยละ แสนลานบาท รอยละ คน รอยละ

ป 2553 ธ.ค. 55 - 15.38 2.805 - 15.56 2,409 - 18.83

ป 2554 ธ.ค. 29 - 47.27 2.354 - 16.08 1,739 - 27.81

ตารางที่ 22 แสดงขอมูลสถิติจํานวนโรงงานสะสม ณ สิน้ ป ปพ.ศ.2546-2555(ขอมูล ณ วันที่ 14กุมภาพันธ 2555) ป พ.ศ. จํานวนโรงงาน เงินทุน(บาท) จํานวนคนงาน 2546 2,058 172,326,479,076 196,345 2547 2,169 191,041,610,678 213,757 2548 2,350 212,463,569,229 260,224 2549 2,539 253,174,151,587 276,674 2550 2,683 290,982,721,202 282,378 2551 2,800 314,642,541,024 285,947 2552 2,854 352,091,439,307 275,905 2553 2,970 363,963,612,457 274,456 2554 3,104 379,951,478,172 286,006 2555 3,113 380,422,015,772 286,038 ตารางที่ 23 แสดงกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน ปพ.ศ. 2546-2555 (ขอมูล ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ 2555) ป พ.ศ. 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

จํานวนโรงงาน 32 66 52 65 60 43 61 89 80 4

เงินทุน(บาท) 20,784.23 22,918.15 8,433.00 18,058.67 34,867.75 18,657.98 18,510.36 34,867.26 13,191.30 2,440.50

จํานวนคนงาน 10,526 20,004 11,329 14,694 21,524 35,950 9,731 30,188 7,700 4,583

๒๔ ผลผลิตการสงออกจังหวัดปทุมธานี เนื่องจากการสํารวจขอมูลสงออกของผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี ปรากฏวามีการตอบ แบบสํารวจคอนขางนอยมากจึงไมสามารถนํามาเปนขอมูลในการประกอบการพิจารณาได

สถานการณดานแรงงานจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีมีประชากรผูที่อยูในวัยแรงงานจํานวน ๔๗๗,๑๒๑ คน แบงเปน เพศชาย จํานวน ๒๕๒,๙๔๕ คน เพศหญิง จํานวน ๒๒๔,๑๗๖ คน ในจํานวนนี้เปนผูมีงานทํา ๔๒๗,๖๓๗ คน ผูวางงาน ๙,๔๘๔ คน ภาวการณ ทํางานของประชากรในจังหวั ดปทุมธานี แยกออกไดเปน ผูมีงานทําในภาคการเกษตร ๖๒,๘๓๙ คน หรือรอยละ ๑๓.๔๔ และผูมีงานทํานอกภาคการเกษตรจํานวน ๔๐๔,๗๙๘ คน หรือรอยละ ๘๖.๕๖ โดยกลุมผูทํางานนอกภาค การเกษตรจะทํางานอยูในภาคอุตสาหกรรมการผลิตมากที่สุด มีจํานวน ๒๘๗,๙๔๓ คน คิดเปนรอยละ ๗๑.๑๓ ของผู มีงานทําทั้งหมด รองลงมาคือบริการดานธุรกิจอสังหาริมทรัพย การใหเชาและบริการทางธุรกิจมีจํานวน ๓๗,๖๒๖ คน คิดเปนรอยละ ๙.๒๙ การขายสง การขายปลีก การบริการ มีจํานวน ๓๓,๑๕๒ คน คิดเปนรอยละ ๘.๑๙ ตามลําดับ โดยจังหวัดปทุมธานีมีผูวางงานประมาณ ๙,๔๘๔ คน อัตราวางงานคิดเปนรอยละ ๒.๐ ขอมูลสถานประกอบการ จังหวัดปทุมธานีมีสถานประกอบการทั้งสิ้น ๑๐,๘๖๔ แหง จําแนกตาม ขนาดของสถานประกอบกิจการ ดังตาราง ตารางที่ 24 แสดงขอมูลสถานประกอบการจังหวัดปทุมธานี ขนาดจํานวนลูกจาง ๑-๙ ๑๐-๔๙ ๕๐-๙๙ ๑๐๐-๙๙๙ ๑,๐๐๐ ขึ้นไป

จํานวนแหง ๖,๔๘๐ ๓,๖๗๒ ๒๙๓ ๕๔๑ ๕๖

ที่มา : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน: กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ตารางที่ ๒5 : แสดงจํานวนสถานประกอบกิจการและลูกจางในขายความคุมครองแรงงานตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ลําดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ประเภทกิจการ การเกษตรกรรม การลาสัตวและการปาไม การประมง การทําเหมืองแร และเหมืองหิน การอุตสาหกรรม (การผลิต) การไฟฟา กาซ และการประปา

แหง ๔๙ ๔ ๑๘ ๔,๒๕๐ ๓๖

ชาย หญิง ๔๑๗ ๓๕๑ ๒๑ ๔ ๒๒๖ ๑๒๐ ๑๒๕,๙๘๘ ๑๕๙,๙๐๑ ๗๖๕ ๔๒๔

เด็ก ๒ ๒,๐๕๔ -

รวม ๗๖๘ ๒๕ ๓๔๘ ๒๘๗,๙๔๓ ๑,๑๘๙

๒๕ ลําดับที่ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖

ประเภทกิจการ การกอสราง การขายสง การขายปลีก การซอมยานยนต โรงแรม และภัตตาคาร การขนสง สถานที่เก็บสินคา และคมนาคม ตัวกลางทางการเงิน บริการดานธุรกิจสังหาริมทรัพยการใหเชา และบริการดานธุรกิจ การบริ หารราชการแผนดิ น การปอ งกั น ประเทศและการประกันสังคมภาคบังคับ การศึกษา การบริการสุขภาพ และสังคมสงเคราะห การบริการชุมชน สังคม และสวนบุคคล ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล รวมทั้งสิ้น

แหง ๓๘๙ ๑,๙๖๖ ๓๐๕ ๒๘๒ ๑๘๓ ๓,๐๔๕

ชาย ๖,๖๘๖ ๑๘,๗๖๐ ๒,๑๕๓ ๗,๕๘๖ ๘๘๙ ๒๐,๐๘๒

หญิง ๓,๒๑๕ ๑๔,๓๒๑ ๓,๐๘๐ ๒,๕๔๗ ๑,๑๔๐ ๑๗,๕๒๕

เด็ก ๒๐ ๗๑ ๓๘ ๑๙

รวม ๙,๙๒๑ ๓๓,๑๕๒ ๕,๒๗๑ ๑๐,๑๓๓ ๒,๐๒๙ ๓๗,๖๒๖

-

-

-

-

-

๕๐๓ ๕ ๒,๗๑๒

๓,๓๑๔ ๓,๖๒๑ ๑๐,๒๔๗ ๔ ๔๐๕,๕๙๑

๔๙ ๑๐๗ ๓๘๓ ๒ ๑๑,๐๗๗

๑,๖๘๓ ๑,๖๓๑ ๗๒๑ ๒,๓๙๗ ๔,๙๖๑ ๕,๒๘๑ ๔ ๑๙๐,๙๓๘ ๒๑๑,๙๔๑

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี: กุมภาพันธ ๒๕๕๕

ดานการทองเที่ยว จังหวั ด ปทุ มธานี เป น แหล งท องเที่ ย วที่ อยู ใกลกรุ งเทพมหานคร ซึ่ งมี จุ ด เด นในเรื่ องอาหารการกิ น รวมถึ ง ธรรมชาติและชุมชนริมน้ํา วิถีชีวิตวัฒนธรรมชาวไทยเชื้อสายมอญที่นาสนใจ รวมทั้งยังรักษาเอกลักษณการเปนเมือง การเกษตรควบคูกับความเจริญทางดานอุตสาหกรรมและการบริการไวได จังหวัดปทุมธานี มีความหลากหลายทั้ ง ทางด า นประเพณี ที่ เ ป น เอกลั กษณ ของแต ล ะชุ มชน โดยเฉพาะถึ งการท องเที่ ย วภายในจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี มี แม น้ํ า เจาพระยาไหลผาน และ ๒ ฝงแมน้ําเจาพระยาเปนวัดตางๆ มากมาย เชน วัดหงสปทุมมาวาส วัดศาลเจา วัดไผลอม ฯลฯ ซึ่งมีความสําคัญทางประวัติศาสตรและการทองเที่ยวในจังหวัดปทุมธานี อี กทั้ง ความเจริญทางดานอุตสาหกรรม ทํ า ให ก ารท อ งเที่ ย วและเศรษฐกิ จ เจริ ญ เติ บ โตขึ้ น อย า งรวดเร็ ว เพราะในจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เ ป น ที่ ตั้ ง ของโรงงาน อุตสาหกรรมหลายแหง ทําใหมีการเขามาทํางานในจังหวัดปทุมธานีเปนจํานวนมาก แหล งทองเที่ ยวที่ เปน ที่รูจั กของจังหวัด ปทุมธานี ไดแก วัด เจดี ยทอง วั ดศาลเจ า วั ดไผ ลอม รวมไปถึงแหล ง ทองเที่ยวที่เปนการทองเที่ยวแบบเรียนรู เชน พิพิธภัณฑการเกษตรเฉลิมพระเกียรติ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หอจดหมายเหตุแหงชาติเฉลิมพระเกี ยรติ และหออัครศิลปน สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม รวมถึงศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษารังสิต สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สําหรั บ ภาพลักษณซึ่ งเป นที่ รู จักของจั งหวัด ปทุมธานี น อกจากดอกบัว แลว คื อ “ตุมสามโคก” ซึ่ งเป น เอกลักษณ เครื่องปนดินเผาของชาวมอญ ของสามโคก สําหรับ นัก ทองเที่ ยวที่เขามาเที่ย วในจังหวั ดปทุมธานี ส วนใหญ จะเป นแบบไปเชา เย็ นกลับ ซึ่งจากสถิติ ที่ กรมการท องเที่ ย วกระทรวงการทองเที่ ยวและกี ฬา รวบรวมพบว าเมื่ อป พ.ศ. 2550 มี ร ายได จ ากการท องเที่ ย ว

๒๖ 879.96 ลานบาท ป พ.ศ. 2551 มีรายไดจากการทองเที่ยว 916.91 ลานบาท ป พ.ศ. 2552 มีรายไดจากการ ทองเที่ยว 761.78 ลานบาท ป พ.ศ. 2553 มีรายไดจากการทองเที่ยว 907.74 ลานบาท แนวโนมการทองเที่ยวจังหวัดปทุมธานี 1. กระแสตื่นตัวจากภาวะโลกรอนทําใหนักทองเที่ยวสนใจการทองเที่ยวเชิงเกษตรและการ ท อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น 2. จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดที่อยูใกลจังหวัดใหญหลายจังหวัดรวมทั้งมีการคมนาคมที่ สามารถเชื่อมโยงในทุก ภูมิภาค เปนปจจัยดึงดูดใหนักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวในจังหวัดปทุมธานี 3. การเติบโตของการทองเที่ยวเฉพาะทาง เชน การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวเชิงวิ ชาการ ประเภท พิพิธภัณฑทางดานวิทยาศาสตร ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และการเกษตรสมัยใหมมีแนวโนมสูงขึ้น 4. แนวโนมการเพิ่มขึ้นของผูที่สนใจสิ่งแวดลอมและวิทยาศาสตร และการประกอบกิจกรรมรวมกันโดยการพา ครอบครัว และกลุมเพื่อนมารับประทานอาหารหรือสังสรรค 5. จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดที่มีแมน้ําไหลผาน ทําใหแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร และวิถีชีวิต ของชุมชนริมแมน้ํา เปนปจจัยผลักดันใหเกิดการทองเที่ยวประเภทลองเรือและทางน้ํามีแนวโนมเพิ่มขึ้น

ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทรัพยากรปาไม จังหวัดปทุมธานี ไมมีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ มีเพียงเขตหามลาสัตวปาวัดไผลอมและวัดอัมพุวราราม สังกัด กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช โดยไดรับการประกาศเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2551 เปนตนมาครอบคลุม เนื้อที่ประมาณ 74 ไร นอกจากนี้ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี ยังมีหนาที่กํากับ ดูแล การอนุญาตใหทําอุตสาหกรรมไม และของปาหวงหาม รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักรลักษณะอุตสาหกรรมตอเนื่อง จํานวน 12

ราย

2. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักร (โรงเลื่อยจักร)

จํานวน 11

ราย

3. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักรเพื่อประดิษฐกรรม

จํานวน 169 ราย

4. โรงคาไมแปรรูป

จํานวน 105 ราย

5. สถานที่คาหรือมีไวในครอบครองเพื่อการคาซึ่งสิ่งประดิษฐ

จํานวน 120 ราย

6. ใบอนุญาตคาของปาหวงหาม

จํานวน 5

ราย

ผูประกอบการรวมทั้งหมด 422 คน สําหรับในสวนการปฏิบัติการปองกันการลักลอบทําไมพยุง หรือไมมีคาทางเศรษฐกิจที่ไดมาโดยชอบดวย กฎหมายเขาในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ไดเตรียมปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมาย โดยไดจัดตั้งศูนย ประสานงานแกไขปญหาลักลอบตัดไมพยุง ตั้งอยู ณ สํานักงานบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 9 (อุบลราชธานี) ในสวนของกรม ปาไม มีศูนยประสานงานปาไมปทุมธานี สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 5 (สระบุรี) ทรัพยากรน้ํา สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี มีหนาที่กํากับ ดูแลการประกอบกิจการน้ํา บาดาล ซึ่งในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 553 บอ แบงออกเปนประเภท

๒๗ - ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

จํานวน

315

บอ

- ธุรกิจ (บริการ)

จํานวน

52

บอ

- ธุรกิจ (การคา)

จํานวน

34

บอ

- อุปโภคบริโภค

จํานวน

139

บอ

- เกษตรกรรม

จํานวน

13

บอ

ปริมาณน้ําตามที่กําหนดในใบอนุญาต 104,798 ลูกบาศกเมตร/วัน

ปญหาสําคัญของจังหวัดปทุมธานี และแนวทางแกไข จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดที่มีการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ทางสังคม จากเดิมที่เปนสังคมชนบทกลายเปนสังคมเมืองและมีการเปลี่ยนแปลงการผลิตจากภาคเกษตรกรรมเปนการ ผลิตในภาคอุตสาหกรรม สภาพการณดังกลาว ทําใหจังหวัดปทุมธานีเปนแหลงรองรับการเขามาหางานทําจากคนในทุก ภู มิ ภ าคของประเทศ รวมทั้ ง แรงงานต า งด า วที่ เ ข า มาหางานทํ า นอกจากนี้ ก ารที่ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เ ป น ที่ ตั้ ง ของ สถานศึกษาทั้งในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาหลายแหงทําใหมีเยาวชนเขามาศึกษาในจังหวัดปทุมธานีเปนจํานวน มาก ดังนั้นจังหวัดปทุมธานีจึงเปนแหลงรองรับปญหาที่เกิดขึ้นจากปจจัยดังกลาว อาทิเชน ปญหาการแพรระบาดของ ยาเสพติด ปญหาอาชญากรรม ปญหาสิ่งแวดลอมและมลพิษที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชนที่มีการขยายตัว อยางรวดเร็วและการที่จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดปริมณฑล ซึ่งอยูใกลความเจริญจึงทําใหเกิดการเรียกรองตองการใน การรับบริการและแกไขปญหาความเดือดรอนจากสวนราชการและองคกรปกครองสวนทองถิ่นสูง จากสภาพปญหาที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมดังกลาว สามารถจําแนกปญหาที่เกิดขึ้นในจังหวัดปทุมธานี ไดดังนี้

๑. ปญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน จังหวัดปทุมธานีมีคดีประเภทประทุษรายตอทรัพยสูงขึ้นเปนระยะ มีสาเหตุจากการ ที่มีจํานวนประชากรใน พื้นที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากประชาชนตางทองถิ่นตางเขามาทํางานตามสถานประกอบการตาง ๆ เชนโรงงานอุตสาหกรรม โครงการก อสร างหมู บ านจั ดสรร และห างสรรพสิ น คา รวมทั้ งเด็ กและเยาวชนที่ เข ามาศึกษาในสถานศึกษาระดั บ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาในเขตจังหวัด โดยที่ปญหาอาชญากรรมที่ประกอบโดยเด็กและเยาวชนไมวาจะเปนการมี เพศสัมพันธ มั่วสุม ยาเสพติด ทะเลาะวิวาท ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย หรืออาชญากรรมรุนแรง มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งในแง ความรุนแรงและปริมาณ ซึ่งเปนเครื่องบงชี้วาเด็กและเยาวชนไทยมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่นําไปสูอาชญากรรมเพิ่มขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเลียนแบบพฤติกรรมที่มีการเผยแพรทางสื่อที่ไรพรมแดน และจากการที่คาครองชีพสูงขึ้น การใช จายจนเกินตัว นับเปนปญหาที่สงผลกระทบตอบุคคลบางกลุมจึงทําใหมีการกออาชญากรรมในคดีความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย สําหรับปญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนเมือง จะเกิดปญหาในชุมชนแออัดเพราะสถานที่ดังกลาวมีบุคคล หลายประเภท ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเขาออกชุมชนไดตลอดเวลา เปนแหลงรวมบุคคลประเภทติดยาเสพติด คนจรจัด ที่ยากตอการควบคุม

๒๘

๒. ปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด สภาพปญหายาเสพติ ดในพื้ นที่ จังหวั ดปทุมธานี ในป จจุ บัน นี้พบว าเปน ทั้งพื้น ที่คา และพื้ นที่ แพรร ะบาด โดยเฉพาะอยางยิ่งในอําเภอสําคัญ อ.ธัญบุรี อ.คลองหลวง อ.ลําลูกกา อ.เมืองปทุมธานี ดวยเหตุปจจัยหลายประการ อาทิเชน สภาพพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมจํานวนมากสงผลถึงการอพยพเขามาทํางานของแรงงานนอกพื้นที่ และแรงงาน ตางดาว มีตลาดขายสงสินคาทางการเกษตรขนาดใหญ (ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง) ซึ่งในบางครั้งมีการแอบแฝงซุกซอนยา เสพติดยากตอการตรวจคนจับกุมของเจาหนาที่ นอกจากนี้ยังเปนแหลงรวมของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะ จังหวัดปทุมธานีที่มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษามากที่สุดในประเทศ เปนตน ทั้งนี้ จากขอมูลการจับกุม และขอมูล การบําบั ดรักษา พบว ากลุ มเสี่ ยงที่ มีแนวโน มกระทําผิ ดเกี่ ยวกั บยาเสพติดนั้ น ได แก ผูพนโทษ ผู ที่ได รั บการประกั น ชั่วคราว ผูที่ผานการบําบัดรักษา ผูวางงาน และกลุมผูใชแรงงาน ทั้งนี้ พบวา เครือขายการคาบริเวณแนวชายแดนที่มี บทบาทสําคัญตอการแพรระบาดยาเสพติดในพื้นที่มาจาก 3 กลุมหลัก ไดแก กลุมการคาทางภาคเหนือที่มีการลักลอบนําเขา จากบริเวณแนวชายแดนไทย-พมา เชนในพื้นที่ อ.แมสาย จ.เชียงราย อ.พบพระ จังหวัดตาก เปนตน กลุมการคาทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีการลักลอบนําเขาจากบริเวณชายแดนไทย-ลาว และกลุมการคาทางภาคตะวันออก มีการลักลอบ นําเขาจากบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา สภาพปญหายาเสพติด ดานการผลิต

ไมพบการผลิตในพื้นที่

รูปแบบและวิธีการซุกซอน สวนใหญจะซุกซอนมาในกระเปาเดินทางปะปนมากับผูโดยสาร หรือสินคาทางการเกษตร กลองผลิตภัณฑ สินคาที่มีการดัดแปลง ยานพาหนะที่มีการดัดแปลงเพื่อเก็บของ นอกจากนี้ยังพบวา มีการซุกซอนไวตามสวนตางๆ ของ รางกาย เชน พันติดกับตัว ตนขาหรือนอง เสนทางการลําเลียง จากขอมูลการจับกุมคดีที่นาสนใจพบวามีเสนทางการลําเลียงสําคัญ ดังนี้ 1) เสนทางหลัก 1.1 จากภาคเหนือ โดยใชถนนสายเอเชียตอเนื่องเสนทางพหลโยธิน 1.2 จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใชเสนทางถนนมิตรภาพ-พหลโยธิน 2) เสนสายรอง 2.1 ถนนสายวงแหวนรอบนอก สถานการณดานการคา การคารายยอย รูปแบบการคา สวนใหญจะเชาหอพักซึ่งมีจํานวนมากเปนที่เก็บพัก หรือซุกซอนยาเสพ ติด โดยจะเชาอยูประมาณ 1-2 เดือน แลวจะยายไปเชาที่ใหม ผูคาบางคนจะ เชาหอพักเปนรายวัน ในสวนของการ จายเงินคายาบา ถาเปนลูกคาขาประจําจะเปนลักษณะของการใหเครดิตไปกอน เมื่อขายไดจึงจะมีการจายเงินให แตถา ไมใชขอประจําการจายคายาบา จะจายเปนเงินสดถุงละ 20,000 – 25,000 บาท ขายปลีก 150-350 บาท การคาสง มีลักษณะเหมือนเดิม กลาวคือ นักคาในพื้นที่เครือขายขายสงจากชายแดน จัดหายาบาไดตามสั่ง ซึ่งปกติจะจําหนายใหกับลูกคาประจําสวนผูซื้อรายอื่นที่ไมใชเครือขายผูคา จะเพิ่มความระมัดระวังในการขายมากขึ้น

๒๙ ในการติดตอซื้อ-ขาย ใชโทรศัพทมือถือและชําระเงินโดยเงินสด แบบยื่นหมูยื่นแมว หรือการโอนผานบัญชีธนาคาร โดยผู ซื้อจะตองจายเงินกอนแลว จึงกําหนดสถานที่สงมอบยาเสพติด ซึ่งในการสงมอบนั้น ผูคาจะจางผูลําเลียงอีกตอหนึ่งในการ สงมอบยาเสพติด ราคายาบาซื้อมาในราคามัดละ 100,000 – 120,000 บาท จํามาจําหนาย ขายสงมัดละ 160,000 – 180,000 บาท แนวโนมการแพรระบาด จังหวัดปทุมธานีจัดอยูในเขตปริมณฑล ซึ่งมีโรงงาน สถานประกอบการ สถานศึกษา หอพัก บานเชา และ ชุมชนแออัดอยูเปนจํานวนมาก ดวยเหตุนี้ จึงมีแรงงานทั้งที่เปนคนไทยและตางดาว อพยพเขามาใชแรงงานจํานวนมาก อึก ทั้งนักศึกษาระดับอุดมศึกษาประมาณ 120,000 คน ซึ่งพักอาศัยอยูในอําเภอคลองหลวง และธัญบุรี ดวยสภาพแวดลอมที่ เปนปจจัยเสี่ยงดังกลาว สงผลใหมีการแพรระบาดยาเสพติดในกลุมผูใชแรงงานผูวางงาน และนักเรียน/นักศึกษาบางสวน แหลงแพรระบาด สถานการณของจังหวัดปทุมธานีเปนพื้นที่ลําเลียงของยาเสพติด การคายังคงมีกระจายอยูในทุกพื้นที่ โดยอําเภอหนองเสือ สามโคก อยูในระดับบางเบา อําเภอลาดหลุมแกวอยูในระดับปานกลาง อําเภอคลองหลวง ธัญบุรี ลําลูกกา เมืองปทุมธานี อยูในระดับรุนแรง

๓. ปญหาแรงงานตางดาว เนื่องจากจังหวัดปทุมธานีเปนที่ตั้งของตลาดขายสงสินคาทางการเกษตรขนาดใหญ และโครงการกอสราง หมูบานจัดสรร จึงมีความตองการแรงงานไรฝมือเปนจํานวนมาก ประชากรวัยแรงงานมักไมประสงคที่จะทํางานในภาค การผลิตและการกอสราง เนื่องจากเปนกลุมคนที่มกี ารศึกษาสูงจึงเลือกทํางานที่สอดคลองกับวุฒิการศึกษาของตน การ ขาดแคลนแรงงานไรฝมือดังกลาวทําใหเจาของกิจการจางแรงงานตางดาว สัญชาติพมา ลาว และกัมพูชา เนื่องจากไม สามารถหาแรงงานคนไทยมารองรับงานในประเภทดังกลาวได และแรงงานตางดาวมีคาจางแรงงานต่ําเปนการลด ตนทุนในการผลิต จากปจจัยขางตนทําใหนายจางชาวไทยนิยมจางแรงงานตางดาวเขาทํางานรับจางใชแรงงานในตลาด สดขนาดใหญ เปนผูใชแรงงานในโครงการกอสรางตาง ๆรวมทั้งจางเปนผูรับใชในบานเรือน โดยมีแรงงานตางดาวที่ ไดรับใบอนุญาตทํางานจากการสํารวจในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จํานวน ๑๓, ๓๑๗ คน สําหรับแรงงานตางดาวที่ไม มีการขึ้นทะเบียนคาดวาจะมีจํานวนนับพันคน (ขณะนี้อยูในระหวางการตรวจสอบของคณะทํางาน) แรงงานตางดาว เหลานี้มักอาศัยอยูรวมกันตามหอพักราคาถูกใกลกับสถานที่ทํางาน เชน ตามเขตพื้นที่การกอสรางตาง ๆ ตลาดสด ขนาดใหญ และเปนผูรับใชในบานเรือน สําหรับแรงงานตางดาวที่ไมไดมีการขึ้นทะเบียนทําใหยากตอการควบคุมและ ดูแล กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม และปญหาการแพรระบาดของโรคติดตอที่ติดตัวมากับแรงงานตางดาว รวมทั้งการ เพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรที่เปนบุตรของแรงงานตางดาวเอง

4. ปญหาดานสิ่งแวดลอม ๔.๑ ปญหาคุณภาพน้ําของจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุ มธานี มีการขยายตั วของชุมชนอยางรวดเร็ว เนื่ องจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และ เสนทางคมนาคม ทําใหมีโครงการบานจัดสรรเกิดขึ้นหลายรอยโครงการรวมทั้งการพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมที่มีอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่เกษตรกรรมประมาณรอยละ ๖๐ ของพื้นที่จังหวัด ซึ่งตางก็เปนแหลงที่กอใหเกิดน้ําเสีย ดวยกันทั้งสิ้น มลพิษทางน้ําที่เกิดขึ้นจากแหลงกําเนิดมลพิษเหลานี้บางสวนไดรับการบําบัดจนไดมาตรฐานคุณภาพน้ํา ทิ้ง และบางสวนก็ไมไดรับการบําบัดกอนระบายน้ําทิ้งลงสู แหลงรองรับน้ํา จึงสงผลกระทบใหคุณภาพในแหลงรองรับ

๓๐ น้ําตาง ๆ ของจังหวัดปทุมธานี โดยเฉพาะอยางยิ่งแมน้ําเจาพระยา และคลองสาขาตาง ๆ มีคุณภาพน้ําที่เสื่ อมโทรม และมีแนวโน มที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกป จากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ํ าผิวดิน (แม น้ําเจ าพระยา) ในเดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๐ พบวา คุณภาพน้ําที่ตรวจวัดบริเวณจุดน้ําดิบเพื่อการประปาสําแล โดยสํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ที่ ๖ มีคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) เทากับ ๒.๖ mg/l ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคา ๑.๐ mg/L คุณภาพน้ําจัดอยูในแหลงน้ําประเภทที่ ๔ คือ เสื่อมโทรม (สามารถใชประโยชนเพื่อการอุปโภคบริโภค โดย ตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนพิเศษกอนและการอุตสาหกรรม) สวนการจัดการน้ําเสียของจังหวัดปทุมธานี สวนใหญไมมีระบบบําบัดน้ําเสีย ปจจุบันเทศบาลที่มี ระบบรวบรวมบําบัดน้ําเสีย คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี ใชระบบบําบัดน้ําเสียแบบตะกอนเรง (Activated Sludge, AS) ๔.๒ ปญหาขยะมูลฝอย สถานการณในปจจุบันจังหวัดปทุมธานี มีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ ๑,๒๓๓.๗๓ -๑,๒๗๔.๗๓ ตัน/วัน ซึ่งไดมีการดําเนินการกําจัดนอกเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ประมาณ ๓๑๘ - ๓๒๔ ตัน/วัน และในเขตพื้นที่ ประมาณ ๗๔๒ - ๗๗๑ ตัน/วัน วิธีการกําจัดสวนใหญจะใชวิธีฝงกลบ (ขอมูลปริมาณการกําจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่ จั งหวั ด ปทุ มธานี ระหว างเดื อนกุ มภาพั น ธ – เดื อนมี น าคม ๒๕๕๐) สถานที่ กําจั ด ขยะมู ล ฝอยในเขตพื้ น ที่ จั งหวั ด ปทุมธานี เปนแบบฝงกลบที่มีการออกแบบอยางถูกหลักสุขาภิบาล มีอยู ๒ แหง คือ แหงที่ ๑ คือ บอขยะแบบฝงกลบของเทศบาลเมืองคูคต ตั้งอยูหมูที่ ๑๔ ต.บึงทองหลาง อ.ลําลูกกา มีเนื้อที่ ประมาณ ๒๓๐ ไร ซึ่งเมื่อไดดําเนินการสรางศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวมที่ ๑ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๑ ไดมีการ คัดคานจากประชาชนบริเวณใกลเคียง จึงไมสามารถเปดใชได แหงที่ ๒ คือ บอขยะแบบฝงกลบของเทศบาลเมืองปทุมธานี ตั้งอยูที่ หมูที่ ๔ ต.บอเงิน อ.ลาดหลุมแกว มีเนื้อ ที่ในขณะนั้นประมาณ ๑๑๘ ไร (เทศบาลเมืองปทุมธานี ไดจัดซื้อขึ้นอีกประมาณ ๑๒๐ ไร ปจจุบันจึงมีเนื้อที่ประมาณ ๒๓๘ ไร) ไดเริ่มเปดดําเนินการเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยวางแผนรองรับขยะมูลฝอยจากพื้นที่ฝ งตะวันตกของแมน้ํา เจาพระยา คือ อ.เมือง อ.สามโคก และ อ.ลาดหลุมแกว แตเนื่องจากเปนบอขยะแบบฝงกลบที่มีการดําเนินการอยาง ถูกหลักสุขาภิบาล เพียงแหงเดียวในขณะนั้น ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวนมากนําขยะมากําจัด จึงเกินขีด ความสามารถที่จะใหบริการฝงกลบตอวันได และถูกรองเรียนคัดคานจากประชาชน และไมสามารถเปดดําเนินการไดใน ที่สุด โดยในขณะนี้จังหวัดปทุมธานีแกปญหาโดยการนําขยะไปกําจัดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๔.๓ คุณภาพอากาศและเสียง เนื่องจากจังหวัดปทุมธานี เปนเมืองอุตสาหกรรมและยังเปนเมืองที่มีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง จากกรุงเทพมหานคร จึงทําใหมีสถานประกอบการเปนจํานวนมาก โดยกรมควบคุมมลพิษไดทําการติดตั้งสถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศ ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ในป พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อเฝาระวังตรวจสอบคุณภาพอากาศ จาก ขอมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ประจําป ๒๕๔๙ และ ๒๕๕๐ พบวา ดัชนีคุณภาพอากาศของสถานีตรวจวัด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คุณภาพอากาศมีคาอยูในระดับปานกลางยังไมมีผลตอสุขภาพ อยางไรก็ตามผล การตรวจวัดบางวันพบวา คาดัชนีคุณภาพอากาศมีคาที่เกินมาตรฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพ แตเปนเพียงบางวัน เทานั้น สําหรับปญหามลพิษทางเสียงในจังหวัดปทุมธานี แบงตามแหลงกําเนิดมลพิษเปน ๒ประเภท คือ โรงงานอุตสาหกรรมและยานพาหนะ ซึ่งผลการตรวจวัดเสียง เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง ระหวางวันที่ ๒๗ – ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ บริเวณใกลโรงงานอุตสาหกรรมบริษัท อายิโนะโมะ-โตะ จํากัด จังหวัดปทุมธานี พบวาคาระดับเสียงสูงสุด และ ระดับเสียงเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

๓๑

๕. ปญหาสังคมในจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เปนจังหวัดที่มีความหลากหลายทั้งการเปนศูนยกลางการศึกษา และเมืองแหงโรงงาน อุตสาหกรรม กอใหเกิดการขยายตัวของชุมชนอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายตัวของชุมชนบริเวณรอบ สถานศึกษาและสถานประกอบการ จากปจจัยดังกลาวจึงทําใหสภาพสังคมของจังหวัดปทุมธานีเปลี่ย นแปลงอยาง รวดเร็วมีการเคลื่อนยายของประชากรเปนจํานวนมาก เปนชองทางใหผูประกอบการที่เห็นแกไดใชโอกาสดังกลาวใน การมอมเมาเยาวชน กอใหเกิดปญหาการมั่วสุมภายในหอพักที่อาจชักนําไปสูการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด การลวง ละเมิดทางเพศ และอบายมุขอื่น ๆ ปญหาการจําหนายบุหรี่และสุราใหกับเด็กและเยาวชน ปญหาการเปดเกินเวลาและ อนุญาตใหเยาวชนเขาไปใชบริการของสถานบันเทิง เชน ผับ บาร รานคาราโอเกะ และรานจําหนายเหลาปน ปญหาการ เปดรานอินเตอรเน็ตและรานเกมสเกินเวลาและปลอยใหนักเรียนเขามาใชบริการ ปญหาเหลานี้จําเปนตองมีมาตรการใน การดําเนิ นการเชิงปองกัน และปราบปรามมิ ให มีการมั่ วสุ ม หรือเกี่ ยวของกับ การกระทํ าผิ ดเกี่ ยวกับ ยาเสพติด และ อบายมุขอื่น ๆ ทั้งการจัดระเบียบหอพัก การจัดระเบียบรานคา การจัดระเบียบการเปดและปดรานอินเตอรเน็ตและ ร านเกมส การจั ด จํ าหน ายสุ ร าและบุ ห รี่ โดยมุ ง เน น สวั ส ดิ ภ าพและความปลอดภั ย ของเยาวชน นั กศึ ก ษารวมทั้ ง ประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานี ปญหาสังคมเชิงกลุมเปาหมายที่ตองไดรับการพัฒนา เปนการรวบรวมขอมูลทั้งในระดับบุคคลและครัวเรือนพบวามีปญหาสังคมในเชิงกลุมเปาหมาย ดังนี้ ตารางที่ 26 แสดงปญหาสังคมเชิงกลุมเปาหมายที่ตองไดรับการพัฒนา ปญหาสังคมเชิงกลุมเปาหมายที่ตองไดรับการพัฒนา จํานวนหนวย 1.ปญหาเด็กและเยาวชน 3,531 2.ปญหาครอบครัว 564 3.ปญหาสตรี (อายุระหวาง 25-60 ป) 270 4.ปญหาผูสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) 3,197 5.ปญหาคนพิการ 7,049 6.ปญหาแรงงาน 13,388 รวม 27,999

รอยละ 12.61 2.01 0.96 11.42 25.18 47.82 100.0

ปญหาเด็กและเยาวชน พบวา กลุมเยาวชนในครอบครัวยากจนที่ไมมีวุฒิการศึกษาตอ กลุมเยาวชนที่ดื่ม แอลกอฮอล สูบบุหรี่ และติดสารเสพติด ถือเปนประเด็นปญหาดานเด็กและเยาวชนที่สําคัญ ปญหาครอบครัว พบวา สถานการณครอบครัวหยาราง และการขาดผูปกครองดูแลเด็กถือเปนสถานการณ ครอบครัวที่มีความเปราะบางและสงผลตอเด็กและเยาวชน ปญหาสตรี พบวา สตรีที่ตองเลี้ยงดูบุตรตามลําพังหรือแมเลี้ยงเดี่ยวเปนปญหาสําคัญของสตรีในพื้นที่ ปญหาผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุสวนใหญยังขาดการรับรูและไมไดลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิเบี้ยยังชีพเปนจํานวน มาก ตลอดจนสภาพของผูสูงอายุในพื้นที่จํานวนมากที่ยากจนและมีภาระตองเลี้ยงดูบุตรหลาน ปญหาคนพิการ พบวา มีจํานวนคนพิการทางกายเปนจํานวนมากและบางสวนยังไมไดรับความชวยเหลือทั้ง กรณีที่จดทะเบียนแลวและยังไมไดจดทะเบียน ปญหาแรงงาน พบวา สถานการณปญหาแรงงานในพื้นที่โดยสวนใหญเกี่ยวของกับปญหาแรงงานตางดาวและ แรงงานตางถิ่น

๓๒ ปญหาสังคมเชิงประเด็น เปนการรวบรวมขอมูลทั้งในระดับบุคคลและครัวเรือนพบวามีปญหาสังคมในเชิงประเด็น ดังนี้ ตารางที่ 27 แสดงปญหาสังคมเชิงประเด็น ปญหาสังคมเชิงประเด็น 1.ปญหาดานที่อยูอาศัย 2.ปญหาดานสุขภาพอนามัย 3.ปญหาดานการศึกษา 4.ปญหาดานการมีงานทําและรายได 5.ปญหาดานความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 6.ปญหาดานวัฒนธรรมและจริยธรรม รวม

จํานวนหนวย 5,276 4,662 420 4,735 7,076 475 22,644

รอยละ 23.30 20.59 1.85 20.91 31.25 2.10 100.0

ดานที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม พบวา มีครัวเรือนไมมีกรรมสิทธิ์ในที่อยูอาศัยเปนจํานวนมากถึง 3,497 ครัวเรือน ดานสุขภาพอนามัย พบวา มีประชากรที่ปวยเปนโรคเอดส สมควรไดรับการชวยเหลือมากถึง 1,425 คน ซึ่ง นับเปนปญหาดานสุขภาพที่สําคัญที่สุดของจังหวัดปทุมธานี และมีประชากรติดสุราเรื้อรังกวา 1,012 คน ดานการศึกษา พบวา ปญหาดานการศึกษาที่สําคัญคือในรอบ 1 ปที่ผานมา มีเยาวชนที่สําเร็จการศึกษาทั้ง ระดับปริญญาตรีหรือสายอาชีพแลววางงาน ดานการมีงานทําและรายได พบวา ประเด็นการมีรายไดนอย มีหนี้สินและมีปญหาในการสงใชเงินกูยืม เปน ประเด็นที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขในอันดับตน ดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน พบวา การไดรับผลกระทบจากสาธารณภัยในรอบปที่ผานมาเปน ประเด็นที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ดานวัฒนธรรมและจริยธรรม พบวา รานสื่อลามก รานเกมส รานอินเตอรเน็ตในทองถิ่น ตลอดจนรานคาที่ ขายเหลา/บุหรี่เปนปญหาที่สําคัญ ขอเสนอแนะในการจัดการ การจัดการปญหาสังคมที่เกิดขึ้นทั้งในเชิงประเด็นและกลุมเปาหมาย ควรสงเสริมสวัสดิภาพของกลุมเปาหมาย ผานรูปแบบการสรางงาน สรางอาชีพ การพัฒนาเครือขายการเฝ าระวังปญหา รวมถึงจําเปนตองมีระบบฐานขอมูลที่ ถูกตอง มีความเปนเอกภาพและเปนปจจุบัน การดําเนินการเพื่อจัดการปญหาจําเปนตองมีการระดมความเห็น ความรวมมือ และการใชทรัพยากรรวมกัน และมีการออกแบบกิจกรรม/โครงการอยางเหมาะสมกับความตองการกลุมเปาหมาย และมุง เนนการมีสวนรวมของ พื้นที่และเครือขายชุมชน ควรมุงเนนการพัฒนาบทบาทของชุมชนในการจัดการปญหาของตนเอง ในลักษณะการพึ่งพาตนเอง ขณะที่ หนวยงานภาครัฐจําเปนตองสรางภาพและพัฒนาศักยภาพของชุมชนอยางตอเนื่อง

๓๓

โครงสรางของจังหวัดปทุมธานี พันธกิจ ๑. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ๒. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการใน ฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บริหารราชการตามคําแนะนําและคําชี้แจงของผูตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี ๔. กํากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใชราชการสวนภูมิภาคของขาราชการซึ่งประจําอยูในจังหวัดนั้น ยกเวน ขาราชการทหาร ขาราชการฝายตุลาการ ขาราชการฝายอัยการ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ขาราชการใน สํานักงานตรวจเงินแผนดิน และขาราชการครู ใหปฏิบัติราชการใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับหรือคําสั่ง ของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีหรือยับยั้งการกระทําใดๆของ ขาราชการในจังหวัดที่ขัดตอ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไวชั่วคราวแลวรายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี้ยวของ ๕. ประสานและรวมมือกับขาราชการทหาร ขาราชการฝายตุลาการ ขาราชการฝายอัยการ ขาราชการพล เรือในมหาวิทยาลัย ขาราชการในสํานักงานตรวจเงินแผ นดิน และขาราชการครู ผูต รวจราชการ และหัวหนาสว น ราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือปองกันภัยพิบัติสาธารณะ ๖. เสนองบประมาณต อ กระทรวงที่ เ กี่ ย วข อ งตามโครงการหรื อ แผนพั ฒ นาจั ง หวั ด และรายงานให กระทรวงมหาดไทยทราบ ๗. ควบคุมดูแลการบริหารราชการสวนทองถิ่นในจังหวัดตามกฎหมาย ๘. กํากับการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานองคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ใหมีอํานาจทํารายงาน หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานขององคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจตอรัฐมนตรีเจาสังกัดองคการของ รัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ๙. บรรจุ แตงตั้ง ใหบําเหน็จ และลงโทษขาราชการในสวนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามที่ ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย สวนราชการบริหารสวนภูมิภาค 1. สํานักงานจังหวัดปทุมธานี 2. ที่ทําการจังหวัดปทุมธานี 3. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี 4. สํานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี 5. สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดปทุมธานี 6. สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปทุมธานี 7. สํานักงานทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี 8. สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดปทุมธานี 9. สํานักงานคลังจังหวัดปทุมธานี

๓๔ 10.สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดปทุมธานี 11.สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดปทุมธานี 12.สํานักงานการเกษตรจังหวัดปทุมธานี 13.สํานักงานประมงจังหวัดปทุมธานี 14.สํานักงานปศุสัตวจังหวัดปทุมธานี 15.สํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดปทุมธานี 16.สํานักงานสหกรณจังหวัดปทุมธานี 17.สํานักงานขนสงจังหวัดปทุมธานี 18.สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี 19.สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี 20.สํานักงานพาณิชยจังหวัดปทุมธานี 21.สํานักงานสถิติจังหวัดปทุมธานี 22.สํานักงานแรงงานจังหวัดปทุมธานี 23.สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี 24.สํานักงานประกันสังคมจังหวัดปทุมธานี 25.สํานักงานจัดหางานจังหวัดปทุมธานี 26.สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี 27.เรือนจําจังหวัดปทุมธานี 28.เรือนจําอําเภอธัญบุรี 29.สํานักงานบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี 30.สํานักงานคุมประพฤติจังหวัดปทุมธานี 31.สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี 32.สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี 33.พลังงานจังหวัดปทุมธานี 34. ที่วาการอําเภอเมืองปทุมธานี 35. ที่วาการอําเภอสามโคก 36. ที่วาการอําเภอลาดหลุมแกว 37. ที่วาการอําเภอธัญบุรี 38. ที่วาการอําเภอคลองหลวง 39. ที่วาการอําเภอลําลูกกา 40. ที่วาการอําเภอหนองเสือ

๓๕ สวนราชการบริหารสวนกลาง 1. สํานักงานทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดปทุมธานี 2. สํานักงานธนารักษพื้นที่ปทุมธานี 3. สํานักงานสรรพสามิตพื้นที่ปทุมธานี 1 4. สํานักงานสรรพสามิตพื้นที่ปทุมธานี 2 5. สํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 6. สํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 2 7.ศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุจังหวัดปทุมธานี 8.พิพิธภัณฑการเกษตรเฉลิมพระเกียรติ 9.โครงการชลประทานปทุมธานี 10.สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี 11.ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี 12.ศูนยวิจัยขาวคลองหลวง 13.สํานักงานแขวงการทางปทุมธานี 14.สํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดปทุมธานี 15.สํานักงานการคาภายในจังหวัดปทุมธานี 16.สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดปทุมธานี 17.ศูนยฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 18.สถานพินิจและคุมครองเด็ก และเยาวชนจังหวัดปทุมธานี 19.ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี 20.ศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนงานจังหวัดปทุมธานี 21.หออัครศิลปน 22.หอจดหมายเหตุแหงชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ 23.พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กาญจนาภิเษก 24.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 25.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 26.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 27.สํานักงานสงเสริมการศึกนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี 28.สถาบันธัญญารักษ

๓๖ องคกรปกครองทองถิ่น 1. องคการบริหารสวนจังหวัดปทุมธานี 2. เทศบาลนครรังสิต 3. เทศบาลเมืองปทุมธานี 4. เทศบาลเมืองทาโขลง 5. เทศบาลเมืองคลองหลวง 6. เทศบาลเมืองคูคต 7. เทศบาลเมืองลําสามแกว 8. เทศบาลเมืองสนั่นรักษ 9. เทศบาลตําบลบางกะดี 10.เทศบาลตําบลบางหลวง 11.เทศบาลตําบลบางคูวัด 12.เทศบาลตําบลหลักหก 13.เทศบาลตําบลลําไทร 14.เทศบาลตําบลลําลูกกา 15.เทศบาลตําบลระแหง 16.เทศบาลตําบลหนองเสือ 17.เทศบาลตําบลบางเตย 18.เทศบาลตําบลธัญบุรี 19.เทศบาลตําบลบึงยี่โถ 20.เทศบาลตําบลคลองพระอุดม อําเภอเมืองปทุมธานี 1. องคการบริหารสวนตําบลบางพูน 2. องคการบริหารสวนตําบลบางเดื่อ 3. องคการบริหารสวนตําบลบางขะแยง 4. องคการบริหารสวนตําบลบางพูด 5. องคการบริหารสวนตําบลบางหลวง 6. องคการบริหารสวนตําบลบานใหม 7. องคการบริหารสวนตําบลบานกลาง 8. องคการบริหารสวนตําบลบานฉาง 9. องคการบริหารสวนตําบลบานกระแชง

๓๗ 10.องคการบริหารสวนตําบลสวนพริกไทย อําเภอสามโคก ๑. องคการบริหารสวนตําบลกระแชง ๒. องคการบริหารสวนตําบลสามโคก ๓. องคการบริหารสวนตําบลทายเกาะ ๔. องคการบริหารสวนตําบลเชียงรากใหญ ๕. องคการบริหารสวนตําบลเชียงรากนอย ๖. องคการบริหารสวนตําบลบานปทุม ๗. องคการบริหารสวนตําบลบางโพธิ์เหนือ ๘. องคการบริหารสวนตําบลคลองควาย ๙. องคการบริหารสวนตําบลบานงิ้ว ๑๐. องคการบริหารสวนตําบลบางกระบือ อําเภอลาดหลุมแกว ๑. องคการบริหารสวนตําบลระแหง ๒. องคการบริหารสวนตําบลคูบางหลวง ๓. องคการบริหารสวนตําบลหนาไม ๔. องคการบริหารสวนตําบลคูขวาง ๕. องคการบริหารสวนตําบลบอเงิน ๖. องคการบริหารสวนตําบลลาดหลุมแกว อําเภอคลองหลวง ๑. องคการบริหารสวนตําบลคลองสาม ๒. องคการบริหารสวนตําบลคลองสี่ ๓. องคการบริหารสวนตําบลคลองหา ๔. องคการบริหารสวนตําบลคลองหก ๕. องคการบริหารสวนตําบลคลองเจ็ด อําเภอลําลูกกา ๑. องคการบริหารสวนตําบลลาดสวาย ๒. องคการบริหารสวนตําบลบึงคําพรอย ๓. องคการบริหารสวนตําบลบึงทองหลาง ๔. องคการบริหารสวนตําบลบึงคอไห ๕. องคการบริหารสวนตําบลลําลูกกา ๖. องคการบริหารสวนตําบลพืชอุดม

๓๘ ๗. องคการบริหารสวนตําบลลําไทร ๘. องคการบริหารสวนตําบลบึงบอน ๙. องคการบริหารสวนตําบลหนองสามวัง ๑๐.องคการบริหารสวนตําบลบึงบา ๑๑.องคการบริหารสวนตําบลบึงชําอ้ อ ๑๒.องคการบริหารสวนตําบลบึงกาสาม ๑๓.องคการบริหารสวนตําบลนพรัตน์ ๑๔.องคการบริหารสวนตําบลศาลาครุ รัฐวิสหกิจ 1. การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัด 2. การไฟฟาสวนภูมิภาครังสิต 3. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอธัญบุรี 4. การไฟฟาสวนภูมิภาค อ.ลําลูกกา 5. การไฟฟาสวนภูมิภาคปทุมธานี 2 (บางกะดี) 6. ประปาสวนภูมิภาค สาขาปทุมธานี 7. ประปารังสิต 8. ศูนยติดตั้งบํารุงรักษา 9. ศูนยบริการทีโอที สาขาปทุมธานี 10.ที่ทําการไปรษณียปทุมธานี 11.องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ 12.สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 1 นายสุทิน นพขํา เขต 2 นายสุรพงษ์ เขต 3 ใจแคล้ ว เขต 4 นางสาวพรพิมล ธรรมสาร เขต 5 ส่องแสง เขต 6 นายชูชาติ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปทุมธานี นายไพบูลย ซําศิริพงษ

๓๙

1.2 ขอมูลสรุปผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2553-2556) วิสัยทัศน : ปทุมธานีเปนเมืองการคาการลงทุนในอุตสาหกรรมสะอาดของภูมิภาคเอเชียอาคเนย (ใชในปงบประมาณ พ.ศ. 2553-2554) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเขมแข็งใหแกภาคการเกษตร การผลิต การคาและบริการ เปาประสงค เศรษฐกิจของจังหวัดเจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน กลยุทธ 1.พัฒนาตลาดคาสงใหเปนศูนยกลางการคาผลิตผลการเกษตรในภูมิภาคฯ 2.สรางมูลคาเพิ่มใหขาวปทุมธานี เปนสินคาสงออกของประเทศ 3.สงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ 4.พัฒนาการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชาวปทุมธานี ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาสังคมปทุมธานีใหเปนสังคมคุณภาพ เปาประสงค สังคมปทุมธานีเปนสังคม อยูเย็นเปนสุข กลยุทธ 1.พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2.สรางชุมชนปทุมธานีใหมีความเขมแข็ง 3.จัดการสิ่งแวดลอมใหไดมาตรฐาน 4.จัดระเบียบสังคมใหมั่นคงปลอดภัย 1.2.1 งบประมาณที่จังหวัดปทุมธานีไดรับการจัดสรรในชวงป 2553-2554 พ.ศ. 2553

รวมทั้งสิ้น 180,591,518 บาท -งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ 34,975,800 บาท -งบประมาณภายใตโครงการไทยเขมแข็ง 2555 งบประมาณ 145,615,718 บาท ผลการเบิกจาย 100% พ.ศ. 2554 งบประมาณรายจายประจําป 176.8566 ลานบาท ผลการเบิกจาย 100%

๔๐

160,000,000 140,000,000 120,000,000 100,000,000

53 แผน 53 ผล 54 แผน 54 ผล

80,000,000 60,000,000 40,000,000 20,000,000 ประเด็นยุทธ 1

ประเด็นยุทธ 2

๔๑ 1.2.2 ผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดของแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2553-2556 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเขมแข็งใหแกภาคการเกษตร การผลิต การคาและบริการ เป้ าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจของจังหวัด เจริ ญเติบโตอย่าง

1. ร้อยละของระดับ ความพึงพอใจของ ผูใ้ ช้บริ การตลาดกลาง

พ.ศ. 2553 เป้ าหมาย ผล ร้อยละ 85 ร้อยละ

พ.ศ. 2554 เป้ าหมาย ผล ร้อยละ 85 ร้อยละ

กลยุทธ์

เจ้าภาพหลัก

1. พ ฒ ั น า ต ล า ด

ส น ง .พ า ณ ิ ช ย ์

ค า ้ ส ่ ง ใ ห ้เ ป ็ น

จ งั ห ว ดั

ศ ูน ย ก ์ ล า ง ก า ร ค า ้

ป ท ุม ธ า น ี

ผ ล ิต ผ ล ก า ร เก ษ ต ร ใ น ภ ูม ิภ า ค ฯ 2. ผ ล ผ ล ิ ต ข า ้ ว พ น ั ธ ์

ร ้ อ ย ล ะ 80

ร ้ อ ย ล ะ 56.20

ร ้ อ ย ล ะ 90

ร ้ อ ย ล ะ 100

2. ส ร ้ า ง

ป ท ุม ธ า น ี 1 ม ีค ุณ ภ า พ

จ งั ห ว ดั

ต ร ง ต า ม พ น ั ธ ์แ ล ะ ผ า่ น

ป ท ุม ธ า น ี เ ป ็ น

ม า ต ร ฐ า น ก า ร ผ ล ิต ต า ม

ส ิ น ค า้ ส ่ง อ อ ก

ร ะ บ บ GAP

ข อ ง ป ร ะ เท ศ

3. ผ ล ิ ต แ ล ะ ก ร ะ จ า ย

ส น ง .เ ก ษ ต ร

50 ต น ั

N/A

50 ต น ั

ต น ั 30

ป ท ุม ธ า น ี

ศ ูน ย ว ์ ิจ ย ั ข า ้ ว

พ น ั ธ ์ห ล ก ั ข า ้ ว ป ท ุม ธ า น ี

ค ล อ ง ห ล ว ง

1 4.

ร ้อ ย ล ะ 5

ร ้ อ ย ล ะ 10

ร ้อ ย ล ะ 5

ร ้อ ย ล ะ

ส น ง .เ ก ษ ต ร

ม ูล ค ่า ก า ร ค า ้ ข า ้ ว

จ งั ห ว ดั

ป ท ุม ธ า น ี 1

ป ท ุม ธ า น ี

5. ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร

ร ้ อ ย ล ะ 80

ร ้ อ ย ล ะ 100

ร ้ อ ย ล ะ 80

ร ้อ ย ล ะ

ส น ง .เ ก ษ ต ร จ งั ห ว ดั

ส ่ ง เ ส ร ิ ม ด า้ น ก า ร ผ ล ิต

ป ท ุม ธ า น ี

ข า ้ ว พ น ั ธ ุ ์ป ท ุม ธ า น ี 1 ไ ด ร ้ ับ ใ บ ร ับ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น

GAP

6.

ร ้อ ย ล ะ 5

ร ้อ ย ล ะ

ร ้อ ย ล ะ 5

ร ้อ ย ล ะ

เ ง ิน ล ง ท ุน ใ น จ ง ั ห ว ด ั

3. ส ่ ง เ ส ร ิ ม ก า ร

ส น ง .

ล ง ท ุน ใ น

อ ุต ส า ห ก ร ร ม

ป ท ุม ธ า น ี

7. จ า ํ น ว น ห ม ู่บ า ้ น

จ งั ห ว ดั

1 ห ม ู่บ า ้ น

1 ห ม ู่บ า ้ น

1 ห ม ู่บ า ้ น

1 ห ม ู่บ า ้ น

ศ กั ย ภ า พ

ป ท ุม ธ า น ี

4. พ ฒ ั น า ก า ร

ส น ง .พ ฒ ั น า ช ุม ช น จ ง ั ห ว ด ั

พ ฒ ั น า เ ป ็ น ห ม ู่บ า ้ น

ว ฒั น ธ ร ร ม แ ล ะ

OTOP ต น ้ แ บ บ

ว ิถ ี ช า ว ป ท ุม ธ า น ี

8. เ ร ี ย น ร ู ้แ ล ะ ก า ร

3,000 ค น

4,

0ค น

,000 ค น

N/A ค น

ป ท ุม ธ า น ี

ส น ง .เ ก ษ ต ร จ งั ห ว ดั ป ท ุม ธ า น ี

๔๒ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาสังคมปทุมธานีใหเปนสังคมคุณภาพ พ .ศ . 2553

เป ้า ป ร ะ ส ง ค ์

พ .ศ . 2554 ก ล ย ทุ ธ ์

เ ช ิ ง ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ์

เป ้า ห ม า ย

ส งั ค ม ป ท ุม ธ า น ี เ ป ็ น

1.

ร ้ อ ย ล ะ 80

ส งั ค ม อ ย เ ู่ ย น ็ เ ป ็ น ส ุ ข

เ ป ็ น ป ัญ ห า ล ด ล ง

2. อ ต ั ร า ฆ ่า ต ว ั ต า ย

ผ ล ร ้ อ ย ล ะ 85

เป ้า ห ม า ย ร ้ อ ย ล ะ 82

เ จ า้ ภ า พ ห ล กั

ผ ล ร ้ อ ย ล ะ 90

ร ้ อ ย ล ะ 2.85

ร ้ อ ย ล ะ 2.02

ร ้ อ ย ล ะ 2.80

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

1. พ ฒ ั น า

ส น ง .

ค ุณ ภ า พ ช ี ว ิต ข อ ง

ส า ธ า ร ณ ส ุข

ป ร ะ ช า ช น

จ งั ห ว ดั

ร ้อ ย ล ะ

ป ท ุม ธ า น ี

ส า ํ เ ร ็ จ ต ่อ ป ร ะ ช า ก ร แ ส น ค น 3. ร ะ ด บ ั ค ว า ม ส า ํ เ ร ็ จ ข อ ง ก า ร ด า ํ เ น ิน ง า น ค ว า ม ป ล อ ด ภ ย ั ด า้ น อ า ห า ร ร ะ ด บั จ ง ั ห ว ด ั 4. ร ะ ด บ ั ค ว า ม ส า ํ เ ร ็ จ ข อ ง ก า ร แ ก ไ้ ข ป ั ญ ห า

2. ส ร ้ า ง ช ุ ม ช น

ส น ง .พ ฒ ั น า

ป ท ุม ธ า น ี ใ ห ้ม ี

ช ุม ช น จ ง ั ห ว ด ั

ค ว า ม เ ข ม ้ แ ข ง็

ป ท ุม ธ า น ี

3. จ ด ั ก า ร

ส น ง .

จ ป ฐ . 5.

1

1

1

1

จ ด ั ก ิจ ก ร ร ม ก า ร แ ส ด ง ศ ก ั ย ภ า พ ข อ ง ช ุม ช น ร ะ ด บั จ ง ั ห ว ด ั 6.

ร ้อ ย ล ะ

ร ้อ ย ล ะ

ท ร ัพ ย า ก ร ธ ร ร ก ิจ ก ร ร ม ก า ร จ ด ั ก า ร

ไ ด ม้ า ต ร ฐ า น

ร ้อ น

ม ช า ต ิแ ล ะ

จ งั ห ว ดั ป ท ุม ธ า น ี

7.

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั

ร ะ ด บั 5

ร ะ ด บั 5

4. จ ด ั ร ะ เ บ ีย บ

ต า ํ ร ว จ ภ ูธ ร จ งั ห ว ดั

ก า ร จ บ ั ก ุม ผ กู ้ ร ะ ท า ํ ผ ิด

ใ น ป ีง บ ป ร ะ ม า ณ

ป ล อ ด ภ ยั

ป ท ุม ธ า น ี

๔๓

สวนที่ 2 ขอมูลสรุปความตองการและศักยภาพของประชาชนในทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี ผลการสํารวจจากแบบสอบถามของผูตอบแบบสอบถามที่อาศัยในอําเภอธัญบุรี, หนองเสือ, ลาดหลุม แกว, ลําลูกกา และสามโคก พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอายุเฉลี่ย 46-60 ป ประกอบอาชีพคาขาย/ธุรกิจ สวนตัว รายไดอยูในชวง 10,000 – 30,000 บาทตอเดือน และมีจํานวนสมาชิกในครอบครัวประมาณ 4-6 คน ในการสํารวจความคิดเห็นจากคนในชุมชนเกี่ยวกับประเดนปญหาที่ชาวชุมชนใหความสํา คัญเปน อันดับแรกคือ ปญหาเรื่องยาเสพติด รองลงมาคือ เรื่องคาครองชีพ และปญหาสําคัญอันดับสามคือ เรื่องสาธารณูปโภค ภายในชุมชน ซึ่งปญหาดังกลาวกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนมากที่สุดคือ ความขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในชุมชน ผลกระทบรองลงมาคือ การเกิดอาชญากรรมภายในชุมชน สําหรับการใหระดับความสําคัญตามความคิดเหนของคนในชุมชนเกี่ยวกับการแกปญหาของรัฐบาล, การทราบถึงและการใหความรวมมือในการพัฒนาชุมชนของทางจังหวัด , ผลประโยชนและผลเสียจากการมีโรงงาน อุตสาหกรรมภายในหรือบริเวณใกลเคียงชุมชน, ความสามัคคีและการระดมความคิดของคนในชุมชน, ความขัดแยงทาง ความคิดของคนในชุมชน, และการสงเสริมอาชีพใหคนในชุมชนจากภาครัฐจะอยูในระดับปานกลาง แตอันตรายจากการ บริโภคสินคาเกษตรภายในชุมชนอยูในระดับนอยที่สุด ปญหาอื่นๆจากคนในชุมชนที่ตองการนําเสนอ มีดังนี้ ชุมชนในอําเภอธัญบุรีมีปญหาเรื่องยาเสพติด การวางงาน การติดสินบนและคอรัปชั่นของเจาหนาที่ ของรัฐ หรือการคดโกงขององคการบริหารงานสวนตําบล ความเปนอยูของประชาชน นาเนาเสียและมีน้ําขังในทอ ระบายนา การมีบอนการพนันภายในชุมชน การลักขโมย ถนนทรุดจากฝนตก ชุมชนในอําเภอลําลูกกามีปญหาเรื่องไฟฟา ถนน นาประปาไมทั่วถึงทั้งหมูบาน บางครั้งนาบาดาลไม ไหล การแบงพรรคแบงพวก เงินชดเชยนาทวมไดรับไมเทากันในแตละหลัง ชุมชนในอําเภอสามโคกมี ปญหาเรื่ องลมหนาวในช วงฤดูหนาวจะพัด มาจากทางฝ งเหนือเขามาใน อําเภอโดยพัดเอาฝุนละอองและมลพิษมาดวย นาเนาเสียในคลอง ถนนและนาประปาเขามาในหมูบานไมทั่วถึง ชุมชนในอําเภอหนองเสือมีปญหาเรื่องยาเสพติด การเสนอแนะแนวทางการแกไข หรือบรรเทาปญหาภายในชุมชน มีดังนี้ ชุมชนในอําเภอธัญบุรีเสนอแนะใหมีการฝกอบรมอาชีพเสริมใหกับคนในชุมชน รวมถึงการหาแหลงทํา กินใหดวย การมีตํารวจคอยตรวจตราดูแลรักษาความปลอดภัย และกวดขันเรื่องยาเสพติดภายในชุมชน รวมทั้งการมั่ว สุมของเดนกวัยรุน การบริหารจัดการนาเนาเสียจากผูประกอบการสรางบานจัดสรรภายในชุมชน การมีบอบําบัดน้ําเสีย การขุดลอกคูคลอง ทอระบายนาเพื่อปองกันนาขังจนเนาเสีย การติดตั้งไฟถนนใหสวางทั่วทุกซอย การปรับพื้นถนนให ไดมาตรฐาน ชุมชนในอําเภอลําลูกกาเสนอแนะใหมีการท าประชาพิจารณ การมีผูนําหมูบานเปนตัวแทนรับทราบ และเสนอแนะการแกปญหาและพัฒนาหมูบาน ชุมชนในอําเภอสามโคกเสนอแนะใหมีการขุดลอกคูคลองเพื่อปองกันไมใหนาเนาเสีย การมีตํารวจคอย ตรวจตราดูแลชุมชนในเวลากลางคืนมากกวาการตั้งดาน การมีไฟถนนตลอดสายเพื่อปองกันการจี้ปลน การบําบัดน้ําเนา

๔๔ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การสงเสริมอาชีพใหเยาวชนในชุมชนที่เคยติดยาเสพติดมีงานทําเปนการปองกันการจี้ปลน การเพิ่มจํานวนรถเมลและนาประปาใหกับชุมชน ความตองการดานอื่นๆของคนในชุมชนจากรัฐบาล มีดังนี้ ชุมชนในอําเภอธัญบุรีตองการใหบัณฑิตจบใหมมีเงินเดือน 15,000 บาทตอเดือน ความตองการให ภาครัฐจัดฝกอบรมอาชีพเสริมใหกับกลุมแมบานในชุมชน การมีพื้นที่สันทนาการของรัฐใหกับเดนกและคนในชุมชนเพื่อ ประกอบกิจกรรมและออกก าลังกาย การเพิ่มความเขมงวดกวดขันเรื่องการพนันและยาเสพติดภายในชุมชน ชุมชนในอําเภอลําลูกกาตองการใหมีการปราบปรามยาเสพติดและอาชญากรรม การมีเทคโนโลยี สื่อสารและรานคาสหกรณภายในชุมชน การมีไฟฟาและถนนใหทั่วถึงทุกชุมชน การมีนาประปาแทนนาบาดาล ชุมชนในอําเภอสามโคกตองการใหมีความชวยเหลือเรื่องนาทวมอยางตอเนื่อง การซอมแซมและสราง ถนนดีๆทั่วทั้งหมูบาน

45

สวนที่ ๓ ขอมูลการวิเคราะหศักยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหครบทุกมิติสําคัญของพืน้ ที่ 3.1 สรุปภาพรวมเบื้องตนเกี่ยวกับสถานการณของจังหวัดปทุมธานีในแตละมิติ ประเด็นสําคัญ สถานการณ/ปญหาในปจจุบัน และแนวโนม/ประเด็นความทาทายของจังหวัดปทุมธานี

การคาและการลงทุน ตลาดแรงงาน เศรษฐกิจทองถิ่น การทองเที่ยว ๒. สังคม การศึกษา

สถานการณ / ปญหาในปจจุบัน

แนวโนม / ประเด็นความทาทาย

- มุงเนนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม - “ขาว” เปนพืชทางเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด - ภาคบริการมีลักษณะกระจายตัว - การลงทุนขยายตัวตอเนื่องในอุตสาหกรรมชั้นนําของ จังหวัด - การจางงานสวนใหญอยูในอุตสาหกรรมการผลิต - การขาดแคลนแรงงานไร ฝ มื อ นํ า ไปสู ก ารพึ่ ง พา แรงงานตางดาว - การสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ท อ งถิ่ น อยู ใ นช ว งพั ฒ นาการ เบื้องตน - มีจุดเดนที่การทองเที่ยวเพื่อการเรียนรู - เปนแหลงสรางรายไดสําคัญใหแกประชาชนในจังหวัด

- การเพิ่มมูลคาและผลิตภาพของภาคเกษตร - การพัฒนาขีดความสามารถของอุตสาหกรรมเปาหมาย - การพัฒนาภาคบริการ - การสรางความยั่งยืนดานการลงทุน - การขยายฐานการสงออก - การบริหารจัดการแรงงานตางดาว - การสรางอุตสาหกรรมอุบัติใหม เพื่อรองรับแรงงานทักษะขั้นสูง

- การศึกษาทางเลือกยังมีจํากัด - อัตราการเขาเรียนของนักเรียนของจังหวัดอยูในระดับ

- การสงเสริมใหเยาวชนไดรับการศึกษาภาคบังคับอยางทั่วถึง - การมุงสูความเปนศูนยกลางดานการศึกษา การวิจัย และเทคโนโลยีของภูมิภาค

- การยกระดับมาตรฐานและศักยภาพของผูประกอบการทองถิ่น - การสงเสริมความหลากหลายดานรูปแบบการทองเที่ยวในจังหวัด

45

ประเด็นสําคัญ ๑. เศรษฐกิจ โครงสรางทาง เศรษฐกิจ

46

ประเด็นสําคัญ สาธารณสุข

๓. สิ่งแวดลอม ทรัพยากรน้ํา

- ไมมีระบบบําบัดน้ําเสียของจังหวัด - คุณภาพน้ําอยูในระดับเสื่อมโทรม

- การสรางระบบบําบัดน้ําเสียของจังหวัด - การรณรงค ให มีการดู แลรั กษาคุ ณภาพน้ํ า และการบํ าบั ดน้ํ าทิ้ งของโรงงาน อุตสาหกรรม การจัดการขยะมูลฝอย - การฝ ง กลบที่ ดํ า เนิ น การอยู ใ นป จ จุ บั น ไม ส ามารถ - การสรางระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ รับมือกับปริมาณขยะทั้งหมดได

46

ความปลอดภัยในชีวิต / ทรัพยสิน การแพรระบาดของยา เสพติด ชุมชน เด็ก และ เยาวชน

ต่ํากวาคามาตรฐานของประเทศ - มีนักเรียนเขาเรียนตอสายอาชีพมากกวาสายสามัญ สถานการณ / ปญหาในปจจุบัน แนวโนม / ประเด็นความทาทาย - จํานวนสถานพยาบาล แพทย และเตียงผูปวย ยังอยูใน - การพัฒนาการแพทยเฉพาะทาง ระดับคอนขางต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน - การเฝาระวังการแพรระบาด และการศึกษาวิจัยแนวทางปองกันโรคอุบัติใหม - การเพิ่มทรัพยากรทางการแพทยใหเพียงพอกับความตองการของทองถิ่น - การยายถิ่นของประชากร เพื่อแสวงหาโอกาสในการ - การสรางภูมิคุมกันทางสังคม ทํางาน สงผลใหมีการกอคดีอาชญากรรมในพื้นที่สูงขึ้น - การพัฒนาสังคมและความมั่นคงพื้นฐานของประชาชน - การแพรระบาดของยาเสพติดอยูในระดับรุนแรง และ - การสงเสริมการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนใหเขามาแกไขปญหา เกิดขึ้นอยางครบวงจร - การขยายตัวของชุมชนเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว - การสรางความเขมแข็งของชุมชน - เด็กและเยาวชนมีแนวโนมเกี่ยวของกับอาชญากรรม - การคุมครองสวัสดิภาพของเด็กและเยาวชน และความรุนแรงมากขึ้น - การยกระดับคุณภาพของเด็กและเยาวชน

๔๗

3.2 ภาวะเศรษฐกิจ 3.2.1 ภาพรวมผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดปทุมธานี ป 2553 เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดปทุมธานี ในป 2553 ณ ราคาประจําป มีมูลคา 274,947 ลานบาท เพิ่มขึ้น 23,977 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 9.6 เมื่อเทียบกับป ที่ผานมา โดยผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดตอ หัว (GPP Per Capita) เทากับ 330,155 บาทตอหัว เพิ่มขึ้นรอยละ 8.0 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา จํานวน ประชากรในจังหวัดปทุมธานี ป 2553 เทากับ 832,781 คน เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดปทุมธานี ในป 2553 ณ ราคาคงที่ ขยายตัวรอยละ 6.1 จากที่หดตัว รอยละ 14.8 ในปที่ผานมา จากการขยายตัวของภาคนอกการเกษตร รอยละ 6.5 จากที่หดตัวรอยละ 15.0 ในปที่ผานมา สวนภาคการเกษตร หดตัวรอยละ 10.9 หดตัวลงตอเนื่องจากที่หดตัวรอยละ 6.3 ในป ที่ผานมา โดย สาขาที่ขยายตัว ไดแก สาขาอุตสาหกรรม สาขาไฟฟา ประปาและโรงแยกกาซ สาขากอสราง สาขาการ ขายสง การขายปลีก การซอมแซมฯ สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาขนสง สถานที่เก็บสินคาและคมนาคม สาขาตัวกลางทางการเงิน สาขาการใหบริการดานชุมชนฯ สาขาลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล สวนสาขาที่ชะลอ ตัว ไดแก สาขาบริการดานอสังหาริมทรัพย ฯ สาขาการศึกษา สาขาการบริการดานสุขภาพและสังคม และสาขา ที่หดตัวไดแก สาขาพืชผล ปศุสัตว และการปาไม สาขาประมง สาขาเหมืองแรและยอยหิน สาขาบริหารราชการ และการปองกันประเทศฯ

10.0 5.0 0.0 -5.0 -10.0 -15.0 -20.0

6.5 2.7

2.6

-1.0

2551

ภาคเกษตร

2552

6.1

2553

-6.3 -10.9 -15.0

ภาคนอกเกษตร

-14.8

ผลิตภัณฑ์มวลรวม

โครงสรางทางเศรษฐกิจ พิจารณาจากมูลคาเพิ่มณ ราคาประจําป ดังนี้ • ภาคเกษตร ภาคเกษตรมีโครงสราง รอยละ 2.1 ของ GPP ณ ราคาประจําป ซึ่งประกอบดวยสาขา พืชผล ปศุศัตว และการปาไม เปนสาขาหลักของภาคเกษตร มีสัดสวนรอยละ 2.0 และสาขาประมงมี สัดสวนรอยละ 0.1 • ภาคนอกเกษตร ภาคนอกเกษตรมีโครงสราง รอยละ 97.9 ของ GPP ณ ราคาประจําป โดยมีสาขา หลักที่สําคัญคือ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายสง การขายปลีก การซอมแซมฯ สาขาตัวกลางทางการเงิน และสาขาอื่น ๆ อีก 11 สาขาโดยมีสัดสวนรอยละ 68.5,5.0,3.6 และ 20.8 ตามลําดับ

๔๘ โครงสร้ างการผลิตรายสาขา ณ ราคาประจําปี 2553 ตัวกลาง, 3.6 อสังหาริมทรัพย์ , บริหารราชการ, บริการสุ ขภาพ, บริการชุมชน, 1.3 3.5 ขนส่ ง, 1.0 1.3 การศึกษา, 3.4 1.2 โรงแรมฯ, 1.8 ลูกจ้าง, 0.1 ขายส่ งขายปลีก, 5.0 เกษตรกรรม, 2.0 ก่อสร้ าง, 3.6

เหมืองแร่ , 0.0

ไฟฟ้า ประปา, 3.5

ประมง, 0.1 อุตสาหกรรม, 68.5

เกษตรกรรม ไฟฟ้ า ประปา ขนส่ ง การศึกษา

ประมง ก่ อสร้ าง ตัวกลาง บริการสุ ขภาพ

เหมืองแร่ ขายส่ งขายปลีก อสั งหาริมทรัพย์ บริการชุ มชน

อุตสาหกรรม โรงแรมฯ บริหารราชการ ลูกจ้ าง

โครงสรางการผลิตและอัตราขยายตัวรายสาขา จําแนกตามรายสาขา สาขาการผลิต

(%)

โครงสร้ าง (%)

2551 -1.0 -2.1

2552 -6.3 -6.5

2553 -10.9 -11.2

การประมง

23.5

ภาคนอกเกษตร

2.7 20.8 3.1

-2.7 -15.0 -10.1

-5.8 6.5 -64.2

0.1 97.6 0.0

0.1 97.8 0.0

0.1 97.9 0.0

1.0 1.1 2.0

-20.5 -3.1 -28.2 1.6

4.9 12.4 17.3 9.8

70.7 3.1 4.4 4.5

68.5 3.6 3.3 4.9

68.5 3.5 3.6 5.0

4.7 -14.9 12.3

-0.4 -6.7 20.6

1.7 7.6 21.7

1.8 0.9 2.5

1.8 1.0 3.1

1.8 1.0 3.6

บริการด้านอสั งหาริมทรัพย์

7.6

4.7

4.5

3.4

3.9

3.5

การบริหารราชการแผ่นดิน

8.3

7.3

1.3 2.9

1.5 3.6

1.3 3.4

0.9

1.2

1.2

ภาคเกษตร การเกษตรกรรม การล่าสั ตว์ และการป่ าไม้

การทําเหมืองแร่และเหมืองหิน การผลิตอุตสาหกรรม การไฟฟ้ า ก๊าซ และการประปา การก่อสร้าง การขายส่ ง ขายปลึก และการซ่อมแซมฯ โรงแรมและภัตตาคาร ตัวกลางทางการเงิน

การศึกษา

-13.5

11.1

-3.4 3.3

การบริการด้านสุ ขภาพฯ การให้บริการชุมชน สั งคมและบริการส่ วน

12.3

13.9

12.0

2.0 0.1 -31.6 -14.8 2.6

16.3 76.1 6.1

-3.4

ลูกจ้างในครัวเรือนส่ วนบุคคล

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด

2551 2552 2553 2.4 2.2 2.1 2.3 2.1 2.0

1.1 1.2 1.3 0.1 0.1 0.1 100.0 100.0 100.0

สรุปภาพรวม ภาพรวมขยายตัวรอยละ 6.1 จากที่หดตัวรอยละ 14.8 ในปที่ผานมา จําแนกเปน • สาขาการผลิตที่“ขยายตัว”จํานวน 9 สาขา ไดแก - สาขาอุตสาหกรรม (การผลิต) : ขยายตัว รอยละ 4.9 จากที่หดตัวรอยละ 20.5 ในปที่ผานมา เปนผลมาจากอุตสาหกรรมที่สําคัญของจังหวัดปทุมธานี มีมูลคาการผลิตที่เพิ่มขึ้น ไดแก การผลิตหมวดเครื่องมือ ที่ใชทางการแพทย การวัดความเที่ยง หมวดการผลิตอุปกรณและเครื่องมือวิทยุ โทรทัศนและการสื่อสาร หมวด การผลิตผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่ม และหมวดการผลิตกระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ

๔๙

- สาขาไฟฟา กาซและประปา : ขยายตัว รอยละ 12.4 จากที่หดตัวรอยละ 3.1 ในปที่ผานมา เนื่องจากปริมาณการใชไฟฟาทั้งจังหวัดขยายตัว ตามภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม และ การขยายตัวของหมวดการประปาที่ขยายตัวรอยละ 20.7 เมื่อเทียบกับการหดตัวรอยละ 0.5 ในปที่ผานมา - สาขาก อสร าง: ขยายตั วร อยละ 17.3 จากที่ หดตั วร อยละ 28.2 ในปที่ ผ านมา เนื่ องจากการ ขยายตัวของการกอสรางภาคเอกชน โดยเฉพาะการกอสรางประเภทอาคารที่ขยายตัวรอยละ 37.4 - สาขาการขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต จักรยานยนต ของใชสวนบุคคล และของ ใชในครัวเรือน: ขยายตัวรอยละ 9.8 จากที่ขยายตัวรอยละ 1.6 ในปที่ผานมา เนื่องมาจากการขยายตัวของการ ขายปลีกในรานคาเฉพาะอยางโดยเฉพาะการขายปลีกเครื่องมือ สิ่งของ และเครื่องใชในครัวเรือน - สาขาโรงแรมและภัต ตาคาร : ขยายตัว รอยละ 1.7 จากที่ หดตัว รอยละ 0.4 ในปที่ ผา นมา เนื่องจากการขยายตัวของทั้งหมวดโรงแรม คายพัก และที่พักชั่วคราวและหมวดภัตตาคาร รานขายอาหาร และ บารหดตัวลง - สาขาขนสง สถานที่เก็บสินคาและคมนาคม :ขยายตัวรอยละ 7.6 จากที่หดตัวรอยละ 6.7 ในปที่ ผานมา เนื่องจากการขยายตัวของหมวดการขนสงทางบกโดยเฉพาะกิจกรรมรถบรรทุกเอกชนที่ขยายตัวรอยละ 24.6 - สาขาตัวกลางทางการเงิน :ขยายตัวรอยละ 21.7 ตอเนื่องกับปที่ผานมาซึ่งขยายตัวรอยละ 20.6 เนื่องจากการขยายตัวของหมวดสถาบันการเงิน โดยเฉพาะธนาคารพาณิชยซึ่งขยายตัวรอยละ 26.1 - สาขาการใหบริการดานชุมชน สังคมและบริการสวนบุคคลอื่นๆ : ขยายตัวรอยละ 16.3 จากที่ ขยายตัวรอยละ 2.0 ในปที่ผานมา เนื่องจากการการขยายตัวของหมวดกิจกรรมนันทนาการ วัฒนธรรม และการ กีฬา โดยเฉพาะกิจกรรมบริการดานวิทยุและโทรทัศน ที่ขยายตัวรอยละ 26.5 - สาขาลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล: ขยายตัวรอยละ 76.1 จากที่หดตัวรอยละ 31.6 ในปที่ ผานมา • สาขาการผลิตที่ “ชะลอตัว” จํานวน 3 สาขา ไดแก - สาขาบริการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชาและบริการทางธุรกิจ : ชะลอตัวรอยละ 4.5 จากที่ ขยายตัวรอยละ 4.7 ในปที่ผานมาเนื่องจากการชะลอตัวลงของหมวดบริการดานอสังหาริมทรัพยโดยเฉพาะ กิจกรรมการใหเชาอาคารที่ไมใชอยูอาศัย- เอกชน ชะลอตัวรอยละ 17.6 จากที่ขยายตัวรอยละ 36.3 ในป ที่ผานมา - สาขาการศึกษา: ชะลอตัวรอยละ 3.2 จากที่ขยายตัวรอยละ 11.1 ในปที่ผานมา เนื่องจากใน หมวดบริการการศึกษาของภาครัฐบาลชะลอตัวรอยละ 4.5 เมื่อเทียบกับการขยายตัวรอยละ 21.3 ในปที่ผาน มา ในขณะที่หมวดบริการการศึกษาภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 1.1 จากที่หดตัวรอยละ 3.1 ในปที่ผานมา - สาขาการบริการดานสุขภาพและสังคม: ชะลอตัวรอยละ 12.0 จากที่ขยายตัวรอยละ 13.9 ใน ปที่ผานมา เนื่องจากการชะลอตัวของบริการดานสุขภาพและสังคมภาครัฐบาลชะลอตัวรอยละ 5.3 จาก ที่ ขยายตัวรอยละ 18.9 ในปที่ผานมา • สาขาการผลิตที่ “หดตัว” จํานวน 4 สาขา ไดแก - สาขาเกษตรกรรม การลาสัตวและการปาไม : หดตัวรอยละ 11.2 หดตัวตอเนื่องจากที่หดตัวรอย ละ 6.5 ในปที่ผานมา เนื่องจากการหดตัวถึงรอยละ 36.0 ในหมวดบริการทางการเกษตร และการหดตัวรอย ละ 14.5 ในหมวดการปลูกพืช

๕๐

- สาขาประมง: หดตัวรอยละ 5.8 หดตัวตอเนื่องจากที่หดตัวรอยละ 2.7 ในปที่ผานมา เนื่องจากการ หดตัวของหมวดการเพาะพันธุ/อนุบาลสัตวน้ําจืด ที่หดตัวรอยละ 25.2 จากปญหาเศรษฐกิจและความไม มั่นคงทางการเมืองและจากหมวดการประมงอื่นๆซึ่งมิไดจัดประเภทไวในที่อื่นๆที่หดตัวรอยละ 7.2 จากการหด ตัวของกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืดและการจับสัตวน้ําจืดจากแหลงน้ําธรรมชาติ - สาขาเหมืองแรและเหมืองหิน : หดตัวลง รอยละ 64.2 หดตัวตอเนื่องจากที่หดตัวรอยละ 10.1 ในปที่ผานมา เนื่องจากป 2552 ธุรกิจการขุดดินลดลง เปนผลมาจากกิจกรรมในจังหวัดมีเฉพาะธุรกิจการขุดดินเหนียวและดินขาว ซึ่งมีปริมาณการผลิตที่ลดลง และ ตอเนื่องมาถึงป 2553 ที่กิจการหลายแหงไดปดกิจการลงชั่วคราว - สาขาบริหารราชการและการปองกันประเทศรวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ : หดตัวรอยละ 3.4 จากที่ขยายตัวรอยละ 7.3 ในปที่ผานมาเนื่องจากการหดตัวของกิจกรรมการบริหารราชการสวนกลางที่หด ตัวรอยละ 11.59

3.2.2 เศรษฐกิจดานอุปทาน (ดานการผลิต) (1) ภาคการเกษตรของจังหวัดปทุมธานีป 2554 อยูในภาวะหดตัวเมื่อพิจารณามูลคาผลผลิต เนื่องจากพื้นที่ปลูกลดลงและปญหาอุทกภัยที่เกิดทั่วทั้งจังหวัดชวงไตรมาส 4 ทําใหปริมาณผลผลิตพืชที่ สําคัญของจังหวัดหดตัวทุกประเภท และราคาขาวนาปและถั่วฝกยาวหดตัวเนื่องจากผลผลิตเสียหายจาก อุทกภัยและมีคุณภาพลดลง ขณะที่ภาคปศุสัตวหดตัวเนื่องจากปญหาอุทกภัยทําให สุกรตายจํานวนหนึ่ง และราคาสุกรและไกเนื้อหดตัวในชวงอุทกภัย สาขาการเกษตรของจังหวัดปทุมธานีป 2554 อยูในภาวะหดตัวเมื่อเทียบกับปที่ผานมา จากพื้นที่ปลูกที่ลดลงและปญหาอุทกภัยชวงไตรมาส 4 ทําใหผลผลิตพืชที่สําคัญทุกชนิดหดตัว โดยผลผลิต กลวยน้ําวา ถั่วฝกยาว กลวยหอมทอง ขาวนาป และขาวนาปรังหดตัวรอยละ 82.91 59.21 52.49 24.05 และ 6.57 ตามลําดับ ดานราคา ราคาถั่วฝกยาวและขาวนาปหดตัวรอยละ 42.65 และ 11.86 จากปญหาอุทกภัยทําใหผลผลิตเสียหายและมีคุณภาพลดลง แตกลวยน้ําวา กลวยหอมทอง และขาวนา ปรังขยายตัวรอยละ 55.03 39.63 และ 3.45 ตามลําดับ เนื่องจากความตองการของตลาดที่สูงขึ้นแม จะประสบอุทกภัย ดานมูลคา มูลคากลวยน้ําวา ถั่วฝกยาว ขาวนาป กลวยหอมทอง และขาวนาปรัง หดตัว รอยละ 70.57 69.30 34.49 33.23 และ 12.82 ตามลําดับ เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่หดตัว มูลคา รวมเทากับ 3,692.09 ลานบาท หดตัวจากปที่ผานมารอยละ 31.23 หดตัวลดลงเมื่อเทียบกับปที่ผาน มาที่หดตัวรอยละ 42.14 เนื่องจากพื้นที่ปลูกที่ลดลงและปญหาอุทกภัยชวงไตรมาส 4 ทําใหผลผลิต ลดลง แตขาวนาปรังมีผลผลิตสวนใหญอยูในชวงไตรมาส 1 - 2 ไมไดรับผลกระทบจากอุทกภัยมากนัก ทํา ใหมูลคารวมหดตัวลดลง

๕๑

ตารางเครื่องชี้ดานเกษตรและอัตราการขยายตัว รายการ

หนวย

ผลผลิตขาวนาป ∆% ราคาขาวนาป ∆% มูลคาขาวนาป ∆% ผลผลิตขาวนาปรัง ∆% ราคาขาวนาปรัง ∆% มูลคาขาวนาปรัง ∆% ผลผลิตถั่วฝกยาว ∆% ราคาถั่วฝกยาว ∆% มูลคาถั่วฝกยาว ∆% ผลผลิตกลวยน้ําวา ∆% ราคากลวยน้ําวา ∆% มูลคากลวยน้ําวา ∆% ผลผลิตกลวยหอม ทอง ∆% ราคากลวยหอมทอง ∆% มูลคากลวยหอม ทอง ∆% มูลคารวม ∆%

ตัน รอยละ บาท/ตัน รอยละ ลานบาท รอยละ ตัน รอยละ บาท/ตัน รอยละ ลานบาท รอยละ ตัน รอยละ บาท/ตัน รอยละ ลานบาท รอยละ เครือ รอยละ บาท/ อ รเครื อยละ ลานบาท รอยละ เครือ รอยละ บาท/ อ รเครื อยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ

2553 ทั้งป 233,184.9 -28.103 7,613.79 -18.35 1,769.90 -39.04 313,417.9 -35.169 7,674.39 -9.88 2,348.21 -41.01 37,174.43 -48.17 14,757.86 -19.48 519.49 -61.95 5,470,417 -35.14 83.73 23.74 434.99 -24.09 2,963,809 -53.19 106.01 43.91 296.37 -35.15 5,368.95 -42.14

ไตรมาส 1 38,788.7 -44.175 8,053.24 -1.47 316.14 -43.29 89,487.5 -3.235 7,896.63 -2.36 644.89 -14.66 7,207.78 -65.17 12,628.5 -5.969 87.94 -68.35 381,704 -83.45 149.59 86.99 57.49 -68.85 304,981 -64.98 226.38 126.38 70.99 -18.47 1,177.46 -36.79

ไตรมาส 2 0.00 n/a 7,751.67 7.45 0.00 n/a 180,853.1 -2.224 6,833.33 -5.37 1,234.93 -6.24 4,794.87 -49.20 9,606.67 -25.83 47.33 -62.12 229,043 -84.88 126.61 63.72 28.10 -76.23 213,235 -77.94 158.67 61.90 34.19 -63.86 1,344.56 -18.75

2554 ไตรมาส 3 108,523.1 33.870 6,831.67 -8.58 722.03 23.95 22,473.50 -32.00 8,189.67 8.57 167.43 -33.20 2,439.26 -19.66 5,706.67 -55.12 17.85 -53.75 207,576 -81.73 145.93 92.01 30.57 -64.61 450,949 -45.50 111.07 14.50 50.28 -37.35 988.15 -4.84

ไตรมาส 4 29,798.6 -63.945 4,206.67 -44.61 121.26 -80.75 0.00 -100.00 8,836.67 12.63 0.00 -100.00 721.01 -82.00 5,910.00 -70.36 6.36 -91.85 116,834 -77.20 97.11 -4.42 11.88 -74.11 438,928 46.72 95.99 -25.62 42.44 23.31 181.93 -77.62

ทั้งป 177,110.5 -24.050 6,710.81 -11.86 1,159.43 -34.49 292,814.1 -6.579 7,939.07 3.45 2,047.25 -12.82 15,162.92 -59.21 8,462.98 -42.65 159.48 -69.30 935,157 -82.91 129.81 55.03 128.04 -70.57 1,408,093 -52.49 148.03 39.63 197.90 -33.23 3,692.09 -31.23

ที่มา : สํานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี หมายเหตุ : n/a หมายถึง ปที่ผานมาตัวเลขเทากับ 0 จึงไมสามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงได สาขาปศุสัตวของจังหวัดปทุมธานีป 2554 อยูในภาวะหดตัว โดยปริมาณสุกรหดตัวรอยละ 29.56 จากปญหาอุทกภัยทําใหสุกรตายเปนจํานวนมาก แตปริมาณกระบือ โคเนื้อ และไกเนื้อขยายตัว รอยละ 14.20 1.35 และ 0.52 ตามลําดับ เนื่องจากมีการอพยพโคเนื้อและกระบือในชวงอุทกภัยจึง ไมไดรับความเสียหายมาก ดานราคา ราคาไกเนื้อและสุกรหดตัวรอยละ 24.18 และ 7.13 ตามลําดับ เนื่องจากราคาหดตัวมากในชวงอุทกภัย แตราคาโคเนื้อและกระบือขยายตัวรอยละ 6.98 และ 1.63 จาก ความต องการสิ น ค า ของตลาด ด านมู ล ค า มู ล ค าสุ กรและไก เ นื้ อหดตั ว ร อ ยละ 34.57 และ 24.18 ตามลํ าดั บ แต ก ระบื อ และโคเนื้ อ ขยายตั ว ร อ ยละ 16.07 และ 8.43 ตามลํ า ดั บ มู ล ค า รวมเท า กั บ 297.83 ลานบาท หดตัวจากปที่ผานมารอยละ 2.04 หดตัวลดลงเมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่หดตัวรอยละ

๕๒

16.59 เนื่องจากปริมาณสุกร ราคาสุกร และราคาไกเนื้อลดลงจากอุทกภัย แตปริมาณและราคาโคเนื้อ และกระบือยังขยายตัว ทําใหมูลคารวมหดตัวลดลงเมื่อเทียบกับปที่ผานมา ตารางเครื่องชี้ดานผลิตปศุสัตวและอัตราการขยายตัว 2551- 2554 รายการ ปริมาณโคเนื้อ ∆% ราคาโคเนื้อ ∆% มูลคาโคเนื้อ ∆% ปริมาณกระบือ ∆% ราคากระบือ ∆% มูลคากระบือ ∆% ปริมาณสุกร ∆% ราคาสุกร ∆% มูลคาสุกร ∆% ปริมาณไกเนื้อ ∆% ราคาไกเนื้อ ∆% มูลคาไกเนื้อ ∆% มูลคารวม ∆%

หนวย ตัว รอยละ บาท/ก.ก. รอยละ ลานบาท รอยละ ตัว รอยละ บาท/ก.ก. รอยละ ลานบาท รอยละ ตัว รอยละ บาท/ก.ก. รอยละ ลานบาท รอยละ ตัว รอยละ บาท/ก.ก. รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ

2552 2553 ทั้งป ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ทั้งป 9,606 9,871 9,871 9,871 9,736 9,736 -23.24 -23.62 -20.45 -18.22 1.35 1.35 50.46 46.00 56.44 60.00 53.50 53.98 2.72 -7.80 12.88 17.39 5.23 6.98 169.65 158.92 194.99 207.29 182.31 183.96 -21.16 -29.57 -10.20 -4.00 6.66 8.43 1,570 1,830 1,830 1,830 1,793 1,793 1.16 7.90 7.46 8.54 14.20 14.20 52.00 50.93 52.73 55.67 52.07 52.85 2.70 1.19 -2.65 6.71 1.43 1.63 32.66 37.28 38.60 40.75 37.34 37.90 3.89 9.19 4.61 15.82 15.84 16.07 6,723 7,618 7,618 7,483 4,736 4,736 -6.22 3.49 0.97 0.15 -29.56 -29.56 61.10 60.22 63.93 71.12 31.73 56.75 3.82 6.35 2.29 14.01 -49.56 -7.13 41.08 45.87 48.70 53.22 15.03 26.88 -2.64 10.07 3.28 14.17 -64.47 -34.57 737,380 206,033 212,120 212,120 110,925 741,198 -11.53 17.33 24.70 14.04 -46.07 0.52 41.48 35.60 35.60 35.60 18.99 31.45 -5.86 -15.96 -29.12 -5.07 -46.99 -24.18 60.65 14.67 15.10 15.10 4.21 49.09 -19.90 -1.39 -11.61 8.26 -71.41 -19.06 304.04 256.75 297.40 316.36 238.89 297.83 -16.59 -18.84 -6.56 1.50 -8.19 -2.04

ที่มา : สํานักงานปศุสัตวจังหวัดปทุมธานี สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) ภาคนอกการเกษตร ด า นอุ ต สาหกรรมขยายตั ว จากความต อ งการสิ น ค า ของ ตลาดโลกและตลาดโลก แมจะประสบปญหาอุทกภัยในชวงไตรมาส 4 ขณะที่ภาคบริการหดตัวจากปญหา อุทกภัยในชวงไตรมาส 4 ทําใหโรงแรมในจังหวัดจํานวนหนึ่งไมสามารถเปดดําเนินการได สาขาอุตสาหกรรม สาขาอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานีป 2554 อยูในชวงขยายตัว เมื่อเทียบกับปที่ ผานมา พิจารณาจากจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม มีจํานวน 3,104 โรง ขยายตัวจากปที่ผานมารอยละ 4.51 ขยายตัวตอเนื่องจากปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 4.14 จํานวนเงินทุนจดทะเบียน 3.80 แสนลาน บาท ขยายตัวจากปที่ผานมารอยละ 4.40 ขยายตัวตอเนื่องจากปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 3.41 จํานวนแรงงานอยูที่ 286,000 คน ขยายตัวจากปที่ผานมารอยละ 4.00 ฟนตัวจากปที่ผานมาที่หดตัว รอยละ

๕๓

0.36 สาเหตุเพราะอุตสาหกรรมในจังหวัดมีการขยายตัวตามความตองการสินคาของตลาดโลกและตลาดใน ประเทศ แมจะประสบปญหาอุทกภัยในชวงไตรมาส 4 และยอดขายที่ผูประกอบการแจงเสียภาษีมูลคาเพิ่ม ของภาคอุตสาหกรรม มีมูลคา 494,755.48 ขยายตัวรอยละ 2.61 ชะลอตัวเมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่ ขยายตัวรอยละ 15.98 เพราะอุตสาหกรรมในจังหวัดมีการขยายตัวตามความตองการสินคาของตลาดโลก และตลาดในประเทศ แตปญหาอุทกภัยชวงไตรมาส 4 ทําใหการขยายตัวชะลอตัวลง ตารางแสดงเครื่องชี้ดานอุตสาหกรรมและอัตราการขยายตัว สาขาการบริการและการทองเที่ยว สาขาการบริการและการทองเที่ยวจังหวัดปทุมธานีในป 2554 อยูในชวงหดตัว เมื่อเทียบ กับปที่ผานมา พิจารณาจากมูลคาภาษีบํารุงทองถิ่นจากโรงแรมจํานวน 632,671.00 บาท ลดลงจากป ที่ผานมารอยละ 14.35 เนื่องจากปญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นทั่วทั้งจังหวัดในชวงไตรมาส 4 ทําใหกิจการ โรงแรมสวนหนึ่งไมสามารถเปดบริการได และ องคการบริหารสวนจังหวัดปทุมธานีไมสามารถจัดเก็บภาษี ได ขณะที่จํานวนโรงแรมมี 48 แหง และหองพักมี 2,885 หอง รายการ

หนวย

2552

2553

ทั้งป

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ทั้งป

โรง

2,970

2,991

3,054

3,102

3,104

3,104

รอยละ

4.14

3.46

4.66

5.87

4.51

4.51

แสนลานบาท

3.64

3.67

3.73

3.80

3.80

3.80

%

รอยละ

3.41

2.51

3.90

5.85

4.40

4.40

จํานวนแรงงาน

พันคน

275

276

279

285

286

286

%

รอยละ

-0.36

1.10

1.82

4.01

4.00

4.00

โรง

171

28

70

56

9

163

%

รอยละ

54.05

-33.33

48.94

19.15

-83.02

-13.76

ทุนจดทะเบียน

ลานบาท

6,906

1,051

3,371

4,893

1,746

11,061

%

รอยละ

63.84

-14.97

96.45

330.72

-38.04

60.17

คน

5,076

543

2,591

3,310

1,337

7,781

รอยละ

1.46

-58.33

50.38

92.11

-6.18

26.03

โรง

55

7

4

11

7

29

%

รอยละ

-15.38

133.33

-76.47

-47.62

-50.00

-47.27

ทุนจดทะเบียน

ลานบาท

2,805

66

72

112

2,104

2,354

%

รอยละ

-15.55

-37.74

-88.50

-94.30

1,830.28

-16.08

คน

2,409

504

84

389

762

1,739

%

รอยละ

-18.83

61.54

-86.30

-44.35

-2.93

-27.81

ยอดขายที่ผูประกอบการแจงเสียภาษีมูลคาเพิม่ ของ ภาคอุตสาหกรรม

ลานบาท

482,190.66

126,166.93

137,073.95

147,371.79

84,142.81

494,755.48

%

รอยละ

15.98

13.52

18.54

19.69

-36.39

2.61

โรงงานอุตสาหกรรม จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม % ทุนจดทะเบียน

โรงงานที่เปดดําเนินการใหม จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม

จํานวนแรงงาน % โรงงานที่เลิกกิจการ จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม

จํานวนแรงงาน

๕๔

ตารางแสดงเครื่องชี้ดานการทองเที่ยวและอัตราการขยายตัว 2552 ทั้งป

รายการ

หนวย

ภาษีบํารุงทองถิ่นจากโรงแรม

บาท รอยละ แหง รอยละ หอง รอยละ

%

จํานวนโรงแรม

%

จํานวนหองพัก

%

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

2553 ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

738,665.00 185,289.00 191,029.00 191,701.00 64,652.00 2.99 3.96 3.58 2.25 -65.71

48 0.00 2,885 0.00

48 0.00 2,885 0.00

48 0.00 2,885 0.00

48 0.00 2,885 0.00

ทั้งป 632,671.00 -14.35

48 0.00 2,885 0.00

3.2.3 เศรษฐกิจดานอุปสงค (ดานการใชจาย) (1) การบริโภคภาคเอกชน ป 2554 การบริ โ ภคภาคเอกชนของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ช ะลอตั ว เมื่ อ เที ย บกั บ ป ที่ ผ า นมา พิ จ ารณา ภาษีมูลคาเพิ่ม ป 2554 จังหวัดปทุมธานีเก็บภาษีมูลคาเพิ่มจํานวนทั้งสิ้น 10,609.15 ลานบาท ขยายตัวจากปที่ ผานมา รอยละ 3.41 ชะลอตัวเมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 18.37 เนื่องจากป 2554 มีการเพิ่มคาแรงขั้น ต่ําและเศรษฐกิจขยายตัว แตปญหาอุทกภัยที่เกิดทั่วทั้งจังหวัดในชวง ไตรมาส 4 ทําใหการบริโภคหยุดชะงัก การบริโภค ป 2554 จึงชะลอตัว การจดทะเบียนรถใหม ป 2554 การจดทะเบียนรถบรรทุกสวนบุคคล รถยนตนั่งสวนบุคคล และ รถจักรยานยนตหดตัวรอยละ 36.04 13.49 และ 9.97 เนื่องจากเหตุการณสึนามิในประเทศญี่ปุนและปญหาอุทกภัย ที่เกิดทั่วทั้งจังหวัดในชวงไตรมาส 4 ทําใหการจดทะเบียนรถหดตัวทุกประเภท

ตารางแสดงเครื่องชี้วัดการบริโภคภาคเอกชนและอัตราการขยายตัว 2553 รายการ

ทั้งป

รถยนตนั่งสวน บุคคล % รถจักรยานยนต % รถบรรทุกสวน บุคคล % ภาษีมูลคาเพิ่ม %

2554

หนวย ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

682

218

160

179

33

590

รอยละ

12.17

-2.68

-3.03

5.92

-73.39

-13.49

คัน

1,585

502

396

404

125

1,427

รอยละ

-6.60

16.74

-6.60

-0.98

-61.30

-9.97

505

111

106

89

17

323

43.06

-32.73

-2.75

-19.09

-85.95

-36.04

10,259.48

2,796.31

2,884.33

2,961.42

1,967.09

10,609.15

18.37

13.09

15.34

18.73

-29.55

3.41

คัน

คัน รอยละ ลาน บาท รอยละ

ไตรมาส 4

ทั้งป

(2) การลงทุนภาคเอกชน ในป 2554 การลงทุนภาคเอกชนอยูในชวงทรงตัวจากปที่ผานมา โดยพิจารณาจากจํานวน สถานประกอบการประเภทธุรกิจนิติบุคคลจดทะเบียนใหมในป 2554 มีจํานวน 2,489 ราย ขยายตัว จากปที่ผานมารอยละ 7.33 แตชะลอตัวเมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 30.35 ทุนจดทะเบียน จํานวน 3,997.06 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 11.56 ตามความตองการสินคาที่สูงขึ้น แตปญหาอุทกภัย

48 0.00 2,885 0.00

๕๕

ชวงไตรมาส 4 ทําใหจํานวนนิติบุคคลจดทะเบียนใหมชะลอตัว ขณะที่กิจการที่ไดรับ BOI มีจํานวน 80 ราย หดตัว รอยละ 10.11 ทุนกิจการที่ไดรับ BOI จํานวน 13,137.30 ลานบาท หดตัวรอยละ 62.32 จากการสงเสริมการลงทุนที่สูงในป 2553 พื้นที่กอสราง จํานวน 1,858,767 ตารางเมตร หด ตัวรอยละ 29.18 เกิดจากการหดตัวของพื้นที่กอสรางอาคารและสิ่งกอสรางอื่นๆ ที่อยูอาศัย และอาคาร อุตสาหกรรม รอยละ 67.61 33.91 และ 25.66 ตามลําดับ จํานวนรถยนตเพื่อการพาณิชยมีจํานวน 634 คัน หดตัวรอยละ 2.16 จากเหตุการณสึนามิในประเทศญี่ปุนและปญหาอุทกภัยในจังหวัด ตารางแสดงเครื่องชี้วัดการลงทุนภาคเอกชน และอัตราการขยายตัว รายการ กิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน(BOI) โครงการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน % ทุนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน % ธุรกิจนิติบุคคลจดทะเบียนใหม จํานวนธุรกิจนิติบุคคล % ทุนธุรกิจนิติบุคคล % ธุรกิจนิติบุคคลเลิกกิจการ จํานวนธุรกิจนิติบุคคล % พื้นทีก่ อสราง % ขนาดพืน้ ทีก่ อสรางทีอ่ ยูอาศัย % ขนาดพืน้ ทีก่ อสรางอาคารพาณิชย % ขนาดพืน้ ทีก่ อสรางอาคารอุตสาหกรรม % ขนาดพืน้ ทีก่ อสรางอาคารและสิ่งกอสราง อื่นๆ % รถยนตพาณิชยจดทะเบียนใหม จํานวนรถยนตพาณิชยจดทะเบียนใหม %

หนวย ราย รอยละ ลาน บาท รอยละ

2553 ทั้งป ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 89 23 22 48.33 -11.54 -12.00 34,866.26 2,860.40 6,742.50

2554 ไตรมาส 3 18 5.88 694.90

ไตรมาส 4 ทั้งป 17 80 -33.33 -10.11 2,839.50 13,137.30

92.87

-20.00

-57.95

-94.47

5.28

-62.32

ราย รอยละ ลาน บาท รอยละ

2,319 30.35 3,582.82

739 13.52 1,695.02

707 37.82 959.46

740 5.87 954.70

303 -33.55 387.88

2,489 7.33 3,997.06

11.27

50.66

23.82

2.73

-48.53

11.56

ราย รอยละ ตร.ม. รอยละ ตร.ม. รอยละ ตร.ม. รอยละ ตร.ม. รอยละ ตร.ม.

556 -18.24 2,624,697 -2.67 1,825,030 -15.63 130,951 36.14 528,881 60.28 139,835

86 -18.87 611,742 -8.59 387,448 -22.08 53,734 33.40 153,638 51.13

55 -25.68 611,582 32.65 390,870 23.68 94,193 239.21 115,257 35.16

126 21.15 548,470 -32.78 361,190 -38.69 59,548 96.72 112,681 -14.44 15,051

160 -41.18 86,973 -87.18 66,582 -84.25 6,736 -79.36 11,598 -94.48 2,057

427 -23.20 1,858,767 -29.18 1,206,089 -33.91 214,212 63.58 393,175 -25.66 45,292

รอยละ

30.31

16,922 -43.60

11,262 -64.76

-76.77

-84.28

-67.61

คัน รอยละ

648 6.23

159 -14.52

139 -13.66

250 73.61

86 -45.22

634 -2.16

ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัด สํานักงานสถิติจังหวัด และ สํานักงานขนสงจังหวัด

๕๖

9 กราฟแสดงธุรกิจนิติบุคคลจดทะเบียนใหม ( พ.ศ. 2551 – 2554) กราฟธุรกิจนิติบุคคลจดทะเบียนใหม (พ.ศ. 2551-2554)

ราย

% YOY 80 60 40 20 0 -20 -40

800 700 600 500 400 300 200 100 0 Q 1 51 Q 2

Q3

Q 4 Q 1 52 Q 2

Q3

Q 4 Q 1 53 Q 2

Q3

% YOY

ธุรกิจจดทะเบียนใหม

Q 4 Q 1 54 Q 2

Q3

Q4

2 per. Mov. Avg. (ธุรกิจจดทะเบียนใหม)

ที่มา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัด

กราฟแสดงจํานวนทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม (พ.ศ. 2551– 2554) ลานบาท

% YOY

กราฟทุนจดทะเบียนธุรกิจนิตบิ คุ คลใหม (พศ. 2551-2554)

2,500

200 150 100 50 0 -50 -100

2,000 1,500 1,000 500 0 Q 1 51 Q 2

Q3

Q 4 Q 1 52 Q 2

Q3

Q 4 Q 1 53 Q 2

Q3

% YOY

ทุนจดทะเบียนใหม

Q 4 Q 1 54 Q 2

Q3

Q4

2 per. Mov. Avg. (ทุนจดทะเบียนใหม)

ที่มา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัด

กราฟแสดงจํานวนทุนจดทะเบียนกิจการที่ไดรับ BOI (พ.ศ. 2551 – 2554) ลานบาท

% YOY

กราฟแสดงทุนจดทะเบียนกิจการทีไ่ ดรบั BOI (พศ. 2551-2554)

18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

700 600 500 400 300 200 100 0 -100 -200 Q 1 51 Q 2

Q3

Q 4 Q 1 52 Q 2

ทุนจดทะเบียน BOI

ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

Q3

Q 4 Q 1 53 Q 2 % YOY

Q3

Q 4 Q 1 54 Q 2

Q3

Q4

2 per. Mov. Avg. (ทุนจดทะเบียน BOI)

๕๗

3.2.4 เศรษฐกิจดานการเงิน (1) การเงิน-การธนาคาร ป 2554 เศรษฐกิจดานการเงินอยูในภาวะชะลอตัว พิจารณาจากปริมาณเงินฝากธนาคารพาณิชยจังหวัด ปทุมธานีมีจํานวน 183,735.00 ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผานมา 6,275.00 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 3.54 โดยชะลอตัวเมื่อเทียบกับเดือนที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 11.72 เพราะประชาชนมีความเชื่อมั่นตอสถาบัน การเงินและไมตองการลงทุน แตปญหาอุทกภัยในจังหวัดชวงไตรมาสที่ 4 ทําใหประชาชนนําเงินไปใชบริโภคสินคายังชีพ และซอมแซมบานเรือนและวัสดุที่เสียหาย การขยายตัวของเงินฝากจึงเปนไปในอัตราชะลอตัว ขณะที่ปริมาณสินเชื่อธนาคารพาณิชยในป 2554 มีจํานวน 114,365.00 ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผาน มา 5,825.00 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 5.37 ชะลอตัวเมื่อเทียบกับเดือนที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 6.94 จาก การขยายตัวของการบริโภค และการขยายสินเชื่อของธนาคาร แตปญหาอุทกภัย ทําใหประชาชนนําเงินไปใชบริโภคสินคา ยังชีพและซอมแซมบานเรือนและวัสดุที่เสียหายเปนหลัก การขยายตัวของสินเชื่อจึงเปนไปในอัตราชะลอตัว ธนาคารเพื่อ การเกษตร และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ปริมาณเงินฝาก ธ.ก.ส. ป 2554 จํานวน 9,643.00 ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผานมา 1,222.00 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 14.51 ขยายตัวตอเนื่องเมื่อ เที ย บกั บ เดื อ นที่ ผ า นมาที่ข ยายตั วร อ ยละ 13.35 เพราะนโยบายปลู กข า วปล ะ 2 ครั้ ง และปญ หาอุ ท กภั ย ทํ า ให ประชาชนมีแนวโนมที่จะฝากเงินแทนการลงทุน ปริมาณสินเชื่อ ธ.ก.ส. ป 2554 จํานวน 2,679.11 ลานบาท ขยายตัวจากชวงเดือนเดียวกันของปที่ผาน มา 335.11 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 14.30 ขยายตัวตอเนื่องเมื่อเทียบกับเดือนที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 9.97 เพราะรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนภาคการเกษตร เชน นโยบายอุดหนุนราคาขาวซึ่งเปนผลผลิตหลักของจังหวัด และในชวงเกิดอุทกภัย ธ.ก.ส. มีมาตรการชวยเหลือผูประสบอุทกภัยเชนกูฟนฟู พักชําระหนี้

ตารางแสดงเครื่องชี้วัดดานการเงินและอัตราการขยายตัว รายการ

หนวย

จํานวนสาขาธนาคาร พาณิชย

แหง

%

ปริมาณเงินฝาก

%

ปริมาณสินเชื่อ

%

ปริมาณเงินฝาก ธ.ก.ส.

%

ปริมาณสินเชื่อ ธ.ก.ส.

%

ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท

2553 ทั้งป 170

ไตรมาส 1 170

ไตรมาส 2 173

2554 ไตรมาส 3

173

ไตรมาส 4

174

ทั้งป

174

2.41

2.41

2.98

2.37

2.35

2.35

177,460.00 16.16 108,540.00 18.74 8,421.00 13.35 2,344.00 9.84

179,066.00 23.21 110,806.00 15.85 9,264.79 11.66 2,514.10 6.71

173,838.00 16.01 114,830.00 14.82 9,495.00 20.01 2,446.00 -9.34

176,379.00 8.84 114,896.00 10.73 9,416.73 17.34 2,482.83 2.05

183,735.00 3.54 114,365.00 5.37 9,643.00 14.51 2,679.11 14.30

183,735.00 3.54 114,365.00 5.37 9,643.00 14.51 2,679.11 14.30

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร

๕๘

3.2.5 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (1) ดานระดับราคา ป 2554 อัตราเงินเฟอของจังหวัดปทุมธานีวัดจากดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดจากรายการ สินคาและบริการจํานวน 271 รายการ ครอบคลุมสินคา 7 หมวดหมู เมื่อเทียบกับปที่ผานมา ดัชนี ราคาขยายตัวรอยละ 4.3 จากการขยายตัวของดัชนีราคาสินคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม รอยละ 8.7 จากหมวดอาหารบริโภคในบ าน รอยละ 20.4 เนื้อสัตว เปดไก และสัต วน้ํา รอยละ 11.6 ไขและ ผลิตภัณฑนม รอยละ 8.8 อาหารบริโภคนอกบาน รอยละ 7.6 เครื่องประกอบอาหาร รอยละ 6.1 ผัก และผลไม รอยละ 4.4 ขาว แปงและผลิตภัณฑจากแปง รอยละ 2.6 เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล รอยละ 1.3 สําหรับดัชนีราคาสินคาหมวดอื่น ๆ ไมใชอาหารและเครื่องดื่ม ขยายตัวรอยละ 0.9 จากหมวดการบันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา รอยละ 6.8 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล รอยละ 3.1 หมวดการตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล รอยละ 1.7 หมวดเคหสถานรอยละ 1.5 หมวดเครื่องนุงหม และรองเทา รอยละ 0.1 ขณะทีห่ มวดพาหนะ การขนสงและการสื่อสาร หดตัวรอยละ 1.1 ดัชนีราคาผูผลิต ของป 2554 ขยายตัวจากชวงเดือนเดียวกันของปที่ผานมารอยละ 4.5 สาเหตุจากการขยายตัวของดัชนีราคาหมวดผลผลิตเกษตรกรรม รอยละ 1.9 ตามการขยายตัวของราคา หมวดผลผลิตการเกษตรรอยละ 0.8 สัตวมีชีวิตและผลิตภัณฑ รอยละ 6.4 ผลิตภัณฑจากปา รอยละ 17.4 ปลาและสัตวน้ํา รอยละ 6.5 หมวดผลิตภัณฑจากเหมือง รอยละ 7.3 ตามการขยายตัวของราคา ปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ รอยละ 9.1 แรโลหะ รอยละ 0.8 หมวดผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รอยละ 4.9 ตามการขยายตัวของราคาหมวดผลิตภัณฑอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบ รอยละ 4.9 ผลิตภัณฑ ปโตรเลียม รอยละ 18.2 ผลิตภัณฑอโลหะ รอยละ 2.8 สิ่งทอและผลิตภัณฑสิ่งทอ รอยละ 4.6 โลหะขั้น มูลฐานและผลิตภัณฑโลหะ รอยละ 6.8 ยานพาหนะและอุปกรณ รอยละ 2.3 และสินคาอุตสาหกรรมอื่น ๆ รอยละ 13.7 ตารางแสดงเครื่องชี้วัดดานราคาและอัตราการขยายตัว รายการ

หนวย

ดัชนีราคาผูบริโภค ∆%

รอยละ

ดัชนีราคาผูผลิต ∆%

รอยละ

2553 ทั้งป

2554 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ทั้งป

108.5

109.9

113.5

112.7

113.2

113.2

3.4

3.5

5.9

4.6

4.3

4.3

132.1

137.4

138.7

139.1

138.0

138.0

6.7

5.9

4.5

5.6

4.5

4.5

ที่มา : www.price.moc.go.th

(2) ดานการจางงาน ป 2554 ภาวะการจางงานของจังหวัดปทุมธานีอยูในภาวะชะลอตัว พิจารณาจากการจาง งานของผูประกันตนในระบบประกันสังคม มีจํานวน 436,610 ราย ขยายตัวรอยละ 0.42 เมื่อเทียบกับ ปที่ผานมา โดยชะลอตัวเมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่ขยายตัวรอยละ 4.47 เนื่องจากป 2554 มีการเพิ่ม จํานวนโรงงานและกิจการมาก แตปญหาอุทกภัยที่เกิดทั่วทั้งจังหวัดทําใหการขยายตัวของแรงงานชะลอตัว ขณะที่คาจางขั้นต่ําเทากับ 215 บาทตอวัน ขยายตัวรอยละ 4.88 ตามการปรับคาจางขั้นต่ําทั่วประเทศ

๕๙

ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2554 เปนตนไป จํานวนตําแหนงงานวาง มีจํานวน 6,741 ตําแหนง หดตัวรอยละ 2.87 หดตัวลดลงจากปที่ผานมาที่หดตัวรอยละ 13.67 จากปญหาอุทกภัยที่เกิด ทั่วทั้งจังหวัดชวงไตรมาส 4 ทําใหเศรษฐกิจจังหวัดหยุดชะงักและไมมีความตองการแรงงานเพิ่ม จํานวนผู วางงาน 3,189 คน ขยายตัวรอยละ 167.98 จากปญหาอุทกภัยทําใหมีการวางงานเพิ่มขึ้น โดยรวมการ จางงานชะลอตัว จากปญหาอุทกภัยที่เกิดทั่วทั้งจังหวัดทําใหจํานวนผูประกันตนระบบประกันสังคมชะลอ ตัว จํานวนตําแหนงงานวางหดตัว และจํานวนผูวางงานขยายตัว ตารางแสดงเครื่องชี้วัดดานการจางงาน และอัตรา การขยายตัว รายการ

หนวย

จํานวนผูประกันตน ระบบประกันสังคม % คาแรงขั้นต่ํา % จํานวนตําแหนงงานวาง % จํานวนผูว างงาน %

คน รอยละ บาท/วัน รอยละ ตําแหนง รอยละ คน รอยละ

2553 ทั้งป

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

2554 ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ทั้งป

434,795

439,634

447,178

458,798

436,610

436,610

4.99 205 0.99 6,940 -13.67 1,190 -15.00

4.82 215 4.88 3,127 172.15 1,843 11.43

4.81 215 4.88 2,399 32.83 2,025 -8.78

5.65 215 4.88 1,021 -53.65 1,591 -6.74

0.42 215 4.88 194 -89.11 3,189 167.98

0.42 215 4.88 6,741 -2.87 3,189 167.98

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโนมของจังหวัดปทุมธานี Indicators

Unit

2555F Consensus

2549

2550

2551

2552

2553

2554 E

189,896 21.8 122,310 27.6 795,070 1.6 238,842

198,252 4.4 127,308 4.1 805,803 1.3 246,030

226,432 14.2 139,610 9.7 815,223 1.2 277,755

257,371 13.7 161,057 15.4 821,004 0.7 313,483

290,771 13.0 181,132 12.5 832,781 1.4 349,157

304,435 4.7 180,318 -0.4 840,365 0.9 362,265

319,630 5.0 183,022 1.5 846,248 0.7 377,702

328,695 8.0 186,287 3.3 846,668 0.8 388,222

337,314 10.8 189,288 5.0 846,920 0.8 398,283

Min

Max

Economic Growth

GPP per capita

Million Baht %yoy Million Baht %yoy Person %yoy Baht/person/year

Agriculture (API) Industry (IPI) Service (SI)

%yoy %yoy %yoy

27.5 6.1 1.0

32.7 4.2 4.6

7.3 6.1 7.5

59.7 0.5 -3.2

-34.9 7.6 7.3

-37.4 -0.4 -1.4

11.0 -3.8 0.0

18.7 -2.8 0.4

26.5 -2.0 1.1

Private Consumption (Cp) Private Investment (Ip) Government Expenditure (G)

%yoy %yoy %yoy

27.2 20.7 15.5

9.5 8.0 21.3

7.7 23.7 10.8

2.1 12.8 13.6

18.3 18.5 -5.6

1.6 5.5 11.9

19.1 8.6 10.7

21.6 12.6 13.2

24.1 16.0 15.8

Farm Income Paddy Price

%yoy Bath per Ton

34.1 6,587

25.3 6,288

55.4 10,210

53.6 8,823

-40.1 7,705

-32.4 8,528

49.4 13,650

71.3 14,716

94.8 15,781

Inflation rate GPP Deflator

%p.a. %yoy

6.3 -5.8

1.2 0.3

3.6 6.6

4.8 5.1

3.3 3.5

3.6 4.7

3.8 5.8

Person

451,826

476,492

454,304

456,912

482,402

457,360

460,656

464,636

468,294

7.1

5.5

-4.7

0.6

5.6

-5.2

0.7

1.6

2.4

GPP current prices GPP constant price: 1988 Population

Employment

yoy

Economic Stabilities 4.2 -0.8 4.6 -1.7

๖๐

3.3 สถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของจังหวัดปทุมธานี 3.3.1 ทรัพยากรปาไม สถานการณ จังหวัดปทุมธานี ไมมีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ มีเพียงเขตหามลาสัตวปาวัดไผลอมและวัด อั ม พุ ว ราราม สั ง กั ด กรมอุ ท ยานแห ง ชาติ สั ต ว ป า และพั น ธุ พื ช โดยได รั บ การประกาศเมื่ อ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2551 เปนตนมา ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 74 ไร นอกจากนี้ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี ยังมีหนาที่กํากับ ดูแล การอนุญาตใหทําอุตสาหกรรมไม และของปาหวง หาม รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักรลักษณะอุตสาหกรรมตอเนื่อง จํานวน 12 ราย 2. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักร (โรงเลื่อยจักร) จํานวน 11 ราย 3. โรงงานแปรรูปไมโดยใชเครื่องจักรเพื่อประดิษฐกรรม จํานวน 169 ราย 4. โรงคาไมแปรรูป จํานวน 105 ราย 5. สถานที่คาหรือมีไวในครอบครองเพื่อการคาซึ่งสิ่งประดิษฐ จํานวน 120 ราย 6. ใบอนุญาตคาของปาหวงหาม จํานวน 5 ราย ผูประกอบการรวมทั้งหมด 422 คน สําหรับในสวนการปฏิบัติการปองกันการลักลอบทําไมพยุง หรือไมมีคาทางเศรษฐกิจที่ไดมาโดยชอบดวย กฎหมายเขาในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ไดเตรียมปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมาย โดยได จั ด ตั้ ง ศู น ย ป ระสานงานแก ไ ขป ญ หาลั ก ลอบตั ด ไม พยุ ง ตั้ ง อยู ณ สํ า นั ก งานบริ ห ารพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ ที่ 9 (อุบลราชธานี) ในสวนของกรมปาไม มีศูนยประสานงานปาไมปทุมธานี สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 5 (สระบุรี) 3.3.2 ทรัพยากรสัตวปา สถานการณ จังหวัดปทุมธานี มีเขตหามลาสัตวปาวัดไผลอมและวัดอัมพุวราราม สังกัดกรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช โดยไดรับการประกาศเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2551 เปนตนมา ครอบคลุม เนื้อที่ประมาณ 74 ไร เปนถิ่นที่อาศัยเกาแกของนกปากหาง จากการสํารวจเมื่อป ๒๕๓๙ พบจํานวน ๘๔,๗๘๘ ตัว และพบที่อาศัยในพื้นที่อื่นอีก ๒๕๔ ชนิด ทั้งที่เปนนกประจําถิ่นและนกอพยพ 3.3.3 คุณภาพน้ํา สถานการณ จังหวัดปทุมธานีมีการเพิ่มขึ้นของชุมชนอยางรวดเร็ว แบงเปนเขตเทศบาลถึง ๒๗ แหง มีโครงการหมูบานจัดสรรเกิดขึ้นหลายรอยโครงการ มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน อุตสาหกรรมถึง ๒,๘๓๓ โรง (สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี, ๒๕๕๒) นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ เกษตรกรรมประมาณรอยละ ๖๐ ของพื้นที่จังหวัด ซึ่งเขตชุมชนเมือง โรงงานอุตสาหกรรม และพื้นที่ เกษตรกรรมตางก็เปนแหลงที่กอใหเกิดน้ําเสียดวยกันทั้งสิ้น จากสถิติขอมูลกองตรวจสิ่งแวดลอมโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทําใหทราบวา ปริมาณมลพิษทางน้ําที่เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมดประมาณ ๙๗.๔๗ ตัน/วัน ซึ่งมลพิษทางน้ํา เหลานี้บางสวนไดรับการบําบัดจนไดมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้ง และบางสวนก็ไมไดรับการบําบัดกอนระบาย น้ําทิ้งลงสูแหลงรองรับน้ําเลย จึงสงผลใหคุณภาพน้ําในแหลงรองรับน้ําตาง ๆ ของจังหวัดปทุมธานี

๖๑

โดยเฉพาะอยางยิ่งแมน้ําเจาพระยาและคลองสาขาตาง ๆ มีคุณภาพเสื่อมโทรมลงและมีแนวโนมที่จะทวี ความรุนแรงมากขึ้นทุกๆ ป โดยเฉพาะแมน้ําเจาพระยาซึ่งไหลผานจังหวัดปทุมธานี บริเวณอําเภอเมือง อําเภอสามโคก พบคุณภาพน้ําอยูในประเภทที่ ๔ ไมสามารถใชอุปโภคบริโภคได จากขอมูลผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําอัตโนมัติของจังหวัดปทุมธานี 2 แหง ไดแก สถานีสามโคกและ สถานีสํ าแล ทําการตรวจวัด แม น้ําเจ าพระยาพบว า ระดับ คุณภาพน้ําอยู ในเกณฑป กติ พิจ ารณาจาก พารามิเตอรที่ตรวจวัดคือ คาความเปนกรดดาง ปริมาณออกซิเจนละลาย คาความนําไฟฟา และคาความ เค็ม ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําผิวดิน (แมน้ําเจาพระยา) ปงบประมาณ ๒๕๕๔ คาที่ตรวจวัดได แหลงน้ํา/สถานที่ ตรวจวัด (แมน้ําสายหลัก/ สาขา/คลอง)

วันที่เก็บ ตัวอยาง

สถานี CH๑๖.๑ ประปาสําแล ต.บานกระแชง อ.เมือง จ.ปทุมธานี ธ.ค. ๒๕๕๓ R๕๓ ๒๒/๐๒/๒๕๕๔ R๘๒ ๒๔/๐๕/๒๕๕๔ R๑๓๒ ๒๓/๐๘/๒๕๕๔ คาเฉลี่ย สถานี CH๑๗ บริเวณอําเภอสามโคก ต.บางเตย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี ธ.ค. ๒๕๕๓ R๕๒ ๒๒/๐๒/๒๕๕๔ R๘๑ ๒๔/๐๕/๒๕๕๔ R๑๓๑ ๒๓/๐๘/๒๕๕๔ คาเฉลี่ย

DO (mg/l)

คุณภาพน้ํา

FCB TCB (Faecal ประเภท BOD (Coliform) coliform) คุณภาพ (mg/l) (MPN/ (MPN/ น้ํา ๑๐๐ ml) ๑๐๐ ml)

ดัชนีที่สําคัญ

๓.๘ ๔.๐ ๓.๖ ๔.๕ ๓.๙๗

๓.๖ ๐.๔ ๐.๗ ๐.๕ ๑.๓

๓,๓๐๐ ๒,๓๐๐ ๒๐๐ ๔,๙๐๐ ๒,๖๒๕

๔๕๐ ๑,๓๐๐ ๑๘๐ ๑,๗๐๐ ๙๐๘

๔ ๓ ๔ ๓

BOD DO, FCB DO DO, FCB

๔.๘ ๓.๙ ๓.๒ ๔.๗ ๔.๑๕

๔.๓ ๐.๕ ๐.๖ ๐.๘ ๑.๕๕

๓,๓๐๐ ๗,๐๐๐ ๗,๐๐๐ ๒,๒๐๐ ๔,๘๗๕

๓,๓๐๐ ๑,๑๐๐ ๗๘๐ ๗๘๐ ๑,๔๙๐

๕ ๔ ๔ ๓

BOD DO DO DO

ที่มา : สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ ๖ นนทบุรี

๖๒

มาตรฐานคุณภาพน้ํา มาตรฐานคุณภาพน้ํา ระดับปริมาณออกซิเจนละลาย (DO)

คุณภาพน้ํา

การใชประโยชน

๖.๐ มิลลิกรัมตอลิตร ขึ้นไป

ดี (ประเภท ๒)

ระหวาง ๔.๐ – ๖.๐ มิลลิกรัมตอลิตร

พอใช (ประเภท ๓) เสื่อมโทรม (ประเภท ๔)

การอนุรักษสตั วน้ํา การประมง การวายน้ํา กีฬาทางน้ํา การอุปโภคและบริโภค โดยตองทําการฆาเชื้อโรค และปรับปรุงคุณภาพน้ํากอน การเกษตร การอุปโภคและบริโภค โดยตองทําการฆา เชื้อโรคและปรับปรุงคุณภาพน้ํากอน การอุตสาหกรรม การอุปโภคและบริโภค โดยตองทําการฆาเชื้อโรคและปรับปรุงคุณภาพน้ําเปน พิเศษกอน

ระหวาง ๒.๐ – ๔.๐ มิลลิกรัมตอลิตร

ต่ํากวา ๒.๐ มิลลิกรัมตอลิตร

เสื่อมโทรมมาก (ประเภท ๕)

การคมนาคม

คําอธิบาย DO (Dissolved Oxygen) BOD (Biolocal Oxygen Demand)

คือ ปริมาณออกซิเจนละลาย (mg/l) คือ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้าํ (mg/l)

TCB (Coliform) FCB (Faecal coliform)

คือ ปริมาณแบคทีเรีย (MPN/๑๐๐ ml) คือ ปริมาณแบคทีเรียในรูปฟคอลโคลิฟอรม (MPN/๑๐๐ ml)

3.3.4 คุณภาพอากาศ สถานการณ เนื่องจากจังหวัดปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรม มีนิคมอุตสาหกรรมนวนครในเขตตําบลคลองหนึ่ง อําเภอ คลองหลวง และสวนอุตสาหกรรมบางกะดีในเขตเทศบาลตําบลบางกะดี อําเภอเมืองปทุมธานี และยังเปน เมืองที่มีการเจริญเติบโตตอเนื่องจากกรุงเทพมหานคร ทําใหมีสถานประกอบการจํานวนมาก มีปญหา การจราจรติดขัดในยานชุมชน กรมควบคุมมลพิษจึงไดทําการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อําเภอคลองหลวง จํานวน 1 สถานี เมื่อป พ.ศ. 2549 เพื่อเฝา ระวังติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในป พ.ศ.255๔ พบวา คุณภาพ อากาศโดยรวมอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM–10) มีคา สูงเกินเกณฑมาตรฐาน ๒ ครั้ง จากการตรวจวัดทั้งหมด ๒๖๗ ครั้ง โดยคาที่ตรวจวัดไดมีคาสูงสุดเทากับ ๑๔๔.๔ ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร

๖๓

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ป 2554 สารมลพิษ คาเฉลี่ย ผลการตรวจวัด ความ คุณภาพอากาศ เขมขนใน เวลา ฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2)

24 ชม. 1 ป 1 ชม. 8 ชม. 1 ป 24 ชม. 1 ชม. 1 ชม.

๐.๑๔๔ - ๐.๐๑๑ 0.048 0.60 0.60 0.02 0.017 0.081

คามาตรฐาน *

ไมเกิน 0.12 มก./ลบ.ม. ไมเกิน 0.05 มก./ลบ.ม. ไมเกิน 30 ppm (34.20 มก./ลบ.ม.) ไมเกิน 9 ppm (10.26 มก./ลบ.ม.) ไมเกิน 0.04 ppm (0.10 มก./ลบ.ม.) ไมเกิน 0.12 ppm (0.30 มก./ลบ.ม.) ไมเกิน 0.30 ppm (780 มก./ลบ.ม.) ไมเกิน 0.17 ppm (0.32 มก./ลบ.ม.)

ที่มา : * ดัดแปลงจาก ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2538) เรื่อง กําหนด มาตรฐานคุ ณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริ มและรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 112 ตอนที่ 52 ง. วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 และประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ.2547) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่ วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 121 ตอนพิเศษ 104 ง. วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2547 3.3.5 คุณภาพเสียง สถานการณ สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ดําเนินการเฝาระวังคุณภาพ เสียง โดยทําการวัดระดับเสียงในพื้นที่บริเวณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี นํ าผลที่ไดเปรียบเทีย บกับเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม แหงชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่องกําหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ซึ่งกําหนดคาระดับเสียง เฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง ไมเกิน 70 เดซิเบลเอ (dBA) จากการเฝาระวังและประเมินผล พบวา ระดับเสียง เฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง อยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด ผลการตรวจวัดระดับเสียง ป 255๓ แหลงวัดเสียง มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี มาตรฐานระดับเสียง *

คาระดับเสียงสูงสุด 70

คาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชม. ๕๘.๕

ไมเกิน 115 เดซิเบลเอ

ไมเกิน 70 เดซิเบลเอ

ที่มา : * ดัดแปลงจาก ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) เรื่อง กําหนด มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป มาตรา 32(5) แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

๖๔

แหงชาติ พ.ศ.2535 ณ วันที่ 12 มีนคม 2540 และประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องคํานวณคาระดับ เสียง ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2540 3.3.6 ขยะมูลฝอย สถานการณ ในป พ.ศ.2548 มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมดในจังหวัดปทุมธานี ประมาณ 866 ตัน/วัน เฉพาะเขตเทศบาลประมาณ 404.7 ตัน/วัน และที่อื่นๆ อีกประมาณ 461.3 ตัน/วัน มีอัตรา การผลิตขยะมูลฝอย ประมาณ 0.8 กิโลกรัม/คน/วัน สามารถเก็บขนขยะมูลฝอยได ประมาณ 401.7 ตัน/วัน คิดเปนรอยละ 99 โดยมีขยะมูลฝอยที่ตกคาง ประมาณ 3 ตัน/วัน เทศบาลที่มีประมาณขยะมูล ฝอยมากที่สุด เทศบาลนครรังสิต ประมาณ 120 ตัน/วัน รองลงมาคือ เทศบาลเมืองทาโขลง ประมาณ 75 ตัน /วัน เนื่ องจากมีประชากรแฝงจํ านวนมาก สว นเทศบาลที่มีปริ มาณขยะมูล ฝอยน อยที่ สุด คื อ เทศบาลตําบลหนองเสือ ประมาณ 1 ตัน/วัน จากข อมูล การสํ ารวจของสํานั กงานสิ่งแวดล อมภาคที่ ๖ (นนทบุ รี) เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๒ พบวา จังหวัดปทุมธานีมีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 1,285 ตัน/วัน ซึ่งไดมีการดําเนินการกําจัดนอก เขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ประมาณ 318 - 324 ตัน/วัน และในเขตพื้นที่ประมาณ 742 - 771 ตัน/วัน วิธีการกําจัดสวนใหญจะใชวิธีฝงกลบ จากขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยแสดงใหเห็นวา ปริมาณขยะมูลฝอยมี แนวโนมเพิ่มขึ้น 3.3.7 ระบบกําจัดขยะมูลฝอย สถานการณ จากแบบสํารวจขอมูลติดตามตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ป 2548 พบวาเทศบาล ทั้ง 14 แหง ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีดําเนินการเชาพื้นที่ของเอกชนเปนสวนใหญ จํานวน 7 แหง มีพื้นที่ประมาณ 67-0-0 ไร ใชไปแลว 43-0-0 ไร คิดเปนรอยละ 64 พื้นที่ที่เปนของเทศบาล เอง จํานวน 3 แหง มีพื้นที่ประมาณ 125-0-0 ไร ใชไปแลว 35-0-0 ไร คิดเปนรอยละ 28 ใชพื้นที่ กํ า จั ด ร ว มกั บ หน ว ยงานอื่ น จํ า นวน 3 แห ง และเป น ที่ ส าธารณะประโยชน จํ า นวน 1 แห ง มี พื้ น ที่ ประมาณ 14-0-0 ไร ใชไปแลว 8-0-0 ไร คิดเปนรอยละ 57 นอกจากนี้ยังพบวาในเขตเทศบาล สวนมากใชวิธีกําจัดขยะมูลฝอยแบบเทกองบนพื้นไถ กลบครั้งคราว จํานวน 5 แหง แบบเทกองบนพื้นไถกลบทุกวัน จํานวน 4 แหง เทกองบนพื้นและฝงใน หลุม ไถกลบทุกวันอยางละ 2 แหง และเทกองบนพื้นแลวเผา จํานวน 1 แหง ตามลําดับ ในเขตเทศบาลมีปญหาในการจัดซื้อที่ดินเพื่อใชกําจัดขยะมูลฝอย จึงนิยมใชบริการเชา พื้นที่เอกชน เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็ว และไมมีปญหากับประชาชนในพื้นที่ตัวเอง พื้นที่กําจัดขยะมูลฝอย บริเวณพื้นที่กําจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี สวนใหญมี ปญหา เรื่องที่กําจัดขยะมูลฝอยซึ่งไมมีพื้นที่กําจัดเปนของตัวเอง ปจจุบันจังหวัดปทุมธานีมีที่กําจัดขยะมูลฝอย 2 แหง ที่สรางเสร็จเรียบรอยแลว และกําจัดขยะมูลฝอยแบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาลคือ พื้นที่ของ เทศบาลเมืองปทุมธานี มีพื้นที่ 120 ไร ตั้งอยูที่หมูที่ 4 ตําบลบอเงิน อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัด ปทุมธานี เปนศูนยกําจัดขยะมูลฝอยฝงตะวันตก สําหรับศูนยกําจัดขยะมูลฝอยฝงตะวันออกคือพื้นที่ของ เทศบาลเมืองคูคต มีพื้นที่ 230 ไร ซึ่งกอสรางระยะที่ 1 เสร็จแลวโดยงบประมาณของสํานักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (เดิม) แตไมสามารถเขาไปใชพื้นที่ กําจัดขยะมูลฝอยไดเนื่องจากประชาชนในพื้นที่ตอตาน

๖๕

สถานที่กําจั ด ขยะมู ลฝอยในเขตพื้ นที่ จังหวั ด ปทุ มธานี เป นแบบฝงกลบที่มีการออกแบบอยางถู กหลั ก สุขาภิบาล มีอยู ๒ แหง คือ แห ง ที่ ๑ คื อ บ อ ขยะแบบฝ ง กลบของเทศบาลเมื องคู ค ต ตั้ ง อยู ที่ หมู ที่ ๑๔ ต.บึ ง ทองหลาง อ.ลําลูกกา มีเนื้อที่ประมาณ ๒๓๐ ไร ซึ่งเมื่อไดดําเนินการสรางศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวมที่ ๑ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๑ ไดมีการคัดคานจากประชาชนบริเวณใกลเคียง จึงไมสามารถเปดใชได แหงที่ ๒ คือ บอขยะแบบฝงกลบของเทศบาลเมืองปทุมธานี ตั้งอยูที่ หมูที่ ๔ ต.บอเงิน อ.ลาดหลุมแกว มีเนื้อที่ในขณะนั้นประมาณ ๑๑๘ ไร (เทศบาลเมืองปทุมธานี ไดจัดซื้อขึ้นอีกประมาณ ๑๒๐ ไร ปจจุบันจึงมีเนื้อที่ประมาณ ๒๓๘ ไร) ไดเริ่มเปดดําเนินการเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยวางแผน รองรับขยะมูลฝอยจากพื้นที่ตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา คือ อ.เมือง อ.สามโคก และ อ.ลาดหลุมแกว แต เนื่องจากเปนบอขยะแบบฝงกลบที่มีการดําเนินการอยางถูกหลักสุขาภิบาล เพียงแหงเดียวในขณะนั้น ทํา ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวนมากนําขยะมากําจัด จึงเกินขีดความสามารถที่จะใหบริการฝงกลบตอ วันได และถูกรองเรียนคัดคานจากประชาชน และไมสามารถเปดดําเนินการไดในที่สุด ขณะนี้องคกร ปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ ไดแกไขปญหาเฉพาะหนาโดยการนําขยะและสิ่งปฏิกูลไปกําจัดที่จังหวั ด พระนครศรีอยุธยา 3.3.8 ของเสียอันตราย สถานการณ ของเสียอันตรายจากชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี สวนใหญจะมีแหลงกําเนิดมาจาก ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และสถานพยาบาล ซึ่งของเสียอันตรายที่เกิดจากบานเรือนนั้นสวนใหญจะทิ้ง ปนไปกับขยะมูลฝอยของชุมชน เชน แบตเตอรี่ ถานไฟฉาย หลอดไฟฟา เปนตน สวนของเสียอันตรายจาก อุตสาหกรรมสวนใหญยังคงถูกเก็บสะสมไวในโรงงานตางๆ อยางกระจัดกระจาย หรือถูกทิ้งออกสู สิ่งแวดลอมรวมกับขยะมูลฝอยของชุมชน เนื่องจากในปจจุบันยังมีสถานที่บําบัดของเสียอันตรายไม เพียงพอในการรองรับของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นทั้งหมด สําหรับขยะมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลตางๆ โดยสวนใหญแลวจะมีเตาเผาขยะมูลฝอยติดเชื้อ ยกเวนสถานพยาบาลขนาดเล็ก เชน คลินิกตาง ๆ จะทิ้ง ขยะมูลฝอยติดเชื้อปะปนไปกับขยะมูลฝอยทั่วไปของชุมชน จังหวัดปทุมธานีมีปริมาณขยะมูลฝอยติดเชื้อ ประมาณ 215.79 กิโลกรัม/วัน และปริมาณขยะมูลฝอยติดเชื้อนี้ประเมินโดยอางอิงจากโครงการศึกษา เปรียบเทียบความเหมาะสมของวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยโดยกรมควบคุมมลพิษในป พ.ศ. 2536 ซึ่ง กําหนดอัตราการผลิตขยะมูลฝอยติดเชื้อโดยเฉลี่ยแลวประมาณ 0.26 กิโลกรัม/เตียง/วัน สวนของเสีย อันตรายจากภาคเกษตรกรรมยังไมการนําไปกําจัดโดยวิธีเฉพาะ ซึ่งการใชสารเคมีทางการเกษตร เชน ยา ฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืช ปุยเคมี เปนตน มีประมาณรอยละ 80 ของพื้นที่ทางการเกษตรทั้งหมด หรือ เทากับ 405,713 ลิตร (สํานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี, 2544) 3.3.9 ทรัพยากรน้ํา สถานการณ แหลงน้ําธรรมชาติผิวดินที่สําคัญ คือ แมน้ําเจาพระยา (ลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง) ซึ่งไหลผานอําเภอเมืองและอําเภอสามโคก ระยะทางประมาณ ๓๐ กิโลเมตร นอกจากนี้ยังคงมีลําคลอง ธรรมชาติและคลองชลประทาน ประมาณ ๘๔ คลอง รวมความยาวประมาณ ๑,๐๖๒.๔ กิโลเมตร แบงเปน

๖๖

คลองชลประทาน จํานวน ๒๙ คลอง รวมความยาว ๗๘๐.๘ กิโลเมตร - คลองระบายน้ํา จํานวน ๑๓ คลอง - คลองสงน้ํา จํานวน ๙ คลอง - คลองอื่น ๆ จํานวน ๗ คลอง คลองธรรมชาติ จํานวน ๕๕ คลอง ความยาวรวม ๒๘๐.๖ กิโลเมตร คลองตาง ๆ นี้ ไดไหลผานในพื้นที่ของจังหวัด โดยแบงออกเปนพื้นที่ของอําเภอตาง ๆ ไดดังนี้ - อําเภอเมืองปทุมธานี มีแมน้ําเจาพระยา คลองบางโพธิ์ คลองบางหลวงใต คลอง บางหลวง คลองบางปรอก คลองเชียงราก คลองเจาเมือง คลองประปากรุงเทพฯ คลองบางคูวัด คลอง เปรมประชากร - อําเภอสามโคก มีแมน้ําเจาพระยา คลองบางโพธิ์เหนือ คลองบางเตย คลองควาย คลองสระคลองเชียงรากนอย คลองเปรมประชากร คลองเชียงราก - อําเภอลาดหลุมแกว มีคลองพระอุดม คลองบางหลวง คลองลาดหลุมแกว คลอง บางโพธิ์ คลองสระ คลองสะแก คลองระแหง คลองสามวา - อําเภอธัญบุรี มีคลองรังสิตประยูรศักดิ์ (เชื่อมระหวางแมน้ําเจาพระยาและแมน้ํา นครนายก) คลองชลประทาน ๑-๑๓ - อําเภอคลองหลวง มีคลองชลประทาน ๑-๗ - อําเภอลําลูกกา มีคลองชลประทาน ๑-๑๓ คลองหกวาตอนลาง - อําเภอหนองเสือ มีคลองระพีพัฒน คลองชลประทาน ๘-๑๓ เขตอนุรักษแหลงน้ําดิบ เพื่อการประปานครหลวง นอกเหนือจากแหลงน้ําตาง ๆ แลว จังหวัดปทุมธานี ยั ง เป น จุ ด สู บ น้ํ า ดิ บ จากแม น้ํ า เจ า พระยาเพื่ อนํ าน้ํ าดิ บ มาผลิ ต น้ํ าประปาให บ ริ การประชาชนในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานครฝงตะวันออก โดยมีสถานีสูบน้ําบริเวณตอนลางของปากคลองออม ตําบลกระแชง(สําแล) อําเภอเมืองปทุมธานี เพื่อสงน้ําตามคลองสงน้ําดิบไปยังโรงกรองน้ําที่บางเขนและสามเสน เพื่อปองกันการ เสื่อมโทรมของคุณภาพน้ําที่จะนํามาผลิตน้ําประปา มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๒๒ กํ าหนดบริเวณอนุรักษแหลงน้ําดิบ เพื่อการ ประปานครหลวงครอบคลุมบริเวณอําเภอเมือง สามโคก คลองหลวง ซึ่งมีขนาดพื้นที่ประมาณ ๒๐๐ ตารางกิโลเมตร โดยสรุปวา ๑. ไมอนุญาตใหตั้งหรือขยายโรงงานอุตสาหกรรมที่มีน้ําทิ้งประกอบดวยสารเปนพิษ ประเภทโลหะหนัก วัตถุมีพิษที่ใชในการเกษตรและสารเคมีอื่น ๆ ที่เปนพิษ ๒. ไมอนุญาตใหตั้งหรือขยายโรงงานอุตสาหกรรมที่มีน้ําทิ้งปริมาณเกินกวาวันละ ๕๐ ลูกบาศกเมตร ทั้งนี้ ไมรวมน้ําหลอเย็น มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๑ ขยายบริเวณเพิ่มเติมอีก ๑๕๐ ตารางกิโลเมตร กําหนดเพิ่มเติมวาไมอนุญาตใหตั้งโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอีก ยกเวน อุตสาหกรรมที่มีขอผูกพันตาม กฎหมายหรื อตามมติ คณะรั ฐ มนตรี คื อ โรงงานกระดาษบางปะอิ น เขตนิ คมอุ ต สาหกรรมนวนคร โครงการที่ ๑ และโครงการที่ ๒ ยกเวนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีน้ําทิ้ง ปริมาณความสกปรกในรูป บีโอดี (BOD) ไมเกินรอยละ ๑ 3.3.10 ทรัพยากรน้ําบาดาล สถานการณ แหลงน้ําใตดินของจังหวัดปทุมธานี แบงไดเปน ๒ ประเภท คือ

๖๗

๑) แหลงน้ําใตดินใหปริมาณน้ํานอย ( ๑-๕๐ ลบ.ม./ชั่วโมง) โดยทั่วไปน้ํามีคุณภาพดี แตบางพื้นที่ เปนน้ํากรอยและมีตะกอนสนิมเจือปน พื้นที่ที่มีแหลงน้ําประเภทนี้ ไดแก อําเภอลาดหลุม แกว อําเภอหนองเสือ และอําเภอลําลูกกา ๒) แหล ง น้ํ าใต ดิ น ให ป ริ ม าณน้ํ า มาก ( ๕-๒๐๐ ลบ.ม./ชั่ ว โมง) โดยทั่ ว ไปน้ํ า มี คุณภาพเชนเดียวกับแหลงน้ําใตดิน ใหปริมาณน้ํานอย ไดแก พื้นที่อําเภอสามโคก อําเภอคลองหลวง อําเภอธัญบุรี และอําเภอเมืองปทุมธานี จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เป น พื้ น ที่ วิ ก ฤตจากการสู บ น้ํ า บาดาล มี ก ารใช น้ํ า บาดาลสู ง เนื่องจากพื้นที่ทั้งหมดเปนที่ราบลุม พบเปนชั้นน้ําบาดาลในตะกอนหิ นรวน ไดแกชั้นน้ําที่ราบน้ําทวมถึง ยุคควอเทอรนารี (Qfd) หรือที่เดิมเรียกวาชั้นน้ําเจาพระยา (Qcp) กระจายตัวครอบคลุมพื้นที่ทั่วจังหวัด น้ําบาดาลจะถูกกักเก็บอยูในชั้นกรวด และทรายที่สะสมตัวอยูในที่ราบลุมน้ําหลาก และบริเวณที่ราบต่ํา ของลุมน้ําเกา บริเวณจังหวัดปทุมธานี มีการสะสมตัวของชั้นหินบาดาลอยูหลายชั้น พบวามีการ เจาะบอบาดาลในชั้นน้ําพระประแดง ชั้นน้ํานครหลวง ชั้นน้ํานนทบุรี ชั้นน้ําสามโคก และชั้นน้ําพญาไท ที่ระดับความลึกตั้งแต ๑๐๐-๓๖๐ เมตร ระดับน้ําปกติ ( Static level ) มีคาอยูระหวาง ๑๐-๔๕ เมตร สวนใหญจะพบชั้นน้ําคุณภาพดีที่ระดับความลึกตั้งแต ๑๘๐ เมตรขึ้นไป ตั้งแตอําเภอเมืองปทุมธานี ซึ่ง อยูทางทิศใตไปจนถึงอําเภอไทรนอย จังหวัดนนทบุรี จะพบที่ระดับลึกมากขึ้นถึง ๓๐๐-๓๖๐ เมตร ใน สวนของผลการวิเคราะหทางเคมีพบว าคุ ณภาพของน้ําอยู ในเกณฑ ดี สามารถนํ ามาใชในการอุป โภค บริโภคไดเปนสวนใหญ เมื่อพิจารณาเทียบกับมาตรฐานน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับ ความลึกของชั้นน้ําที่พัฒนาขึ้นมาใชดวย สรุปไดคือ เหล็กโดยรวมอยูในเกณฑมาตรฐาน แมงกานีส คลอ ไรด ความกระดาง และคาความกรอยเค็ม โดยสรุปอยูในเกณฑมาตรฐาน ไมเกินปริมาณที่ยอมรับ ได พบวาบางสวนของตําบลโสนลอย ตําบลพิมลราชและตําบลบางรักพัฒนา อําเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี มีปริมาณเกลือทั้งหมดที่ละลายในน้ําสูงกวา ๖๐๐ มิลลิกรัมตอลิตร แสดงวามีโอกาสที่จะเจาะ พบน้ําบาดาลคุณภาพกรอยถึงเค็มในพื้นที่ดังกลาว ภาพรวมของปริมาณการใชน้ําบาดาลของจังหวัดปทุมธานีในอดีต พบวา มีอัตราการ ใชน้ําเกินกวา ๑๐๐,๐๐๐ ลูกบาศกเมตรตอป คิดเปนสัดสวนพื้นที่ประมาณ ๗๐-๘๐ ซึ่งเกณฑการใชน้ํา บาดาลในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี มีอัตราใชน้ําอยูในระดับ ๕๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ ลูกบาศกเมตรตอป จะ เห็นวาอัตราการใชน้ําบาดาลจังหวัดปทุมธานีอยูในเกณฑสูง มีการใชอยางตอเนื่องเปนเวลานาน อาจทํา ใหแรงดันของน้ําบาดาลลดต่ําลงอยางรวดเร็วได โดยไมมีการคืนตัว ผลสืบเนื่องที่เกิดมาคือ การทรุดตัว ของแผ นดิน การไหลซึมของน้ําเค็ มรุ กล้ําเขามาในชั้นน้ํ าบาดาล ซึ่งตั้งแตเดิมเคยจืด ดั งนั้ นการใชน้ํ า บาดาลในจังหวัดปทุมธานี ควรจะเพิ่มความระมัดระวังในสวนของปริมาณน้ําที่จะนําขึ้นมาใช เพื่อยืดอายุ ของชั้นน้ําคุณภาพดีใหยาวนานขึ้น มติ ครม. โดยยอ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๖ เรื่อง ปญหาใชน้ําบาดาลเพื่อปองกัน การเกิดแผนดินทรุดตัวและน้ําใตดินเค็มจึงใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ ดังนี้ ๑. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งระบบน้ําประปานครหลวง และการ ประปาสว นภู มิภ าคเข าถึ งหรือสามารถเชื่อมต อกั บระบบประปาได แลว จะอนุ ญาตใหป ระชาชนและ ผูประกอบการใชน้ําบาดาลตอไปไดจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ ๒. กรณีการใชน้ําบาดาลของชุมชนและหมูบานจัดสรรบางแหง ที่กลายเปนทรัพยสิน ที่ไมกอให เกิด รายได (NPL) ของสถาบัน การเงิน ทําให มีปญหาเกี่ ยวกั บการขออนุ ญาตเชื่ อมต อระบบ ประปา ใหประสานกับสถาบันการเงิน

๖๘

๓. ใหกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของควบคุมกํากับดูแลโรงงานและสถานประกอบการไมใหปลอยน้ํา เสียลงสูลําธารสาธารณะ เพื่อปองกันการเกิดปญหาสิ่งแวดลอม แนวโนมสถานการณทรัพยากรน้ําบาดาลในปจจุบัน พบวา มีแนวโนมดีขึ้นทั้งคุณภาพ และปริมาณ โดยอัตราการใชน้ําบาดาลยังอยูในชวงที่ไมเกินคาวิกฤตที่กําหนด คือ ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลูกบาศกเมตรตอป เนื่องจากมีผูประกอบกิจการยกเลิกการใชน้ําบาดาลแลวจํานวนหนึ่ง สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี มีหนาที่กํากับ ดูแลการประกอบกิจการ น้ําบาดาล ซึ่งในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 553 บอ แบงออกเปนประเภท - ธุรกิจ (อุตสาหกรรม) จํานวน 315 บอ - ธุรกิจ (บริการ) จํานวน 52 บอ - ธุรกิจ (การคา) จํานวน 34 บอ - อุปโภคบริโภค จํานวน 139 บอ - เกษตรกรรม จํานวน 13 บอ

3.4 ปจจัยภายนอกทีม่ ีผลกระทบตอจังหวัดปทุมธานี • การแบงขั้วความคิดทางการเมือง (Political Polarization) ปรากฏการณทางการเมืองของประเทศไทย ในชวงประมาณ ๕ ปที่ผานมา นับตั้งแตการปฏิวัติ รัฐประหารครั้งลาสุด เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ถือเปนสิ่งที่ประเทศไทยไมเคยประสบมากอน และ เปนประสบการณที่ประชาชนของประเทศไทยจะตองจารึกไวในประวัติศาสตรของชาติ เพราะไดเกิดการ แบงขั้วความคิดทางการเมืองออกเปน ๒ ขั้วความคิดอยางชัดเจน โดยขั้วหนึ่งมีเสียงสนับสนุนจากกลุม ประชาชนระดับรากหญา ซึ่งเห็นชอบกับการดําเนินนโยบายประชานิยม ขณะที่ขั้วตรงกันขามไดรับเสียง สนับสนุนจากกลุมทุนเกา ผนวกกับชนชั้นกลางและชั้นสูงของสังคมเปนหลัก ความแตกตางอยางสุดขั้วได นําไปสูความขัดแยงจนเกิดเหตุการณความรุนแรงและความไมสงบทางการเมืองภายในประเทศ โดยเฉพาะ ในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานคร และเขตปริ ม ณฑล ซึ่ ง รวมไปถึ ง ในพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ด ว ย ในช ว ง ระยะเวลานับจากนี้ไป ประเทศไทยจึงตองพิจารณาถึงแนวทางการปฏิรูปประเทศที่เหมาะสม เพื่อแสวงหา ทางออกที่เปนประโยชนสําหรับประเทศอยางยั่งยืนตอไป • ความเชื่อมโยงของระบบเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค (Regional Economic Integration) การจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN ๒๐๑๕) และกระแสการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ ภายในอาเซียน (Intra-ASEAN FDI) สวนหนึ่งของเสาหลัก (Pillars) เพื่อใหประชาคมอาเซียนสามารถบังเกิดขึ้นไดอยางเปนรูปธรรม ในป ๒๐๑๕ ได คือ การสรางชุมชนทางเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) อันจะ กอใหเกิดการสรางภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มั่งคั่ง และมีการแขงขันสูง ควบคูไปกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ที่เปนธรรม รวมไปถึงการชะลอปญหาความยากจน และความแตกตางทางเศรษฐสังคม และแนวทางการ

๖๙

ดําเนินงานสําคัญประการหนึ่งของชุมชนดังกลาว ก็คือ การรวมตลาดและฐานการผลิตเปนหนึ่งเดียวกัน (Single Market and Production Base) โดยมีเปาหมายสําคัญในเชิงยุทธศาสตร เชน การเคลื่อนยาย สินคาเสรี (Free Flow of Goods) การเคลื่อนยายบริการเสรี (Free Flow of Services) การเคลื่อนยาย การลงทุนเสรี (Free Flow of Investment) การเคลื่อนยายทุนเสรี (Free Flow of Capital) การควบ รวมภาคเศรษฐกิจที่มีความสําคัญลําดับตน (Priority Integration Sectors) รวมไปถึงอาหาร เกษตรกรรม และการปาไม (Food, Agriculture and Forestry) การดําเนินงานที่ผานมาของอาเซียนที่มีความคืบหนาอยางมีนัยสําคัญ จะเนนไปยังการลดภาษี ศุลกากรระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน ใหเหลือเพียงรอยละ ๐-๕ โดยเริ่มจากประเทศชั้นนํา ๖ ประเทศ หรือที่เรียกวา กลุมประเทศ ASEAN-๖ กอน ขณะที่กลุมประเทศ CLMV (ไดแก กัมพูชา ลาว พมา และ เวียดนาม ตามลําดับ) ปจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สิงคโปร บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพมา 5 กลุมอุตสาหกรรมสําคัญของ ASEAN ไดแก • การกอสรางและวัสดุกอสราง เชน การกอสรางโครงสรางพื้นฐาน โรงงาน ที่พักอาศัย และ อาคารพาณิชยตาง ๆ • อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบดานเกษตร เชน ขาว ยาง นาตาล และ มัน • การบริการดานโลจิสติกส เชน ขนสง การเก็บรักษาสินตา ตรวจสอบคุณภาพสินคา พิธีการ ศุลกากรและที่เกี่ยวของ ฯลฯ ตอนนี้ 18% ของ GDP • บริการที่เกี่ยวของกับการคา เชน ธุรกิจขายปลีก/ขายสง บริการดานการเงิน การตั้งสํานักงาน ภาษี กฎหมาย เปนตน • การทองเที่ยว เมื่อมีการคมนาคมขนสงที่ดี สงแรกที่จะเขามาตามเสนทางเหลานี้คือ นักทองเที่ยว • การอุบัติขึ้นของกลุมประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม (Emerging Economies) เชน BRICs หลังวิกฤติเศรษฐกิจโลกที่ปะทุขึ้นมาในกลางเดือนกันยายน ๒๕๕๑ นั้น กอใหขั้วอํานาจใหมทาง เศรษฐกิจ การเมืองระหวางประเทศ ขั้วอํานาจนั้น คือประเทศกลุมบริกซ (BRICs) ซึ่งเรียงตามตัวอักษร ภาษาอังกฤษตัวแรกของประเทศ บราซิล รัสเซีย อินเดียและจีน ความสําคัญของ ๔ ประเทศดังกลาวนี้ มี มากจนถึงขนาดที่วา การประชุมและตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจการเมืองระหวางประเทศซึ่งแต เดิมสงวนไว เฉพาะชาติพัฒนาแลว ๗ ประเทศหรือที่เรียกวา G-๗ ซึ่งประกอบไปดวย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี แคนาดา และญี่ปุนนั้น จะตองเปลี่ยนมาเปน G-๒๐ เพื่อใหครอบคลุมถึงสมาชิกกลุม ประเทศ BRICs ดวยไมเชนนั้นไมสามารถผลักดันวาระโลก (Global Agenda) ใหเปนผลในเชิงปฏิบัติได ภาพประกอบที่ ๑: การเปรียบเทียบอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศ BRICs และ G-๗

๗๐

ที่มา: Siam Intelligence Unit

ขนาดของกลุม BRICs มีความหมายตอโลกคอนขางมาก กลาวคือในดานประชากร กลุม BRICs มี สัดสวนของประชากรประมาณรอยละ ๔๐ ของประชากรโลกทั้งหมด ในดานพื้นที่มีสัดสวนประมาณรอย ละ ๒๕ ของพื้นที่ทั้งหมดและกระจายอยูในสามทวีปคือยุโรป เอเชีย และอเมริกาใต ในดาน GDP นั้น พบวากลุม BRICs มีสัดสวน GDP อยูทีรอยละ ๒๔ ตอ GDP โลก และสะสมเงินทุนสํารองระหวางประเทศ อยูที่ประมาณรอยละ ๔๕ ของทุนสํารองระหวางประเทศทั้งหมดทั้งโลก ในดานศักยภาพการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ (ดูภาพประกอบที่ ๑) พบวากลุมประเทศ BRICs นั้นมีสัดสวนในการขยายตัวของ GDP โลก (Contribution to Global Growth) เพิ่มขึ้นตามลําดับ และมีบทบาทหลักในการขับเคลื่อนการขยายตัว ของเศรษฐกิจโลกมากกวากลุม G-๗ ในชวงป ค.ศ. ๒๐๐๐-๐๘ โดยBRICs มีสัดสวนในการขยายตัวของ GDP โลกเฉลี่ยที่ประมาณรอยละ ๔๖ ในขณะที่ชวง ๑๐ ปกอนหนานั้น (ค.ศ.๑๙๙๐-๒๐๐๐) กลุม BRICs มีสัดสวนในการขยายตัวของ GDP โลกที่ประมาณรอยละ ๓๒ ในขณะที่กลุม G-๗ ในชวงเดียวกันนั้น พบวา สัดสวนในการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจากเดิมในป ค.ศ. ๑๙๙๐-๒๐๐๐ ที่อยูที่ประมาณ รอยละ ๔๑ นั้นกลับลดลงครึ่งหนึ่งในชวงป ค.ศ.๒๐๐๐-๐๘ โดยอยูที่ประมาณรอยละ ๒๐ ดังนั้น จึงถือไดวาความสําคัญทางเศรษฐกิจของกลุม G-๗ นั้นลดลงจากในอดีตคอนขางมาก ในขณะที่ความสําคัญทางเศรษฐกิจของ BRICs กลับมีแนวโนมขยายตัวในลักษณะสวนทางกับกลุม G-๗ สะทอนใหเห็นถึงบทบาทของการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ BRICs เริ่มใกลเคียงครึ่งหนึ่งของการขยายตัว ของเศรษฐกิจโลก และในไมชานาน การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกมากกวาครึ่งหนึ่งจะถูกขับเคลื่อนโดย BRICs และชี้ใหเห็นถึงกลุมประเทศ G-๗ ที่ในอนาคตจากนี้ไปนั้น ความสําคัญทางเศรษฐกิจของกลุม ประเทศ G-๗ ตอโลกจะตองลดบทบาทลงในขณะที่กลุม BRICs จะเปนผูกุมทิศทางการขยายตัวของ เศรษฐกิจโลกในอนาคตแทนที่ G-๗ ในรายงานเศรษฐกิจของ BRICs ลาสุด นักเศรษฐศาสตรไดคาดการณ วาในป ค.ศ. ๒๐๒๗ (พ.ศ. ๒๕๗๐) เศรษฐกิจจีนจะมีขนาดใหญเทียบเทาเศรษฐกิจสหรัฐฯ และ เศรษฐกิจกลุม BRICs นั้นจะมีขนาดทางเศรษฐกิจใหญเทากับกลุมประเทศ G-๗ ในป ค.ศ. ๒๐๓๒ (พ.ศ. ๒๕๗๕) • การขยายตัวของเมือง (Urbanization) และการอพยพเขาสูเขตเมือง (Migration)

๗๑

“เมื องมหานคร” (Megacities) ทั่ ว โลกกํ า ลั งเผชิ ญกั บ การขยายตั ว อย า งรวดเร็ ว (Rapid Urbanization) ทั้งนี้ เปนที่คาดการณวา คนสวนใหญของประเทศกําลังพัฒนาจะเคลื่อนตัวเขามาอาศัยใน เขตเมืองภายในป ค.ศ. ๒๐๒๐ โดยปจจัยสําคัญที่มีบทบาทขับเคลื่อนแนวโนมดังกลาว คือ การอพยพยาย ถิ่นพํานักของแรงงานจากเขตชนบทเขาสูเมืองขนาดใหญ เนื่องจากตองการคาตอบแทนการทํางานที่สูงขึ้น และสภาพความเปนอยูที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกที่ดีกวาสภาพการอยูอาศัยในชนบท อัตราการเติบโตของ มหานครในกลุมประเทศกําลังพัฒนา จะอยูในอัตราสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับมหานครในกลุมประเทศ อื่น ธนาคารโลก (World Bank) ไดคาดการณวา รอยละ ๘๐ ของการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศตางๆ ในอนาคต จะเกิดขึ้นในเขตเมือง ดังนั้น เมืองขนาดใหญตางๆ ยอมจําเปนตองลงทุนเพื่อ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานรองรับการเติบโตเหลานี้ ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank- ADB) ประเมินวา ตนทุนของเมืองใหญในภูมิภาคเอเชียที่จะตองใช เพื่อลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ตางๆ จะสูงถึง ๒๐-๔๐ พันลานดอลลารสหรัฐตอป ในชวงที่ผานมา เมืองขนาดใหญบางแหง เชน โซล และกั ว ลาลั มเปอร ซึ่ ง เป น เมื อ งศู น ย กลางทั้ ง ด านการพาณิ ช ย แ ละวั ฒ นธรรม ได ดํ าเนิ น การลงทุ น ใน โครงสรางพื้นฐานใหมเปนจํานวนมาก อันสงผลใหอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจยังคงสูงขึ้นไดอยาง ตอเนื่อง และอยูในระดับที่เพียงพอกับจํานวนลูกจางที่เพิ่มขึ้นใหม ซึ่งสามารถทํางานไดอยางมีผลิตภาพ ขณะเดียวกัน เมืองขนาดใหญอีกหลายแหง เชน มะนิลา จาการตา มุมไบ และการาจี กลับตองประสบ ปญหาอาชญากรรม ความยากจน การแพรระบาดของโรค และความเสื่อมโทรมดานสิ่งแวดลอม เนื่องจาก ไมสามารถพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสรางอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สอดรับกับการขยายตัวของ เมืองได ดังนั้น การลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน จึงถือเปนวาระที่สําคัญอยางมากของทุกเมืองขนาด ใหญในภูมิภาค เพราะสิ่งนี้ห มายถึงการพัฒ นาความสามารถในการรองรับการเขามาพํานักอาศัยของ ประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมถึงยังเปนการสงเสริมใหเมืองมีความนาอยู (Livability) อยางครบถวนในทุกดาน อยางไรก็ตาม ภาครัฐจะตองเล็งเห็นความสําคัญและมีเปาหมายเชิงนโยบายที่ชัดเจน รวมไปถึงตองมีความ มุงหมายทางการเมือง และการบริหารจัดการในเชิงบูรณาการไดอยางมีประสิทธิภาพ • แนวโนมการแข็งคาของเงินบาท (Currency Appreciation) ในชวงป ๒๕๕๓ ภูมิภาคเอเชียถือเปนภูมิภาคที่มีผลการดําเนินงานทางเศรษฐกิจในภาพรวมอยูใน ระดั บ ดี มาก เมื่ อเที ย บเคี ย งกั บ ภู มิภ าคอื่ น ๆ เช น สหภาพยุ โ รป หรื อแม แต ป ระเทศมหาอํ านาจอย า ง สหรัฐอเมริกา สงผลใหความเชื่อมั่นของนักลงทุนระหวางประเทศตอภูมิภาคเอเชียอยูในระดับสูง จึงทําให เงินทุนระหวางประเทศทะลักเขาสูภูมิภาคอยางตอเนื่อง และแนวโนมของคาเงินสกุลตางๆ ของเอเชียมี ทิศทางแข็งคาขึ้น รวมถึงคาเงินบาทของประเทศไทยดวย ซึ่งแนวโนมดังกลาวก็จะยังดําเนินตอไปอีกอยาง น อยถึ ง ช ว งปลายป ๒๕๕๔ ไม ว าธนาคารแห งประเทศไทยจะแทรกแซงตลาดหรื อ ไม ก็ต าม คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ไดคาดการณไววา หากไมมีการแทรกแซงของธนาคารแหงประเทศไทย คาเงินบาทจะอยูที่ระดับ ๒๙ บาท/ดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นป ๒๕๕๓ และ ๒๗ บาท/ดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นป ๒๕๕๔ แตหากมีการแทรกแซงของธนาคารแหงประเทศไทย ก็จะทําใหการแข็งคาของเงินบาทสามารถ ชะลออัตราเรงลงไดบาง โดยคาดวาจะอยูที่ระดับ ๓๑ บาท/ดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นป ๒๕๕๓ และ ๒๙.๕๐ บาท/ดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นป ๒๕๕๔ การแข็งคาของเงินบาท ยอมสงผลกระทบโดยตรงตอภาคการสงออกของประเทศ และในบริบท ของจังหวัดปทุมธานี ก็ได รับผลกระทบเชน เดียวกั น โดยเฉพาะอุต สาหกรรมสงออกสําคัญของจังหวั ด ไดแก อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟา (เชน เครื่องซักผา ตูเย็น เครื่องรับโทรทัศนและชิ้นสวน) อุตสาหกรรม

๗๒

ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส และอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้ นสวน เนื่องจากมีมูลคาการสงออกที่สรางรายได ใหแกจังหวัดเปนอยางมาก ผูประกอบการเหลานี้จึงตองเตรียมพรอมในการปรับตัว ทั้งทางดานการเพิ่ม ประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิต การดําเนินกลยุทธการตลาดเชิงรุก เพื่อขยายฐานลูกคาในตลาดแหง ใหม และการบริ หารจั ดการความเสี่ ยงดานอั ตราแลกเปลี่ย น เพื่ อใหภ าคการส งออกของจั งหวัด ยังคง สามารถดําเนินงานตอไปไดอยางราบรื่นทามกลางการเปลี่ยนแปลงดังกลาว • อุตสาหกรรมสะอาดที่นาสนใจ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญระบุวา อุตสาหกรรมสะอาดที่จังหวัดปทุมธานีควรใหความสนใจและ มุงพัฒนามากที่สุด คือ อุตสาหกรรมบริหารจัดการสิ่งแวดลอม เนื่องจากภาวะของมลพิษดานสิ่งแวดลอม ในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนน้ําเนาเสีย มลพิษทางอากาศ และขยะมูลฝอย ลวนอยูในสถานการณที่นาเปน หวงมากขึ้น ขณะที่อุตสาหกรรมสะอาดที่ไดรับความสําคัญรองลงมาตามลําดับ ไดแก อุตสาหกรรมผัก ปลอดสารพิษ ทั้งนี้ ปรากฏการณหรือแนวคิดอุบัติใหมที่สอดคลองกับการพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาดขางตน และจําเปนที่จังหวัดควรพิจารณาปรับประยุกตเขากับแนวทางการพัฒนาของจังหวัด มีดังนี้ • เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ในปจจุบัน ปญหาภาวะโลกรอน (Global Warming) กลายเปนวาระของโลก ซึ่งทุกประเทศใน เวทีโลกสากลตองรวมกันแกไข แตทางออกของสังคมโลกตองแกไขปญหาที่สาเหตุของตนตออยางแทจริง นั่นคือโครงสรางทางอํานาจและผลประโยชนที่เชื่อมโยงกับระบบการเมือง เศรษฐกิจ ในการกําหนดการ พัฒนาประเทศ และพัฒนาสังคมโลก ทั้งนี้ การปล อยกาซเรือนกระจกที่ สะสมมาจนถึงวันนี้มาจากยุ ค ปฏิวัติอุตสาหกรรม ตามแนวคิดทฤษฎีของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม และเชื่อวาการพัฒนา เทคโนโลยีอุตสาหกรรม และโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ โดยพัฒนาระบบเศรษฐกิจใหเปนไปตามกลไก ของตลาด จะทําใหเศรษฐกิจมั่นคง แตผลกระทบของการพัฒนาดังกลาวชี้ใหเห็นวา มีการใชพลังงาน อยางเขมขน โดยเฉพาะพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มาจากซากดึกดําบรรพ คือถานหินและน้ํามัน และ การเผาไหมเชื้อเพลงฟอสซิล เปนตนเหตุสําคัญของการปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศ โดยเฉพาะ กาซคารบอนไดออกไซด งานศึกษาของธนาคารเอเชียเพื่อการพัฒนา (ADB) ซึ่งรวบรวมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของภาคพื้นเอเซียตะวันออกเฉียงใต ยังพบวา ถาอุณหภูมิสูงขึ้นทุกป ประเทศไทย อินโดนิเซีย และ เวียดนามจะเผชิญกับภาวะอากาศที่แหงแลงในอีก ๒-๓ ทศวรรษขางหนา ผูคนในภูมิภาคนี้ตองประสบ ปญหาความยากจน แมวาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจกาวรุดหนา และมีคนรวยมากขึ้น แตคนจนรวม ทั้งสิ้น ๙๓ ลานคน ของประชากรในภูมิภาค ซึ่งมีรายไดเพียงวันละไมเกิน ๔๐ บาท และอยูต่ํากวาเสน ความยากจน จะไดรับผลกระทบจากภาวะโลกรอนมากขึ้น ความเปนธรรมที่คนจนตองไดรับ คือ การไมถูก ผลักภาระมาใหคนจน หรือเกษตรกรตองรับภาระของการแกไขปญหาโลกรอน ในขณะที่โครงสรางทาง การเมืองและเศรษฐกิจของการพัฒนาทําใหพวกเขาตองรับผลกระทบของโครงการพัฒนาอุตสาหกรรม ปญหาสิ่งแวดลอม และโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ เชน เขื่อน หรือโรงไฟฟา ที่ทําใหเกษตรกรจํานวนมาก ตองละทิ้งถิ่นฐานไปเปนแรงงานรับจาง เนื่องจากถูกแยงชิงที่ดินทํากินในหลายรูปแบบทอันเปนผลมาจาก นโยบาย และกฎหมายบีบบังคับ จนกลายเปนคนจนและแรงงานรับจางในภาคอุตสาหกรรมและภาคเมือง ตัวอยางเห็นไดชัดเจนจากโครงการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่เกิดปญ หาขึ้นแลว และรัฐบาลกําลัง เดิ น หน า แผนพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายฝ ง ทะเลภาคใต เพื่ อ สร า งรู ป แบบเดี ย วกั บ อุ ต สาหกรรมป โ ตรเคมี

๗๓

อุตสาหกรรมเหล็ก และโรงไฟฟา ที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด ซึ่งจะทําใหคนใตไดรับ ผลกระทบตั้งแตจังหวัดประจวบคีรีขันธ นครศรีธรรมราช และสงขลา เปนตน สหประชาชาติ เ พื่ อ การพั ฒ นาด า นสิ่ งแวดล อ ม ได นํ า เสนอนโยบายเศรษฐกิ จ สี เ ขี ย ว(Global Green New Deal) โดยวิเคราะหวาวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในหลายยุคสมัย ทําใหรัฐบาลตองใช งบประมาณแกไขปญหาถึง ๓ ลานลานเหรียญสหรัฐ ในการกระตุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แตทั้ง โลกยังประสบปญหาความยากจนและการวางงาน หากรัฐบาลมีนโยบายการลงทุนรอยละ ๑ ของการ เจริญเติบโตของรายไดประชาชาติ (ประมาณ ๗๕๐ พันลานเหรียญสหรัฐ) ในสองปขางหนาจะสามารถ สรางระบบเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งเทากับหนึ่งสวนสี่ของการกระตุนระบบการเงิน การฟนฟูระบบเศรษฐกิจสี เขียวสามารถสรางงาน การออมเงิน และปกปองผูดอยโอกาส ซึ่งตองลดปญหาความยากจนภายในป ๒๕๕๘ รวมทั้งลดคารบอนและลดการทําลายสิ่งแวดลอม ดังนั้น แนวทางคือ สรางระบบการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ ลงทุนการคมนาคมขนสงอยางยั่งยืน และการใชพลังงานหมุนเวียน การทําระบบ การเกษตรกรรมอยางยั่งยืน และการจัดการน้ําอยางผสมผสาน สรางระบบภาษีที่สงเสริมใหสรางระบบ เศรษฐกิจสีเขียว รวมทั้งกําหนดนโยบายการใชที่ดินและการวางผังเมืองที่สงเสริมใหเกิดพื้นที่สีเขียว ตลอดจนสรางระบบเศรษฐกิจสีเขียว นโยบายของการปฏิรูปเศรษฐกิจสีเขียวจะดําเนินการไดนั้น ตองมี การประสานงานในระดับระหวางประเทศ โดยองคกรสหประชาชาติควรสนับสนุนและสรางกลไกหนาที่ เพื่อนําไปสูการบรรลุเปาหมาย ในปจจุบัน ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตางๆ ลวนดําเนินไปในทิศทางเดียวกัน คือ การมุงสูก ารสรางสมดุลระหวางการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม เชน เกาหลีใต ประกาศยุทธศาสตร การเติบโตสีเขียว (Green Growth) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และประเทศจีน ซึ่งเคยถูกโจมตีวาเปนประเทศ ที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากถึงรอยละ ๒๔ ของปริมาณของทั้งโลก จนทําใหเกิดการเรงรัดใหสภาพ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ก็ประกาศเดินหนาธุรกิจสีเขียวอยางตอเนื่อง โดยทุมงบประมาณถึง ๑,๕๐๐ ลาน ดอลลาร เพื่อการวิจัยและพัฒนายนตรกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเตรียมลงทุนถึง ๑ แสนลาน หยวนใน ๑๐ ป เพื่อสรางโรงไฟฟาพลังนิวเคลียรแหงแรก โดยหวังที่จะลดการพึ่งพาถานหินและน้ํามัน และมีแผนสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ๓๑ แหงใน ๒๐ ป และไดสั่งปดโรงงานยุคเกาที่กอใหเกิดมลพิษกวา ๒ พันโรง ขณะเดียวกัน ขอกําหนดดานสิ่งแวดลอม ซึ่งกลายเปนมาตรฐานใหมของการคาระหวางประเทศ ไทย ธุรกิจไทยเองก็อยูในกระแสเดียวกัน คือ เริ่มใหความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และชุมชน โดยในระยะอันใกลจะมี “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” (Eco-Industrial Town) เกิดขึ้น หลายแหง เชน นิคมอุตสาหกรรมของบริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) ที่วังจันทรและบานคาย จ. ระยอง และนิคมอุตสาหกรรมของบริษัท ซี.พี. แลนด ที่ จ. ระยองเชนกัน อันเปนสัญญาณวา ภาคอุตสาหกรรม พรอมจะปรับตั ว เพื่อการอยู รวมกัน ระหวางธุรกิจ และชุ มชนอย างสมดุ ล นอกจากนี้ ความตื่ นตัวของ ภาคเอกชนยังสะทอนออกมาจากการเรงรัดใหรัฐบาลประกาศกิจการที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยาง รุน แรง เพื่ อให มีกฎกติ กาในการทํ าธุ ร กิ จที่ ชั ด เจน รวมไปถึ งการเคลื่ อนไหวคั ด คานของประชาชนต อ อุตสาหกรรมขนาดใหญในพื้นที่ตางๆ ดวย • การประยุกตแนวคิด “รอยเทาเชิงนิเวศ” (Ecological Footprint) สถานการณของโลกตั้งแตชวงปลายทศวรรษ ๑๙๗๐ มนุษยชาติไดใชประโยชนจากระบบนิเวศ อยางเกินขอบเขต อันเปนผลมาจากอุปสงคตอปตอการใชทรัพยากร อยูในระดับที่สูงกวาความสามารถใน แตละปของโลกในการผลิตทรัพยากรใหม สถานการณไดมีวิวัฒนาการเรื่อยมาจนกระทั่งโลกตองประสบ กับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก (Global Climate Change) ซึ่งถือเปนภาวะความทาทายครั้ง

๗๔

สําคัญของมนุษยชาติ เพราะการแกไขปญหานี้ยอมเปนกุญแจสําหรับความอยูดีมีสุขของสังคมมนุษยใน ระยะยาว รัฐบาลของประเทศตางๆ จึงจําเปนตองเล็งเห็นความสําคัญของการตัดสินใจและดําเนินงานเชิง นโยบายที่ทันตอเหตุการณ รวมถึงจัดทําขอตกลงระหวางประเทศ เพื่อสรางแนวรวมที่เขมแข็งในการตอสู กับปญหาดังกลาว แนวคิด “รอยเทาเชิงนิเวศ” ไดอุบัติขึ้นเปนดัชนีชี้วัดที่สําคัญอันหนึ่งของโลก เพื่อวัดอุปสงคของ มนุษยชาติที่มีตอธรรมชาติ โดยเปนการชี้วัดปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติ (เชน ที่ดิน น้ํา) ที่ประชากร โลกตองใชเพื่อการผลิต และบริโภค รวมไปถึงการรองรับของเสียที่เกิดขึ้นบนฐานทางเทคโนโลยีที่มีอยู (ดู ภาพประกอบที่ ๒) ทั้งนี้ หนวยการวิเคราะหที่ประยุกตเขากับแนวคิดนี้ สามารถเปนไดตั้งแตระดับปจเจก เมือง หนวยธุรกิจ ประเทศ จนถึงมนุษยโลก ในมิติของเมือง ขอมูลที่คํานวณไดจากดัชนีชี้วัดจะเปนขอมูลที่ เปนประโยชนสําหรับผูบริหารเมืองในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรในการลดและควบคุมอุปสงค ของประชากรที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการสงเสริมความ นาอยูของเมือง แผนภาพบรรยายกรอบแนวคิด “รอยเทาเชิงนิเวศ” (Ecological Footprint)

ที่มา: Global Footprint Network

แนวคิดนี้ยังไดครอบคลุมไปถึง “รอยเทาคารบอน” (Carbon Footprint) ซึ่งเปนองคประกอบที่มี การเติบโตเร็วที่สุด โดยมีสัดสวนถึงรอยละ ๕๐ ของรอยเทาเชิงนิเวศในองครวมของมนุษยชาติ การลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จึงยอมเปนขั้นตอนสําคัญที่สุดของการหยุดยั้งการใชประโยชนจาก ทรัพยากรที่เกินขอบเขตของโลก รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรของบรรดาประเทศ ตางๆ อันจะสงผลใหการเติบโตทางเศรษฐกิจสามารถเกิดขึ้นพรอมไปกับคุณภาพชีวิตของประชาชนได

๗๕

• การพัฒนาวิสาหกิจสังคม (Social Enterprise) นวัตกรรมสังคม (Social Innovation) รูปแบบหนึ่งที่กําลังเกิดขึ้นอยางแพรหลายในประเทศ ตางๆ คือ วิสาหกิจสังคม (Social Enterprise) ซึ่งถือเปนการประกอบธุรกิจแนวใหมที่ขับเคลื่อนดวย วัตถุประสงคทางสังคม โดยธุรกิจทางสังคมเหลานี้จะดําเนินธุรกรรมในการพัฒนาสินคาและบริการ เพื่อ บรรลุเปาหมายทางสังคม พรอมทั้งมุงแกไขปญหาและสานผลประโยชนของสังคม ทั้งนี้ แมวากลุมธุรกิจนี้ จะยังมีขนาดเล็กอยู แตไดรับความสนใจมากขึ้นจากผูดําเนิน นโยบาย คนรุนใหม ผูประกอบการ ผูให เงินทุน และธุรกิจที่ครองตลาดอยูแลว วิสาหกิจสังคมจะมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการลดขอดอยที่เกิดจาก การดํ า เนิ น งานของตลาดและรั ฐ บาล และเป น สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ การขนานนามว า เป น ทุ น นิ ย มสร า งสรรค (Creative Capitalism) ที่สามารถผลักดันใหตลาดและธุรกิจเอกชนสามารถปรับตัวในการตอบสนองความ ตองการของสังคมที่ยังไมบรรลุผลได ความทาทายที่วิสาหกิจสังคมใหแกวงการธุรกิจ คือ การนําตนทุนทางสังคมและสิ่ งแวดลอม เขา มาคิดรวมในกระบวนการดําเนินธุรกิจ ขณะเดียวกัน การแกไขปญหาของสังคมโดยอาศัยการใหบริการของ ภาครัฐ (Public Services) ที่เปนอยูในปจจุบัน จะดําเนินการในลักษณะแยกสวน แตวิสาหกิจสังคมจะ เปนตนแบบของการสรางแนวทางแกไขปญหาของสังคมในเชิงบูรณาการและเฉพาะทาง โดยมีคนเปน ศูนยกลาง (People-Focused) ไดมากกวาการใหบริการของภาครัฐ ดังนั้น การสรางวิสาหกิจสังคมที่ แข็งแกรง เพื่อสรางผลกระทบทางสังคมที่ยั่งยืนนั้น จะตองใหความสําคัญกับการปฏิสัมพันธระหวาง วิสาหกิจสังคมตางๆ ที่จะนําไปสูการเปดตลาดใหม หรือสงเสริมแนวทางแกไขปญหาใหม กับองคกร อื่ น ๆ ทั้ ง จากภาครั ฐ และเอกชน ซึ่ ง ถื อ ครองสิ น ทรั พ ย แ ละเครื อ ข า ยที่ ส ามารถผลั ก ดั น การสร า ง นวัตกรรมทางสังคมไดอยางมีนัยสําคัญ

• กระแสการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ในมิ ติ ด า นกระแสการเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ งนั้ น ผู ต อบแบบสอบถามระบุ ไ ปในแนวทาง เดียวกันอยางมีนัยสําคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดานภูมิรัฐศาสตร (Geo-Politics) ที่เขามามีสวนกําหนด ทิศทางการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และเชื่อมโยงเขากับบริบทของประเทศ ประกอบดวย ๑) อํานาจแทรกแซงทางการเมืองที่เพิ่มขึ้นขององคกรระหวางประเทศ และ ๒) การดําเนินการตามกรอบ พันธกรณีที่มีตอขอตกลงรวมนานาชาติ ขณะที่กระแสการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในลําดับรองลงมา คือ ขอกังวลเกี่ยวกับการที่คนชั้นกลางในเมืองใหญใหความสําคัญตอประชาธิปไตยนอยกวาความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ กระแสการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองตามความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามขางตน มีความ สอดคลองกับปรากฏการณสําคัญทางการเมืองที่กําลังดําเนินอยูในปจจุบัน และมีแนวโนมจะดําเนินตอไป ในอนาคตดวย อันไดแก • การเปดเสรีทางการคา และความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ประเทศไทยเปนประเทศขนาดเล็กที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปด และในชวงที่ผานมา ประเทศได เขารวมกับประเทศคูคาในการจัดทําขอตกลงการเปดเสรีการคา (Free Trade Agreement) ในหลาย ระดับ ประกอบดวย ๑) การเปดเสรีการคาระดับทวิภาคี (Bilateralism) กับประเทศคูคาสําคัญ เชน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด จีน ญี่ปุน เกาหลี และอินเดีย เปนตน ซึ่งในภาพรวม ประเทศไทยไดรับผลประโยชนจากการ

๗๖

เปดเสรีการคา แตในรายละเอียดจะพบวา ภาคการผลิตแตละสวนก็จะมีทั้งที่เปนผูไดประโยชนและผูเสีย ประโยชน ๒) การเปดเสรีการคาในระดับภูมิภาค (Regionalism) ซึ่งสวนที่มีความโดดเดนที่สุด ไดแก AsiaPacific Economic Cooperation (APEC) และ Asean Free Trade Area (AFTA) โดยทั้งสอง กระบวนการมี ลั ก ษณะของการสร า งความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ และมี ค วามสั ม พั น ธ แ ละสํ า คั ญ ต อ ยุทธศาสตรการคาและการลงทุนระหวางประเทศสําหรับประเทศไทยอยางมาก และ ๓) การเปดเสรีการคาระดับพหุภาคี (Multilateralism) ที่ประเทศไทยไดดําเนินงานโดยอาศัยการ เจรจาในประเด็นสําคัญกับนานาอารยประเทศของโลกสากล เพื่อผลประโยชนรวมกันของกลุ มประเทศ กําลังพัฒนา ไมวาจะเปนดานสินคาเกษตร การคาบริการ การปรับปรุงระเบียบทางการคา การปรับปรุง กฎเกณฑเกี่ยวกับการอุดหนุน การปรับปรุงกฎระเบียบทางการคา การตอตานการทุมตลาด และทรัพยสิน ทางปญญา เปนตน ประเทศไทยจําเปนตองตระหนักถึงความตอเนื่องของการเปดเสรีการคาระหวางประเทศที่จะยัง เกิดขึ้นตอไปในทุกระดับ และตองเตรียมความพรอมในเชิงนโยบายที่เหมาะสม เชน การปฏิรูปโครงสราง เศรษฐกิจภายในประเทศ และการกําหนดมาตรการชดเชยหรือจูงใจใหแกธุรกิจในการปรับตัวตามการ ปฏิรูปโครงสรางเศรษฐกิจ ดังกลาว • บทบาทขององคกรระหวางประเทศในการแทรกแซงทางการเมืองตามแนวชายแดน การดําเนินนโยบายขององคกรระหวางประเทศ ไมเพียงเกิดขึ้นเฉพาะในมิติของเศรษฐกิจเทานั้น แตในปจจุบัน ยังไดขยายมาถึงมิติทางการเมืองดวย ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนที่สุดในชวงไมนานที่ผานมา ก็ คือ กรณีพิพาทการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ระหวางประเทศไทยและกัมพูชา ที่มี องคกรระหวางประเทศไดเขามาแสดงบทบาทในรูปแบบตางๆ อยางชัดเจน เชน การเปนฝายกลางการ เจรจาระหวางไทยกับกัมพูชาของ UNESCO เพื่อใหเกิดการลงนามในแถลงการณรวมระหวางไทยและ กัมพูชาเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ในป ๒๕๕๑ และการเรียกรองของฝาย กัมพู ชาให อาเซี ยนเข ามาเปน ผูช วยไกลเกลี่ ยและหารือในขอพิพาทระหว างทั้งสองประเทศ เมื่ อเดือน สิงหาคม ๒๕๕๓ ดังนั้น การดํารงสถานะขององคกรระหวางประเทศเหลานี้ ยอมสงผลกระทบถึงความสามารถใน การใชอํานาจอธิปไตยของประเทศไทย และประสิทธิภาพในการดําเนินนโยบายใดๆ ไมวาในระดับประเทศ หรือระดับทองถิ่น อันมีความเกี่ยวพันไปถึงผลประโยชนของประเทศคูกรณี ประเทศไทยจึงตองคํานึงและ ทบทวนจุดยืนและยุทธศาสตรในเวทีระหวางประเทศอยูเสมอ เพื่อใหการบริหารจัดการและการดําเนิน นโยบายของประเทศจะเปนไปอยางราบรื่น ไมถูกแทรกแซงจากการดําเนินงานขององคกรระหวางประเทศ จนทําใหพัฒนาการของประเทศตองหยุดชะงัก และขาดความตอเนื่องไป

๓.๔ กระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ในสวนของกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผูตอบแบบสอบถามสวนมากเชื่อวา ๑) การหลอม รวมของวัฒนธรรมตางๆ ในการดําเนินชีวิต และ ๒) การเกิดสังคมเครือขาย (Social Network) จะ สงผลตอการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และครอบคลุมไปยังบริบทของประเทศไทยดวย ขณะที่ กระแสการเปลี่ยนแปลงที่มีความสําคัญรองลงไป คือ การเกิดสังคมวัยวุฒิ (Aging Society) กระแสการเปลี่ ย นแปลงทางสั งคมตามความคิ ด เห็ น ของผู ต อบแบบสอบถามข างต น มี ความ สอดคลองกับปรากฏการณสําคัญทางสังคมที่กําลังดําเนินอยูในปจจุบัน และมีแนวโนมจะดําเนินตอไปใน อนาคตดวย อันไดแก

๗๗

• วิวัฒนาการของกลไกดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อันนําไปสูการสราง เครือขายทางสังคม (Social Network) เทคโนโลยีรูปแบบตางๆ มีวิวัฒนาการอยางรวดเร็วตลอดระยะเวลาในชวง ๒ ทศวรรษที่ผานมา (ค.ศ. ๑๙๙๐-๒๐๑๐) และเข ามามีบ ทบาทในการพัฒ นาระบบเศรษฐกิจ ของโลก อั นกอให เกิด การ เปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญ และเทคโนโลยีเฉพาะทางแขนงหนึ่งที่สงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกอยางชัดเจน ก็คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่ประชาชนและธุรกิจสามารถเขาถึง และใชประโยชนดานความรูจากแหลงสารสนเทศทั่วโลกดวยตนทุนที่ถูกลง โดยเฉพาะการกอเกิดขึ้นของ อินเตอรเน็ต ซึ่งเปนแหลงความรูและสื่อกลางในการทําธุรกรรมทางการคาและบริการแบบใหมที่เรียกวา พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-commerce) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชประโยชนเพื่อ การศึกษาโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (E-education) การลดความเหลื่อมล้ําของประชาชนในการเขาถึง สารสนเทศและความรู (Digital Divide) เพื่อใหสังคมมีความเทาเทียมกันมากขึ้น (E-society) การ เสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรม (E-industry) และการเพิ่มประสิทธิภาพ และความโปรงใสในการดําเนินการของภาครัฐ (E-government & E-procurement) นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยังไดมีวิวัฒนาการไปสูการสรางพื้นที่ดานขอมูล ขาวสาร (Cyber Space) ใหกับแตละปจเจกในการพัฒนาพื้นที่ของตนเอง โดยอาศัยกลไกสมัยใหม ไดแก ระบบอีเมล (Email) และเว็บไซตเชิงสังคมตางๆ เชน Hi๕ Facebook Twitter ซึ่งเปนกลไกที่สามารถ ผลั ก ดั น ให เ กิ ด การสร า งเครื อ ข า ยระหว า งป จ เจก อั น ส ง ผลให เ กิ ด เป น เครื อ ข า ยทางสั ง คม (Social Network) ที่เปนแหลงสะสมทุนทางสังคม (Social Capital) ของบุคคลได เครือขายที่ถูกสรางขึ้น ได นําไปสูการสื่อสารอัน รวดเร็ว และการดําเนินกิจกรรมรูปแบบตางๆ ได อยางไรก็ ตาม การดําเนินการ ดังกลาวสามารถเกิดขึ้นไดทั้งในเชิงบวกและลบ อันถือเปนประเด็นความทาทายใหมของภาครัฐที่จะตอง สรางกรอบกติกา และกํากับดูแลใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น • การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) อันนําไปสูการซื้อขายสินคาเชิง วัฒนธรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง ในชวงทศวรรษที่ผานมา (ค.ศ. ๒๐๐๐-๒๐๑๐) ประเทศพัฒนาแลว (Developed Countries) ได มุงเนนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยอาศัยเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค (Creative Economy) ดัง จะเห็นไดจากอัตราการขยายตัวอยางรวดเร็วของอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรค (Creative Industry) ซึ่งเปน อุตสาหกรรมที่มีสวนสรางมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ และเปนแหลงสรางงานที่สําคัญ สินคา และบริการเชิงสรางสรรค (Creative Goods and Services) ไดกลายเปนสินคาสงออกที่สําคัญของ บรรดาประเทศพัฒนาแลว คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ ๘๒ ของสวนแบงตลาดสงออกทั้งหมดของโลก ดังนั้น การสร า งความสามารถในการแข ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ในอนาคต มี แ นวโน ม จะอยู บ นพื้ น ฐานของ ความสามารถในการนําความคิดสรางสรรคมาสรางมูลคาทางเศรษฐกิจมากขึ้น ซึ่งประเทศในภูมิภาคเอเชีย บางประเทศไดเริ่มขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจในรูปแบบของเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคดวยแลว เชน สิงคโปร จีน และฮองกง เปนตน จากการทบทวนกรอบแนวคิ ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เชิ งสร า งสรรค พบว า องค ป ระกอบของ “เศรษฐกิ จ เชิ ง สร า งสรรค ” จะมี พื้ น ฐานแนวคิ ด ที่ เ น น การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ โดยใช อ งค ค วามรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) ที่ เชื่อมโยงกั บรากฐานทางวั ฒนธรรม การส่ํ าสมความรู ของสังคม และ

๗๘

เทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม กระแสการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคที่เกิดขึ้นในโลกปจจุบันมีผลทําให ประเทศไทยตองปรับกรอบแนวทางการพัฒนาของประเทศใหสอดคลองกับกระแสดังกลาว สงผลใหการ พัฒนาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคไดกลายเปนแนวทางหนึ่งของการขับเคลื่ อนยุทธศาสตรการปรับโครงสราง การผลิตของประเทศใหสมดุลและยั่งยืน ภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ ซึ่ง ตั้งอยูบนพื้นฐานของการสรางมูลคาของสินคาและบริการ (Value Creation) โดยอาศัยองคความรูและ นวัตกรรม ผนวกเขากับจุดแข็งของประเทศในดานความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนไทย ดังนั้น การใหความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค จะมีสวนผลักดันใหประเทศ ไทยสามารถปรับ โครงสร างเศรษฐกิ จจากการพึ่งพิ งป จ จั ยการผลิ ตที่ มีร าคาถูกและใช ทรั พยากรอย าง สิ้นเปลือง (Factor-Driven Economy) ไปสูระดับสูงขึ้นที่เนนการเพิ่มประสิทธิภาพและสรางนวัตกรรม (Efficiency- and Innovation-Driven Economy) ตอไป

3.5 ทิศทางหรือนโยบายการพัฒนาในมิติที่สําคัญในพื้นที่ 3.5.1 การถอดรหัสเชิงนโยบาย จําแนกตามประเด็นสําคัญเชิงนโยบาย (Decoding by Critical Issues) เมื่อพิจารณาจากประเด็นเชิงนโยบายตามวาระของจังหวัดปทุมธานี นํามาวิเคราะหเขากับกรอบ แนวคิดของการถอดรหัสเชิงนโยบาย เพื่อจัดลําดับความสําคัญเชิงนโยบายสําหรับจังหวัดปทุมธานี ในการ นําไปบริ หารจัด การเชิ งยุทธศาสตรของจังหวั ด ทั้ งนี้ การถอดรหั สเชิงนโยบายที่เชื่ อมโยงถึงวาระของ จังหวัดในทั้ง ๓ สวนงาน สามารถสรุปได ดังนี้ ภาพประกอบที่ ๑: ผลสรุปการถอดรหัสเชิงนโยบายของจังหวัดปทุมธานี

ภาพประกอบที่ ๑ ไดสะทอนใหเห็นถึงประเด็นสําคัญเชิงนโยบาย (Critical Policy Issues) ที่ จังหวัดปทุมธานี สามารถพิจารณาผลักดันในเชิงบูรณาการตามวาระของจังหวัด ใหบังเกิดผลกระทบในแต ละระดับอยางเปนรูปธรรมไดในชวงระยะเวลาตางๆ โดยปรากฏผลสรุปในตารางที่ ๓ ดังนี้

๗๙

ผลสรุปการถอดรหัสเชิงนโยบาย (Policy Decoding) จําแนกตามพื้นที่การวิเคราะห พื้นทีก่ ารวิเคราะห (Area of Analysis) พื้นที่หมายเลข ๑: Quick-Win & Macro

ประเด็นเชิงนโยบาย ๑) การแกไขปญหายาเสพติด และการจัดระเบียบ สังคม ๒) การบริหารจัดการมลพิษ และขยะมูลฝอย พื้นที่หมายเลข ๒: Medium-term & Macro ๑) การลงทุนในอุตสาหกรรมสะอาด ๒) ปญหาคนจนเมือง และคนเรรอน ๓) การพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น / ชุมชน ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง ๔) การพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยของประชาชน พื้นที่หมายเลข ๓: Establishing & Macro ๑) การพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว ๒) การพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมเปาหมายให สามารถแขงขันไดในระดับภูมิภาค / การพัฒนาระบบโล จิสติกส ๓) การพัฒนาคุณภาพระบบการเมือง ๔) การบูรณาการโครงการพระราชดําริ พื้นที่หมายเลข ๔: Establishing & Micro ๑) การเพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร พื้นที่หมายเลข ๕: Medium-term & Micro ๑) การสรางเอกลักษณประจําจังหวัด เพื่อสงเสริมการ ทองเที่ยวและการกีฬา พื้นที่หมายเลข ๖: Quick-Win & Micro ๑) การสงเสริมการใชประโยชนศักยภาพของผูสูงอายุ ซึ่งจะเห็นไดวา ประเด็นสําคัญเชิงนโยบายที่นาจะมีความสําคัญสูงสุด (First-best) โดยที่จังหวัด อาจพิจารณาดําเนินการในระยะเวลาอันรวดเร็ว (ในชวงระยะไมเกิน ๑ ป เชน ชวงปงบประมาณ ๒๕๕๔) และสามารถเห็นผลสัมฤทธิ์ในระดับสูง และ/หรือ ในวงกวางไดมากที่สุด (พื้นที่หมายเลข ๑: Quick-Win & Macro Impact) ไดแก ๑) การแกไขปญหายาเสพติด และการจัดระเบียบสังคม อันมีเหตุผลสนับสนุนที่สําคัญ คือ นอกจากจะเปนเจตจํานงสําคัญของคณะทํางานแลว ในชวงที่ผานมา จังหวัดก็ไดมีการวางแผนและกําหนด แนวทางการดํ า เนิ น งานแก ไ ขป ญ หานี้ ร ะหว า งหน ว ยงาน และได มี ก ารนํ า ร อ งผลั ก ดั น การทํ า งานใน ภาคปฏิบัติตางๆ ไปในระดับหนึ่ง ตัวอยางของมาตรการที่ไดดําเนินการมาแลว และสามารถพิจารณา ผลักดันดําเนินการตอไปได อาทิ + การดําเนินงานของคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดปทุมธานี (ศตส. จ. ปท.) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรการแกไขปญหายาเสพติดระดับจังหวัด + การจัดตั้งคณะทํางานเฝาระวังยาเสพติดระดับพื้นที่ + การจัดตั้งชมรมพลังแผนดินทองถิ่นทองที่สามัคคี (ในระดับอําเภอ) + การจัดตั้งชุดรักษาความสงบเรียบรอย + การจัดกิจกรรมรวมพลังแผนดินเฝาระวังปญหายาเสพติด

๘๐

+ การประสานความร ว มมื อ และปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ กองอํ า นวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายใน ราชอาณาจักร (กอ. รมน.) ของจังหวัด เพื่อบูรณาการดําเนินการปองกันและแกไขปญหายาเสพ ติดอยางใกลชิด + การเสริมสรางหมูบาน/ชุมชนเขมแข็งเอาชนะยาเสพติด + การพัฒนาชุมชนตนแบบ (เชน ชุมชนฟาครามนคร เทศบาลเมืองคูคต) + การสรางผูประสานพลังแผนดินเปนแกนนําเฝาระวังหมูบาน/ชุมชนของตนเอง + การระดมกํ าลังจากเจ าหนาที่ฝ ายต างๆ ที่ เกี่ ยวของในการทํ างานร วมกั บกลุมเป าหมายอย าง ใกลชิด + การจัดตั้งจุดตรวจคน การสรางและกระตุนจิตสํานึกของพลังมวลชน + การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระเบียบสังคม และการตรวจตราสถานที่ลอแหลมตอการแพร ระบาดของยาเสพติด + การจัดชุดปฏิบัติการจัดระเบียบสังคมเชิงบูรณาการ โดยการสนธิกําลังระหวางฝายที่เกี่ยวของ เชน ปลัดอําเภอ ผูประสานพลังแผนดิน เพื่อตรวจตราดูแลความสงบเรียบรอย + การแกไขเยียวยาผูติดยาเสพติด และการพัฒนาเครือขายเยาวชนในสถานศึกษา โดยอาศัยวิธีการ รณรงคปองกัน การจัดคายเยาวชน และการจัดกิจกรรมนันทนาการ + การดําเนินโครงการ “โรงงานสีขาว” + การจัดตั้งชมรม และสมาชิก To Be Number One + การดําเนินงาน “กองทุนแมของแผนดิน” + การจัดอบรมแรงงานสัมพันธกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ จั งหวั ดปทุ มธานี ไดกําหนดวาระไวอย างชั ดเจนชั ดเจน และบู รณาการความร วมมื อจาก คณะทํางานหรือหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของอยางจริงจัง เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ซึ่ง จะสงผลใหการแกไขปญหามีความคืบหนาไปไดอยางตอเนื่อง ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด และการจัดระเบียบสังคม นโยบายและยุทธศาสตรที่จังหวัด พิจารณาดําเนินการตอเนื่องและขยายผลได เชน ๑) การดําเนินงานเชิงบูรณาการของทุกหนวยงานในการพัฒนา “พื้นที่สีขาว” ในจังหวัดใหปลอด ยาเสพติด โดยใหครอบคลุมไปถึงกลุมสถานที่เปาหมายสําคัญ ไดแก สถานศึกษา หมูบาน และชุมชนตางๆ ๒) การสรางความเขมแข็งของชุมชน ทั้งในมิติทางเศรษฐกิจและสังคม และการรณรงคตอตานยา เสพติดของจังหวัด โดยอาศัยการมีสวนรวมของประชาชนเปนที่ตั้ง ๓) การกํากับดูแลความเปนระเบียบ และการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัดกับสถานที่กลุมเสี่ยง ตอการสรางปญหาสังคม เชน สถานบันเทิง หอพักนักศึกษา โรงงานอุตสาหกรรม รานเกมส เปนตน ขณะเดียวกัน จังหวัดจะริเริ่มแนวทางใหมในการจัดการปญหา โดยสงเสริมการดําเนินมาตรการ และจั ด กิ จ กรรมเชิ ง สร า งสรรค ใ ห เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อย า งทั่ ว ถึ ง ทั้ ง ในมิ ติ ข องการพั ฒ นากลไกที่ สนับสนุนการสรางภูมิคุมกันทางสังคม การปลูกฝงคานิยมที่ดีงาม การสรางตนแบบของจังหวัด (Model of Pathumthani) และการจัดประชุมฟนฟูพัฒนาจิตใจทางศาสนาและจริยธรรมในระดับมวลชน เปนตน การดําเนินการดังกลาวจะตองอาศัยการวางแผนและเจาะกลุมเปาหมายใหสอดคลองกับบริบทของจังหวัด

๘๑

๒) การบริ หารจั ด การมลพิ ษ และขยะมู ลฝอย เนื่ องจากการดํ าเนิ น งานบางประการใน ระดับพื้นฐาน จังหวัดสามารถนํารองดําเนินการในเชิงบูรณาการไดกอน โดยอาศัยการสรางความรวมมือ ระหวางคณะทํางานและหนวยงานที่เกี่ยวของในการขับเคลื่อนการทํางานรวมกัน ทั้งนี้ ประเด็นสําคัญที่ จังหวัดตองดําเนินการแกไขและพัฒนา (เรียงตามลําดับความสําคัญ) ประกอบดวย ก) ปญหาขยะมูลฝอย ซึ่งสามารถเริ่มตนผลักดันจากการดําเนินงานพื้นฐานกอนได เชน การ รณรงคลดปริมาณขยะ การเพิ่มจํานวนจุดทิ้งขยะ การกําหนดจุดพักขยะ การคัดแยกขยะ การจัดระเบียบ ในการนําขยะบางประเภทและวัสดุเหลือใชกลับมาใชประโยชนใหม หรือดัดแปลงไปสูการใชงานดานอื่นๆ เปนตน และ ข) ปญหาน้ําเนาเสีย ซึ่งตองไดรับการแกไขทั้งในสวนของการบําบัดน้ําเสียจากอาคารบานเรือน และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ และการฟนฟูสภาพน้ําในแหลงน้ําสาธารณะตางๆ ขณะเดียวกัน กลุมประเด็นสําคัญเชิงนโยบายที่มีความสําคัญรองลงมา (Second-best) ซึ่งทาง จังหวัดจะพิจารณาดําเนินการควบคูกันไปกับกลุมประเด็นในพื้นที่หมายเลข ๑ เนื่องจากมีความเชื่อมโยง ในเชิ ง สนั บ สนุ น ระหว า งกั น ก็ คื อ กลุ ม ประเด็ น สํ า คั ญ เชิ ง นโยบายที่ ถู ก จั ด อยู ใ นพื้ น ที่ ห มายเลข ๒ (Medium-Term & Macro Impact) เนื่องจากเปนประเด็นที่สรางผลกระทบในระดับสูง หรือในวง กวางเชนกัน แตจะใชระยะเวลานานขึ้นจนเขาสูระยะปานกลาง (เชน ระหวาง ๑-๓ ป) เนื่องจากลักษณะ ของงานจําเปนตองอาศัย ระยะเวลาการดําเนินงานที่ตอเนื่อง และอาจเปน งานที่มีระดับ ความซับซอน (Complexity) ที่สูงขึ้นกวางานในระดับพื้นฐานทั่วไป เชน การพัฒนาหรือถายทอดเทคโนโลยี การกอสราง โครงสรางพื้นฐาน หรือการพัฒนาฐานขอมูล เปนตน กลุมประเด็นสําคัญเชิงนโยบายดังกลาว มีดังนี้ ๑) การแกไขปญหาคนจนเมือง และคนเรรอน ปญหานี้จําเปนตองไดรับการสะสางคูขนานไป ดวย เนื่องจากมีความเชื่อมโยงไปถึงปญหาประชากรแฝงและแรงงานตางดาว ซึ่งยังเชื่อมตอไปถึงการแกไข ปญหายาเสพติดและการกอปญหาอาชญากรรมภายในจังหวัดอีกทอดหนึ่งดวย ทั้งนี้ ประเด็นเชิงนโยบายที่ จังหวัดสามารถพิจารณาวางแผนและดําเนินการไดในเชิงบูรณาการ ประกอบดวย การจัดระเบียบพื้นที่ สาธารณะ การบริหารจัดการผังเมืองใหสอดคลองกับความตองการของเมืองที่ขยายตัว การพัฒนาแหลงที่ อยู อ าศั ย สํ า หรั บ ผู มี ร ายได น อ ย การพั ฒ นาแหล ง พั ก พิ ง สํ า หรั บ คนเร ร อ น การพั ฒ นาฐานข อ มู ล และ กระบวนการ เพื่อควบคุมและบริหารจัดการภาวะการเปลี่ยนแปลงของคนจนเมืองและคนเรรอนในจังหวัด รวมไปถึงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีพของประชาชนอยางทั่วถึง ๒) การลงทุนในอุตสาหกรรมสะอาด โดยเจาะจงไปที่อุตสาหกรรมบริหารจัดการสิ่งแวดลอมเปน ลําดับแรกสุด เนื่องจากมีความเชื่อมโยงไปถึงการดําเนินงานพื้นฐานที่จะตองพัฒนาในสวนของการบริหาร จัดการมลพิษและขยะมูลฝอย อยางไรก็ตาม การลงทุนดังกลาวตองดําเนินการอยางเปนระบบ และยอม เกี่ยวของกับประเด็นดานการพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี และการกอสรางโครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบ บําบัดน้ําเสีย โรงงานกําจัดขยะ โรงงานรีไซเคิลขยะ เปนตน ขณะที่อุตสาหกรรมผักปลอดสารพิษ ในฝง อุปทาน (Supply-Side) เริ่มจากการสงเสริมใหเกษตรกรเนนการรวมกลุมใหมากขึ้น และเขาสูกระบวนการเรียนรู (Learning Process) ทั้งในเชิงพื้นฐานและเชิงเทคนิคที่สําคัญ ตั้งแตการจัดเตรียมปจจัยการผลิต การเพาะปลูก ตลอดไปจนถึงกรรมวิธีตางๆ ที่ปราศจากการใชสารเคมี เพื่อลดผลกระทบเชิงลบตอผูบริโภคและระบบ นิเวศ รวมไปถึงการลําเลียงผลผลิตออกสูตลาด โดยอาจใชกลไกของระบบสหกรณหรือแนวคิดรานคาสี เขียว (Green Mart) ที่ภาครัฐจะสามารถอํานวยความสะดวกดานเงินอุดหนุน (Subsidies) หรือการลงทุน โครงสรางพื้นฐานที่จําเปนได สวนในฝงอุปสงค (Demand-Side) ควรเนนไปที่การสรางกลุมผูบริโภคสี เขียว (Green Consumer) โดยสงเสริมการสรางความตระหนัก (Awareness) ใหกับประชาชนถึง ความสําคัญของการบริโภคพืชผักที่ไมมีสารพิษเจือปน และพัฒนามาตรการจูงใจทางภาษีใหแกผูบริโภค สินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

๘๒

๓) การพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น / ชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง งานในสวนนี้มีความ จําเปนที่จะตองดําเนินการควบคูไปกับงานแกไขปญหายาเสพติดและอาชญากรรมในจังหวัด ทั้งยังมีผลไป ถึงการพัฒนากําลังแรงงานของจังหวัดใหไปสูขีดความสามารถที่สูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุมนักศึกษาจบใหม และกลุมคนวัยทํางาน แตถือเปนการดําเนินงานที่ตองมองไปข างหนาในชวงระยะเวลาที่ยาวขึ้น เพราะ ยุทธศาสตรสําคัญ จะไมไดมีเฉพาะการสงเสริมตลาดผลิตภัณฑตําบล (OTOP) และการพัฒนาฝมือ/ทักษะ แรงงานในกลุ มอุตสาหกรรมเปาหมายเทานั้น แตจะยังครอบคลุมไปถึง การพัฒนาตลาดแรงงานและ เศรษฐกิจของจังหวัดในองครวมที่มุงไปสูการเปนสั งคมผูประกอบการ (Entrepreneurial Society) ใหสู งขึ้ นดวย โดยเฉพาะในระดับท องถิ่น และชุมชน ซึ่งหมายความวา จั งหวั ดต องสงเสริ มการสราง ผูประกอบการรายใหมที่มีศักยภาพสูงพอที่จะสามารถพัฒนานวัตกรรมและสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ ของจังหวัด อันมีนัยสําคัญไปถึงการขยายฐานและศักยภาพในการจางงานใหมของจังหวัดอยางยั่งยืน ๔) การพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยของประชาชน การยกระดับคุณภาพของระบบการเมืองใน ระบอบประชาธิปไตย จําเปนตองเริ่มจากการมีสวนรวมของประชาชนเปนหลักสําคัญ ดังนั้น การสราง ความตระหนักและองคความรูที่เหมาะสมแกประชาชนตอความสําคัญของระบอบประชาธิปไตย จึงเปน ปจจัยพื้นฐานที่จะนําไปสูการพั ฒนาภาคการเมืองของจังหวัด และประเทศในระยะยาว จังหวัดจึงควร พิ จ ารณาดํ า เนิ น โครงการที่ เน น การสร า งจิ ต สํ า นึ กและวิ ถี ชี วิ ต ตามแนวทางประชาธิ ป ไตยให แ ก ภ าค ประชาชน เชน การพัฒนาประชาธิปไตยในสถานศึกษา การพัฒนาผูนําในระดับชุมชนหรือทองถิ่น การ สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองหรือบริหารจัดการทองถิ่นของตนเองตามวิถีทางใน ระบอบประชาธิปไตย และการใหความรูแกประชาชนเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เปน ตน การดําเนินงานในประเด็นเชิงนโยบายเหลานี้ ถือเปนงานเบื้องตนที่จะทําใหจังหวัดสามารถตอยอดการ พัฒนา และเชื่อมโยงไปถึงเปาหมายทางการเมืองในดานอื่นๆ ในระยะตอไปไดสะดวกยิ่งขึ้น ไมวาจะเปน การเสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของคนในจังหวัด การอาศัยรวมกันไดทามกลางความ แตกตางทางความคิดและอุดมการณทางการเมือง ความตอเนื่องของการดําเนินนโยบายพัฒนาจังหวัด และการเปลี่ยนแปลงของระบบการเมืองในเชิงสรางสรรค ขณะเดียวกัน ในสวนของประเด็นเชิงนโยบายอื่นๆ ที่ปรากฏอยูในภาพประกอบที่ ๑ แตไมไดรับ การอางถึงในรายละเอียด ณ ที่นี้ ก็มิไดหมายความวา จังหวัดจะไม ตองใหความสนใจหรือควรมองขามไป แตประการใด เพราะในความเปนจริง ทุกประเด็นเชิงนโยบายตามวาระของจังหวัดที่กําหนดไวทั้งหมด ลวนมีความนาสนใจในมิติของการพัฒนาในลักษณะที่แตกตางกันไป ประเด็นทาทายสําคัญ คือ จังหวัด จะตองดําเนินการบริหารจัดการเชิงนโยบายและยุทธศาสตร ตลอดจนดําเนินมาตรการและโครงการตางๆ ใหสอดคลองกับความตองการและสถานการณที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลาของจังหวัดเทานั้น ตัวอยางเชน ประเด็นเชิงนโยบายที่มีนัยสําคัญตอการพัฒนาจังหวัดในระยะยาว (Establishing ระยะเวลามากกวา ๓ ป) ไดแก การพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) การพัฒนาระบบโลจิ สติกส การพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมเปาหมายใหสามารถแขงขันไดในระดับภูมิภาค การพัฒนา คุณภาพระบบการเมือง การบูรณาการโครงการพระราชดําริ และการเพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร ก็ยอมมีความสําคัญตอจังหวัดในดานการสรางความยั่งยืนและการวางรากฐานการพัฒนาที่มีความเขมแข็ง ในภายภาคหนา ซึ่งในการวางแผนและดําเนินงานเชิงบูรณาการในประเด็นเหลานี้ จังหวัดอาจจําเปนตอง พิจารณาประยุกตวิธีการ “มองอนาคตเมือง” (City Foresight) และวางแผนและกําหนดโครงการภายใต กรอบเวลาที่ยาวนานกวาในรูปแบบเดิม (เชน ๕-๑๐ ป) รวมทั้งมีคณะทํางานเฉพาะเพื่อการเฝาระวังเชิง นโยบายและติดตามผลการพัฒนาอยางตอเนื่องในระยะยาวไดอยางแทจริง

๘๓

3.5.2 ความเชื่อมโยงระหวางประเด็นเชิงนโยบาย (Linkages of Policy Issues) จังหวัด ปทุ มธานีได ดํ าเนิ น การรวบรวมข อมูล พื้ นฐานที่เกี่ ย วข อง ทั้ งจากแหล งขอมู ล ปฐมภู มิ (Primary Data) ซึ่งไดรับจากการประชุมเฉพาะกลุม และแหลงขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ซึ่ง รวบรวมจากขอมูลของสํานักงานจังหวัด เว็บไซต บทความ และเอกสารวิชาการตางๆ อันนําไปสูการคนหา ทิศทางความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางประเด็นเชิงนโยบายได โดยเฉพาะในประเด็นที่สอดคลองกับความ ตองการและความจําเปนเรงดวนของจังหวัด ซึ่งไดนําสาระสําคัญมาเรียบเรียงไว ดังนี้ การคนหาความเชื่อมโยงระหวางประเด็นเชิงนโยบาย จะนําไปสูการจัดกลุมชุดนโยบายที่จะนํามา แก ไขป ญ หา หรื อพั ฒ นาจั ง หวั ด ได อย างมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ในลั กษณะที่ ส นั บ สนุ น และเกื้ อกู ล ระหว างกั น ภาพประกอบที่ ๖ ไดสะทอนใหเห็นความเชื่อมโยงของหลากหลายประเด็นเชิงนโยบาย ซึ่งรวมกันสงผล กระทบตอปญหาสําคัญของจังหวัด ไดแก ๑) ปญหายาเสพติด และอาชญากรรม และ ๒) ปญหามลพิษ และขยะมูลฝอย ปญหายาเสพติด และอาชญากรรมในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี มีขอบเขตของปญหาที่ขยายตัวอยาง รวดเร็ว อันเปนผลมาจากการทวีขึ้นของปญหาคนจนเมืองและคนเรรอน และการขยายตัวของเมืองและ อุตสาหกรรม ซึ่งทั้งสองปญหาลวนเกิดมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรแฝงและแรงงานตางดาวที่ทะลัก เขามายังจังหวัด ขณะที่ปญหาเศรษฐกิจตกต่ําและการวางงาน ก็สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอ ปญหายาเสพติด และการกออาชญากรรม กลาวคือ เศรษฐกิจที่ถดถอย และการวางงาน ทําใหคนบางกลุม หันไปพึ่งพารายไดจาก “เศรษฐกิจไมเปนทางการ” (Informal Economy) มากขึ้น โดยการคายาเสพติด หรือการปลนชิงทรัพย ขณะที่บางสวนก็ตองกลับไปสูความยากจน กอนจะตองตัดสินใจเขาสูวงจรของยา เสพติดและอาชญากรรมในที่สุด สวนปญหามลพิษและขยะมูลฝอย ก็เปนผลมาจากการขยายตัวของเมือง และอุตสาหกรรมเชนเดียวกัน ความเชื่อมโยงระหวางประเด็นเชิงนโยบาย

(Linkages among Policy Issues) / การว่ างงาน ปั ญหายาเสพติด / การก่ ออาชญากรรม ประชากรแฝง / แรงงานต่ างด้ าว

คนจนเมือง / คนเร่ ร่อน ปั ญหามลพิษ / ขยะมูลฝอย

การขยายตัวของเมือง และอุตสาหกรรม

๘๔

การดําเนินชุดนโยบายในการแกไขปญหาขางตน จําเปนตองเขาถึงทุกปมประเด็นปญหาที่มีอยู เพื่อใหการแกไขปญหาดําเนินไปไดอยางครบถวนในทุกมิติอยางแทจริง ดังนั้น ในการเขาถึ งการแกไข ปญหาอยางครบถวน ตามประเด็นเชิงนโยบายที่เชื่อมโยงกันอยูดังกลาว การดําเนินชุดนโยบายที่เกี่ยวของ จึงตองครอบคลุมการแกไขปญหาในทุกสวน ซึ่งชุดนโยบายสําคัญในบริบทนี้ ประกอบดวย ๑) การจัด ระเบียบเมืองและสังคม ๒) การพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น / ชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ๓) การพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยของประชาชน และ ๔) การลงทุนในอุตสาหกรรมสะอาด เมื่อจังหวัด ไดดําเนินชุดนโยบายดังกลาว จะทําใหการแกไขปญหาครอบคลุมทุกปมประเด็นปญหา อันจะนําไปสูการ พัฒนาจังหวัดในเชิงบูรณาการไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังปรากฏตามภาพประกอบที่ ๒ (ผลกระทบของชุด นโยบายตอการแกไขปญหาดานตางๆ จะปรากฏเปนเสนประ) ภาพประกอบที่ ๒: การบูรณาการแนวทางการพัฒนาตามความเชื่อมโยงระหวางประเด็นเชิงนโยบาย

(Development Integration on Linkages among Policy Issues) / การว่ างงาน / ชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ประชากรแฝง / แรงงานต่ างด้ าว

การพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตย ของประชาชน

ปั ญหายาเสพติด / การก่ ออาชญากรรม คนจนเมือง / คนเร่ ร่อน การจัดระเบียบเมือง และสังคม การขยายตัวของเมือง และอุตสาหกรรม

ปั ญหามลพิษ / ขยะมูลฝอย

การลงทุนในอุตสาหกรรมสะอาด

อยางไรก็ตาม ชุดนโยบายที่จังหวัดจะดําเนินการตามที่ปรากฏขางตน จะตองดําเนินการอยางเปน กระบวนการในเชิงบูรณาการไปพรอมกันทั้งหมด เพื่อขับเคลื่อนการแกไขปญหาใหลุลวงไปได

๘๕

3.6 การวิเคราะหสภาพแวดลอมของจังหวัดปทุมธานี (SWOT Analysis) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

จุดแข็ง (Strength) การอุตสาหกรรม การเกษตร การศึกษา การพาณิชย สังคม คมนาคม/ทองเที่ยว การพลังงาน ขาวหอมปทุมธานีปลกไดตลอดทั้งป และมีตน การขนสงทุนต่ํากวาจังหวัดอื่น

โอกาส (Opportunity) 1. นโยบายของรัฐที่เอื้อตอการพัฒนาจังหวัด 2. ตลาดการคาเสรีทําใหความตองการสินคาและ อุตสาหกรรมบางประเภทเพิ่มขึ้น 3. รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมอุตสาหกรรม 4. รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการเกษตรปลอดภัย 5. มีความตองการฝมือแรงงานจากตลาดแรงงาน 6. ความกาวหนาทาง IT สามารถนํามาพัฒนา จังหวัดได 7. พืชเกษตรปลอดภัยเปนที่ตองการ 8. กระแสการตื่นตัวในการดูสุขภาพของประชาชน ทําใหมีความตองการผลิตภัณฑที่เกีย่ วของกับ สุขภาพ 9. สามารถรองรับและกระจายความเจริญในทุก ดาน 10.รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมสินคา OTOP ทําใหมี โอกาสผลักดันสงเสริมสินคา OTOP มากขึ้น 11.รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการปลูกปาลมน้ํามัน ในพื้นที่รังสิต 12.บทบาทของประเทศไทยในเวทีโลกสามารถ นํามาเอื้อตอการพัฒนาจังหวัด

1. 2. 3. 4. 5.

จุดออน (Weakness) ปญหาสังคมและสิ่งแวดลอม ปญหาการจัดระบบการผลิตภายในจังหวัด ปญหาแรงงานอพยพและแรงงานตางดาว ปญหาการบังคับใชผังเมือง ปญหาแรงงานมีทักษะฝมือแรงงานต่ํา

ภัยคุกคาม (Threat) 1. ปญหายาเสพติดในชุมชน 2. น้ําทวม 3. การเปดเสรีทางการคาทําใหภาคอุตสาหกรรมมี การแขงขันสูง 4. การขยายตัวของสังคมและแหลงบริการทําใหมี แหลงมั่วสุมของเยาวชน 5. ปญหาแรงงานตางดาว (มีการมั่วสุม มีผลการ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน) 6. สินคาราคาถูกจากจีนเขามาตีตลาด 7. การรุกล้ําการใชพื้นที่การเกษตรเปนที่อยูอาศัย และโรงงานอุตสาหกรรม 8. โรคระบาดสุกรมีผลเชิงลบตอกิจการโรงงานฆา สัตว 9. ชองทางการแพรระบาดของยาเสพติดและ คานิยมที่ไมพึงประสงคเขาถึงเยาวชนทําใหการ แกปญหายาเสพติดและปญหาเกี่ยวกับเยาวชน ไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร 10.การขยายตัวของชุมชนเมืองเขาใกลเขตโรงงาน อุตสาหกรรมทําใหเปนปญหากับเจาของ โรงงาน

๘๖

13.โอกาสในการเพิ่มมูลคาจากการใชฟางขาวใน การทําปุยและอาหารสัตว

11.รานโชหวยไดรับผลกระทบเชิงลบจาก ศูนยกลางการคาปลีกและสง 12.มลภาวะจากสุนัขและแมวจรจัดมีผลเสียตอการ ทองเทีย่ ว และการแพรระบาดของโรคพิษสุนัข บา 13.การกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษี (GMO, มาตรฐานสินคา) เปนขอจํากัดในการขายสินคา 14.พื้นที่จังหวัดปทุมธานีมีความเสี่ยงสูงจากโรค พิษสุนัขบาที่ระบาดจากสุนัขและแมวจรจัดมาก เปนอันดับ 3 ของประเทศ 15.ขาวหอมปทุมธานีมีตนทุนการผลิตสูงและมี เปอรเซ็นการสงออกลดลง มีปญหาเพลี๊ยะ กระโดดสีน้ําตาล

3.7 การวิเคราะหทิศทางยุทธศาสตรของจังหวัด (TOWs Matrix) ทิศทางเชิงรุก (SO Strategy) 1. ปรับระบบการบริหารจัดการไปสูโรงงาน อุตสาหกรรมสีเขียว 2. สงเสริมการผลิตที่สรางสรรคระดับชุมชน 3. เพิ่มองคความรูเชิงธุรกิจใหแกผูประกอบการ และสถาบันการผลิต 4. พัฒนาชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวม

ทิศทางเชิงแกไข (WO Strategy) 1. สงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรที่มีศักยภาพให เปนเครือขายผูประกอบการที่เขมแข็งอยาง ตอเนื่องเพื่อเสริมสรางอํานาจการตอรองใน ตลาดผูคา 2. เพิ่มศักยภาพผูประกอบการชุมชน 3. สรางเสริมสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อเมืองนาอยู

ทิศทางเชิงปองกัน (ST Strategy) 1. สรางระบบและกลไกในการควบคุมเฝาระวัง คุณภาพสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวมตั้งแตระดับ ชุมชน 2. บริหารจัดการดานคุณภาพการผลิตอยางเปน ระบบและครบวงจร 3. เสริมสรางภูมิคุมกันที่ดีทางสังคมดวย กระบวนการเรียนรู

ทิศทางเชิงรับ (WT Straetgy)  -

๘๗

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 วิสัยทัศน “ปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนยการเรียนรู และสังคมสันติสุข” พันธกิจ 1. พัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตและบริการที่ไดมาตรฐาน โดยคํานึงถึงคุณภาพชีวิตของชุมชนและประชาชน 2. พัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันในระดับภูมิภาคเศรษฐกิจอาเซียน 3. เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมแบบบูรณาการองคความรูและมีสวนรวมเพื่อใหจังหวัดปทุมธานี เปนสังคมสันติสุขอยางยั่งยืน 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการจังหวัดตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนสูงสุด ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 สงเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปาประสงค 1.1 การผลิตและบริการผานกระบวนการที่ไดมาตรฐานเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 1.2 โรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับชุมชนไดอยางมีธรรมาภิบาล 1.3 ผลิตสินคาและบริการเชิงสรางสรรค 1.4 มีเครือขายชุมชนควบคุมเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม กลยุทธ 1.1 ปรับระบบการบริหารจัดการไปสูโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว 1.2 สรางระบบและกลไกในการควบคุมเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวมตั้งแตระดับชุมชน 1.3 สงเสริมการผลิตและบริการที่สรางสรรคระดับชุมชน คาเปาหมาย ตัวชี้วัด

1. จํานวนสถานประกอบการ อุตสาหกรรมที่ไดรับใบรับรอง

2557

2558

2559

2560

2557-2560

120

130

140

150

135

๘๘ อุตสาหกรรมสีเขียว (สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี) 2. รอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ความสําเร็จของการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม (สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจังหวัดปทุมธานี)

70

75

80

85

77.5

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรและสินคาชุมชน เปาประสงค 2.1 เพิ่มมูลคาเกษตรปลอดภัยและสินคาชุมชนที่ไดมาตรฐาน 2.2 ผูบริโภคไดรับสินคาเกษตรปลอดภัย 2.3 สินคาชุมชนมีมาตรฐานสูสากล 2.4 สามารถขายสินคาเกษตรและสินคาชุมชนไดมากขึ้น 2.5 ผูประกอบการและสถาบันเกษตรกรมีขีดความสามารถเชิงธุรกิจ กลยุทธ 2.1 สงเสริมการผลิตสินคาเกษตรสูระบบมาตรฐานปลอดภัย 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการกระจายสินคาและตลาด 2.3 พัฒนาผูประกอบการสินคาชุมชนใหมีมาตรฐาน 2.4 เพิ่มขีดความสามารถเชิงธุรกิจของผูประกอบการและสถาบันเกษตรกร คาเปาหมาย ตัวชี้วัด

1. รอยละของจํานวน เกษตรกรกลุมเปา หมายที่ผาน การเตรียมความพรอมตาม ระบบมาตรฐาน GAP (สํานักงานเกษตรจังหวัด ปทุมธานี)

2557

2558

2559

2560

2557-2560

100

100

100

100

100

๘๙ 2. รอยละของจํานวน ผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดที่ไดรับมาตรฐาน ผลิตภัณฑชุมชน (สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี)

100

100

100

100

100

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอยางบูรณาการ เปาประสงค 3.1 ชุมชนเขมแข็ง ประชาชนเปนสุข สังคมสันติสุข 3.2 สภาพแวดลอมดี เมืองนาอยู 3.3 ชุมชนพัฒนาดวยกระบวนการมีสวนรวม 3.4 สังคมมีภูมิคุมกันที่ดีดวยกระบวนการเรียนรู กลยุทธ 3.1 พัฒนาชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวม 3.2 เสริมสรางภูมิคุมกันที่ดีทางสังคมดวยกระบวนการเรียนรู 3.3 สรางเสริมสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อเมืองนาอยู คาเปาหมาย ตัวชี้วัด 2557

2558

2559

2560

2557-2560

1. ระดับความสําเร็จของการ ปองกันและแกไขปญหายาเสพ ติด (ที่ทําการปกครองจังหวัด ปทุมธานี)

5

5

5

5

5

๒. รอยละที่เพิ่มขึ้นของ กิจกรรมสรางความสมานฉันท ที่เกิดจากเครือขาย (ที่ทําการปกครองจังหวัด ปทุมธานี)

15

20

25

30

22.5

***************************

๙๐ ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 (หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ)  ดานความมั่นคงของรัฐ  ดานการบริหารราชการแผนดิน  ดานศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม  ดานกฎหมายและการยุติธรรม  ดานการตางประเทศ  ดานเศรษฐกิจ  ดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม  ดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และ พลังงาน  ดานการมีสวนรวมของประชาชน

กฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวของ

ประเด็นการพัฒนา (1) พัฒนาพื้นที่เมืองของจังหวัด ใหเปนเมือนงนาอยูที่มี ลัก ษณะสอดคล อ งกับโอกาสทางเศรษฐกิ จและลัก ษณะ พื้ น ฐานทางประวั ติ ศ าสตร สั ง คม วั ฒ นธรรม และขี ด ความสามารถของจังหวัด (2) ส ง เสริ ม การพั ฒ นาภาคเกษตรไปสู ก ารผลิ ต อาหาร ปลอดภัย และพัฒนาใหเกษตรกรมีความสามารถในการทํา เกษตรในเชิงธุรกิจ ทั้งโดยการปรับกระบวนการผลิตใหได มาตรฐานและการพัฒนาองคกรเกษตรในรูปแบบตางๆใหมี ความสามารถในการประกอบการเกษตรเชิ ง ธุ ร กิ จ มาก ยิง่ ขึ้น (3) ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ผ ลั ก ดั น ใ ห ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม มี กระบวนการผลิตที่สะอาดและมีระบบบริหารจัดการที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมและชุมชน (4) ส ง เสริ ม ให มี ก ารพั ฒ นาการท อ งเที่ ย วตามแนว เศรษฐกิจสรางสรรค โดยเนนการอํานวยความสะดวกใน การเข า ถึ ง แหล ง ท อ งเที่ ยวที่ ส ะอาด และปลอดภั ย เป น แหลงทองเที่ยวที่มีคุณคาควรแกการเรียนรู และเนนการ สร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให กั บ ธุ ร กิ จ ชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การ ทองเที่ยว (5) พัฒนาและฟนฟูแมน้ําสายหลักของอนุภาคเพื่อใหเปน แหลงกําเนิดอาชีพของประชาชนในพื้นที่ (6) สงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งใน ดานสุขภาพสวนบุคคล ความอบอุนในครอบครัว และการ เปนพลเมืองที่ดีในชุมชน (7) พัฒ นาและสงเสริม ใหภาคชุม นและทอ งถิ่น มีความ เขมแข็งและมีความสามารถในการจัดหาและการบริหาร การใหบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมแกประชาชน ในทองถิ่น

กระแสการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ    

กระแสการกระจายอํานาจ การเขาสูประชาคมอาเซียน (AC) การเปลี่ยนแปลงดานสภาพแวดลอม ภัยพิบัติ ตางๆ กระแสการมีสว นรวมของภาคประชาชน และ ประชาสังคม

90

พรบ. ระเบีย บบริ หารราชการแผ นดิ น (ฉบัย ที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 52/1 ให จั ง หวั ด มี น าจภายในเขตจั ง หวั ด ดังตอไปนี้ (1) นํ า ภารกิ จ ของรั ฐ และนโยบายของรั ฐ บาลไป ปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์ (2) ดู แ ละให มี ก ารปฏิ บั ติ แ ละบั งคั บ การให เ ป นไป ตามกฎหมาย เพื่ อ ให เ กิ ดความสงบเรี ย บร อ ย และเปนธรรมในสังคม (3) จั ด ให มี ก ารคุ ม ครอง ป อ งกั น ส ง เสริ ม และ ช ว ยเหลื อ ประชาชนและชุ ม ชนที่ ด อ ยโอกาส เพื่ อ ให ไ ด รั บ ความเป นธรรมทั้ ง ด า นเศรษฐกิ จ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 และสังคมในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง พ.ศ. 2555-2559 (4) จั ด ให มี ก ารบริ ก ารภาครั ฐ เพื่ อ ให ป ระชาชน สามารถเขาถึง ไดอยางเสมอหนา รวดเร็ว และมี วิสัยทัศน สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความ คุณภาพ เสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการ (5) จั ด ให มี ก ารส ง เสริ ม อุ ด หนุ น และสนั บ สนุ น เปลี่ยนแปลง องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เพื่ อ ให ส ามารถ ยุทธศาสตรการพัฒนาที่สําคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ดํ า เนิ น การตามอํ า นาจและหน า ที่ ข ององค ก ร 1. ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม ปกครองสวนทองถิ่นและใหมีขีดความสามารถ 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรู พรอมที่จะดําเนินการตามภารกิจที่ไดรับการถาย ตลอดชีวิตอยางยั่งยืน โอนจากกระทรวง ทบวง กรม 3. ยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความ (6) ปฏิ บั ติ ต ามหน า ที่ อื่ น ตามที่ ค ณะรั ฐ มนตรี มั่นคงของอาหารและพลังงาน กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นของรัฐ 4. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการ มอบหมาย หรอที่มีกฎหมายกําหนด เติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน 5. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศ ในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ สังคม 6. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนากลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี)

๙๑ นโยบายของรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี) นโยบายที่จะดําเนินการภายในชวงระยะเวลา 4 ป  องคกรระหวางประเทศ  นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองทีด่ ี พัฒนาระบบราชการ สรางเสริมมาตรฐานดานคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา ภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบ กฎหมายและพัฒนากระบวนการยุตธิ รรม ใหทันสมัย สอดคลองหลักการประชาธิปไตย เรงรัดจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรปู กระบวนการยุติรรมที่ ดําเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการชวยเหลือประชาชนใหเขาถึงความเปนธรรมโดยงาย สงเสริมใหประชาชนมีโอกาสไดรับรูขาวสารจาก ทางราชการ สื่อสารมวลชนและสือ่ สาธารณะ  นโยบายความมั่นคงแหงรัฐ ที่สําคัญคือ เทิดทูนและพิทักษรกั ษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย ดํารงไวซึ่งพระบรมเดชานุภาพแหงองค พระมหากษัตริย นอมนําพระราชดําริทงั้ ปวงไวเหนือ เกลาเหนือกระหมอม พรอมทั้งอัญเชิญไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรม  นโยบายเศรษฐกิจ กระจายรายไดที่เปนธรรม ปรับโครงสรางภาษีอากรทั้งระบบ มีนโยบายสรางรายไดจากการสงเสริมการทองเที่ยว เพิ่มขึ้น 2 เทาตัวในเวลา 5 ป ผลักดันไทยเปนศูนยกลางการผลิตและการคาอาหาร ปรับโครงสรางเศรษฐกิจ  นโยบายโครงสรางพื้นฐาน จะพัฒนาระบบขนสง ประปา ไฟฟาใหกระจายไปสูภูมิภาคอยางทั่วถึง เพียงพอ ขยายการใหบริการน้ําสะอาดให ครอบคลุมทุกพื้นที่ พัฒนาระบบรถไฟทางคูเชื่อมชานเมือง+หัวเมืองหลัก  นโยบายดานสังคมและคุณภาพชีวิต กระจายโอกาสทางการศึกษาใหเขาถึงทุกกลุม จัดโครงการเงินกูเพื่อการศึกษาที่ผกู พันกับรายไดในอนาคต สงเสริมใหแรงงานเขาถึงขอมูลขาวสารตําแหนงวางงานโดยสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพประกันสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตตัง้ แตชวงตั้งครรภ จนถึงวัย ชรา และผูพิการ สรางหลักประกันความมั่นคงในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกรูปแบบ  นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตว ทรัพยากรทางทะเล สรางความเปนธรรมและลด ความเหลื่อมล้ําในการใชทรัพยากรธรรมชาติ  นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เรงสรางนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และครูวิทยาศาสตรใหเพียงพอ สงเสริมสนับสนุนการ วิจัยและพัฒนา สงเสริมความรวมมือกับประเทศมุสลิม และองคกรอิสลามระหวางประเทศ  นโยบายการตางประเทศ และเศรษฐกิจระหวางประเทศ เรงสงเสริมและพัฒนาความสัมพันธกับเพือ่ นบาน สงเสริมผลประโยชนของชาติใน

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 (4 ป) “ปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนยการเรียนรู และสังคมสันติสุข” สงเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรและสินคาชุมชน ความตองการของประชาชน

พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอยางบูรณาการ

91

แผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2555-2558 ในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ รัฐบาลจะมุงมั่นการพัฒนาประเทศ ใหรอดพนจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก และพัฒนาไปสูการเจริญเติบโต อยางยั่งยืน พรอมทั้งมุงมั่นจะสรางความสามัคคี ปรองดอง ใหเกิดขึ้น ใน สังคมไทย ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครองของประเทศใหกาวหนาเพือ่ ประโยชนสุข ของประชาชนชาวไทยทุกคน โดยยึดหลักการบริหารที่มีความยืดหยุน ที่คํานึงถึงพลวัตรการเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบ ตอการดําเนินนโยบายของรัฐบาล ทั้งนี้รัฐบาลจะดําเนินการใหบรรลุ ภารกิจดังกลาวภายใตแนวทางพื้นฐานหลัก ๓ ประการ คือ หนึ่ง เพื่อนําประเทศไทยไปสูโครงสรางเศรษฐกิจที่สมดุล มีความ เขมแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น ซึ่งจะเปนพื้นฐานที่ สําคัญของการสรางการเติบโตอยางมีคณ ุ ภาพและยั่งยืน การพัฒนา คุณภาพและสุขภาพคนไทยในทุกชวงวัย ถือเปนปจจัยชี้ขาด ความสามารถในการอยูรอดและแขงขันไดของเศรษฐกิจไทย สอง เพื่อนําประเทศไทยสูสังคมที่มีความปรองดองสมานฉันทและอยู บนพื้นฐานของหลักนิตธิ รรมที่เปนมาตรฐานสากลเดียวกันและมีหลัก ปฏิบัติที่เทาเทียมกันตอประชาชนคนไทยทุกคน สาม เพื่อนําประเทศไทยไปสูการเปนประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ อยางสมบูรณ โดยสรางความพรอมและความเขมแข็งทั้งทางดาน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง

๙๒

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรและ สินคาชุมชน

ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอยาง บูรณาการ

ประสิทธิผล

การผลิตและบริการผานกระบวนการที่ได มาตรฐานเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

เพิ่มมูลคาเกษตรปลอดภัยและสินคาชุมชน ที่ไดมาตรฐาน

ชุมชนเขมแข็ง ประชาชนเปนสุข สังคม สันติสุข

โรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับ ชุมชนไดอยางมีธรรมาภิบาล

พัฒนาองคกร

ผูบริโภคไดรับสินคาเกษตรปลอดภัย

สภาพแวดลอมดี เมืองนาอยู 92

ประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 สงเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม

คุณภาพการใหบริการ

แผนที่ยุทธศาสตรจังหวัดปทุมธานี “ปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนยการเรียนรู และสังคมสันติสุข”

สินคาชุมชนมีมาตรฐานสูสากล

ผลิตสินคาและบริการเชิงสรางสรรค

สามารถขายสินคาเกษตรและสินคาชุมชน ไดมากขึ้น

มีเครือขายชุมชนควบคุมเฝาระวังคุณภาพ สิ่งแวดลอม

ผูประกอบการและสถาบันเกษตรกรมีขีด ความสามารถเชิงธุรกิจ

ชุมชนพัฒนาดวยกระบวนการมีสวนรวม

สังคมมีภูมิคุมกันที่ดดี วยกระบวนการเรียนรู

๙๓

๙๓ แบบ จ. ๑ แผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๗ – พ.ศ. ๒๕๖๐ วิสัยทัศน : ปทุมธานีเปนเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนยการเรียนรู และสังคมสันติสุข ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 สงเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร 1.1 การผลิต และบริการผาน กระบวนการที่ ไดมาตรฐาน เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 1.2 โรงงาน อุตสาหกรรม สามารถอยู รวมกับชุมชน ไดอยางมีธรร มาภิบาล 1.3 ผลิตสินคา และบริการเชิง สรางสรรค 1.4 มีเครือขาย ชุมชนควบคุม เฝาระวัง คุณภาพ สิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัด

คาเปาหมาย พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.2557 – 2557 2558 2559 2560 พ.ศ. 2560

1. จํานวนสถาน 120 ประกอบการ อุตสาหกรรมที่ไดรับ ใบรับรอง อุตสาหกรรมสีเขียว (สํานักงาน อุตสาหกรรม จังหวัดจังหวัด ปทุมธานี) 2. รอยละเฉลี่ยถวง 70 น้ําหนักความสําเร็จ ของการบริหาร จัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม จังหวัดปทุมธานี)

130

140

150

135

75

80

85

77.5

กลยุทธ 1.1 ปรับระบบ การบริหาร จัดการไปสู โรงงาน อุตสาหกรรมสี เขียว 1.2 สร า งระบบ และกลไกในการ ควบคุ ม เฝ า ระวั ง คุ ณ ภ า พ สิ่งแวดลอมแบบมี ส ว น ร ว ม ตั้ ง แ ต ระดับชุมชน 1.3 สงเสริ มการ ผลิตและบริการที่ สร างสรรค ร ะดั บ ชุมชน

กลยุทธ 1.1 ปรับระบบการบริหารจัดการไปสูโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว 1.2 สรางระบบและกลไกในการควบคุมเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวมตั้งแต ระดับชุมชน 1.3 สงเสริมการผลิตและบริการที่สรางสรรคระดับชุมชน

๙๔ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

1. โครงการพัฒนาโรงงาน อุตสาหกรรมใหเปนโรงงานสีเขียว 2. โครงการลดตนทุนดานพลังงานใน สถานประกอบการ SMEs ในจังหวัด ปทุมธานี 3. โครงการสงเสริมการใชพลังงานที่ สะอาดและปลอดภัยในสถาน ประกอบการน้ํามันเชื้อเพลิงและกาซ ในจังหวัดปทุมธานี 4. โครงการสงเสริมการใชพลังงาน ทดแทนและการอนุรักษพลังงานใน อุตสาหกรรมบริการและการ ทองเที่ยว ในจังหวัดปทุมธานี 5. โครงการสงเสริมการจัดการขยะ โดยชุมชน

1.1

1

3

5,000,000

5,000,000

5,000,000

5,000,000

1.1

1

1

1.1

1

3

3,300,000

3,300,000

3,300,000

3,300,000

สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

1.1

1

1

3,300,000

3,300,000

3,300,000

3,300,000

สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

1.2

1

3

7,000,000

7,000,000

7,000,000

7,000,000

6. โครงการสงเสริมการจัดการน้ําเสีย โดยชุมชน

1.2

1

3

7. โครงการพัฒนาศักยภาพเครือขาย ภาคประชาชนในการควบคุมเฝา ระวังตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดลอม 8. โครงการสงเสริมเครือขายแหลง ทองเที่ยวในชุมชนที่มีศักยภาพ พลังงานที่ยั่งยืน จังหวัดปทุมธานี 9. โครงการรณรงคสรางจิตสํานึก การอนุรักษพลังงานและเขาคาย เยาวชนรักษพลังงาน จังหวัด ปทุมธานี 10. โครงการพัฒนาสรางสรรค นวัตกรรมใหมจากวัสดุที่ไมใชแลว โดยเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด ๓R (Re-Innovation) 11. โครงการสรางมูลคาเพิ่มจาก วัสดุเหลือใชจากการเกษตรและ ครัวเรือน

1.2

1

3

1.2

1

1

1.2

1

3

4,000,000

4,000,000

4,000,000

4,000,000

สํานักงานพลังงานจังหวัด ปทุมธานี

1.3

1

3

5,000,000

5,000,000

5,000,000

5,000,000

สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี

1.3

1

3

3,000,000

3,000,000

3,000,000

3,000,000

สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจังหวัด ปทุมธานี

12. โครงการสงเสริมและถายทอด เทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทน บนศักยภาพของชุมชนเพื่อประโยชน ภายในชุมชนสูงสุดและครบวงจร จังหวัดปทุมธานี

1.3

1

1

4,500,000

4,500,000

4,500,000

4,500,000

สํานักงานพลังงานจังหวัด ปทุมธานี

สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี 6,300,000 6,300,000 6,300,000 6,300,000 สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจังหวัด ปทุมธานี 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจังหวัด ปทุมธานี 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจังหวัด ปทุมธานี 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

๙๕ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

หนวยดําเนินการ

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

13. สงเสริมการผลิตพลังงานสะอาด จากขยะหรือของเสียในชุมชน จังหวัดปทุมธานี

1.3

1

3

๓,๓๐๐,๐๐๐

๓,๓๐๐,๐๐๐

๓,๓๐๐,๐๐๐

๓,๓๐๐,๐๐๐

สํานักงานพลังงานจังหวัด ปทุมธานี

14. โครงการสงเสริมและถายทอด เทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทน บนศักยภาพของชุมชนเพื่อประโยชน ภายในชุมชนสูงสุดและครบวงจร จังหวัดปทุมธานี 15. โครงการจัดการมูลฝอยในชุมชน สูการพัฒนาอยางยั่งยืน 16. โครงการจัดทําโรงคัดแยกขยะ รีไซเคิลเพื่อเปนธุรกิจใหกับชุมชน 17. โครงการปลูกปาตามแนว พระราชดําริ / พระราชเสาวนีย 18. โครงการอบรมอาสาสมัคร พิทักษสิ่งแวดลอม 19. โครงการสงเสริมการจัดการขยะ ในครัวเรือน 20. โครงการอบรมอาสาสมัคร เยาวชนเฝาระวังสิ่งแวดลอม 21. โครงการธนาคารขยะรีไซเคิล 22. โครงการลดสภาวะโลกรอน 23. โครงการจัดทําโรงคัดแยกขยะ รีไซเคิลเพื่อเปนธุรกิจใหกับชุมชน 24. โครงการจัดอบรมใหความรูให ประชาชนจัดทําปุยชีวภาพโดยขยะ เปยก 25. โครงการจัดอบรมใหความรูให ประชาชนจัดทําปุยชีวภาพโดยขยะ เปยก 26. โครงการกอสรางเตาเผาขยะมูล ฝอย

1.3

1

1

5,500,000

5,500,000

5,500,000

5,500,000

สํานักงานพลังงาจังหวัด ปทุมธานี

1.2

3

3

1,100,000

-

-

-

เทศบาลนครรังสิต

1.2

3

3

500,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

1.2

3

3

20,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

1.2

3

3

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

1.2

3

3

100,000

-

-

-

1.2

3

3

500,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลองพระ อุดม อบต.คลองหา

1.2 1.2 1.3

3 3 3

3 3 3

50,000 50,000 500,000

-

-

-

อบต.บึงชําออ อบต.บึงชําออ เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

1.3

3

3

30,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

1.3

3

3

30,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

1.3

3

3

2,000,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

๙๖ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรและสินคาชุมชน เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร 2.1 เพิ่มมูลคา เกษตร ปลอดภัยและ สินคาชุมชนที่ ไดมาตรฐาน 2.2 ผูบริโภค ไดรับสินคา เกษตร ปลอดภัย 2.3 สินคา ชุมชนมี มาตรฐานสู สากล 2.4 สามารถ ขายสินคา เกษตรและ สินคาชุมชน ไดมากขึ้น 2.5 ผูประกอบการ และสถาบัน เกษตรกรมีขีด ความสามารถ เชิงธุรกิจ

ตัวชี้วัด 1. รอยละของ จํานวนเกษตรกร กลุมเปาหมายที่ ผานการเตรียม ความพรอมตาม ระบบมาตรฐาน GAP (สํานักงานเกษตร จังหวัดปทุมธานี) 2. รอยละของ จํานวนผลิตภัณฑ ชุมชนและทองถิ่น จังหวัดที่ไดรับ มาตรฐาน ผลิตภัณฑชุมชน (สํานักงาน อุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี)

คาเปาหมาย พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.2557 – 2557 2558 2559 2560 พ.ศ. 2560

กลยุทธ

100

100

100

100

100

2.1 สงเสริมการ ผลิตสินคาเกษตร สูระบบมาตรฐาน ปลอดภัย 2.2 เพิ่ม ประสิทธิภาพ ระบบการ กระจายสินคา และตลาด

100

100

100

100

100

2.3 พัฒนา ผูประกอบการ สินคาชุมชนใหมี มาตรฐาน 2.4 เพิ่มขีด ความสามารถเชิง ธุรกิจของ ผูประกอบการ และสถาบัน เกษตรกร

กลยุทธ 2.1 สงเสริมการผลิตสินคาเกษตรสูระบบมาตรฐานปลอดภัย 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการกระจายสินคาและตลาด 2.3 พัฒนาผูประกอบการสินคาชุมชนใหมีมาตรฐาน 2.4 เพิ่มขีดความสามารถเชิงธุรกิจของผูประกอบการและสถาบันเกษตรกร

๙๗ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

1. โครงการสงเสริมการผลิตสินคา เกษตรปลอดภัย 2. โครงการพัฒนามาตรฐานการ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 3. การเลีย้ งโคเนื้อปลอดมลภาวะใน เขตจังหวัดปทุมธานี 4. โครงการพัฒนาโรงฆาสัตวจังหวัด ปทุมธานี 5. โครงการสงเสริมตลาดสินคา เกษตรปลอดภัยและผลิตภัณฑชุมชน 6. โครงการพัฒนาการจัดชั้น คุณภาพผักและผลไม ระยะที่ ๒ 7. โครงการกอสรางอาคาร เอนกประสงค คศล 3 ชั้น ขนาด กวาง 10 เมตร ยาว 42 เมตร หรือพื้นที่ รวมไมนอยกวา 420 ตารางเมตร 8. โครงการสงเสริมและพัฒนา ศักยภาพผูผลิตผลิตภัณฑชุมชนสู ความยั่งยืน 9. พัฒนาศักยภาพสินคาชุมชนสู อาเซียน

2.1

1

1

2,870,600

2.1

1

1

2.1

1

1

2.1

1

1

2.2

1

1

2.2

1

1

2.2

1

1

2.3

1

1

2.3

1

1

10. โครงการเสริมสรางความ เขมแข็งแกสถาบันเกษตรกรสูการ บริหารเชิงธุรกิจ 11. โครงการปองกันและกําจัด ศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน 12. โครงการจัดตั้งกลุมสงเสริม อาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 13. โครงการฝกอบรมและศึกษาดู งานเพื่อเพิ่มคุณภาพสินคาการเกษตร ในชุมชน 14. โครงการสงเสริมการเกษตร ปลอดภัยจากสารพิษ(เกษตรอินทรีย) 15. โครงการสงเสริมการผลิตเมล็ด ขาวพันธุดี 16. โครงการสงเสริมอาชีพเสริมดาน ปศุสัตว 17. โครงการตรวจสอบคุณภาพดิน หาคาตาง ๆเพื่อใหชาวนาใชปุยได ถูกตองและประหยัด 18. โครงการกอสรางทอลอดคลอง สงน้ําสี่ซาย (คลองแอน)สุดหมูที่ ๕

2.4

1

1

2.1

3

1

2.1

3

1

2.1

3

1

100,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

2.1

3

1

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

2.1

3

1

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

2.1

3

1

100,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

2.1

3

1

๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

2.1

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

-

-

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

-

สํานักงานสหกรณ จังหวัดปทุมธานี 3,100,450 3,100,450 3,100,450 3,100,450 สํานักงานประมง จังหวัดปทุมธานี 961,750 961,750 721,900 721,900 สํานักงานปศุสัตว จังหวัดปทุมธานี 1,426,200 193,200 193,200 193,200 สํานักงานปศุสัตว จังหวัดปทุมธานี ๔,๒๐๐,๐๐๐ สํานักงานพาณิชย จังหวัดปทุมธานี ๑,๒๐๐,๐๐๐ สํานักงานพาณิชย จังหวัดปทุมธานี 10,000,000 อําเภอหนองเสือ

2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สํานักงาน อุตสาหกรรมจังหวัด ปทุมธานี 7,747,800 สํานักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัด ปทุมธานี 2,910,000 สํานักงานเกษตรและ สหกรณจังหวัด ปทุมธานี 35,000 เทศบาลเมืองสนั่น รักษ 50,000 เทศบาลตําบลคูขวาง

๙๘ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

19. โครงการกอสรางทอลอดและทอ ระบายน้ําหมูท๑ี่ 20. โครงการสงเสริมการทําไรนา สวนผสม 21. โครงการสงเสริมการปลูกพืช ปลอดสารพิษและสงเสริมการใชปุย อินทรีย 22. โครงการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด 23. โครงการสนับสนุนและสงเสริม การปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษเพื่อ นําไปสูเกษตรอินทรีย (จัดทําปุย ชีวภาพ) 24. โครงการสงเสริมการทําปุยหมัก ชีวภาพ 25. โครงการจัดตั้ง/ปรับปรุงศูนย สรางงานสรางอาชีพ/รานคาชุมชน/ ลานคาชุมชน 26. โครงการสนับสนุนและสงเสริม กลุมอาชีพในชุมชนและสงเสริม การตลาดพรอมสถานที่จําหนาย สินคาใหกลุมอาชีพ 27. โครงการกอสรางศูนยแสดง สินคาเพื่อชุมชนและสงเสริมการ จําหนาย 28. โครงการกอสรางศูนยแสดง สินคาชุมชน 29. โครงการฝกอบรมการทําปุย อินทรียและสงเสริมใหเกษตรกรใชปุย อินทรีย (ชีวภาพ) 30. โครงการถายทอดเทคโนโลยีการ แกไขปญหาขาวเมล็ดแดงปน (ขาว วัชพืช)

2.1

3

1

๔๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

2.1

3

1

๑๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

2.1

3

1

300,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

2.1 2.1

3 3

1 1

๑,๐๐๐,๐๐๐ 20,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด อบต.บึงชําออ

2.1

3

1

60,000

-

-

-

อบต.บึงบอน

2.2

3

1

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

2.2

3

1

20,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

๒.๒

3



๔๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

2.2

3

1

4,000,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

๒.๔

3

1

400,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลอง พระอุดม

๒.๔

3

1

30,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลอง พระอุดม

31. โครงการสงเสริมความรูใหแก เกษตรกรเรื่อง (เพลี้ยกระโดดในนา ขาว)

๒.๔

3

1

20,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลอง พระอุดม

32. โครงการกอสรางศูนยสง เสริม การเรียนรูเรื่องเกษตรครอบคลุม ตลอดทั้ง หมูที่ ๓ 33. โครงการสนับสนุนเกษตรกรให ไดรับการฝกอบรม, ศึกษาดูงาน ตาม ประเภทถายทอดเทคโนโลยี

2.4

3

1

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

๒.๔

3



750,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

34. โครงการสนับสนุนเกษตรกรให ไดรับการฝกอบรม/ศึกษาดูงาน ตาม ประเภทแผนการลงทุน(ธุรกิจชุมชน)

๒.๔

3



750,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๙๙ บัญชีรายการชุดโครงการ โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

35. โครงการกอสรางอาคารศูนยการ เรียนรูพัฒนาเพื่อการเกษตร และ สินคาชุมชน ค.ส.ล. 2 ชั้น ขนาด กวาง 15.00 เมตร ยาว 32.00 เมตร จํานวน 1 หลัง หมูท ี่ 8 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

2.4

3

1

10,000,000

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559 -

-

พ.ศ. 2560 -

หนวยดําเนินการ อบต.คลองสาม

๑๐๐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอยางบูรณาการ เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร 3.1 ชุมชน เขมแข็ง ประชาชนเปน สุข สังคมสันติ สุข 3.2 สภาพแวดลอม ดี เมืองนาอยู 3.3 ชุมชน พัฒนาดวย กระบวนการมี สวนรวม 3.4 สังคมมี ภูมิคุมกันที่ดี ดวย กระบวนการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

คาเปาหมาย พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.2557 – 2557 2558 2559 2560 พ.ศ. 2560

1. ระดับ ความสําเร็จของ การปองกันและ แกไขปญหายาเสพ ติด (ที่ทําการปกครอง จังหวัดปทุมธานี)

5

5

5

5

5

๒. รอยละที่เพิ่มขึ้น ของกิจกรรมที่ ประชาชนมีสวน รวมในการเทิดทูน และพิทักษสถาบัน พระมหากษัตริย (ที่ทําการปกครอง จังหวัดปทุมธานี)

10

15

20

25

30

กลยุทธ 3.1 พัฒนาชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวม 3.2 เสริมสรางภูมิคุมกันที่ดีทางสังคมดวยกระบวนการเรียนรู 3.3 สรางเสริมสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อเมืองนาอยู

กลยุทธ 3.1 พัฒนาชุมชน ดวยกระบวนการ มีสวนรวม 3.2 เสริมสราง ภูมิคุมกันที่ดีทาง สังคมดวย กระบวนการ เรียนรู 3.3 สรางเสริม สภาพแวดลอมที่ดี เพื่อเมืองนาอยู

๑๐๑ บัญชีรายการชุดโครงการ โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

1. โครงการกอสรางอาคาร อเนกประสงคโครงเหล็กชั้นเดียว หมู ที่ ๗ ตําบลคลองเจ็ด อําเภอคลอง หลวง จังหวัดปทุมธานี 2. โครงการรณรงคปองกันและแกไข ปญหาการใชแรงงานเด็กและหญิงใน รูปแบบที่เลวรายจังหวัดปทุมธานี 3. โครงการพัฒนาเครือขายเฝาระวัง และบริการดานแรงงานระดับชุมชน 4. สงเสริมการผลิตและการใช พลังงานทดแทนในหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียง จังหวัดปทุมธานี 5. โครงการสามัคคีปรองดองเพื่อ สรางความสมานฉันทของประชาชน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ประจําป 2557 6. โครงการปองกันและแกไขปญหา ยาเสพติด 7. โครงการสรางภูมิคุมกัน สราง ชุมชนเขมแข็ง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี อยางยั่งยืน 8. โครงการพัฒนาศูนยการเรียนรู ทางวัฒนธรรม : จัดทําศูนย ประวัติศาสตร (ระยะที่ ๓) 9. โครงการปรับปรุงตลาด ๑๐๐ ป ระแหง

3.1

1

2

9,900,000

3.1

1

2

3.1

1

2

3.1

1

1

3.2

1

3.2

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

-

-

-

อําเภอคลองหลวง

950,000

-

-

-

2

5,759,750

-

-

-

1

2

๑๗,๒๒๘,๐๐๐ ๑๗,๒๒๘,๐๐๐ ๑๗,๒๒๘,๐๐๐ ๑๗,๒๒๘,๐๐๐

3.2

1

2

12,000,000

3.2

1

2

๕,๓๘๓,๐๐๐ ๕,๙๒๑,๓๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๑๐๐,๐๐๐ สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด ปทุมธานี

3.2

1

2

8,000,000

-

-

-

10. โครงการสงกรานตปลอดเหลา ถนนขาวแช

3.2

1

2

11. โครงการสรางภูมิคุมกันทาง สังคมโดยใชมิติทางวัฒนธรรม

3.2

1

2

12. ศูนยการเรียนรูเพื่อเสริมสราง ศักยภาพและพัฒนาภูมิปญญาผูสูง วัย 13. โครงการบริหารจัดการระบบ สารสนเทศและการสื่อสารจังหวัด ปทุมธานี ประจําปงบประมาณ 2557 14. โครงการศูนยการเรียนรูการ จัดการขยะและการผลิตขยะ เชื้อเพลิง (RDF)

3.2

1

2

3.2

1

5

3.2

1

3

6,500,000

6,500,000

6,500,000

6,500,000

สํ า นั ก งานสวั ส ดิ ก าร และคุ ม ครองแรงาน จังหวัดปทุมธานี 440,000 สํานักงานแรงงาน จังหวัดปทุมธานี ๓,๓๐๐,๐๐๐ ๓,๓๐๐,๐๐๐ ๓,๓๐๐,๐๐๐ ๓,๓๐๐,๐๐๐ สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

-

-

-

ที่ทําการปกครอง จังหวัดปทุมธานี ที่ทําการปกครอง จังหวัดปทุมธานี สํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดปทุมธานี

สํานักงานโยธาธิการ และผังเมืองจังหวัด ปทุมธานี ๔,๒๔๐,๐๐๐ ๔,๖๖๔,๐๐๐ ๕,๑๓๐,๔๐๐ ๕,๖๔๓,๔๔๐ สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด ปทุมธานี ๒,๕๔๕,๕๐๐ ๒,๘๐๐,๐๕๐ ๓,๐๘๐,๐๕๕ ๓,๓๘๘,๐๖๐ สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด ปทุมธานี 8,186,025 สํานักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของ มนุษยจังหวัดปทุมธานี 4,000,000 สํานักงานจังหวัด ปทุมธานี สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

๑๐๒ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

15. โครงการอาคารศูนยเรียนรู นวัตกรรมทองถิ่น 16. โครงการผลิตน้ํารอนลางตลาด ดวยกาซชีวภาพจากขยะอินทรียใน ตลาดชุมชน ในจังหวัดปทุมธานี 17. โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจังหวัด ปทุมธานี

3.2

1

2

15,000,000

3.3

1

2

1,000,000

1,000,000

1,000,000

3.3

1

2

๒,๔๒๕,๐๐๐

๒,๔๒๕,๐๐๐

๒,๔๒๕,๐๐๐ ๒,๔๒๕,๐๐๐

18. โครงการสรางสะพานคอนกรีต เสริมเหล็ก ขามคลอง 1 บริเวณหมูที่ 8 ตําบลคูคต และหมูที่ 12 ตําบล คูคต อําเภอลําลูกกา จังหวัด ปทุมธานี 19. โครงการสรางสะพานคอนกรีต เสริมเหล็ก ขามคลอง 2 บริเวณ ซอยจามร ก. และชุมชนเดชอนันต รวมใจ และทําการยายโรงสูบน้ํา หมู ที่ 9 ตําบลคูคต อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 20. โครงการสรางสะพานคอนกรีต เสริมเหล็ก ขามคลอง 3 บริเวณหลัง หมูบานพฤกษา 20 หมูที่ 1 ตําบล คูคตและปลายซอยแดงชาติ หมูที่ 9 ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 21. โครงการสรางสะพานคอนกรีต เสริมเหล็ก ขามคลองสาม บริเวณ ตลาดเปยรนนท หมูที่ 3 เทศบาล เมืองลําสามแกว ตําบลคูคต และ บริเวณหมูที่ 8 ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 22. โครงการสรางสะพานคอนกรีต เสริมเหล็ก ขามคลอง 4 บริเวณ ปลายซอยรวมสุข 10 หมูท ี่ 5 ฝง ตะวันตก และหมูที่ 5 ฝงตะวันออก ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 23. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน สวนสาธารณะทุงบึงคําพรอย อําเภอ ลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 24. โครงการสรางอาคารศูนย ประสานงานอาเซียน-ลําลูกกา ตําบล บึงคําพรอย อําเภอลําลูกกา จังหวัด ปทุมธานี

3.3

1

2

8,840,000

-

-

-

สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมจังหวัด ปทุมธานี อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

9,200,000

-

-

-

อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

-

8,840,000

-

-

อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

-

8,840,000

-

-

อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

-

8,840,000

-

อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

-

-

18,000,000

-

อําเภอลําลูกกา

3.3

1

2

-

-

17,000,000

-

อําเภอลําลูกกา

อําเภอคลองหลวง 1,000,000

สํานักงานพลังงาน จังหวัดปทุมธานี

๑๐๓ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

25. โครงการกอสรางกําแพงกันดิน พรอมปรับปรุงภูมิทัศนในคลองรังสิต ฯ บริเวณสะพานคลอง 12 ไปทาง วัดพิชิตฯ หมูที่ 4 ต.บึงน้ํารักษ อ. ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 26. โครงการกอสรางกําแพงกันดิน พรอมปรับปรุงภูมิทัศนริมคลอง รังสิตฯบริเวณสะพานคลอง 12 ไป ทางวัดสระบัว หมูที่ 2 ต.บึงน้ํารักษ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 27. โครงการกอสรางเขื่อน ค.ส.ล. พรอมปรับปรุงภูมิทัศนริมคลอง รังสิตฯบริเวณซุมเฉลิมพระเกียรติ คลอง 12 หมูที่ 4 ต.บึงน้ํารักษ อ. ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 28. โครงการควบคุมประชากรสุนัข และแมวในจังหวัดปทุมธานี

3.3

1

2

11,000,000

-

-

-

อําเภอธัญบุรี

3.3

1

2

8,500,000

-

-

-

อําเภอธัญบุรี

3.3

1

2

3,920,000

-

-

-

อําเภอธัญบุรี

3.3

1

2

6,860,000 5,060,500

4,060,500

3,060,500

29. โครงการกอสรางยกระดับถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) ถนน ซอยรวมใจพัฒนา หมูที่ 3 ตําบล เชียงรากใหญ 30. โครงการกอสรางทางกลับรถใต สะพานคลองบานพราว (ถนน 347) หมูที่ 4 ตําบลเชียงรากใหญ 31. โครงการซอมแซมถนนและ ยกระดับถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (ศสล.) พรอม วางทอระบายน้ํา หมูท ี่ 5 (ซอยชาวเหนือ 1) ตําบลเชียงราก ใหญ 32. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ตําบลเชียงรากนอยสาย ตอนแยก 3024-347 ต.เชียงราก นอย 33. การกอสรางถนนคอนกรีต เสริม เหล็ก เลียบคลองโคกตาเขียว เชื่อม ระหวางทางหลวงหมายเลข 347 กับ ถนนสายเลียบคลองเปรมฯ ตําบลเชียงรากนอย 34. โครงการขยายเขตระบบประปา ภูมิภาค หมูที่ 2 ,3 และ 5 ตําบล เชียงรากใหญ 35. โครงการซอมแซมและยกระดับ คอนกรีตเสริมเหล็ก หมูท ี่ 1 (ซอยตา อิน-ตาโต) ตําบลเชียงรากใหญ

3.3

1

2

3,418,000

-

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

4,614,000

-

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

5,425,000

-

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

5,674,200

-

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

-

5,602,000

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

-

9,998,000

-

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

-

6,274,000

-

-

อําเภอสามโคก

สํานักงานปศุสัตว จังหวัดปทุมธานี

๑๐๔ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

36. โครงการโครงการขยายเขต ระบบประปาภูมิภาค หมูที่ 1 , 4 และ 5 ตําบลเชียงรากใหญ 37. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็กเลียบคลองโคกตาเขียว เชื่อมระหวางทางหลวงหมายเลข 347 กับ ถนนสาย 3309 ตําบล เชียงรากนอย 38. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็กเลียบคลองบางอาย-โพธิ์ นิ่มฯ เชื่อมระหวางทางหลวง หมายเลข 347 กับถนนสาย 3309 ตําบลเชียงรากนอย 39. โครงการกอสรางเขื่อน ค.ส.ล. เขื่อนหนาวัดมะขามริมแมน้ํา เจาพระยา หมูที่ 3 ตําบลบานกลาง อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี

3.3

1

2

-

-

9,990,000

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

-

-

12,597,900

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

-

-

1,277,900

-

อําเภอสามโคก

3.3

1

2

15,000,000

-

-

-

อําเภอเมืองปทุมธานี

40. โครงการปรับปรุงซอมแซมถนน ซอยโรงแปงพรอมติดตั้งรางวี ค.ส.ล. หมูที่ 11 ตําบลคูบางหลวง อําเภอ ลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี 41. โครงการปรับปรุงซอมแซมถนน สายเลียบคลองไหวพระ (ฝงใต) หมูที่ 6 และ 7 ตําบลคูบางหลวง อําเภอ ลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี 42. โครงการงานปรับปรุงสถานีสูบ น้ําคลองสระ ริมแมนา้ํ เจาพระยา

3.3

1

1

7,200,000

-

-

-

อําเภอลาดหลุมแกว

3.3

1

1

7,800,000

-

-

-

อําเภอลาดหลุมแกว

3.3

2



๑๐,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

43. โครงการประตูระบายน้ําคลอง บางหลวงไหวพระ

3..3

2



๑๘,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

44. โครงการกอสราง ปตร.ปาก คลองสระ แยกคลองพระอุดมฝงซาย

3.3

2



๒๐,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

โครงการสงน้ําและ บํารุงรักษาพระยา บรรลือ โครงการสงน้ําและ บํารุงรักษาพระยา บรรลือ โครงการสงน้ําและ บํารุงรักษาพระยา บรรลือ

45. โครงการตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง 46. โครงการสงเสริมเครือขาย เยาวชนใหมีสวนรวมในการพัฒนา ชุมชน 47. โครงการสงเคราะหเบี้ยยังชีพ ผูสูงอายุ

3.1

3



50,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

3.1

3



50,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

๓.๑

3



๑,๓๖๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

๑๐๕ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

48. โครงการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผู พิการและผูดอยโอกาส 49. โครงการใหการสนับสนุนทุนทาง การศึกษาแกเด็กดอยโอกาส 50. โครงการกีฬาชุมชนสัมพันธตน ยาเสพติด 51. โครงการปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยในเขตพื้นที่ตําบล 52. โครงการสงเสริมแนวทางชีวิต ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 53. โครงการกอสรางเสียงตาม สายในเขตพื้นที่ตําบลคลองเจ็ด 54. โครงการกอสรางขยายเขตเสียง ตามสายครอบคลุมตลอด หมูที่ ๔ 55. โครงการกอสรางขยายเขตเสียง ตามสายครอบคลุมตลอด หมูที่ 5 56. โครงการกอสรางขยายเขตเสียง ตามสายครอบคลุมตลอด หมูที่ 6 57. โครงการสงเสริมสนับสนุนสภา องคกรประชาชนในตําบลบึงกาสาม 58. โครงการสงเสริมเครือขาย เยาวชนใหมีสวนรวมในการพัฒนา ชุมชน 59. โครงการสงเสริมสนับสนุนการ รวมกลุมของประชาชนเพื่อพัฒนา ทองถิ่น 60. โครงการปองกันและแกไข ปญหายาเสพติด 61. โครงการศึกษาเพื่อตอตานการ ใชยาเสพติดในเด็กนักเรียน(โครงการ ครู D.A.R.E) 62. โครงการรณรงคตอตานยาเสพ ติดในชุมชน

๓.๑

3

2

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

๓.๑

3

2

๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

๓.๑

3

2

๑๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

๓.๑

3

2

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

3.1

3

2

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

3.1

3

2

๕,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.1

3

3.1

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.1

3

2

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.1

3



๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.1

3



50,000

-

-

-

อบต.บึงกาสาม

3.1

3



50,000

-

-

-

อบต.บึงกาสาม

3.1

3



2,000,00

-

-

-

เทศบาลนครรังสิต

๓.๒

3



200,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๓.๒

3

2

150,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๓.๒

3

2

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลองพระ อุดม

63. โครงการประชาสัมพันธให ความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหกับ สถานศึกษาในเขตเทศบาลตําบล คลองพระอุดม 64. โครงการปองกันและแกไข ปญหายาเสพติดโดยมีกิจกรรมการ บําบัดฟนฟู โดยการนําผูเสพ /ผูติด ยาเสพติดเขารับการอบรม บําบัดรักษาอยางสมัครใจหรือกึ่ง สมัครใจ

๓.๒

3

2

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลองพระ อุดม

๓.๒

3

2

๒๑0,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคลองพระ อุดม

๑๐๖ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

65. โครงการอบรมครูดาน คอมพิวเตอรCAI(สื่อชวยสอน)การ สรางโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน ขั้นพื้นฐาน 66. โครงการสอนภาษาอังกฤษโดย ครูชาวตางประเทศ 67. โครงการกอสรางระบบหอ กระจายขาวไรสาย 68. โครงการสงเสริมการเรียนดาน ภาษาตางประเทศ 69. โครงการติดตั้งเสียงตามสาย 70. โครงการโครงการเยาวชนสืบ สานพระพุทธศาสนา 71. โครงการเยาวชนตอตานยาเสพ ติด 72. โครงการคนรุนใหมใสใจธรรมมะ 73. โครงการหมูบานจัดสรรปลอดถัง ขยะ 74. โครงการสํารวจความเปนไปได ในการจัดทําที่กําจัดขยะ 75. โครงการคัดแยกขยะในชุมชน 76. โครงการกอสรางเตาเผาขยะมูล ฝอย 77. โครงการทําความสะอาดถัง รองรับขยะมูลฝอยในชุมชน 78. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนในเขต ตําบลคูบางหลวง 79. โครงการกําจัดวัชพืชในเขต ตําบลคูบางหลวง 80. โครงการรณรงคสงเสริมการไม เผาฟางในนา 81. โครงการตอกเสาเข็มกันดิน พังทลาย 82. โครงการถนนสวยคลองใสและ ปรับภูมิทัศนในตําบล 83. โครงการรักษาความสะอาดสอง ขางทางถนนและแมน้ําลําคลอง 84. โครงการรักษาความสะอาดคู คลองและ 2 ขางถนน 85. โครงการปลูกตนไมริมถนนและ สถานที่ราชการ 86. โครงการคลองสวยน้ําใสเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวฯเนื่องในโอกาสเฉลิมพระ ชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554

3.2

3

3

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลระแหง

3.2

3

3.2

300,000

-

-

-

เทศบาลตําบลระแหง

3.2

3

2

600,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.2

3

2

100,00

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.2 3.2

3 3

1 1

2,000,000 100,000

-

-

-

อบต.นพรัตน 100,000

3.2

3

1

50,000

-

-

-

อบต.บึงชําออ

3.2 3.3

3 3

1 1

50,000 20,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

3.3

3



2,000,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

3.3 3.3

3 3

๓ ๓

50,000 2,000,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

3.3

3



50,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

๓.๓

3



150,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๓.๓

3

3

600,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๓.๓

3

3

50,000

-

-

-

อบต.คูบางหลวง

๓.๓

3

3

๔๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

๓.๓

3

3

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.บอเงิน

3.3

3

1

100,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

3.3

3

3

1,000,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

3.3

3

3

50,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

3.3

3

3

20,000

-

-

-

เทศบาลตําบลคูขวาง

๑๐๗ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

87. โครงการกอสรางถนนลาดยาง แอสฟลทติกคอนกรีตผิวการจราจร กวาง 5.00 เมตร ยาว 2,500 เมตร หรือปริมาณงานไมนอยกวา 12,500 ตารางเมตร บริเวณถนน เลียบคลองสงน้ําที่ 7 ซาย (แอน34) หมูที่ 7 - 9 ต.คลองสาม อ.คลอง หลวง จ.ปทุมธานี 88. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 6 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 89. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 5 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 90. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 4 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 91. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 3 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 92. ครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 2 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 93. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. บริเวณถนนเลียบคลองระบายน้ําที่ 3 ฝงตะวันตก หมูที่ 1 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 94. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. วัดตะวันเรือง หมูที่ ๑๑ ตําบล คลองสี่ อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี 95. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณซอยพูนทอง หมูที่ ๑๓ 96. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณบานหมอนพ หมูที่ ๑๖ 97. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณวัดหัตถสาร เกษตร หมูที่ ๘

3.3

3

3

9,037,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

20,000,000

-

-

-

อบต.คลองสาม

3.3

3

3

7,800,00

-

-

-

อบต.คลองสี่

3.3

3

3

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

3

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

3

5,500,000

-

-

-

อบต.คลองหา

๑๐๘ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

98. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณหนาบําบัดหญิง หมูที่ ๑ 99. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณหนาหมูบาน เบญจพฤก หมูที่ ๒ 100. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณหนาหมูบาน ราชาวิลเลจ หมูที่ ๑ 101. โครงการกอสรางเขื่อน พรอม ลานคอนกรีต บริเวณหมูบานเอื้อ อาทร หมูที่ ๑๔ 102. โครงการกอสรางเขื่อนพรอม ลานคอนกรีต บริเวณซอยแกวสมเด็จ หมูที่๔ 103. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ซอยครูสาํ ราญ หมูที่ ๕ 104. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็กพรอมวางทอระบายน้ํา และบอพัก ซอยคลองหาตะวันตก ๒ หมูที่ ๑ 105. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ซอยคลองหาตะวันตก ๔๘ หมูที่ ๑๑ 106. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็กพรอมวางทอระบายน้ํา และบอพัก ซอยรัตนา หมูที่ ๖ 107. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็กพรอมวางทอระบายน้ํา และบอพัก ซอยสุขศิริ หมูที่ ๔ 108. โครงการกอสรางถนนดินลูกรัง หมูที่ ๑๕ 109. โครงการกอสรางถนนแอสฟล ติกคอนกรีต หมูที่ ๕ ถึง ๑๒ 110. โครงการกอสรางสะพาน คอนกรีต บริเวณซอยจํารัส หมูที่ ๑๑ 111. โครงการกอสรางสะพาน คอนกรีตขามคลองสงน้ําที่ ๕ ซาย หมูที่ ๑๒ 112. โครงการติดตั้งกลอง ซีซีทีวี 113. โครงการกอสรางถนน คสล.ซ. สุทธิพันธ ๑๙ ตําบลคลองหก เชื่อมตอ ตําบลคลองหา ซ.สุทธิพันธ ๑๙ หมู ๔

3.3

3

3

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

3

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

2,800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

4,000,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

2,500,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

3,000,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

9,500,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

9,900,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

2

800,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

16,000,00 0 4,000,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3

3

1

2,500,000

-

-

-

อบต.คลองหา

3.3 3.3

3 3

1 1

9,500,000 ๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหา อบต.คลองหก

๑๐๙ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

114. โครงการกอสรางถนน คสล. ซ.สูความดีเชื่อมตอตําบลคลองหา หมู 4 115. โครงการกอสรางถนน คสล. เชื่อมตอตําบลคลองเจ็ด พรอมทอ ระบายน้ํา ซ.89 ฝงตะวันออก ซ. 98 (ซ.สมจิตนา) หมู 9 116. โครงการกอสรางถนน คสล. ซ.ประยูร เชื่อมตอตําบลคลองเจ็ด หมู 13 117. โครงการยกระดับถนนแอส ฟลทืติกคอนกรีตเลียบคลองระ พีพัฒน ตําบลคลองหกเชื่อมตอ ระหวางตําบลคลองหา และตําบล คลองเจ็ด หมู 14 118. โครงการกอสรางถนนลาดแอส ฟลทติก ซอย ๔ ตะวันออก หมูที่ ๑

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๖๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

119. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ถนนทุกซอย หมูที่ ๑ 120. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.สุทธิพันธ 2 ตอจากเดิม ทะลุแอนด 5/6 หมูที่ 2 121. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.สุทธิพันธ 1แยกขวาเชื่อมตอสุทธิ พันธ 2 หมูที่ 2 122. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.สหกรณ 1,2 หมูที่ 3 123. โครงการถนนลาดยาง ซ. วิเชียร หมูที่ 3 129. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.สุนทรีย ฝงตะวันตก 13 หมูที่ 3 124. โครงการลาดยาง ซ.11 หมูที่ 3 125. โครงการลาดยาง ซ.9 ฝง ตะวันตก หมูที่ 3 126. โครงการยกระดับถนน ซ.54 หมูที่ 4 127. โครงการกอสรางถนน คสล. ซ.นครยนต หมูที่ 4 128. โครงการถนนลาดยาง ซ.60 ตะวันออก หมูที่ 5 129. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.25 (ยายรม) หมูที่ 5 130. โครงการถนนลาดยาง ซ.68 ตะวันออก หมูที่ 5

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๖๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๘๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๙๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๙๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๐ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

131. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ทุกซอย หมูที่ 6 132. โครงการลาดยางถนนเลียบ คลองฝงตะวันออก หมูที่ 6 133. โครงการลาดยางฝงคลองแอล ฝงตะวันออก - ฝงตะวันตก หมูที่ 7 134. โครงการลาดยาง ซ.45 ซ.7 พัฒณา1/แยกซาย 1 กม. หมูที่ 7 135. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.รวมใจ (90 )ประมาณ 300 เมตร สวนที่เหลือทําลูกรังทั้งซอย หมูที่ 8 136. โครงการกอสราถนนลาดยาง ซ.ลุงทอง (88) ประมาณ 800 ม. และขยายไฟฟาพรอมไฟทางเพิม่ เติม ประมาณ 3 จุด และหินคุลกเขาซอย ยอย (นางบุญนาค) หมูที่ 8 137. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซ.ชายสี่ (47) ประมาณ 800 เมตร สวนที่เหลือทําหินคลุกทั้งซอย หมูที่ 8 138. โครงการลาดยาง ตลอดสาย หมูที่ 9 139. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ทุกซอย หมูที่ ๑๒ ( 140. โครงการกอสรางลาดยาง ซ. ผูใหญเมี้ยง หมูที่ ๑๓ 141. โครงการลาดยางถนนเลียบ คลอง สองฝง หมูที่ 14 142. โครงการลาดยางถนนแอนด 5/6 หมูที่ 14 143. โครงการกอสรางถนนแอส ฟลทติกคอนกรีต ถนนทางเขาที่ทํา การ อบต.คลองหก 144. โครงการกอสรางถนน คสล. พรอมทางเดินเทาเชื่อมตอเขต เทศบาลตําบลธัญบุรี หมู 1 145. โครงการกอสรางถนนเลียบ คลองแอล ๖/๗ หมูที่ ๑-๒ 146. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยสุทธิพันธ 1แยกซายขวาทะลุ คลองแอล 5/6 พรอมไฟฟาแสง สวาง หมู 2 147. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยสุนทรีย (ตะวันตก 13) หมู 3

3.3

3

1

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑๐,๐๐๐,๐๐ ๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๔๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑๐,๐๐๐,๐๐ ๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๕๐๐,๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๗๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๖๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๑ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

148. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ถนนเลียบคลองแอล 5/6, 6/7 พรอมไฟฟาแสงสวาง หมู 3 149. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอย 19 ตอจากเดิม 200 เมตร (ลาดตอ) หมู 4 150. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ยกระดับ ซอยสุทธิพันธ 7, ซอย 23, ซอย 17 หมู 4 151. โครงการกอสรางถนน คสล. พรอมทอระบายน้ํา ซอย 23 หมู 5 152. โครงการกอสรางถนนแอส ฟลทติกคอนกรีตซอยบูลสุข และซอย อุดม หมู 6 153. โครงการกอสรางถนนแอส ฟลทติกคอนกรีต ซอยสุขใจ หมู ๖ 154. โครงการกอสรางถนนแอส ฟลทติกคอนกรีตซอยเฉลิมพันธหมู 7 155. โครงการกอสรางถนนแอส ฟลทติกคอนกรีตซอยปฏิรูป หมู 9 156. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ตอจากซอยแทนคุณ 300 เมตร พรอมไฟฟาแสงสวาง หมู 10 157. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ถนนเลียบคลองแอล 6/7 หมู 10 158. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยปฏิรูป (ขางโรงเรียนเจริญวิทยา) หมู 11 159. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ถนนเลียบคลองแอนด 6/7 ฝง ตะวันออก หมู 12 160. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยลุงแบล็ค หมู 12 161. โครการกอสรางถนนลาดยาง ซอยทองนพคุณ หมู ๑๒ 162. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยทองหลอ หมู 12 163. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยนายไวย ยี่กัว หมู 12 164. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยประยูรฝงตะวันออก หมู 13 165. โครงการทางเดินเทาตลอดริม คลอง หมู 2 166. โครงการปรับปรุงถนนเลียบ คลองยกระดับถนนเพื่อทําคันกั้นน้ํา ตะวันออก หมู 1

3.3

3

1

๗,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๙๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๘๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๔๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒๐,๐๐๐,๐๐ ๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๒ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

167. โครงการซอมแซมลูกรัง ตลอด สาย หมูที่ 9 168. โครงการปรับปรุงซอมแซม ลูกรัง (ทุกซอย) หมูที่ 13 169. โครงการซอมแซม ถนนลาดยางเลียบคลองหกฝง ตะวันออก หมู 1 170. โครงการซอมแซมบํารุงถนน และทางเทาตลาดพรธิสาร (ชวงที่ เปนสาธารณะ) หมู 1 171. โครงการขยายไหลทางถนน เลียบคลองหกฝงตะวันออก หมู 7 172. โครงการลงลูกรังถนนเลียบ แอนด 5/6, 6/7 หมู 7 173. โครงการซอมแซมถนนขาง บริษัท แคป ซีอีแอล(ซอยตะวันออก 82) หมู 7 174. โครงการเสริมลูกรังถนนเลียบ แอล 5/6, 6/7 ทั้งสองฝง หมู 8 175. โครงการบดอัดลูกรังทุกซอย หมู 12 176. โครงการลงลูกรังไหลทางถึง สถานีอนามัย หมู 13 183. โครงการซอมแซมถนนเลียบ คลองระพีพัฒน หมู 14 177. โครงการปรับปรุง ซอมแซม ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) ถนนแอสฟลทติกคอนกรีตถนนลูกรัง, ถนนหินคลุก, ถนนดิน หมู 1-14 178. โครงการเพิ่มขนาดทอประปา หมู ๓ 179. โครงการขยายเขตประปา สวนภูมิภาค ซ. ๕๖ หมู ๔ 180. โครงการขยายประปา ซ. ๕๘ หมู ๔ 181. โครงการขยายประปา ซ. 25 หมูที่ 5 182. โครงการวางทอเมนประปาฝง ตะวันออก หมู 5 183. โครงการขยายประปาสวน ภูมิภาค หมูที่ 7 184. โครงการปรับปรุงประปา หมูบาน หมูที่ 13 185. โครงการกอสรางระบบประปา ผิวดิน หมู 1 (โดยใชน้ําจากสระเก็บ น้ําพระรามเกา)

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๗๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๗๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๔,๗๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๘๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓๐,๐๐๐,๐๐ ๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๓ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

186. โครงการขยายทอประปาจาก 2” เปน 4” ซอยสหกรณ 3 ซอย (ซอย 40,42,44) หมู 3 187. โครงการเจาะบอน้ําบาดาลที่ โรงเรียนลิ้นจี่ หมู 6 188. โครงการขยายเมนตประปา ภูมิภาค หมูที่ 7 189. โครงการขยายเขตเมนต ประปา ในหมูบานมาลีรมย 5 หมู ที่ 7 190. โครงการขยายทอประปา (ทั้ง หมู) หมู 14 191. โครงการไฟฟาแสงสวาง ซ.4 ตะวันออก (หมูน้ําแข็ง) หมู 1 192. โครงการไฟฟาแสงสวางราย ทางสาธารณะ (ทั้งหมูบาน) หมู 1 193. โครงการไฟฟาแสงสวาง ซ. ชัยมงคล หมู 1 194. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. 28 ตะวันออก หมู 2 195. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ.ชม บึง ตะวันตก หมู 3 196. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. นายแมน หมู 3 197. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. 11 หมู 3 198. โครงการขยายเขตไฟฟา ฝง ตะวันตก 19 ตอจากเดิม หมู 4 199. โครงการขยายเขตไฟฟา,ไฟ ทางสาธารณะ ซ.นคร หมู 4 200. โครงการไฟลายทางสาธารณะ ซ. 60 หมู 5 201. โครงการติดตั้งไฟลายทาง สาธารณะแอนด 5/6 ฝงตะวันออก หมู 6 202. โครงการขยายเขตไฟฟาเลียบ คลองดานในฝงตะวันออก หมู 6 203. โครงการขยายเขตไฟฟาซอย จากอบ (88) พรอมทําไฟทางของ เกาทั้งหมด หมู 8 204. โครงการขยายเขตไฟฟาพรอม ไฟทาง ซ.แสงทอง(84) และหิน คลุกประมาณ 200 เมตร หมู 8 205. โครงการขยายเขตไฟฟาพรอม ไฟทาง ซ.เสาะแสวง และลูกรัง ประมาณ 800 เมตร หมู 8

3.3

3

1

๘๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๙๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๔๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๔ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

206. โครงการขยายเขตไฟฟาพรอม หมอไฟฟาผานหนาบานนางพงษ ประมาณ 50 เมตร หมู 8 207. โครงการขยายเขตไฟฟาและ ไฟทาง และหินคลุก ประมาณ 200 เมตร ซ.บานคุณลุงพูล หมู 8 208. โครงการไฟฟาสาธารณะ ซ. ผองโสภณ หมู 9 209. โครงการขยายเขตไฟฟาเลียบ คลองแอนด 6/7 หมู 12 210. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ.ปา คํา ทองยอย หมู 12 211. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. ขวัญเมือง หมู 12 212. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. นายไว หมู 12 213. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ.ลุง แบล็คพรอมไฟฟาสาธารณะ หมู 12 214. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. ปฏิรูป หมู 14 215. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ.หัว หมอน หมู 14 216. โครงการขยายเขตไฟฟา ซ. สายัณต จันทรภักดี หมู 14 217. โครงการขยายเขตไฟฟาพรอม ไฟสาธารณะ ซ.คลองหก ตะวันตก 13 หมู 3 218. โครงการไฟฟาแสงสวาง ซ.สู ความดี หมูที่ 4 219. โครงการขยายเขตไฟฟาแสง สวาง 3 เฟส ฝงตะวันออกทั้งหมู หมู 6 220. โครงการขยายเขตไฟฟาแสง สวาง 3 เฟส ซ.สวนสมพัฒนา หมู 6 221. โครงการขยายเขตไฟฟาแอนด 6,7 ซ.ปฏิรูป หมูที่ 13 222. โครงการติดตั้งโคมไฟฟาแสง สวาง ทุกซอย หมูที่ 6 223. โครงการขยายเขตไฟฟา สาธารณะ และระบบจําหนาย ทุก ซอย หมู 1-14 224. โครงการเปลี่ยนสายแรงสูง เปนหุมฉนวน ปากซอย 55 (ฝง ตะวันตกป ซ. ลุงสาย หมู 10 225. โครงการขยายสะพานหนา หมูบานมาลีรมยเปน คสล. หมูที่ 7

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖๔๒,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๘๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๕ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

226. โครงการกอสรางสะพาน คอนกรีตหนาบานนายหนุย หมูที่ 12 227. โครงการกอสรางสะพาน คอนกรีตหนา สถานีอนามัยตําบล คลองหก หมูที่ 13 228. โครงการขยายสะพานหนาวัด มูลเหล็ก หมูที่ 14 229. โครงการกอสรางสะพาน คสล. .แทนสะพานไมหนาอูรถเมล 538 สะพานขาวหมูท ี่ 9 230. โครงการกอสรางสะพาน คสล. ขามคลองระพีพัฒน หมู 14 231. โครงการซอมแซมสะพาน คสล. สะพานเหล็ก สะพานไม หมู 1-14 232. โครงการปรับปรุงสะพานสูง (ลดความสูงของสะพาน คสล.) หมู 3 233. โครงการฝงทอระบายน้ําทิ้ง ซ.สหกรณ 1,2 ระยะทางฝงละ 1,250 ม. หมูที่ 3 234. โครงการฝงทอระบายน้ําทิ้ง ซ.สุนทรีย (ทั้ง 2 ฝง) หมูที่ 3 235. โครงการฝงทอระบายน้ํา ซ. 40 ซ.อารี หมูที่ 3 236. โครงการฝงทอระบายน้ํา ซ. 56 หมูที่ 4 237. โครงการฝงทอระบายน้ํา ซ. 54 หมูที่ 4 238. โครงการฝงทอระบายน้ํา ซ. 68 ตะวันออก หมูที่ 5 239. โครงการวางทอระบายน้าํ ซ. 57 ฝงตะวันออก หมูที่ 10 240. โครงการปรับปรุง ซ.ชัยมงคล พรอมจัดระเบียบ หมูที่ 1 241. โครงการสรางชองทาง จักรยาน ฝงตะวันตก หมูที่ 1

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๖,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

1

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

242. โครงการวางทอระบายน้าํ ซ. มาลีตลอดทางพรอม ไหลทาง และ ทางเทา หมู 1 243. โครงการวางทอระบายน้าํ ทุก ซอย หมูที่ 4 244. โครงการวางทอระบายน้าํ ทิ้ง ทุกซอย หมูที่ 5

3.3

3

1

๑,๐๘๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

3

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๑๗,๐๐๐,๐๐ ๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

๑๑๖ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

245. โครงการกอสรางทอระบายน้ํา ทุกซอย หมู 6 246. โครงการวางทอน้ําทิง้ ซ.สม จินตนา ตลอดสาย หมู 9 247. โครงการกอสรางเขื่อน คสล. ริมฝงคลองทั้งสองฝง หมู 7 248. โครงการติดตั้งไฟกระพริบตาม แยกและจุดอันตรายทั้งตําบล 249. โครงการกอสรางทอระบายน้ํา ซอยทวีทรัพยหมูที่ ๑ 250. โครงการกอสรางสวนหยอมริม คลองหมูที่ ๕

3.3

3

2

๙๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๑,๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

3

๕,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

3

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองหก

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

251. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน บริเวณริมคลองและขุดลอกคูคลอง ระบายน้ําที่เจ็ด หมูที่ ๑-๙ 252. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณ คลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอน) หมูที่ ๑-๙ 253. โครงการกอสรางสวนหยอมริม คลองระบายน้ําที่เจ็ด 254. โครงการปลูกตนมะพราว บริเวณริมคลองระบายน้ําที่เจ็ดและ คลองสงน้ําสี่ซาย หมูที่ ๑-๙ 255. โครงการกําจัดวัชพืชในคลอง ระบายน้ําที่เจ็ดและคลองสงน้ําสี่ซาย 256. โครงการกําจัดวัชพืชในคลอง ระบายน้ําและคลองสงน้ําในเขต ตําบลคลองเจ็ด 257. โครงการขุดลอกทางระบายน้ํา (สวนสิงห) หมูที่ ๒ 258. โครงการขุดลอกทอระบายน้ํา และคูคลอง หมู ๑ 259. โครงการขุดคลองทิ้งน้ํา (คลองเดน) ทั้ง ๔ ซอยและคลอง ซอยเฉลิมพระเกียรติ ๑,๒,๓ 260. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน คลองระพีพัฒนหมูที่ ๙ 261. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณริมคลองสงน้ําสี่ซาย หมูที่ ๑ 262. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณริมคลองระบายน้ําที่ เจ็ด หมูที่ ๒ 263. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณริมคลองสงน้ําสี่ซาย

3.3

3

2

๒,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๘๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑๕๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

๑๑๗ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

264. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณริมคลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอนด) หมูที่ ๔ 265. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณริมคลองระบายน้ําที่ เจ็ด หมูที่ ๕ 266. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณคลองระบายน้ําที่เจ็ด หมูที่ ๖ 268. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณคลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอนด) หมูที่ ๗ 269. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณคลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอนด) หมูที่ ๙ 270. โครงการกอสรางทอระบายน้ํา ซอยปาสั้น หมูที่ ๑ 271. โครงการกอสรางเขื่อนกันดิน พังทลาย พรอมติดตั้งเครื่องออก กําลังกายบริเวณหนาบานกํานันหมูที่ ๔ 272. โครงการกอสรางเขื่อนริม คลองระบายน้ําที่เจ็ดบริเวณตรงขาม วัดศรีสโมสร 273. โครงการกอสรางเขื่อนกั้นดิน พังทลาย หมูที่ ๕ หนาศูนยพัฒนา เด็กเล็ก 274. โครงการกอสรางเขื่อนริม คลองระบายน้ําที่เจ็ดหมูที่ ๖ 275. โครงการวางทอระบายน้าํ ศูนย พัฒนาเด็กเล็กหมูที่ ๕ 276. โครงการขุดลอกทอระบายน้ํา และคูคลอง หมู ๑ 277. โครงการกอสรางทอระบายน้ํา ซอยทวีทรัพยหมูที่ ๑ 278. โครงการกอสรางสวนหยอมริม คลองหมูที่ ๕ 279. โครงการซอมแซมและ ปรับปรุงบอประปาบาดาลหมูที่ ๑-๙ 280. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณคลองระบายน้ําที่เจ็ด หมูที่ ๗ 290. โครงการขยายเขตประปาเขา ซอย ประดิษฐศรีบุญขํา หมูที่ ๒

3.3

3

3

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

2๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

1,0๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

6๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓,๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

2๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

65๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

๑๑๘ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

291. โครงการขยายเขตประปา บาดาล(ชวงที่ยังไมมี)ในเขตตําบล คลองเจ็ด 292. โครงการขยายเขตประปาสวน ภูมิภาคชวงหมูบานครอบคลุมตลอด หมู ๑ 293. โครงการขยายเขตประปาสวน ภูมิภาคบริเวณถนนวงแหวนธัญบุรีวังนอย หมูที่ ๒ 294. โครงการขยายเขตประปาสวน ภูมิภาคครอบคลุมตลอดทั้งหมู หมูที่ ๓ 295. โครงการขยายเขตประปาสวน ภูมิภาค ในเขตหมูที่ ๔ (คลอง ระบายน้ําที่เจ็ด) 296. โครงการซอมแซมประปา บาดาลเลียบถนนธัญบุรี-วังนอย(ฝง ตะวันออก) หมูที่ ๕ 297. โครงการปรับปรุงระบบประปา บาดาลหมูที่ ๕ 298. โครงการติดตั้งปายบอกชื่อ ซอย หมูที่ ๑ 299. โครงการติดตั้งปายบอก เสนทาง,ซอย,เขตหมูบานและสถานที่ ราชการในตําบลคลองเจ็ด 300. โครงการกอสรางศาลาที่พัก ผูโดยสารริมทาง บริเวณ ซอย ประสานมิตร หมูที่ ๔ 301. โครงการกอสรางศาลาที่พัก ผูโดยสารริมทาง บริเวณ ดานชาง น้ําหนัก หมูที่ ๔ 302. โครงการกอสรางศาลาที่พัก ผูโดยสารริมทางซอย เฉลิมพระ เกียรติ ๑ หมูที่ ๗ 303. โครงการกอสรางจุดตรวจ บริเวณถนนริมคลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอน)และบริเวณสนามกีฬา เฉลิมพระเกียรติพรธิสาร๔ 304. โครงการปองกันและรักษา ความสงบเรียบรอยในตําบลคลอง เจ็ด 305. โครงการจัดซื้อและติดตั้งกลอง วงจรปดบริเวณจุดเสี่ยงในเขตตําบล คลองเจ็ด

3.3

3

2

200,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑๐,๐๐๐,๐๐ ๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,0๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๓๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๒๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

18๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

500,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

200,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

1,000,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

๑๑๙ บัญชีรายการชุดโครงการ พ.ศ. 2557

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

306. โครงการพัฒนาระบบ น้ําประปาใหมีคุณภาพที่ดีขึ้นและ สามารถดื่มได หมูที่ ๙ 307. โครงการพัฒนาน้ําประปาให สามารถดื่มไดหมูที่ ๑-๙ 308. โครงการซอมแซมถนนในเขต ตําบลคลองเจ็ด 309. โครงการซอมแซมถนนซอย สุขศิริ หมูที่ ๑ 310. โครงการกอสรางถนนลูกรัง ซอย แฉลม เงินประเสริฐ หมูที่ ๒ 311. โครงการซอมแซมถนนลูกรัง ซอยพันธศรีเพ็ชรหมูที่ ๕ 312. โครงการกอสรางถนนลูกรัง ซอยบานนางทองชุบ( บานเลขที่ ๖/ ๒,๖/๓) หมูที่ ๗ 313. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยสรอยสุข ๒ หมูที่ ๖ 314. โครงการกอสรางและซอมแซม ถนน คสล.ในเขตตําบลคลองเจ็ด 315. โครงการกอสรางถนนลาดยาง ซอยเฉลิมพระเกียรติ๑,๒,๓ (ทั้งสอง ฝง) 316. โครงการถมดินซอยสรอยสุข 1 ตลอดถึงคลองสงน้ําสี่ซายใหเต็ม พื้นที่เขตถนน หมู ๖ 317. โครงการยกระดับถนนเลียบ คลองระบายน้ําที่เจ็ด 318. โครงการยกระดับถนนเลียบ คลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอนด) ตําบลคลองเจ็ด 319. โครงการขยายเขตไฟฟาซอย พันธศรีเพ็ชร หมู ๕ 320. โครงการขยายเขตไฟทาง สาธารณะริมคลองระบายน้ําที่เจ็ด (ตอจากของเดิม) หมูที่ ๙ 321. โครงการขยายเขตไฟฟาริม ทางสาธารณะถนนวงแหวนธัญบุรีวังนอย หมูที่ ๑-๙ 322. โครงการขยายเขตไฟทาง สาธารณะซอยสรอยสุขหมูที่ ๖ 323. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน บริเวณริมคลองและขุ ดลอกคูคลอง ระบายน้ําที่เจ็ด หมูที่ ๑-๙

3.3

3

2

500,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

1,000,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

300,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

3,000,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

500,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

2

๑,๕๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๙,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

7,5๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

5๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๒๒,๐๐๐,๐๐ ๐ ๒๒,๐๐๐,๐๐ ๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

2,000,000

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๑,๖๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๒๐,๐๐๐,๐๐ ๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๖๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

๑๒๐ บัญชีรายการชุดโครงการ

งบประมาณดําเนินการ (ลานบาท) พ.ศ. พ.ศ. 2558 2559

โครงการ

กลยุทธ

แหลง งปม.

ผลผลิต

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2560

หนวยดําเนินการ

324. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ ขุดลอกบริเวณคลองสงน้ําสี่ซาย (คลองแอน) หมูที่ ๑-๙ 325. โครงการกอสรางสวนหยอมริม คลองระบายน้ําที่เจ็ดตําบลคลองเจ็ด 326. โครงการกําจัดวัชพืชในคลอง ระบายน้ําที่เจ็ดและคลองสงน้ําสี่ซาย 327. โครงการกอสรางอางสูบน้ํา เขา-ออก ตามซอย 328. โครงการคลองสวยน้ําใส 329. โครงการขุดลอกคลอง 330. โครงการกอสรางประตูระบาย น้ํา ปากคลอง 11 331. โครงการปรับปรุงระบบประปา และทอเมนตประปาหมูบาน 332. โครงการกอสรางระบบประปา ผิวดิน 333. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต ลาดยาง ซอยผูใหญจอย หมูที่ 7 334. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ซอยแสนสุข หมูที่ 6 335. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ซอย ผูใหญชุม หมูที่ 3 บานดอนพัฒนา 336. โครงการกอสรางถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก ซอยปฏิรูป หมูที่ 6 บาน นพรัตนพัฒนา 337. โครงการประกวดหนาบานนา อยูริมคลองสวยงาม 338. โครงการคลองสวยน้ําใส 339. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและ สภาพแวดลอมในตําบล 340. โครงการขุดลอกคลองสงน้ํา และคลองระบายน้ํา 341. โครงการจัดเก็บวัชพืชและ สิ่งปฎิกูลในลําคลอง 342. โครงการจางออกแบบระบบ ระบายน้ําในหมูบานรัตนโกสินทร 200 343. โครงการวางและจัดทําผัง พัฒนาพื้นที่เฉพาะในเขตเทศบาล

3.3

3

3

1,๐๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

๓,๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

3๐๐,๐๐๐

-

-

-

อบต.คลองเจ็ด

3.3

3

3

500,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3 3.3 3.3

3 3 3

3 3 3

-

-

-

อบต.นพรัตน อบต.นพรัตน อบต.นพรัตน

3.3

3

3

2,000,000 1,000,000 20,000,00 0 9,000,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

2

3,500,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

2

2,000,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

2

1,098,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

3

2,462,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

3

4,574,000

-

-

-

อบต.นพรัตน

3.3

3

3

30,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ

3.3 3.3

3 3

3 3

50,000 1,200,000

-

-

-

เทศบาลเมืองสนั่นรักษ อบต.บึงชําออ

3.3

3

3

500,000

-

-

-

อบต.บึงชําออ

3.3

3

1

300,000

-

-

-

อบต.บึงชําออ

3.3

3

1

3,500,000

-

-

-

เทศบาลนครรังสิต

3.3

3



6,000,000

-

-

-

เทศบาลนครรังสิต

Data Loading...