ม.ปลาย วิชาพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง อช31003 - PDF Flipbook

อาชีพมั่นคง 31003

330 Views
56 Downloads
PDF 976,094 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


หนังสื อเรี ยนสาระการประกอบอาชีพ

รายวิชา การพัฒนาอาชีพให้ มีความมั่นคง (อช31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2560)

หลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สานักงานส่งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ ามจาหน่ าย

หนังสื อเรี ยนเล่มนี้ จดั พิมพ์ดว้ ยเงินงบประมาณแผ่นดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิ ทธิ์ เป็ น ของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาดับที่ 32/2555

หนังสื อเรี ยนสาระการประกอบอาชีพ

รายวิชา การพัฒนาอาชีพให้ มีความมั่นคง (อช31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2560

ลิขสิ ทธิ์ เป็ นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิ การ เอกสารทางวิชาการลาดับที่ 32/2555

คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชื่อพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสม ความรู และประสบการณอยางตอเนื่อง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได กํ าหนดแผนยุ ทธศาสตร ใ นการขั บ เคลื่อ น นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขั นใหประชาชนไดมีอาชีพที่ สามารถสรางรายไดที่มั่งคั่งและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมี จิ ต สํานึ ก รั บผิด ชอบต อตนเองและผูอื่น สํานั ก งาน กศน. จึ งได พิ จ ารณาทบทวนหลัก การ จุ ด หมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดั บการศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน พุ ทธศัก ราช 2551 ใหมีค วามสอดคลอ งตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ อาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของ สัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุม หรือ ศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถิ่น แหลงการเรียนรู และสื่ออื่น การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผูเกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอนที่ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ ตาง ๆ มา เรียบเรียงเนื้อหาใหครบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัดและกรอบเนื้อหาสาระ ของรายวิชา สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอนอมรับดวยความขอบคุณยิ่ง

สารบัญ คํานํา คําแนะนําการใชหนังสือเรียน โครงสรางรายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ เพื่อความมั่นคง เรื่องที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศกั ยภาพธุรกิจ เรื่องที่ 3 การวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ เรื่องที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพ ของแตละพื้นที่ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด เรื่องที่ 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหกลยุทธ เรื่องที่ 3 การกําหนดกิจกรรม และแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ เรื่องที่ 1 การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือบริการ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหทุน ปจจัยการผลิตหรือการบริการ เรื่องที่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เรื่องที่ 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ เรื่องที่ 5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก เรื่องที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค เรื่องที่ 3 การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม เรื่องที่ 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

หนา

1 2 2 8 9 12 13 18 20 22 23 25 27 29 31 33 34 34 37 39

สารบัญ (ตอ)

บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง เรื่องที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบริการ เรื่องที่ 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพสูความมัน่ คง เรื่องที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดและปรับปรุงแกไขโครงการ คณะผูจัดทํา

หนา 46 47 54 61 68

คําแนะนําการใชหนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีค วามมั่นคง (อช31003) ระดั บมัธยมศึ ก ษาตอนปลาย เปน หนั งสือเรี ย นที่ จั ด ทําขึ้ น สํา หรั บผูเรี ย นที่เปน นั ก ศึก ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการศึก ษาหนั งสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง (อช31003) เลมนี้ ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหาของรายวิชาโดยละเอียด 2. ศึก ษารายละเอีย ดเนื้อหาของแต ละบทอยางละเอียด และทํากิจ กรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกับครูหรือผูรูในเรือ่ งนัน้ ๆ ถายังไมเขาใจใหกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจ กอนที่จะศึกษาเรื่องตอ ๆ ไป 3. หนังสือเรียนเลมนี้มี 5 บทเรียน ประกอบดวย บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

โครงสรางรายวิชาการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง (อช 31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง จําเปนตองศึกษาและวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจแลวจัดทํา แผนพัฒนาการตลาด การผลิตหรือการบริการ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุกและการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ ใหมีความมั่นคงพรอมทั้งกําหนดระบบกํากับดูแลเพื่อใหอาชีพสูความมั่นคง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต มีเงินออม และมีทุนในการขยายอาชีพ 2. วิเคราะหศักยภาพธุรกิจ การตลาด การผลิตหรือการบริการ แผนธุรกิจเชิงรุก เพื่อสรางธุรกิจ ใหมีความมั่นคง 3. อธิบายวิธีการตรวจสอบการพัฒนาอาชีพใหเขาสูความมั่นคง 4. ปฏิบัติการจัดทําแผนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขายเนื้อหาวิชา บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

1

บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพจํ าเปนต องมีการวิเคราะหศัก ยภาพธุรกิจ ตําแหน งธุร กิจ ในระยะตาง ๆ และ วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลา เพื่อสรางธุรกิจใหมีความมั่นคง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 2. อธิบายความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 3. อธิบายการวิเคราะหตําแหนงธุรกิจในระยะตาง ๆ 4. อธิบายการวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4

ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ การวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่

2 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 1. ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ การพั ฒนาอาชี พ หมายถึง การประกอบอาชีพที่มีก ารพั ฒนาสิ นค าหรื อผลิต ภั ณฑ ใหต รงกั บ ความตองการของลูกค าอยูตลอดเวลา โดยมีสวนครองตลาดไดต ามความตองการของผูผลิต แสดงถึง ความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคง หมายถึง การเกิดความแนนและทนทาน ไมกลับเปนอื่น 2. ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ผูประกอบอาชีพจะตองมีวิสัยทัศนกวางไกล เพื่อพิจารณาแนวโนมของตลาดและความตองการของ ผูบริโภคเข าสูการแข งขันในตลาดใหได จึ งจําเปนต องมีการพัฒนาอาชีพ โดยใหถือว า ลูกคามีความสําคั ญ ดังนั้น การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง จึงมีความสําคัญและความจําเปน ดังนี้ 1. เพื่อใหมีสินคาที่ดีตรงตามความตองการของผูบริโภค 2. เพื่อใหผูผลิตไดมีการคิดคนผลิตภัณฑหรือสินคาไดตลอดเวลา 3. มีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเขามาใชในกระบวนการผลิต เพื่อใหสินคามีคุณภาพยิ่งขึ้น 4. ทําใหเศรษฐกิจชุมชนและของประเทศดีขึ้น 3. ขอควรพิจารณาในการพัฒนาอาชีพ ปจจัยที่ทําใหการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงใหสามารถแขงขันกับผูอื่นได มีดังนี้ 1) ผูประกอบอาชีพ ซึ่งอาจจะเปนเจาของธุรกิจ ผูจัดการ ทีมงาน จะตองมีความรูเกี่ยวกับการพัฒนา อาชี พนั้ น ๆ รวมถึง ทัก ษะในอาชี พและประสบการณ ที่ เป น ประโยชน ต อการพั ฒ นาอาชี พของตน นอกจากนี้ยังเปนผูรักความกาวหนา ไมหยุดนิ่ง กาวทันกระแสโลก กลาคิดกลาทํา ทันสมัย มองโลกในแงดี 2) ปจจัยการผลิต ไดแก เงินทุน วัตถุดิบ แรงงาน สถานที่ยอมตองพัฒนาใหมีคุณภาพมากกวาเดิม แตกตางและโดดเดนไปจากคูแขงอื่น ๆ 3) โอกาสและสภาพแวดลอมทางธุรกิจ เชน มีตลาดรองรับตามนโยบายของรัฐบาลที่สงเสริมจะ ทําใหธุรกิจเจริญกาวหนา 4) ผลกระทบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอมและตองคํานึงถึงผลดีกับทุกฝาย เรื่องที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 1. ศักยภาพของธุรกิ จ หมายถึง ธุรกิจ ที่ทุก คนที่มีความสามารถพัฒ นาสิน คานั้ น ๆ ใหอยูใ น ตลาดไดอยางมั่นคง 2. ความจําเปนที่จะตองวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจ ไดแก 1) ทําใหสามารถขยายตลาดไดกวางขวางกวาเดิม

3 2) ทําใหลดความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจ 3) มีแนวทางในการดําเนินงานอยางรอบคอบ ปลอดภัยจากการขาดทุน 4) เปนการสื่อสารเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจใหแกผูเกี่ยวของหรือองคกรที่สนับสนุนเงิน ใหทราบ เพื่อใหเกิดความมั่นใจ 5) ในการขยายธุรกิจมีความเปนไปได 3. ความคิดรวบยอด 1) องคประกอบที่มีความสัมพันธกับความมั่นคงของอาชีพ จะตองมีความตรงกันกับ ปจจัยที่สงผลตอศักยภาพในอาชีพ หากมีองคประกอบที่ไมตรง จําเปนที่จะตองจัดการใหตรงกันหรื อ สัมพันธกันก็จะทําใหศักยภาพของอาชีพสูงขึ้น 2) ศักยภาพของอาชีพสามารถบอกเปนตั วเลขและอธิบายสภาพที่ปรากฏไดจะทําให ผูประกอบการมองเห็นขอบกพรองและสามารถแกไขขอบกพรองพัฒนาอาชีพสูความมั่นคงได 4. ความหมายของศักยภาพในอาชีพ ศักยภาพในอาชีพ หมายถึง ภาวะแฝงหรืออํานาจแฝงที่มีอยูในปจจัยดําเนินการอาชีพ ไดแก ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ และระบบการจัดการนํามาจัดการใหตรงกับองคประกอบความมั่นคง ในอาชีพ จะสามารถทําใหอาชีพมั่นคงและปรากฏใหประจักษได 5. ลักษณะโครงสรางของศักยภาพในอาชีพ โครงสรางของศักยภาพในอาชีพ เปนความสัมพันธระหวางการจัดปจจัยดําเนินการของ อาชีพกับองคประกอบของการพัฒนาอาชีพใหมั่นคง มีลักษณะโครงสรางของความสัมพันธตามแผนภูมิ ดังนี้ แผนภูมิโครงสรางศักยภาพการขยายอาชีพใหมีความมัน่ คง ปจจัยนําเขาเพื่อ การขยายอาชีพ 1. 2. 3. 4.

ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ การจัดการ



ตรงกัน สัมพันธกัน



การจัดองคประกอบ = พัฒนาอาชีพ

ศักยภาพ การขยายอาชีพ

1. การจัดการลดความเสี่ยงผลผลิต 2. ขอตกลง/มาตรฐานพัฒนาอาชีพ



ความมั่นคงของ การขยายอาชีพ



4 จากแผนภูมิแสดงโครงสรางศักยภาพการขยายอาชีพใหมความมั่นคง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ปจจัยนําเขาเพื่อการขยายอาชีพในแตละปจจัย จะมีตัวแปรรวม ดังนี้ 1.1 ทุน (1) เงินทุน (2) ที่ดิน/อาคารสถานที่ (3) ทุนทางปญญา ไดแก - การสรางความสัมพันธกับลูกคา - องคความรูที่สรางขึ้น - ภาพลักษณของผลผลิตและสถานประกอบการที่จะสรางความพอใจกับลูกคา 1.2 บุคลากร (1) หุนสวน (2) แรงงาน 1.3 วัสดุอุปกรณ (1) วัตถุดิบ (2) อุปกรณเครื่องมือ 1.4 การจัดการ (1) การจัดการการผลิต (2) การจัดการการตลาด 2. การจัดองคประกอบพัฒนาอาชีพ มีปจจัยและตัวแปรรวม ดังนี้ 1.1 องคประกอบดานการจัดการลดความเสี่ยงผลผลิต (1) ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) การเพิ่มผลผลิต (3) การจัดการหมุนเวียนเปลี่ยนรูป (4) การจัดการรายไดใหหมุนเวียนกลับมาสูการขยายอาชีพ 1.2 ขอตกลง/มาตรฐานพัฒนาอาชีพ (1) คุณภาพผลผลิต (2) การลดตนทุน (3) การสงมอบ (4) ความปลอดภัย

5 3. ศักยภาพการขยายอาชีพ เปนตัวเลขบงชี้ความตรงกันหรือความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขากับการจัดองคประกอบพัฒนาอาชีพ ดังนี้ 3.1 ประสิทธิภาพรวมของการดําเนินการขยายอาชีพ ซึ่งเปนตัวเลขผันแปร ระหวาง -1 ถึง 1 โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้ ต่ํากวา 0.5 = การขยายอาชีพ มีศักยภาพต่ําตองแกไข สูงกวา 0.5 – 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพ สูงกวา 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพสูง 3.2 ประสิทธิภาพแตละปจจัย ตองมีคา 0.5 ขึ้นไปถึงจะยอมรับได แตถาหากต่ํากวา ก็ควรดําเนินการแกไขพัฒนา 3.3 ในการวิเคราะหศักยภาพในธุรกิจ ดานการวิเคราะหความตรงกันหรือความสัมพันธกัน ระหว า งปจ จั ย นํ า เข า ดํ า เนิ น การขยายอาชีพกั บองค ประกอบการพั ฒ นาอาชีพ ของผู เชี่ ย วชาญและ ผูเกี่ยวของกับการประกอบการขยายอาชีพ จํานวน 3 – 5 คน ดําเนินการวิเคราะหแลวนํามาประมวลผล ตามตารางวิเคราะห ดังนี้ ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ

1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 2. การเพิ่มของผลิต 3. การหมุนเวียน เปลี่ยนรูป 4. การจัดการรายได 5. คุณภาพผลผลิต 6. การลดตนทุน 7. การสงมอบผลผลิต 8. ความปลอดภัย รวม

ทุนดําเนินการ 1

0

-1

บุคลากร 1

0

วัดสุอุปกรณ -1

1

0

การจัดการ -1

1

0

-1

ศักยภาพ รายขอ

6 3.4 ดําเนิ น การวิ เคราะหเพื่อสรุ ปศักยภาพการขยายอาชีพด ว ยการใชผูเชี่ย วชาญ จํานวน 3 – 5 คน ตรวจสอบพิจารณาความตรงกันหรือสัมพันธกัน ระหวางองคประกอบพัฒนาอาชีพใน แตละขอกับปจจัยนําเขาขยายอาชีพ โดยมีเกณฑพิจารณา ดังนี้ ใหคะแนน 1 หมายถึง มีความตรงกันหรือความสัมพันธกัน ใหคะแนน 0 หมายถึง เฉย ๆ ไมมีความเห็น ใหคะแนน – 1 หมายถึง ไมตรงกัน 3.5 ดําเนินการประมวลผล เพื่อสรุปผลและอภิปรายผลศักยภาพการขยายอาชีพดวย การนําผลการวิเคราะหของทุกคนมาคิดหาคาเฉลี่ย ดังนี้ ตารางที่ 2 ตารางสรุปผลศักยภาพการขยายอาชีพ

ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ

ทุนดําเนินการ

บุคลากร

วัดสุอุปกรณ

การจัดการ

ศักยภาพ รายขอ

1

0

-1

1

0

-1

1

0

-1

1

0

-1

1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ

4

-

1

3

-

2

2

3

-

4

1

-

0.50

2. การเพิ่มของผลิต

5

-

-

2

3

-

2

3

-

4

1

-

0.65

5

-

-

2

3

-

1

4

-

4

1

-

0.60

1

4

-

2

3

-

2

3

-

4

-

1

0.40

4

1

-

3

2

-

3

2

-

4

1

-

0.70

6. การลดตนทุน

5

-

-

5

-

-

-

1

4

3

-

2

0.35

7. การสงมอบ ผลผลิต

1

-

4

2

-

3

1

-

4

2

-

3

-0.40

8. ความปลอดภัย

2

3

-

5

-

-

3

2

-

5

-

-

0.75

3. การหมุนเวียน เปลี่ยนรูป 4. การจัดการ รายได 5. คุณภาพ ผลผลิต

รวม

0.55

0.45

0.225

0.60

0.36

7 ผลการวิเคราะหสามารถอธิบายไดวา (1) ภาพรวมของศักยภาพ มีคะแนน 0.36 อาจบอกไดวา การขยายอาชีพมีศักยภาพไมถึงเกณฑ (2) เมื่อพิจารณาดานปจจัยนําเขา พบวา ปจจัยดานบุคลากรและวัสดุอุปกรณมีศักยภาพไมถึงเกณฑ (3) เมื่อพิจารณาดานองคประกอบพัฒนาอาชีพ พบวา องคประกอบดานการจัดการรายไดการลด ตนทุนและการสงมอบผลผลิตมีศักยภาพไมถึงเกณฑ (4) ผลการวิเคราะหอาจสรุปไดวา การขยายอาชีพของผูประกอบการรายนี้มีศักยภาพต่ํากวาเกณฑที่ กําหนดจําเปนตองทบทวนพัฒนาใหม การระบุปจจัยและองคประกอบที่มีและไมมีศักยภาพ การระบุปจจัยและองคประกอบที่มีและไมมีศักยภาพได จากการนําผลการวิเคราะหและประเมิน ศักยภาพในธุรกิจมาพิจารณา อภิปรายเหตุ และผลที่นําไปสูการพัฒนา มีขั้นตอนดังนี้ 1) ตรวจสอบผลการวิเคราะหองคประกอบที่มีคะแนนต่ํากวาเกณฑ วามีองคประกอบอะไรบาง 2) พิจารณาองคประกอบที่พบวาต่ํากวาเกณฑแลวนํามาพิจารณาสภาพภายในวาความตรงกันกับ ปจจัยนําเขาขยายอาชีพ มีสภาพเปนอยางไรแลวคิดทบทวนหาเหตุ หาผลวามาจากอะไร ตารางที่ 3 องคประกอบของการพัฒนาอาชีพ ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ

1

0

-1

1

0

-1

1

0

-1

1

0

-1

4. การจัดการรายได

1

4

-

2

3

-

2

3

-

4

-

1

ทุนดําเนินการ

บุคลากร

วัดสุอุปกรณ

การจัดการ

จากตารางแสดงตัวอยางขางตนพบวา องคประกอบของการพัฒนาอาชีพในรายการที่ 4 เรื่อง การ จัดการรายได มีคะแนนศักยภาพ 0.40 ต่ํากวาเกณฑ ที่ยอมรับได จึงจํ าเปนที่เราตองพัฒนา ดังนั้ น จึงตอง มาพิจารณาดานปจจัยนําเขาซึ่งเปนตัวที่มีภาวะแฝง สามารถทําใหอาชีพพัฒนาและปรากฏใหประจักษได ดังนี้ 1. ดานทุนดําเนินการ ที่จะใชขับเคลื่อนการจัดการรายได ขาดความชัดเจน 2. บุคลากรดําเนินการ ผูเชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมชดั เจน 3. วัสดุอุปกรณ ผูเชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมชัดเจน ทั้ง 3 ปจ จั ยสงผลตอศักยภาพการจัด การรายได จึงจํ าเปนต องมีการทบทวนกํ าหนด แนวทางพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

ศักยภาพ รายขอ 0.40

8 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนวิเคราะหศักยภาพธุรกิจของตนเอง หรือธุรกิจของผูประสบความสําเร็จ ในอาชีพตาม รูปแบบตารางการวิเคราะหที่กําหนด และประเมินผลดังนี้ 1. ภาพรวมของศักยภาพธุรกิจอยูระดับใด 2. ศักยภาพใดบางที่ถึงเกณฑ และศักยภาพใดบางที่ไมถึงเกณฑ 3. ศักยภาพที่ไมถึงเกณฑทานมีแนวทางในการพัฒนาอยางไร

เรื่องที่ 3 การวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ

การเขาสูอาชีพเมื่อดําเนินธุรกิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามองและทําตามกันมา สวน

แบงการตลาดจึงมีขนาดเล็กลงโดยลําดับ จนถึงวันที่จะเกิดวิกฤติ จึงมีความจําเปนตองพัฒนาหรือขยาย ขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในสิ่งที่คนอื่นทําไมได เพื่อใหอยูไดอยางมั่นคงยั่งยืน การพัฒนาหรือ ขยายอาชีพ จะตองวิเคราะหและประเมินศักยภาพของธุรกิจวาอยูในตําแหนงธุรกิจระดับใด ดังนี้ 4. ธุรกิจตกต่ําหรือสูงขึ้นถาไมมี การพัฒนาธุรกิจจะเปนขาลง จําเปนตองขยายขอบขาย จึงมีความตองการตองการ ใชนวัตกรรม/เทคโนโลยีเขามาใช งาน 3. ธุรกิจทรงตัวจะมีผคู นเขามาเรียนรูทําตาม ทําใหเกิดวิกฤติสวนแบงตลาด 1. ธุรกิจระยะเริ่มตน การพัฒนา

2. ธุรกิจอยูในระยะสรางตัว จะมีคนจับตามองพรอมทํา

แผนภูมกิ ารวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ

9 จากแผนภูมกิ ารวิเคราะหตําแหนงธุรกิจมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ระยะเริ่มตน เปนระยะเริ่มตนของการทําธุรกิจ จึงตองมีการพัฒนาใหธุรกิจอยูไดเปน ระยะที่ผูประกอบการจะตองประชาสัมพันธสินคาและบริการใหลูกคารูจัก 2. ระยะสรางตัว เปนระยะที่ธุรกิจเติบโตมาดวยดี มักจะมีคนจับตามองพรอมคําถาม 3. ระยะทรงตัว เปนระยะที่ธุรกิจอยูนิ่ง ไมมีการขยายตลาด ไมมีการพัฒนาสืบเนื่องมาจาก ระยะที่ 3 ที่มีผูประกอบการอื่น ๆ ทําตาม จึงทําใหมีสวนแบงของตลาด 4. ระยะตกต่ําหรือสูงขึ้น เปนระยะที่ถาไมมีการพัฒนาธุรกิจก็จะอยูในขาลง ถามีการพัฒนา ธุรกิจจากระยะทรงตัวก็จะทําใหธุรกิจอยูในขาขึ้น

เรื่องที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ 1. เสนทางของเวลา หมายถึง วัฎจักรของการประกอบอาชีพ ธุรกิจ สินคาหรือบริการ ในชวงระยะเวลาหนึ่งของการดําเนินการ 2. การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ คือ การแยกแยะกระบวนการทางธุรกิจ หรือการดําเนินการดานอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบงตาม ชว งระยะเวลาดํ าเนิ น กิ จ กรรม และมีเปาหมาย คื อ ผลการประกอบการในชว งเวลา ทําใหมองเห็ น ความกาวหนา ความสําเร็จในแตละภารกิจ ดวยการกําหนดกิจกรรมพรอมกํากับเวลาที่ตองใชจริง เขียน เปนผังการไหลของงาน เพื่อใชเฝาระวังการดําเนินงาน การจัดทําผังการไหลของงานในแตละภารกิจให กําหนดดังนี้ 1) กําหนดงาน/อาชีพออกเปนเรื่องสําคัญ 2) นํากิจกรรมออกมาจัดลําดับขั้นตอนกอนหลัง 3) นําลักษณะบงชี้ความสําเร็จออกมากําหนดเปนผลการดําเนินงาน 4) จัดทําผังของงานในรูปแบบใดก็ไดใหผูประกอบอาชีพมีความเขาใจดี

10 ผังการไหลของปลูกมะละกอ การบริหาร

วางแผน

เตรียม

จัดจําหนาย

จัดการ

การผลิต

ปจจัยปลูก

สรุป ยอดขาย

ขยายอาชีพ

ปลูก

ปลูกมะละกอ

มะละกอ 5 ไร

การผลิต

ทํา

บํารุง

ปลูก

บํารุง

มะละกอ

ปุยหมัก

ดิน

มะละกอ

รักษา

ชวงเวลา (สัปดาห)

1

2

3

4-14

เก็บเกี่ยว

15

16-24

25

การปลูกผักอินทรียใ ชเวลา 8 สัปดาห การทํางาน มี 2 ลักษณะ คือ การบริหารจัดการ และการปลูกผัก ตองจัดผังการไหลของงานใหเห็นการทํางานกอนหลังตั้งแตเริ่มตนจนจบ เพื่อใหมองเห็น เสนทางของการปลูกพืช ซึ่งเราสามารถใชผังการไหลกํากับดูแลการขยายอาชีพได ดังนี้ 1) นําผังการไหลของงานติดผนังใหมองเห็น 2) ติดตามระยะเวลาตามผังการไหลของงาน วันที่กําหนดกิจกรรมดําเนินการเสร็จหรือไม ถาเสร็จก็ทําเครื่องหมายบอกใหรูวาเสร็จ 3) ถาไมเสร็จผูประกอบการจะตองติดตาม คนหาสาเหตุแลวปฏิบัติการแกไขขอบกพรอง 4) ดําเนินการปรับระยะเวลาในผังการไหลของงานใหเปนความจริง ประเมินผลและกํากับ ดูแล วา มีงานสวนใดประสบผลสําเร็จบาง และสําเร็จไดเพราะอะไร เปนเหตุ จากนั้นดูวา สวนใดที่ไมประสบผลสําเร็จและมีอะไรเปนเหตุ นําผลทั้งความสําเร็จและความเสียหาย มาสรุปผล เพื่อนําผลกลับมาแกไขแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพได 3. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถนําไปใชใหเกิด ประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนปลูกมะละกอ มีแหลงน้ําเพียงพอตอ ระยะเวลาในการปลูกหรือไม และความอุดมสมบูรณของดินมีมากนอยเพียงใด ซึ่งจะสงผลตอการปรับปรุงดิน และการใสปุยมะละกอ

26

11 4. ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจําทองถิ่นในชวงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพล ตอการประกอบอาชีพในแตละพื้นที่มีสภาพอากาศที่แตกตางกัน เชน การเตรียมปจจัยการปลูกมะละกอ เกี่ยวกับเมล็ดพันธุ ควรเลือกพันธุใหเหมาะสมกั บฤดูก าล เพราะจะทําใหมะละกอเจริ ญเติบโตดี และ ใหผลผลิตตรงตามสายพันธุ 5. ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลที่ตงั้ ของแตละพื้นที่ ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผนดินที่มีลักษณะเปนพื้นที่ประกอบการที่มี ความสูงต่ํา ที่ราบลุม ที่ราบสูง ภูเขา แมน้ํา ทะเล เปนตน โดยเฉพาะในการปลูกมะละกอ ควรเลือกพื้นที่ที่สูง ใกลแหลงน้ํา และน้ําไมทวมขัง 6. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง ความเชื่อ การกระทําที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมาเปน เอกลักษณ และมีความสําคัญตอสังคม ในแตละภาคของประเทศไทย มีวิถีชีวิต การเปนอยู การประกอบอาชีพและการบริโภคที่ แตกตางกัน เชน บางแหงปลูกมะละกอเพื่อสงโรงงาน หรือบางแหงปลูกมะละกอเพื่อบริโภค เปนตน 7. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ ทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยทเี่ ปนภูมิรู ภูมิปญ  ญา ทั้งในอดีตและปจจุบันตางกัน ในแตละทองถิ่นมีความถนัด และความชํานาญในการบํารุงรักษา เก็บเกี่ยว และจัดจําหนายที่ไมเหมือนกันสงผลใหผลผลิตและรายไดตางกัน ใบงานที่ 2 คําสั่ง ใหผูเรียนจัดทําผังการไหลของงานการขยายอาชีพของตนเอง หรืออาชีพของผูประสบความสําเร็จ จากการประกอบอาชีพ

12

บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด สาระสําคัญ การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดของสินคาใหสามารถแขงขันได โดยการกําหนดเปาหมายและ กลยุทธตาง ๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายของกิจกรรมทางการตลาดที่กําหนดไว ลักษณะบงชี้ความสําเร็จของการเรียนรู 1. อธิบายการกําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดของสินคาหรือบริการได 2. อธิบายการกําหนดและวิเคราะหกลยุทธสูเปาหมายการตลาดได 3. อธิบายการกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาดได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหกลยุทธ เรื่องที่ 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

13

เรื่องที่ 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ ความคิดรวบยอด การทําธุรกิจไมวาจะทําระดับใด จําเปนตองมีทิศทางใหมองเห็นผลสําเร็จ ภาระงานที่ จะตองทําและกลยุทธสูความสําเร็จใชเปนความคิดสูการปฏิบัติจริง เปนการกําหนดอนาคตของธุรกิจให เดินไปในทิศทางที่ตองการอยางมั่นคงและยั่งยืนได 1. ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ทิศทางการตลาด

2. เปาหมายการตลาด

3. แผนกลยุทธ

วิสัยทัศน กลยุทธ

แผนกลยุทธ

พันธกิจ จากแผนภูมิ ทําใหมองเห็นวาการกําหนดทิศทางการตลาด กลยุทธ การขยายอาชีพ ประกอบดวย 1. การกํ าหนดทิศทางธุร กิจ ประกอบดว ย วิ สัยทัศนที่ต องการใหเกิดอยางมีความพอดี และ พันธกิจสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จ 2. การกําหนดเปาหมายการตลาดหรือวิธีการสรางความสําเร็จตามพันธกิจ จะตองมีเปาหมาย อยางชัดเจน 3. การกํ าหนดแผนกลยุ ทธด ว ยการนํ าเปา หมายการตลาดมาวิ เคราะหใ หมองเห็น ตั ว บง ชี้ ความสําเร็จ ปจจัยนําเขาที่สําคัญและกิจกรรมที่จําเปนตองทําเปนแผนทิศทางไปสูความสําเร็จของการ ดําเนินธุรกิจ 2. รายละเอียดการดําเนินงาน 2.1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการคิดใหมองเห็นอนาคตของการขยายอาชีพใหมีความพอดี จะตองกําหนดใหไดวาแตละ ชวงระยะควรจะไปถึงไหน อยางไร ซึ่งประกอบดวย ขอความวิสัย ทัศนวาจะไปถึงไหน และขอความ พันธกิจวาจะไปอยางไร โดยมีวิธีการคิดและเขียนดังนี้

14 1) การเขี ย นขอความวิ สัย ทัศน การขยายอาชีพ มีลัก ษณะโครงสร างการเขี ยนมีลัก ษณะที่ ประกอบดวย ก. ชวงระยะเวลาที่สิ้นไปสุดทางของการขยายอาชีพในชวงนี้ จะเปนระยะเวลา กี่ป พ.ศ. อะไร ข. ความคิด เปาหมาย ลักษณะความสําเร็จผูประกอบอาชีพจะไปถึงอยางมีความพอดี และ ทาทายความสามารถของเรา คืออะไร ตัวอยางขอความวิสยั ทัศน “ พ.ศ. 2551 ไรทนเหนื่อยผลิตผักสดผลไมเกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปร จากขอความวิสัยทัศนตามตัวอยางขางตน โครงสรางการเขียนมีลักษณะ ดังนี้ ก. ชวงระยะเวลาที่จะไปสุดทาง คือ ป พ.ศ. 2551 ข. ขอความ ความคิดลักษณะความสําเร็จที่จะไปถึงอยางมีความพอดีและทาทาย คือ ไรทนเหนื่อย สามารถผลิตผักสด ผลไม เกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปรได จึงอาจสรุปไดวา การ กําหนดวิ สัยทัศน ไมใชเปนการกําหนด เพื่อความนาสนใจแต เปนการกําหนดใหมองเห็นทิศทางของ ธุรกิจที่จะดําเนินการในอนาคตได 2) การเขียนพันธกิจ เปนการดําเนินการตอเนื่องจากการกําหนดวิสัยทัศนวา เราจะตองมีภารกิจที่ สําคัญอะไรบาง โดยมีแนวทางการคิดและเขียนดังนี้ 2.1 การวิเคราะหวา หากจะใหเกิดความสําเร็จตามวิสัยทัศน จะตองมีพันธกิจอะไรบาง ในทาง ธุรกิจมีภาระที่สําคัญ 4 ประการ คือ ก. ภารกิจดานทุนดําเนินการ ข. ภารกิจดานลูกคา ค. ภารกิจดานผลผลิต ง. ภารกิจดานการเรียนรูพัฒนาตนเองและองคกร ดังนั้น การดําเนินการขยายอาชีพ อาจใชพันธกิจ ทั้ง 4 กรณี มาคิดเขียนพันธกิจนําไปสูความสําเร็จได 2.2 โครงสรางการเขียนพันธกิจ มีองคประกอบรวม 3 ดาน คือ ก. ทําอะไร (บอกภารกิจสําคัญที่กระทบตอความสําเร็จ) ข. ทําไมตองทํา (บอกเหตุผลหรือจุดประสงค) ค. ทําอยางไร (บอกวิธีดําเนินการที่สําคัญ และสงผลตอความสําเร็จจริง)

15 ง.

ตัวอยางขอความพันธกิจของไรทนเหนือ่ ย

1. ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร เพื่อใชผลิต ผักสดอินทรียดวยการพัฒนาคุณ ภาพดินดว ยปุยพืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหาน้ําใหไดวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา เพื่อขยายการตลาดดวยการจัดทําเว็บไซตของตนเอง จัดทําสารคดี เผยแพร สัปดาหละ 1 เรื่อง และเว็บบอรดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับลูกคาและผูสนใจ 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหเปนไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรียยุโรป เพื่อใหสามารถสงออก ตางประเทศได ดวยการพัฒนาคุณภาพดินไมใหปนเปอนโลหะหนัก และจัดการแปลงเกษตรให เปนระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตามขั้นตอน เพื่อติดตามหาขอบกพรองและปฏิบัติการแกไขขอบกพรองได ดวยการสรางความตระหนักใหเห็นความสําคั ญของมาตรฐานคุณภาพและรว มเขียนเอกสาร ขั้นตอนการทํางาน จากตัวอยางขอความพันธกิจของไรทนเหนื่อยขางตนสามารถนํามาจําแนกขอความตามลักษณะ โครงสรางการเขียนไดดังนี้ ทําอะไร 1. ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร

ทําไมตองทํา เพื่อใชผลิตผักสดอินทรีย

ทําอยางไร

โดยการพัฒนาคุณภาพดินดวยปุย พืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหา น้ําวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา เพื่อใหลูกคามั่นใจวาไดบริโภค ดวยการจัดทําเว็บไซตของตนเอง อาหารคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย จัดทําสารคดีเผยแพรสัปดาหละ 1 เรื่อง และเว็บบอรดแลกเปลี่ยน เรียนรูกับลูกคา ดวยการพัฒนาดินไมใหปนเปอน 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตให เพื่อใหสามารถสงออกไปสู โลหะหนักตามมาตรฐานพัฒนา ประเทศสิงคโปรได เปนไปตามมาตรฐานเกษตร ระบบนิเวศแปลงเกษตรใหเปน อินทรียยุโรป ระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตาม เพื่อใหสามารถติดตามหา ดวยการสรางความตระหนักให ขั้นตอนได ขอบกพรองและปฏิบัติการแกไข เห็นความสําคัญของมาตรฐาน ขอบกพรองได คุณภาพผลผลิตและรวมเขียน เอกสารขั้นตอนการทํางาน

16 จึงสรุปไดวา การขยายอาชีพใหเกิดความพอดี ตองเปนไปตามศักยภาพของผูประกอบอาชีพ แตการกําหนดทิศทางขยายอาชีพ นั้น ตองมองเห็นทิศทางที่จะไปถึงและรูวามีภารกิจอะไรบางตองทําอยางไร ใหมองเห็นรูปธรรมของการขยายอาชีพที่กาวออกไปขางหนา 2. การกําหนดเปาหมายการตลาด เปาหมายการตลาด เพื่อการขยายอาชีพ คือ การบอกใหทราบวา สถานประกอบการ นั้น สามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือ ระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพ ตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การกําหนด เปาหมาย หากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดกจ็ ะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยใหการวางแผน มีคุณภาพยิ่งขึ้น และจะสงผลในทางปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 3. การกําหนดกลยุทธ การที่จะขยายอาชีพใหบรรลุตามวิสัยทัศน ตองมีแนวทางปฏิบัติสูความสําเร็จเพื่อชัยชนะ เราเรียกวา กลยุทธ ดังนั้น การกําหนดกลยุทธ เพื่อใหการขยายอาชีพสูความสําเร็จ จึงกําหนดกลยุทธจาก ภารกิจจากพันธกิจของไรทนเหนื่อยที่จะทําทั้ง 4 ดานโครงการนําขอความพันธกิจในสวน “ทําอยางไร” มาพิจารณาวามีกิจกรรมที่จะตองทําอะไรบาง ตัวอยาง การพิจารณาในสวน “ ทําอยางไร” ของพันธกิจที่ 1 จากพันธกิจของไรทนเหนื่อย มีกจิ กรรมที่ดังนี้ 1. พัฒนาคุณภาพดินดวยปุยพืชสด 2. เพิ่มแรงงาน 10 คน 3. จัดใหมนี ้ําใชเพิ่มวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 3.1 พิจารณาวา กิจกรรมใด เปนกิจกรรมที่ยุงยากและเปนแกนหลักสําคัญของความสําเร็จใน พันธกิจนี้ จะตองใชเทคนิควิธีอะไรเขามาเปนกลยุทธในการทํางานดังตัวอยาง ลําดับ เทคนิควิธีการที่จะใช กิจกรรม สรุปผลการพิจารณา ความสําคัญ เปนกลยุทธ 1. พัฒนาคุณภาพดิน

เปนกิจกรรมที่ตองทํากรอบการ

ดวยปุยพืชสด

ผลิตเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง

2. เพิ่มแรงงาน 10 คน เพียงประกาศรับสมัครแลวชี้แจง ใหทํางานตามขั้นตอน 3. จัดน้ําเพิ่มวันละ

จางผูรับเหมา สํารวจและเจาะหาน้ํา

300 ลูกบาศกเมตร

ทําเสร็จแลวก็ใชไดเลย

1

ใชจอบหมุนฟนดินและ วัชพืชเขาดวยกัน

3

-

2

-

17 3.2 สรุปผลการวิเคราะหกํ าหนดเทคนิ ควิธีการมาเปนกลยุทธ และนํ าข อความสวนที่บอกว า ทําอะไรมาเปนเปาหมายกลยุทธ ดังตัวอยางนี้ 3.2.1 กลยุทธดําเนินการ คือ การใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดินและวัชพืชเขาดวยกัน 3.2.2 เปาหมายกลยุทธ คือ การพัฒนาคุณภาพดิน 20 ไรดวยปุยพืชสด ตัวอยาง ผลการพิจารณากําหนดกลยุทธขยายอาชีพเกษตรอินทรียของไรทนเหนื่อย ดังนี้ ผลการพิจารณาขอความทําอยางไร ขอความภารกิจในสวนทําอยางไร ขอความกลยุทธสูความสําเร็จของ และกําหนดเทคนิควิธีใน นํามาใชกําหนดเปาหมาย การขยายอาชีพ กิจกรรมที่สําคัญสงผลตอ กลยุทธ ความสําเร็จของภารกิจ 1. ใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดิน ขยายพืน้ ทีก่ ารผลิต 20 ไร ใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดิน และวัชพืชเขาดวยกัน และวัชพืชเขาดวยกันในการขยาย พื้นที่การผลิตจํานวน 20 ไร 2. ใชเว็บไซตเผยแพร สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา ใชเว็บไซตเผยแพรและ แลกเปลี่ยนความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหได ใชองคความรูระบบนิเวศ 3. ใชองคความรูระบบนิเวศ ธรรมชาติยกระดับคุณภาพ ตามมาตรฐานคุณภาพเกษตร ธรรมชาติ พัฒนาระบบนิเวศ ผลผลิตเขาสูมาตรฐานเกษตร อินทรียยุโรป แปลงเกษตร อินทรียยุโรป 4. พัฒนาคณะทํางานใหรูเทากัน พัฒนาคนงานใหทํางานตาม ใชเทคนิคการบริหารคุณภาพให ขั้นตอนได คณะทํางานรูเทาทันกัน รวมกัน ทํางานตามขั้นตอนได

18

เรื่องที่ 2 การวิเคราะหกลยุทธ แผนภาพรวมของการขยายอาชีพ เปนเครื่องมือควบคุมการจัดการขยายอาชีพที่ประกอบดว ย เหตุผลที่ทําใหการขยายอาชีพประสบความสําเร็จ องคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธ ทําใหเกิด 16 ตาราง บรรจุเงื่อนไขสูความสําเร็จไวสําหรับจัดทําแผนปฏิบัติการ และควบคุมภาพรวมของการดําเนินงาน ก. องคประกอบดานเหตุผลสูความสําเร็จ ประกอบดวย (1) ดานการลงทุน (2) ดานลูกคา (3) ดานผลผลิต (4) ดานการเรียนรูพัฒนาตนเอง ข. องคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธ ประกอบดวย (1) เปาหมายกลยุทธ (2) ตัวบงชี้ความสําเร็จ (3) ปจจัยนําเขาดําเนินงาน (4) กิจกรรม / โครงการที่ตองทํา 1. ตัวอยางการเขียนแผนกลยุทธ การเขียนแผนกลยุทธทั้งหมด จะตองบรรจุอยูในเอกสารหนาเดียว เพื่อใหมองเห็นความสัมพันธรวมระหวางตารางทั้ง 16 ตาราง ตามตัวอยางแผนกลยุทธ ดังนี้ วิสัย ทัศ น “ป พ.ศ. 2551 ไรทนเหนื่ อยผลิตผัก สด ผลไมเกษตรอินทรีย เข าสูตลาดอาหาร คุณภาพประเทศสิงคโปรได”

19 แผนกลยุทธ จะเห็นสาระสําคัญที่เปนเหตุเปนผลตอความสําเร็จของการขยายอาชีพเกษตรอินทรียของ ไรทนเหนื่อย ดังนี้ เงื่อนไข เปาหมายกลยุทธ

ภารกิจดานการลงทุน ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร

ตัวบงชี้ความสําเร็จ - พัฒนาคุณภาพเปนดิน อินทรียครบ 20ไร - โครงสรางดินเปนเมล็ดกลม สีน้ําตาล

ปจจัยนําเขา ดําเนินงาน

- จอบหมุนขนาดหนา กวาง 120 ซม. - เมล็ดพันธุปุยพืชสด - จุลินทรีย พด.1 พด.2 และ พด.3 กิจกรรมโครงการ - กิจกรรมการพัฒนาดินดาน ปุยพืชสด - สํารวจขุดเจาะบอน้ําบาดาล ขนาด 300 ม3/วัน

ภารกิจดานลูกคา สรางความเชื่อถือใหกับ ลูกคา

ภารกิจดานผลผลิต

ยกระดับคุณภาพ ผลผลิตใหไดตาม มาตรฐานการเกษตร อินทรียยุโรป - ยอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้นจนเต็ม - ผลการวิเคราะห ปริมาณการผลิต ผลผลิตไมพบธาตุ - ลูกคาเขามาแลกเปลี่ยน โลหะหนักที่ระบุใน ความเขาใจเกษตรอินทรีย มาตรฐาน ในเว็บไซต - ปราศจาก จุลินทรียบูดเนา - สารคดีการผลิตเกษตร เมล็ดพันธุผัก อินทรียไรทนเหนื่อยภาค ออรแกนิค ภาษาอังกฤษและไทย

- จัดทําสารคดีความรูและ แสดงผลงานเกษตร อินทรีย เดือนละ 1 เรื่อง - จัดทําเว็บไซต - จายแจก DVD ความรู เกษตรอินทรียของ ไรทนเหนื่อย

ภารกิจดานการ พัฒนาตนเอง พัฒนาคนงานใหทํางาน ตามขั้นตอนได

- คนงานยึดการทําตาม เอกสารคูมือ ดําเนินงาน - คนงานรูเทาทันกัน

- เอกสารขั้นตอน การทํางาน - เอกสารตรวจติดตาม คุณภาพ

- ผลิตเมล็ดพันธุพืชผัก - ฝกอบรมคณะทํางาน ที่สามารถทําได เพื่อใหมีความสามารถ เทาทันกัน - จัดทําเอกสารขั้นตอน การทํางานในแตละ กิจกรรม - ฝกการใชเอกสาร ขั้นตอนการทํางาน

20

เรื่องที่ 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

ที่ 1

2 3 4 5

1. การกําหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการตลาด การตลาดมีความสําคัญมีผลตอการบรรลุเปาหมายสุดทายของการดําเนินธุรกิจ ธุรกิจ ตองเริ่มดวยการศึกษาความตองการที่แทจริงของลูกคา จากนั้นจึงทําการสรางสินคาหรือบริการที่ทําให ลูกคาเกิดความพอใจสูงสุดดวยการออกแบบกิจกรรม โดยยึดหลัก 4P ดังนี้ 1. กิจกรรมการพัฒนาสินคา (Product) ใหตรงกับความตองการของลูกคา 2. กิจกรรมดานราคา (Price) ผูผลิตตองกําหนดราคาที่เหมาะสมกับกํ าลังซื้อของผูบริโภค และเหมาะสมกับคุณภาพของสินคา 3. กิจกรรมดานสถานที่ (Place) ตองคิดวาจะสงของสินคาใหกับผูบริโภคไดอยางไร หรือตองมีการปรับสถานที่ขายหรือทําเลที่ตั้งขายสินคา 4. กิจกรรมสงเสริมการขาย (Promotion) จะตองศึกษาวิธีการใดที่ทําใหลูกคารูจักสินคา 2. การวางแผนพัฒนาการตลาด ผูผลิตสินคาตองนํากิจกรรมที่ตองดําเนินการทางธุรกิจมาวางแผนเพื่อพัฒนาตลาด เพื่อ นําสูการปฏิบัติตามตัวอยางแผนการพัฒนาการตลาดสินคาผงซักฟอก ดังนี้ แผนการพัฒนาการตลาดสินคาผงซักฟอก ป 2554 กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กําหนดทิศทางการพัฒนา การตลาด - วิสัยทัศน - พันธกิจ กําหนดเปาหมายการตลาด กําหนดกลยุทธสูเปาหมาย วิเคราะหกลยุทธ ดําเนินการ - การโฆษณา - การประชาสัมพันธ - การทําฐานขอมูลลูกคา - การสงเสริมการขาย - การกระจายสินคา ฯลฯ

21 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนกํ าหนดทิศทาง เปาหมาย กลยุ ทธในการขยายอาชีพ และกําหนดกิจกรรมและวางแผน การพัฒนาตลาดสินคาของผูเรียนหรือสินคาที่สนใจ ลงในตารางที่กําหนดขึ้น 1. ทิศทางธุรกิจในการขยายอาชีพ.................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. เปาหมายธุรกิจในการขยายอาชีพ................................................................................ ..................................................................................................................................................................... 3. กลยุทธในการขยายอาชีพ............................................................................................. .....................................................................................................................................................................

ที่

กิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด อาชีพ/สินคา.......................................................................... แผนการพัฒนาการตลาด ป 2554 กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

22

บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ สาระสําคัญ

การพัฒนาการผลิตหรือการบริการ เกิดจากการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ วิเคราะหทุนปจจัย กําหนดเปาหมาย และการกําหนดแผนกิจกรรม เปนการพัฒนาระบบการผลิตหรือการ บริการ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 2. อธิบายการวิเคราะห ทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ 3. อธิบายการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. อธิบายการกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ 5. อธิบายการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ขอบขายเนื้อหา 1. การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 2. การวิเคราะหทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ 3. การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ 5. การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ

23 เรื่องที่ 1 การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 1. การกําหนดคุณภาพผลผลิต ความหมายของคุณภาพ ถูกกําหนดขึ้นตามการใชงานหรือตามความคาดหวังของผูกําหนด เชน มีความเหมาะสมกับการใชงาน มีความทนทาน ให ผลตอบแทนสูงสุด บริการดี และประทับใจหรือ เปนไปตามมาตรฐานที่ตั้งใจไว แบงเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. คุณภาพตามหนาที่ หมายถึง ประสิทธิภาพการทํางาน ความเหมาะสมในการใชงาน ความทนทาน เชน พัดลมเครื่องนี้มีมอเตอรที่สามารถใชไดอยางตอเนื่องถึง 24 ชั่วโมง 2. คุณภาพตามลักษณะภายนอก หมายถึง รูปรางสวยงาม สีสันสดใส เรียบรอย เหมาะกับ การใชงาน โครงสรางแข็งแรง ผลิตภัณฑสวนใหญ มักเนนคุณภาพภายนอก โดยเนนที่สีสันสดใส หรือ รูปลักษณใหโดดเดน เพื่อดึงดูดความสนใจของผูบริโภคสินคา ปจ จุบัน สภาพ การแขงขั นในตลาดมีมาก หากคุณ ภาพไมต รงกั บความต องการของ ผูบริโภคสินคา การผลิตสินคาและบริการ อาจจะตองลมเลิกกิจการไป ดังที่ไดเกิดขึ้นมาในปจจุบันสินคา บางประเภทแขงขันกันที่คุณภาพ บางประเภทแขงขันกันที่ราคา แตบางประเภทแขงขันกันที่ความแปลกใหม ดังนั้น การผลิตหรือใหบริการ จะตองมีการศึกษาสภาพตลาดอยางรอบคอบเพื่อกําหนดคุณภาพ 2. ขั้นตอนการกําหนดคุณภาพ การกําหนดคุณภาพ มีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะการกําหนดคุณภาพไมไดกําหนดจาก บุคคลใด บุคคลหนึ่ง หรือกลุมคน หรือสถาบัน เทานั้น แตการกําหนดคุณภาพ ตองคํานึงถึงคนหลายกลุม หลายสถาบัน การกําหนดคุณภาพสินคาและบริการ มีขั้นตอนดําเนินการ 3 ขั้นตอน ไดแก 1. การศึกษาความต องการของผูใชสินคาและบริ การอยางกวางขวางและครอบคลุม ผูบริโภคสินคาหรือผูใชบริการที่มีความหลากหลาย 2. การออกแบบผลิตภัณฑหรือพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการที่ศึกษา มาอยางจริงจัง 3. จัดระบบการผลิตและควบคุมระบบการผลิตใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ 3. การกําหนดคุณภาพการบริการ การบริการ หมายถึง การใหความชวยเหลือหรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูอื่น การบริการที่ดี ผูรับบริการก็จะไดรับความประทับใจและชื่นชมองคกร ซึ่งเปนสิ่งดีสิ่งหนึ่งอันเปนผลดี กับองคกร เบื้องหลังความสําเร็จเกือบทุกงาน พบวางานบริการเปนเครื่องมือสนับสนุนงานดานตาง ๆ เชน งานประชาสัมพันธ งานบริการวิชาการ เปนตน ดังนั้น ถาบริการดีทําใหผูรับบริการเกิดความประทับใจ และเกิดภาพลักษณที่ดีตอองคกร

24 4. คุณภาพของงานบริการ (Service Quality) ปจจัยที่บงชี้คุณภาพของการบริการ ไดแก 4.1 สามารถจับตองได โดยปกติ งานบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได ทําใหการรั บรูใ น คุณภาพคอนขางไมชัดเจน ดังนั้น บริการที่ดีควรสรางหลักฐานใหเห็นชัดเจนวา บริการนั้นมีคุณภาพ หลักฐานที่จะสรางนั้น ไดแก อาคาร อุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวกและบุคลากร เชน การจัดที่นั่ง สําหรับรอรับบริการ เปนตน 4.2 นาเชื่อถือ ในที่นี้หมายถึง ความถูกตองในการคิดคาบริการ เชน รานอาหารที่คิดราคา ตรงตามจํานวนอาหารที่ลูกคาสั่ง ลูกคายอมใหความเชื่อถือ และจะกลับไปรับประทานอาหารที่รานนั้นอีก ตรงกั น ข า มกั บ ร านอาหารที่ คิ ด เงิน เกิ น กว า ความเป น จริ ง ย อ มทํา ใหลู ก ค า หมดความเชื่ อถื อ และ ไมกลับไปใชบริการที่รานอาหารนั้นอีก เปนตน 4.3 มีความรู ผูใหบริการที่มีคุณภาพ ตองเปนผูมีความรูในเรื่องนั้น เชน ชางซอมรองเทา ต อ งมี ค วามรู ใ นเรื่ อ งการซ อ มรองเทา ท า ทางขณะซ อ มรองเท า ต อ งดู ว ามี ค วามสามารถ มี ค วาม กระฉับกระเฉง คลองแคลว ซึ่งทําใหผูรับบริการเกิดความมั่นใจ เปนตน 4.4 มีความรับผิดชอบ เชน อูซอมรถยนต สัญญากับลูกคาวา จะซอมรถยนตใหเสร็ จ ภายใน 3 วัน อูแหงนั้นจะตองทําใหเสร็จภายในเวลา 3 วัน หรือชางซอมโทรทัศนที่ซอมผิดพลาด ทําให โทรทัศนของลูกคาเสีย ตองรับผิดชอบใหอยูในสภาพที่ดี โดยไมปดความผิดใหลูกคา 4.5 มีจิตใจงาม ผูใหบริการที่มีคุณภาพ ตองเปนผูมีจิตใจงาม จึงจะเปนผูกระตือรือรน ในการใหบริการผูอื่น เต็มใจชวยเหลือโดยไมรังเกียจ ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการที่สอดคลองกับความตองการ ของกลุมลูกคาของ อาชีพที่ผูเรียนดําเนินการหรืออาชีพที่สนใจลงในแบบบันทึก

25 เรื่องที่ 2 การวิเคราะหทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ ปจจัยสําคัญในการผลิตสินคาหรือบริการ คือ ทุน หรือ ตนทุน สําหรับเปนคาใชจายในการดําเนิน ธุรกิจ ใหสามารถผลิต สินคาและบริการออกสูตลาดได อยางมีคุณ ภาพ และตรงตามความต องการของ ลูกคา ตนทุนการผลิ ต หมายถึง ทุนหรือคาใชจายที่จายออกไป เพื่อใหได มาซึ่งสินคาหรือบริการที่ ตองการหรือคาใชจายที่ทําใหมูลคาของสินคาหรือบริการเพิ่มขึ้น แบงได 2 ประเภท คือ 1. ทุนคงที่ คือ การที่ผูประกอบการจัดหาทุน เพื่อใชในการจัดหาสินทรัพยถาวร เชน ดอกเบี้ยเงินกู ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร เปนตน ทุนคงที่ สามารถแบงได 2 ลักษณะ คือ 1.1 ทุนคงที่ที่เปนเงินสด เปนจํานวนเงินที่ตองจายเปนคาดอกเบี้ยเงินกู เพื่อนํามาใช ในการดําเนินงานธุรกิจ 1.2 ทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด ไดแก พื้นที่ อาคารสถานที่ โรงเรือน รวมถึงคาเสื่อมราคา ของเครื่องจักร 2. ทุนหมุนเวียน คือ การที่ผูประกอบการจัดหาทุนเพื่อใชในการดําเนินการจัดหาสินทรัพย หมุนเวี ยน เชน วั ตถุดิ บในการผลิต ผลผลิตหรือการบริ การ วัสดุสิ้นเปลือง ค าแรงงาน คาขนสงค าไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ทุนหมุนเวียน แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 2.1 ทุนหมุนเวียนที่เปนเงินสด ไดแก 2.1.1 คาวัสดุอุปกรณในการประกอบอาชีพ ดังนี้ 1) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมผลิตผลผลิต เชน งานอาชีพเกษตรกรรม เชน คาปุย พันธุพืช พันธุสัตว คาน้ํามัน เปนตน 2) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมบริการ เชน อาชีพรับจางซักรีดเสื้อผา เชน คาผงซักฟอก คาน้ํายาซักผา เปนตน 2.1.2 คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานใน การเพาะปลูก คาจางลูกจางในรานอาหาร 2.1.3 คาเชาที่ดิน/สถานที่ เปนคาเชาที่ดิน/สถานที่ในการประกอบธุรกิจ 2.1.4 คาใชจายอื่น ๆ เปนคาใชจายในกรณีอื่นที่นอกเหนือจากรายการ 2.2 ทุนหมุนเวียนที่ไมเปนเงินสด ไดแก 2.2.1 คาใชจายในครัวเรือน เปนแรงงานในครัวเรือนในการประกอบการธุรกิจ จะไม นํามาคิดเปนตนทุนเปนสวนใหญ ทําใหไมทราบขอมูลการลงทุนที่ชัดเจน จึงควรคิดคาแรงในครัวเรือน โดยการกําหนดคิดเปนตนทุนในอัตราคาแรงขั้นต่ําของทองถิ่นนั้น ๆ

26 2.2.2 คาเสียโอกาสที่ดิน กรณีเจาของธุรกิจมีที่ดินเปนของตนเอง จึงตองคิดตนทุน ใหคิดเปนทุนตามอัตราคาเชาที่ดินในทองถิ่นหรือบริเวณใกลเคียง ในการดําเนินกิจการงานอาชีพ การบริหารเงินทุนหรือดานการเงินนั้น เปนสิ่งที่ผูประกอบการ ตองใหค วามสําคั ญเปน อย างมาก เพราะมีผลต อความมั่นคงของอาชีพว าจะก าวหน าหรือลมเหลวได ดังนั้น การใชทุนแตละชนิดตองผานการวิเคราะหวา จะตองใชชนิดใด คุณภาพอยางไร ปริมาณเทาไร จึง จะเหมาะสมกับอาชีพ ใบงานที่ 2 คําสั่ง ใหผูเรียนกําหนดปจจัยการผลิต พรอมวิเคราะหถึงเหตุผลในการใชปจจัยแตละชนิดในงาน อาชีพที่ผูเรียนดําเนินการเองหรืออาชีพที่สนใจ ปจจัยการผลิต รายการ

จํานวน

เหตุผลในการใชปจจัยนั้น ๆ

27 เรื่องที่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 1. การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปาหมายการผลิต หรื อการบริ การ เปน คําตอบสําหรับผูประกอบการต องการมากที่สุดโดยมี ปจจัยที่ทําใหประสบความสําเร็จ ประกอบดวย 1) การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมายใหชัดเจน 2) เสริมสรางสวนประสมทางการตลาด 3) คํานึงถึงสภาวะแวดลอมที่ควบคุมไมได 4) สามารถจําแนกเปนปจจัยลูกคาและผลผลิตหรือบริการ ดังนี้ ลูกคา ประกอบดวย (1) ใครคือ กลุมลูกคาเปาหมายสําหรับผลผลิตที่ผลิตขึ้นหรือการบริการ (2) ลูกคาเปาหมายดังกลาวอยู ณ ที่ใด (3) ในปจจุบันลูกคาเหลานี้ซื้อผลผลิตหรือการบริการไดจากที่ใด (4) ลูกคาซื้อผลผลิตหรือการบริการบอยแคไหน (5) อะไรคือสิ่งจูงใจที่ทําใหลูกคาเหลานั้นตัดสินใจใชบริการ (6) ลูกคาใชอะไร หรือทําไมลูกคาถึงใชผลผลิตหรือบริการของเรา (7) ลูกคาเหลานั้นชอบและไมชอบผลผลิตหรือบริการอะไรที่เรามีอยูบาง ผลผลิตหรือการบริการ ประกอบดวย (1) ลูกคาตองการผลผลิตหรือบริการอะไร (2) ลูกคาอยากจะใหมีผลผลิตหรือบริการในเวลาใด (3) เฉพาะการบริการ ควรตั้งชื่อวาอะไร เพื่อเปนสิ่งดึงดูดใจไดมากที่สุด 2. องคประกอบที่เกี่ยวของ ผูประกอบการตองคํานึงและพิจารณาถึงความเปนไปได และองคประกอบดานอื่น ๆ ที่สําคัญ ที่เกี่ยวของตาง ๆ ดังนี้ 1) แรงงาน ตองใชแรงงานมากนอยเทาไร ปจจุบันมีแรงงานเพียงพอหรือไม ถาไมเพียงพอจะ ทําอยางไร 2) เงินทุน ตองใชเงินทุนมากนอยเพียงไร ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร 3) เครื่องมือ /อุ ป กรณ ตองใชเครื่ องมือ/อุปกรณ อะไร จํานวนเทาไร เพีย งพอหรือไม ถาไม เพียงพอจะทําอยางไร 4) วัตถุดิบ เปนสิ่งสําคัญมากตองพิจารณาวาจะจัดหาจัดซื้อวัตถุดิบจากที่ใด ราคาเทาไร จะหาได จากแหลงไหน และโดยวิธีใด 5) สถานที่ ใหมีความเหมาะสม สะอาด และเดินทางสะดวก เปนหลัก

28 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนกรอกขอมูลเกี่ยวกับการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ ที่ผูเรียนดําเนินการเอง หรืออาชีพที่สนใจ 1. ลักษณะงานอาชีพ…………………………………….……………………………………… 2. ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ………………………………………………………… 3. ชื่อเจาของธุรกิจ……………………………………………………………………………… 4. ที่ตั้งของธุรกิจ……………………………………………………………………………….. 5. เปาหมายการผลิตหรือการบริการ…………………………………………………………… 6. เหตุผลในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เพราะ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

29

เรื่องที่ 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ

การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรื อการบริการ เพื่อพัฒนาอาชีพ เปนการกําหนดกิจกรรมที่

เกี่ยวกับการขยายอาชีพ เชน ตองการเปดรานขายขาวแกง สาขาที่ 2 ตองดําเนินกิจกรรมอะไรบาง ดังแผนภูมิ ดังนี้ จัดหาทําเล

จัดเตรียมวัสดุ

ศึกษาเกี่ยวกับ

เปด

จัดบริการ

ที่ตั้งรานที่ 2

อุปกรณ

เมนูอาหารใหม ๆ

รานอาหาร

ลูกคา

1

2

3

4

5

แผนภูมิแสดงความตองการเปดรานขายขาวแกงสาขาที่ 2 สิ่งที่สําคัญตอการขยายอาชีพคือ การตัดสินใจ โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบตัวเองเพื่อใหรูถึงสถานภาพในปจจุบันเกี่ยวกับ แรงงาน เงินทุน เครื่องมือ/อุปกรณ วัตถุดิบ และสถานที่วา มีสภาพความพรอมหรือมีปญหาอยางไร รวมถึง ผลผลิตหรือบริการของตนเองวา มีสวนใดที่ไมสมบูรณหรือไม 2. สํารวจสภาพแวดลอม เปนการตรวจสอบข อมูลภายนอกเกี่ยวกับการประกอบการประเภท เดียวกันในชุมชน และความตองการของลูกคาทองถิ่น (การดําเนินงานตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 เปนการศึกษาขอมูล เพื่อระบุถึงปญหาที่เกิดขึ้นและควรแกไข) 3. การกําหนดทางเลือก หลังจากหาสาเหตุของปญหาไดแลว เพื่อใหการวางแผนมีความชัดเจน เจาของธุรกิจตองตัดสินใจพิจารณาหาทางเลือก เพื่อใหไดทางเลือกหลายทางสูการปฏิบัติ 4. การประเมินทางเลือก เมื่อสามารถกําหนดทางเลือกไดหลากหลายแลว เพื่อไดทางเลือกสู การปฏิบัติที่เหมาะสมที่สุด ในการวางแผนกลยุทธทางการตลาด ผูประกอบการตองพิจารณาประเมิน ทางเลือกในแตละวิธี เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายใหดีที่สุด 5. การตัดสินใจ เมื่อไดทางเลือกหลายทางเลือกในการตัดสินใจสามารถใชหลัก 4 ประการใน การตัดสินใจคือ 1) ประสบการณ 2) การทดลอง 3) การวิจัยหรือการวิเคราะห และ 4) การตัดสินใจเลือก 6. กําหนดวัตถุประสงค เปนการกําหนดเปาหมายของการดําเนินงานวา ตองการใหเกิดอะไร 7. พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตามแผน กิจกรรมการผลิตหรือการบริการแลว ธุรกิจที่ดําเนินงานจะเกิดอะไรขึ้น 8. กําหนดแนวทางการปฏิบัติ เปนการกําหนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร เมื่อไร เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว 9. ประเมินแนวทางการปฏิบัติที่วางไว เปนการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกิจกรรมการผลิต หรือการบริการวา มีความสอดคลองกันหรือไมอยางไร สามารถที่จะปฏิบัติตามขั้นตอน วิธีการที่กําหนด

30 ไวไดหรือไมอยางไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ ที่จัดทําขึ้นยังไมมีความสอดคลอง หรือมีขั้นตอนวิธีการใดที่ไมมั่นใจ ใหจัดการปรับปรุงใหมใหมีความสอดคลองและเหมาะสม 10. ทบทวนและปรับแผน เมื่อสถานการณเปลี่ยนแปลงไป และผลลัพธไมเปนไปตามที่กําหนด เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมีสถานการณ เปลี่ยนแปลงไป หรือมีขอมูลใหมที่สําคัญ ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนเขียนแผนกิจกรรมการผลิตหรือแผนบริการ ที่ตองการขยายอาชีพ เปนอาชีพของผูเรียน ดําเนินการเอง หรืออาชีพที่สนใจ ลักษณะงานอาชีพ……………………………………………………………………………. ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ…………………………………………………………… ชื่อเจาของธุรกิจ………………………………………………………………………………… ที่ตั้งของธุรกิจ…………………………………………………………………………………… แผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ คือ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ เหตุผล เพราะ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................

31 เรื่อง 5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ การดํ าเนิ น ธุร กิ จ ใหมีค วามก าวหน าและมั่น คง ผูประกอบการธุร กิจ ต องคํ านึ งถึงการพัฒ นา ระบบการผลิต หรือการบริการอย างตอเนื่ อง เพื่อใหทันต อการเปลี่ยนแปลงตามความนิยมของลูกค า ทั้งดานการผลิตสินคา หรือการใหบริการตาง ๆ ทั้งนี้ความกาวหนาและมั่นคงของสินคาและบริการตองมี คุณภาพและมาตรฐานดวย การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการในภาพรวม สามารถดําเนินการไดดังนี้ 1. ปรับแผนพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ โดยพิจารณาจากปจจัยที่เกี่ยวของตาง ๆ เชน ตนทุนการผลิต แรงงาน การขาดดุลการคา คุณภาพและมาตรฐานของสินคาและบริการ ราคา การบรรจุ หีบหอ เปนตน 2. ปรับแผนการดําเนินงาน โดยเนนการปรับกลยุทธและแนวทางพัฒนาใหม เพื่อปรับโครงสราง การผลิตหรือการบริการใหเชื่อมโยงทางการตลาดอยางเปนระบบ สอดคลองกับสถานการณเศรษฐกิจทาง การตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศ 3. ปรั บการเชื่อมโยงการผลิตหรือการบริ การกับการตลาด โดยปรับแนวคิดจาก “การขายตามผลิต ” มาเปน “การผลิตเพื่อขาย” โดยเฉพาะในดานตลาดตางประเทศ ซึ่งจะสัมพันธกับกลยุทธ “การกระจาย การผลิตหรือการบริ การ” ซึ่งใชตลาดภายในเปนตัวชี้นํา เพื่อใหมีการกระจายการผลิตสินคาหรือการ บริการในทองถิ่นใหมากชนิดยิ่งขึ้น 4. การปรับแนวการพัฒนาดังกลาวขางตนกับ “การพัฒนาการตลาด” เปนสําคัญซึ่งการพัฒนา การตลาดทั้งภายในและตางประเทศ อยางมีประสิทธิภาพจําเปนตองมีกระบวนการที่เปนระบบ และเปน การผนึกกําลังรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน โดยมีขอมูลขาวสารการผลิตและการตลาด เปนกลไก การเชื่อมโยง และมีการกําหนดรายการสินคาขึ้นเปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อที่จะเปนเครื่องมือ สนับสนุนใหแผนงานนี้เกิดผลทางปฏิบัติในการกระจายการผลิตหรือการบริการ การผลิตเพื่อขาย และ เพิ่มการจางงาน 5. ภายใตขอจํากัดของทรัพยากรที่มีอยูจํากัด แผนพัฒนาระบบการผลิต การตลาด และการสรางงาน ตองขอความชวยเหลือจากภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุน ในเรื่องต าง ๆ เชน การวิจั ยและพัฒนา และการสนับสนุนทางวิชาการ การเพิ่มมูลคาทางการตลาด 6. ปรับการพัฒนาโดยใชระบบแผนงานเปนเครื่องมือ จําเปนตองมีหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรง และโดยออมเข าไปรว มดํ าเนิน การอย างเปนระบบ ควรเน นการมีแผนประจําป โดยประสานงานกั บ หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อกําหนดแผนงานและโครงการที่จะดําเนินการในแตละปลวงหนา เพื่อใหทันกับ กําหนดการงบประมาณและสอดคลองกับสถานการณทางดานการตลาดที่ผันแปรไปอยางรวดเร็ว

32 อยางไรก็ตาม คุณภาพของการผลิตหรือการบริการ เปนสิ่งสําคัญที่ผูประกอบการธุรกิจตองรักษา ระดับคุณภาพและพัฒนาระดับคุณภาพการผลิต หรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอคุณภาพ การผลิตหรือการใหบริการตามลูกคาคาดหวัง หรือเกินกวาสิ่งที่ลูกคาคาดหวังไวเสมอ ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนบันทึกเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการที่ผูเรียนดําเนินการเอง หรืออาชีพ ที่สนใจ 1...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 5...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 6...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

33

บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง จําเปนจะตองเห็นถึงคุณคาของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความนิยม เขาสูความตองการของผูบริโภค การสรางรูปลักษณคณ ุ ภาพสินคาใหมและการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงเขมแข็ง ยั่งยืน คือ พออยูพอกิน มีรายได มีการออม และมีทุนในการขยายอาชีพ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก 2. อธิบายการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคไดอยางแทจริง 3. อธิบายการสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม 4. อธิบายการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขายเนื้อหา 1. ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก 2. การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค 3. การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม 4. การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

34 เรื่องที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก เปนการกําหนดวิธีการหรือแนวทางในการดําเนินงานและกิจกรรมของ องคกร เพื่อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคที่กําหนด การกําหนดแนวทางในการดําเนินงานนี้ ผูประกอบการ ต องทําการวิ เคราะหและประเมิน ป จ จั ย ทั้ งภายในและภายนอกองค ก ร เพื่อคิ ด หาแนวทางในการ ดําเนินงานที่เหมาะสมที่สุด ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของปจจัยนําไปสูการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงเขมแข็ง ยั่งยืน คือ พออยูพอกิน มีรายได มีการออม มีทุนในการขยายอาชีพ และเกิดความมั่นคง โลกของเราเผชิ ญ กั บ การเปลี่ย นแปลงที่ร วดเร็ ว ทุก ขณะทั้ง ด านเศรษฐกิ จ สังคม การเมือ ง เทคโนโลยี ซึ่งสงผลกระทบตอสภาวะการแขงขันระหวางธุรกิจ จึงมีความจําเปนที่ตองใชธุรกิจเชิงรุก เขามาใชในการพัฒนาอาชีพ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่ผูประกอบการคาที่ควรรู ดังนี้ 1. การแขงขันที่ไรพรมแดน การแข งขั นที่ไร พรมแดน เปนปรากฏการณ ที่เกิ ดขึ้ นเมื่อสินค าแรงงาน เทคโนโลยี ระบบ การสื่อสาร เปนตน สามารถเคลื่อนยายไปมาระหวางประเทศไดอยางเสรีมากขึ้น มีผลทําใหมีการแขงขันที่มี ความรุนแรงมากขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงทางนวัตกรรม เทคโนโลยี โลกยุคใหมมีความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมากขึ้น อัตราการเปลี่ยนแปลงและ การใชเทคโนโลยี จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วขึ้น ทําใหวงจรของสินคาและการบริการมีระยะเวลาสั้นลง เทคโนโลยีสมัยใหมสามารถทดแทนเทคโนโลยีเดิมไดอยางรวดเร็ว การปรับปรุงสินคาใหทันสมัยเปนที่ ตองการของลูกคาตลอดเวลา เปนปจจัยทําใหมีการแขงขันทางการตลาดสูง ทําใหเกิดสวนแบงการตลาด มากขึ้น จําเปนตองมีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา แนวคิดหรือวิธีการในการบริหาร แบบเดิมไมสามารถนําองคกรไปสูความสําเร็จไดเหมือนในอดีต เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค 1. ความสําคัญและความตองการของผูบริโภค การวางแผนการขายสินคาหรือบริการ ผูบริหารจะตองมีขอมูลมาประกอบการตัดสินใจขอมูล เกี่ยวกับผูบริโภคจะถูกนํามาใชเปนขอมูลในการวิเคราะหและการวางแผนการตลาด และผูประกอบการ จําเปนตองใหความสนใจเกี่ยวกับผูบริโภคและความตองการของผูบริโภค เพราะผูผลิตสวนใหญจะผลิต สินคาที่คลายคลึงกันและขายใหกับผูบริโภคกลุมเดียวกัน การกําหนดรูปแบบผลิตภัณฑ หรือตรายี่หอ โดยยึดถือความตองการของผูบริโภค จะเปนเครื่องชวยใหผูบริโภคตัดสินใจไดงายขึ้น ผูบริโภคทุกคนมี รสนิ ย มไมเหมือนกั น ซึ่งมี ค วามแตกต างกั น ผูประกอบการต องมีค วามเข า ใจถึงความต องการของ ผูบริโภค ซึ่งความตองการของผูบริโภคแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ

35 1. ความตองการทางดานรางกาย คือ ความหิว การนอน การพักผอน การอบอุน 2. ความตองการดานอารมณหรือจิตวิทยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรับ ความพอใจ ความงาม ผูประกอบการ จึงตองเขาใจลึกซึ้ง ถึงรายละเอียดของความตองการ เพื่อเอามาเปนจุดขายสินคา และเปนสวนหนึ่งของกลยุทธทางการตลาดโดยเฉพาะดานการโฆษณาสินคา 2. การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค สินคาแตละชนิด จะตองมีเอกลักษณเฉพาะ เชน ความนิยมของอาหารไทยในตางประเทศ เปนที่นิยมแบบดาวรุงพุงแรงมาตลอดระยะเวลานาน ไมเพียงแตในสหรัฐอเมริกาเทานั้น แตรวมทั้งใน ยุโรป ออสเตรเลีย ญี่ปุน ตะวันออกกลางละอินเดีย อาจจะเปนเพราะอาหารไทยมีเอกลักษณที่มีรสชาติ ถูกปากไดรับการยอมรับ ตัวอยาง การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค ดังนี้ 1. เอกลักษณดานรสชาติ ที่มีความกลมกลอมทั้ง 3 รส คือ เปรี้ยว หวาน เผ็ด ไดอยางลงตัวพอดี โดยไมเนนหนักไปในรสใดรสหนึ่ง สรางความประทับใจใหกับผูบริโภค ทําใหรูสึกอยากกลับมาทานอีก อาหารบางชนิดมีเอกลักษณของกลิ่นสมุนไพรที่เปนพืชผักในเมืองไทย เครื่องเทศที่ใชปรุงอาหารถือวา โดดเดน ไมฉุนเกินไป แตมีกลิ่นหอมออน ๆ ของเครื่องเทศที่สอดแทรก บางครั้งมีการปรับรสชาติบาง เพื่อใหตรงกับผูบริโภค เชน ไมเผ็ดเกินไป เพราะตางชาติจะไมนิยมรับประทานอาหารรสจัด 2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยนั้น มีทั้งอาหารคาวหวาน สารพัด ชนิ ด ที่ สามารถเลือกมานําเสนอไดไมรูจบ มีการแขงขันกัน นอกจากจะรสชาติแลว ยังมีการนําวัสดุมาดัดแปลง ใหเปนประโยชนใชแทนกันได หรือการจัดตกแตงอาหารก็เปนที่ดึงดูดลูกคาขึ้นอยูกับการเขาถึงรสนิยม ของผูบริโภค 3. อาหารไทยไมเลี่ยนและไมอวน ทั้งนี้เพราะอาหารไทยมักมีผักปนอยูเ สมอพรอมกับเครื่องเคียง จนเปนที่เลื่องลือวา อาหารไทยเปนอาหารสุขภาพ เชน เมี่ยงคํา น้ําพริกกะป จึงเปนอาหารที่เหมาะกับยุคนี้ และแนวโนมของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ 4. การบริการที่ประทับใจ ซึ่งเปนสวนเสริมที่สําคัญมากของธุรกิจการเปดรานขายอาหารไทย จึงเปนอีกมิติหนึ่งที่มีภาพลักษณที่ดีใหกับอาหารไทย ดวยการบริการแบบมีมารยาทอันดีงามของคนไทย จึงเปนการชวยสงเสริมใหอาหารไทยยังคงครองความนิยมตอไป จากกรณีตัวอยางในการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคไดเปนอยางดีโดย ผูประกอบการตองรับรูความตองการของผูบริโภค แลวจึงมีการพยายามดัดแปลงสินคาใหสอดคลองกับ ความตองการของผูบริโภคหรือผูรับบริการ

36 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการแทรกความนิยมลงในสินคา/บริการของตนเองหรืออาชีพที่สนใจ แลวนําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน แลวสรุปเปนองคความรู .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

37 เรื่องที่ 3 การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม William H.Davidow กลาววา “เครื่องมือที่เยี่ยมที่สุด ประดิษฐมาจากหองปฏิบัติการ ผลิตภัณฑ ที่เยี่ยมที่สุดมาจากฝายการตลาด” การทําธุร กิ จทุก ขนาด จะต องทําการแบงสวนตลาดเปาหมายได เมื่อถึงเวลาที่จ ะพัฒ นาและ นําผลิตภัณฑออกสูตลาด ฝายการตลาด ตองแสดงบทบาทสําคัญในกระบวนการนี้ ไมใชฝายวิจัยและ พัฒนาอยางเดียว เปนผูรับผิดชอบการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ซึ่งฝายการตลาดมีสวนเกี่ยวของอยางมาก ทุกขั้นตอนในการพัฒนาผลิตภัณฑ ธุร กิ จ ทุ ก ธุ ร กิ จ มีก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ อ ยู ต ลอดเวลา การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม แ ทนที่ ผลิตภัณฑเดิม จะทําเพื่อเพิ่มยอดขายในอนาคต และลูกคาเองก็ตองการผลิตภัณฑใหม ซึ่งธุรกิจคูแขง ก็ใช ความพยายามที่จะผลิตสินคาที่ตรงกับความตองการของลูกคาออกจําหนายและจะออกผลิตภัณฑใหมได จากการเขาครอบครองสวนแบงตลาดจากการพัฒนาผลิตภัณฑใหม - การพัฒนาผลิตภัณฑใหม หมายถึง ผลิตภัณฑใหมในสายผลิตภัณฑเดิมเปนการนําผลิตภัณฑ ใหมเขามาแทนผลิตภัณฑในสายผลิตภัณฑเดิม เชน เปลี่ยนขนาดบรรจุภัณฑ เปลี่ยนรสชาติ - การปรับปรุงผลิตภัณฑเดิม คือ การปรับปรุงผลิตภัณฑเดิมใหเปนผลิตภัณฑใหม - การวางตําแหนงสินคาใหม เปนการนําผลิตภัณฑเดิมที่มีอยูออกขายใหลูกคาเปาหมายกลุมใหม - การลดตนทุน คือ การทําผลิตภัณฑใหมที่มีคุณสมบัติเหมือนเดิมแตตนทุนต่ําลง ขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ มี 8 ขั้นตอน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

การสรางความคิดใหม การเลือกความคิด การทดสอบความคิด การวางกลยุทธทางการตลาด การวิเคราะหธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ การทดสอบตลาด การนําผลิตภัณฑออกสูตลาด

38 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนศึกษาพิจารณาวา จะสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม/บริการใหมไดอยางไร และ ใหอธิบายกระบวนการพัฒนาการสรางรูปลักษณดวย

39 เรื่องที่ 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 1. การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ในชวงการดําเนิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 – 8 แมจะปรากฏผลเปน รูปธรรม สวนหนึ่งเปนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่ตรวจวัดดวยอัตราเพิ่มของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) แตผลรูปธรรมอีกสวนหนึ่งกลับเปนความตอเนื่องของสภาพปญหาการกระจายรายไดไมเทาเทียมกัน ระหวางชนบทกับเมือง และระหวางผูผลิตภาคเกษตรกรรม (ระดับครัวเรือนรายยอย) กับภาคอุตสาหกรรม และการบริการ ผลรูปธรรมสวนหลังขางตนปรากฏสะสมปญหา จนกลายเปนอุปสรรคสําคั ญของการพัฒนา ประเทศชัดเจนมากขึ้นตามลําดับ จนถูกระบุเปนขอสังเกตเรื่อง “ความยากจน” ของประชากรสวนใหญ ของประเทศ ที่มีสัดสวนการถือครองทรัพยสินรายไดต่ําสุด เมื่อเปรียบเทียบกับสัดสวนการถือครองของ ประชากรร่ํารวยจํานวนนอยของประเทศ รายงานของคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สภาพัฒน) ยอมรับผลสรุปของ การพัฒนาขางตนไวในชวงปลาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ดวยเชนกัน ปญหา ความยากจน (รายไดไมเพียงพอตอรายจาย) แพรระบาดจากชนบท ชุมชนเกษตรกร เขาสูสังคมเมืองมากขึ้น รวมทั้งแพรระบาดเขาสูแวดวงอาชีพอื่น ๆ นอกเหนือจากเกษตรกรรายยอยมากขึน้ ตามลําดับ ในชวงกอน และหลังวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 โดยสภาพัฒ น ได พยายามปรับกลยุทธการพัฒนา เชน การพัฒ นาที่ถือ “มนุษย” เปนศูนยกลางจนกระทั่งไดเริ่มปรับและกําลังจะปรับปรุงใหเกิดกลยุทธการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นตามลําดับ โดยถือตามหลักปรัชญา แนวทฤษฎี และโครงการตนแบบ ตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ไดรับการยอมรับนับถือจากองคการสหประชาชาติ ดังที่มีรายงานขาวเผยแพรไปยังประชาคมโลกแลว เพราะเหตุที่ประชาชนจํานวนมากยังคงอยูในภาวะยากจน คือ รายไดไมพอเพียงตอการใชจาย เพื่อดํารงชีวิตครอบครัว ในขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวชนบทที่ดํารงอาชีพเกษตรกร ดังนั้น การ แกไขปญหาความยากจนดวยการยกระดับรายไดของประชากรกลุมนี้ใหสูงขึ้นสูภาวะพอเพียง จึงเปน สวนสําคัญของยุทธศาสตรการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นตนสวนหนึ่ง โดยไมยุติกระบวนการ ทางเศรษฐกิจสวนอื่นที่จําเปน เชน การแลกเปลี่ยนทางการคาระหวางประเทศ และการลงทุนที่อยูในขอบเขต เหมาะสมภายใต ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งจําแนกขั้ นตอนดําเนิ นการพัฒนาไวตอเนื่อง เปน ลําดั บ ชัดเจน โดยไมปดกั้นความสัมพันธระหวางประเทศ และไมมุงหมายจะใหเกิดการหยุดชะงัก หรือถอยหลัง เขาคลองทางเศรษฐกิจ รวมทั้งมิไดมุงหมายใหประเทศมีแตการผลิตแบบเกษตรกรรมเพียงสวนเดียว โครงการตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จํานวนมากที่ สรางความรูตามทฤษฎีใ หมและปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เปนโครงการที่มีลักษณะผูกพันกั บวิถีชีวิ ต ชุมชนของชาวชนบทในภาคเกษตรกรรม เนื่องจากตลอด 3 – 4 ทศวรรษที่ผานมา ชุมชนเกษตรกรรม

40 โดยทั่วไปในประเทศเผชิญกับปญหารายไดไมเพียงพอตอรายจายอยางกวางขวางรุนแรง แตโครงการที่มี ลักษณะเปนการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรจํานวนมากเหลานั้น เชน โครงการหลวงดอยอางขาง และ โครงการหลวงดอยอินทนนท ฯลฯ มีความชัดเจนในแนวคิดเรื่องการผลิตที่มีคุณภาพเพียงพอ สําหรับ การขายออกสูตลาดภายนอกชุมชน เพื่อสรางรายไดที่เพียงพอและยั่งยืนแทนการปลูกฝนในอดีต แนวคิ ด ที่ชั ด เจนเกี่ ย วกั บการผลิต ทางการเกษตรที่พอเพีย ง สํา หรั บการจั ด จํ าหน ายสูต ลาด ภายนอกชุมชนดังกลาว ทําใหเห็นวาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการแลกเปลี่ยนแบบเกื้อกูลกันทาง เศรษฐกิจ (ระหวางเกษตรกร พอคา และผูบริโภค) ระหวางประชาชนที่มีอาชีพตาง ๆ กัน และไมใชแนวคิดที่ ปดกั้ นไว เฉพาะชุมชนชนบท และแวดวงเกษตรกรตามลําพังตามที่คนในสังคมเมืองที่มิใ ชเกษตรกร จํานวนหนึ่งพากันวิตกกังวลวา ตนเองจะไมไดรับประโยชนจากการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง นอกเหนือไปจากนั้น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักความคิดที่สงเสริม “พลวัต” มากกวา แนะนําใหประชากรทางเศรษฐกิจ ตั้งอยูในภาวะ “สถิต” หรือ “หยุดนิ่ง” อยูกับสภาพการณทางเศรษฐกิจ ในขณะหนึ่ง ๆ แตการที่ประชาชนพึ่งตนเองได จําเปนตองปรับเปลี่ยนวิถีการดํารงชีวิตจากแผนการกินดี อยูดี เปนแผนอยูพอดีกินพอดีตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “การปรับเปลี่ยนแผนการผลิต” จากการผลิตเพื่อการพาณิชยมาเปนการ “ผลิตเพื่อยังชีพ” เนื่องจาก การผลิตเพื่อการพาณิชย ทําใหประชาชนตองพึ่งระบบทุนนิยม ชะตาชีวิตของประชาชนขึ้นอยูกับกลไก ของตลาด ทําใหเกิดการเอารัดเอาเปรียบประชาชน “เพื่อลดผลกระทบ” ที่เกิดจากความผันผวนของตลาด เปาหมายการผลิต ตองปรับไปเปนผลิตเพื่อกินเพื่อใช เมื่อมีสวนเกิน จึงจะนําออกขาย การผลิตเพื่อกิน เพื่อใช จําเปนตองกระจายการผลิตในครัวเรือน เพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มความมั่นคงในชีวิตอยางยั่งยืน

41 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนแบงกลุมกันคนควาเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญของคําเหลานี้แลวใหแตละกลุมมา นําเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันแลวบันทึก 1. อยูพอดีกินพอดี หมายถึง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. การพึ่งตนเอง หมายถึง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. ความยั่งยืน หมายถึง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 4. ความคุมคา หมายถึง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

42 2. องคประกอบการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง เสนทางชีวิตของอาชีพ เราเริ่มตนจากการเรียนรูเขาสูอาชีพ ทําใหอาชีพขับเคลื่อนไปสูการขยายอาชีพ เราผานประสบการณ เรียนรูแกปญหา ตอสูกับการแขงขันมากมาย จนถึงจุดจุดหนึ่งที่เราตองการมากกวา นั่นคือ ความมั่นคง เราจึงมีความจําเปนที่จะตองจัดระบบพัฒนาอาชีพเขาสูความมั่นคง การพัฒนาอาชีพเขาสูความมั่นคงของผูประสบความสําเร็จ มีมากมาย จะมีลักษณะการกระทําที่ สอดคลองกันเปนสวนใหญวา ความมั่นคงของอาชีพขึ้นอยูกับองคประกอบ อยางนอย 3 ประการ คือ (1) การลดความเสี่ยงในผลผลิต (2) ความมุงมั่นพัฒนาอาชีพ และ(3) การยึดหลักคุณธรรม ลดความเสี่ยงผลผลิต มุงมั่นพัฒนาอาชีพ

สูความมั่นคง ยั่งยืน

ยึดหลักคุณธรรม จากแผนภูมิ จะพบวา องคประกอบรวม ทั้ง 3 องคประกอบ เปนตัวสงผลตอความมั่นคงยั่งยืนใน อาชีพที่เราจะตองนํามาบูรณาการใหเปนองครวมเดียวกัน การลดความเสี่ยงผลผลิต การประกอบอาชีพในกิจกรรมเชิงเดี่ยว มักจะเสี่ยงตอโอกาส ผลผลิตไมไดตามเปาหมาย ผลผลิต ราคาตกต่ํา ดังนั้น การลดความเสี่ยง จึงจําเปนที่จะตองมีปจจัยรวมที่สําคัญมาทําใหอัตราการเสี่ยงของ ผลผลิตลดลง ดังนี้ 1. การสรางความหลากหลาย เปนการสรางกิจกรรมอาชีพใหไดผลผลิตที่หลากหลายรองรับ การเสี่ยงดวยการแขงขัน และราคาของตลาด 2. การเพิ่มผลผลิต เปนภารกิจควบคุมดูแลบํารุงรักษาใหผลผลิตเพิ่มขึ้นมา 3. การหมุนเวียนเปลี่ยนรูป เปนกิจกรรมทําใหผลผลิต และขอเสียใหมีมูลคาเพิ่มขึ้นดวยการ หมุนเวียน เปลี่ยนรูป เปนผลิตภัณฑใหมเขาสูตลาด 4. การจัดการรายได จากการซื้อขายผลผลิต ผลิตภัณฑแปรรูป ใชลงทุนดําเนินอาชีพตอไปใช ดํารงชีวิต และเก็บออมเพิ่มทุนขยายการทํางาน ผูประสบผลสําเร็จ ในอาชีพจะมุงมั่นจั ดการปจ จัยทั้ง 4 ประการใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้ นโดย ลําดับ

43 3. การพัฒนาอาชีพ เปนกระบวนการที่เนนความสําคัญการพัฒนาระบบการจัดการทั้งการผลิตและการตลาดใหตรง กับความตองการของลูกคา ดังนี้ คุณภาพผลผลิต ลดตนทุนการผลิต การพัฒนาอาชีพ การสงมอบ ความปลอดภัย ปจจัยรวมทั้ง 4 ดาน เปนปจจัยที่สงผลตอการพัฒนาอาชีพ โดยมีลักษณะความสําคัญ ดังนี้ 1) คุณภาพผลผลิต เปนเรื่องที่เราจะตองจัดการใหคณ ุ ภาพตรงความตองการของลูกคาใหมากที่สุด เพื่อใหลูกคามั่นใจไดวาจะไดรับสินคา/บริการที่ดีเปนไปตามความคาดหวัง 2) ลดตนทุนการผลิต เกี่ยวของกับการกําหนดราคาผลผลิตที่จะตองเปนราคาที่ลูกคาสามารถ ซื้อผลผลิตของเราได แตไมใชกําหนดราคาต่ําจนกระทั่งรายไดไมพอเพียง ดังนั้น การลดตนทุนจึงเปน เรื่ องสําคัญ ที่เราจะต องศึก ษาเรี ย นรู หาวิ ธีลดต นทุน ที่ทําใหมีร ายไดเพีย งพอ ไมใ ชไปลดต น ทุน กั บ คาแรงงาน แตเปนการบริหารจัดการใหลดความเสียหายในปจจัยการผลิต และการจัดการใหไดผลผลิตสูง 3) การสงมอบผลิตผลใหลูกคาตองเปนไปตามขอตกลงทั้งเวลานัดหมายและจํานวนผลผลิต ตัวอยาง เชน อาชีพรานตัดเย็บเสื้อผาชาย สวนใหญมักจะผิดนัดทําใหเสียหายกับลูกคา ที่มีกําหนดการจะ ใชเสื้อผา จึงหันไปใชบริ การเสื้อผาสําเร็จรูปที่มีค วามสะดวกมองเห็นสินคา และตัดสินใจเลือกซื้อได ทันที ทําใหปจจุบันรานเย็บเสื้อผาชายเกือบหายไปจากสังคมไทย 4) ความปลอดภัย ทั้งผูผลิตและผูบริโภคผลผลิต เชน อาชีพเกษตรอินทรีย คนงานไมมีโอกาส สัมผัสกั บสารพิษ ทําใหก ารทํางานปลอดภั ย ขณะเดี ย วกั น ผลผลิ ต จากเกษตรอิน ทรี ย เปน อาหารที่ ปลอดภัย 4. การยึดหลักคุณธรรม การยึดหลักคุณธรรม เปนพฤติกรรมภายในของผูประกอบอาชีพ ที่สําคัญสงผลตอความมั่นคง ของอาชีพ ดังนี้

44

ความขยัน ความประหยัด ความซื่อสัตย

คุณธรรมประกอบอาชีพ

ความอดทน คุณธรรมทั้ง 4 ประการดังกลาว หลายคนบอกวา เปนเรื่องที่ตองปลูกฝงมาแตเยาววัย จึงจะเกิดขึ้นได ความเชื่อนี้เปนจริง แตมนุษยเราสามารถเรียนรู สรางความเขาใจ มองเห็นคุณคา ปรับเปลี่ยน และตกแตง พฤติกรรม เพื่อใชเปนเครื่องมือสรางความสําเร็จใหกับตนเองได 1) ความขยัน มีลักษณะพฤติกรรมของการทําอะไรอยางเอาจริงเอาจัง แข็งขันไมเกียจคราน ถาผูประกอบอาชีพเปน อย างนี้ เขาจะมองเห็น งานอยางทะลุไปขางหน ามุงมั่นเอาจริ งเอาจังยกระดั บ ความสําเร็จไปอยางตอเนื่อง ความมั่นคงก็จะเกิดขึ้น 2) ความประหยัด เปนพฤติกรรมของการยับยั้ง ระมัดระวังการใชจายใหพอ สรางความคุมคา ใหมีความเสียหายนอยที่สุด พฤติกรรมเชนนี้ เปนเรื่องของความรอบคอบในการทํางาน 3) ความซื่อสัตย เปนลักษณะการประพฤติตรงและจริงใจตอลูกคา ทีมงานไมคิดทรยศ คดโกง หลอกลวง คูคา ผูรวมทุน เปนพฤติกรรมที่สรางความภักดี ความไววางใจตอลูกคา ทีมงานและหุนสวน 4) ความอดทน มีลักษณะพฤติกรรมที่สามารถอดกลั้นทนอยูไดกับความยากลําบาก ไมทิ้งงาน ไมยกเลิกขอตกลงงาย ๆ 5. ความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคงในอาชีพ เปนการจัดการทางจิตใจของผูประกอบการ และระบบงานใหการประกอบอาชีพ ดําเนินไปอยางมีความแนนอน ทนทาน ลมสลายไดยาก โดยอาศัยพื้นฐานของการคิดเปนบนองคประกอบของ การพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง ดังนี้ 1) ดานตนเอง อยูบนฐานของคุณธรรม 2) ดานสังคม อยูบนฐานของการพัฒนา 3) ดานวิชาการ อยูบนฐานของการลดความเสี่ยงในผลผลิต ซึ่งเปนกระบวนการที่ตอ งใชขอ มูลการรับรูเขามาคิดวิเคราะห สรางสรรค และตัดสินใจอยางเปนระบบ จะนําอาชีพไปสูความมั่นคง

45 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนสัมภาษณผูที่ประสบความสําเร็จเกี่ยวกับองคประกอบการพัฒนาอาชีพ มา 2 งาน แลวจด ในสมุดบันทึก

ใบงานที่ 2 คําสั่ง ใหผูเรียนนําองคประกอบการพัฒนาอาชีพของผูที่ประสบความสําเร็จ มาใชวิเคราะหตามความรูที่ เรียนรูมา

ใบงานที่ 3 คํ า สั่ ง ให ผู เ รี ย นทบทวนประสบการณ ข องตนเองแล ว วิ เ คราะห ค วามเป น ไปได ที่ จ ะทํ า ได จ ริ ง โดยนําจุดออนจุดแข็งมาพัฒนาเปนองคความรูเพื่อพัฒนาตนเอง

46

บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง สาระสําคัญ การจัด ทําแผนและโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง เพื่อใชในการตรวจสอบ ปรับปรุ ง แกไขพรอมจะนําไปสูการปฏิบัติ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบริการ 2. อธิบายการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 3. อธิบายการตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 4. อธิบายแนวทางปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขายเนื้อหา 1. การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบริการ 2. การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 3. การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 4. การปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

47 เรื่องที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบริการ 1. การกํากับ ดูแลการขยายอาชีพ การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบริการดวยการกํากับดูแล การขยายอาชีพ เปนกิจกรรมของผูประกอบการที่จะตองมีระบบสารสนเทศใหมองเห็นความกาวหนา และความสําเร็จ ของงานในแตละภารกิจวาไปถึงไหน ดวยการทํากิจกรรมลักษณะความสําเร็จในแผนกลยุทธมากําหนด ระยะเวลาที่ตองใชจริงดวย การเขียนเปนผังการไหลของงานใชเฝาระวังการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การจัดทําผังการไหลของงานของแตละภารกิจ ประกอบดวย 1.1 นําขอความเปาหมายกลยุทธออกมาเปนหัวเรื่องสําคัญ 1.2 นํากิจกรรมออกมาจัดลําดับขั้นตอนกอนหลัง 1.3 นําลักษณะบงชี้ความสําเร็จ ออกมากําหนดเปนผลการดําเนินงาน จัดทําผังการไหลของงานเพื่อความเขาใจของผูประกอบอาชีพ     1 มี.ค.53

3 – 5 มี.ค.53

16 เม.ย.53

1 พ.ค.53 ตรวจสอบ

ไถบุกเบิก

หวานเมล็ดพันธุ

ไถพรวน

การสลายตัวของซาก

หนาดิน

ปุยพืชสด

คลุกปุยพืชสด

พืช ไถพรวนคลุก

ลงดิน

กระจายใหทั่ว

พัฒนา

ดินมีอินทรียวัตถุ

คุณภาพดิน

โครงสรางดินเปน

20 ไร

กอนกลม รวนซุย 2 มี.ค. 53

6 มี.ค. – 17 เม.ย.

17 – 30 เม.ย.

2 – 15 พ.ค.

ไถแปรยอยดิน

ใหน้ําบํารุงรักษา

ใหน้ําพรอม

ใหน้ําพรอม

ใหแตกกระจาย

ตนปุยพืชสด

จุลินทรียยอย

จุลินทรียจน

สลายหมักดิน

ซากพืชยอย







สลายเปน อินทรียวัตถุ

แผนภูมผิ ังการไหลของงาน



48 2. การใชผังการไหล กํากับดูแลการขยายอาชีพ ประกอบดวย 2.1 นําผังการไหลของงานติดผนังที่สามารถมองเห็นได 2.2 ติด ตามระยะเวลาตามผังการไหลของงาน วั น ที่กํ าหนดกิ จ กรรมดํ าเนิ น การ สําเร็จหรือไม ถาสําเร็จก็ทําเครื่องหมายบอกใหรูวางานหรือกิจกรรมนี้ทําสําเร็จแลว งานหรือกิจกรรมนี้ ตองมีการปรับปรุงแกไขหรือไม 2.3 กรณีกิจกรรมไมสําเร็จ ผูประกอบการจะตองคิดตาม คนหาสาเหตุแลวปฏิบัติการ แกไขขอบกพรอง 2.4 ดําเนินการปรับระยะเวลาในผังการไหลของงานใหเปนความจริง 3. ประเมินผลการกํากับ ดูแลวา มีสวนประสบผลสําเร็จอะไรบาง และสําเร็จไดเพราะ อะไร จากนั้นดูวา สวนใดที่ไมประสบผลสําเร็จและมีอะไรเปนเหตุ นําผลทั้งความสําเร็จและความเสียหาย มาสรุปผล เพื่อนําผลกลับมาแกไขแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพได 2. กรอบแนวคิดการควบคุมตรวจสอบการขยายอาชีพสูความมั่นคง การควบคุมตรวจสอบการทํางาน เปนกิจกรรมที่ใหการทํางานเปนไปตามขอตกลงหรือ ขอกําหนด พิจารณาดูความถูกผิดหาขอเท็จจริง ประมาณคา และบันทึกสรุปเรื่องราวของการดําเนินงาน ขยายอาชีพและผลที่เกิด เพื่อนําไปสูการวางแผนพัฒนาการขยายอาชีพ ใหมีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น จึงขอสรุป กิจกรรมการควบคุมตรวจสอบ ประกอบดวย 4 กิจกรรม ดังนี้ (1) การควบคุม (2) การตรวจสอบ (3) การประเมิน (4) การรายงานผล

49 



การควบคุม

การตรวจสอบ





การประเมิน

ควบคุมการดําเนินงาน การพิจารณาความ

การประมาณคา

- การลดความเสี่ยงของ - ถูก ผิดและหา ผลผลิต – ขอเท็จจริง - การพัฒนาคุณภาพ อาชีพ

- ผลสําเร็จ - ผลเสีย

การรายงานผล การจัดทํา สารสนเทศ ใหเปนไปตาม ขอตกลง - เรื่องราวของ การทํางาน - ผลสําเร็จ - ผลเสีย

จัดทําแผนพัฒนาการขยายอาชีพสู ความมั่นคงที่สูงขึ้น วงจรของการควบคุมตรวจสอบการขยายอาชีพสูความมั่นคง 3. การควบคุมการดําเนินงานขยายอาชีพ เปนกิจกรรมการดูแลการดําเนินงานขยายอาชีพใหเปนไปตามแผนธุรกิจ ขอกําหนดและ ขอตกลงดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคุณภาพผลผลิต ความเชื่อถือของลูกคา โดยมีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ แผนภูมกิ ารควบคุมการดําเนินงานขยายอาชีพ 





ศึกษาทําความเขาใจ

เขียนเอกสารในสิ่งที่ตองทํา

ทําตามที่เขียน

- แผนธุรกิจ - การลดความเสี่ยง ของผลผลิต - การพัฒนาการ ขยายอาชีพ

- เอกสารคูมือทํางาน - เอกสารขั้นตอนการ ทํางาน/ใบงาน - เอกสารขอกําหนด มาตรฐานการดําเนินงาน

- ทําตามที่เขียน - หาขอจํากัดขอบกพรอง การทํางานตามเอกสาร - พัฒนาเอกสารขั้นตอน การทํางาน

50 จากแผนภูมิการควบคุมการดําเนินงานขยายอาชีพ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาทําความเขาใจ ผูประกอบการตองศึกษาทําความเขาใจแผนธุรกิจ ขอกําหนด การลดความเสี่ยงผลผลิต และขอกําหนดหรือมาตรฐานการพัฒนาอาชีพใหผูรวมงานทุกฝายไดรูเทาทันกัน 2. เขียนเอกสารในสิ่งที่ตองทํา ผูประกอบการและผูรวมงานชวยกันเขียนขอกําหนด วิธีการ ขั้นตอนการทํางานที่ตองทําจริง ๆ ออกเปนเอกสารคูมือการทํางานตามแผนธุรกิจ เอกสารขั้นตอน การทํางานหรือใบงานตามขอกําหนด การลดความเสี่ยงผลผลิต และเอกสารมาตรฐานการดําเนินงานตาม ขอกําหนดของการพัฒนาอาชีพ 3. ทําตามที่เขียน คณะทํางานตองมุงมั่นทําตามที่เขียนไวในเอกสารดวยการนําไปหา ขอจํากัด ขอบกพรองแลวรวมกันแกไขเอกสารการทํางานที่เปนปญหา การดําเนินงานทั้ง 3 ขั้นตอนเปนการควบคุมใหการดําเนินงานเปนไปตามขอกําหนดได ผลผลิต และการทํางานเปนไปตามมาตรฐานและขอตกลงกับฝายตาง ๆ ได 4. การตรวจสอบการดําเนินงานขยายอาชีพ การตรวจสอบเปนการดําเนินการเพื่อปกปองรักษาอาชีพใหเขมแข็งคงอยูได ดวยการ พิจารณาดูความเรียบรอย พิจารณาดูวา ถูกหรือผิด และหาขอเท็จจริงแลวดําเนินการจัดการใหความไม เรียบรอยหรือความผิดบกพรองหมดไป มีขั้นตอนดําเนินการดังนี้ 







วิเคราะห

จัดทํารายการ

ปฏิบัติการ

สรุปผลการ

แผนปฏิบัติการ

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

- เหตุการณที่จบแลว - เหตุการณที่กําลัง ดําเนินการ

- รายการตรวจ - เกณฑการตรวจ

- ตรวจสอบบนโตะ ประชุม - ตรวจสอบการ ปฏิบัติการ

- ความเรียบรอย - สิ่งผิด - ขอเท็จจริง



จัดการแกไข - ชี้แจง จําแนก สิ่งผิด - รวมกันแกไข

จากแผนภูมิการไหลของงาน มีรายละเอียดการดําเนินการตรวจสอบ ดังนี้ 1. วิเคราะหแผนปฏิบัติการ เปนการตรวจสอบการดําเนินงานขยายอาชีพ เริ่มตนจาก แผนปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบวาในชวงเวลานี้ มีเหตุการณของงานที่จบแลว และเหตุการณที่กําลังจะทํามี อะไรบางที่มีความสําคัญ และสงผลกระทบตอคุณภาพงานตาง ๆ แยกออกมาเพื่อใชดําเนินการตรวจสอบ 2. จัดทํารายการตรวจสอบ ดวยการเอาเหตุการณที่จบแลวและเหตุการณกําลังจะทําที่ ถูกเลือกออกมาวา มีความสําคัญและสงผลกระทบตอคุณภาพงานตาง ๆ ออกมาจัดทําเกณฑวา สภาพที่ดี ควรเปนอยางไร แลวจัดทําเปนเอกสารสําหรับการตรวจ และจดบันทึกที่เหมาะสมกับการทํางานจริง

51 3. ปฏิบัติการตรวจสอบ ควรแจงใหผูรับผิดชอบกิจกรรมที่จะตรวจวา จะตรวจอะไรกับ เหตุก ารณ อะไรบาง เพื่อใหผูรับผิด ชอบไดทบทวนสภาพการทํางานของตนเอง โดยแยกดํ าเนิ นการ ออกเปน 2 ลักษณะ คือ 3.1 การตรวจสอบบนโตะประชุม เพื่อพิจารณาความเรีย บร อยสิ่งผิด สิ่งถูกตาม ผูรับผิดชอบงานกําหนด 3.2 การตรวจสอบการปฏิบัติงาน เพื่อเปรียบเทียบกับขอมูลของการตรวจสอบบน โตะประชุมกับสภาพที่เห็นจริง 4. สรุป ผลการตรวจสอบ ร ว มกั นสรุ ปผลระหว างผูต รวจสอบกั บคณะทํางาน โดย สรุปผลการตรวจสอบใหมองเห็นสภาพการทํางาน ความเรียบรอย สิ่งของและขอเท็จจริง 5. จัดการแกไข เปนการทํางานระหวางผูตรวจสอบกับคณะทํางาน รวมกันวิเคราะห สิ่งผิดและรวมกันปฏิบัติการแกไข 5. การประเมินตนเอง เปนการนําผลสรุปจากการตรวจสอบมาประมาณคา ดังนี้ 1. การประมาณคาผลสําเร็จวา มีอะไรบาง และความสําเร็จดังกลาวมีอะไรมาสนับสนุนบาง และการสนับสนุนเหลานั้นคุมคากับผลสําเร็จหรือไม 2. การประมาณค าผลเสียว า มีอะไรบาง และความเสียหายดั งกลาวสงผลกระทบกั บ สวนใดบางของการขยายอาชีพ 6. การรายงานผล การจัดทํารายงานผล สําหรับการพัฒนาหรือขยายอาชีพ เปนการจัดทําเอกสารสารสนเทศ เพื่อใชจัดทําแผนพัฒนาการขยายอาชีพสูความมั่นคง จึงควรทําเปนเอกสารหนาเดียวที่ระบุเรื่องราวของ การทํางาน ผลสําเร็จ และผลเสีย ดังตัวอยาง

52 ตัวอยางเอกสารรายงานผลและการควบคุมตรวจสอบการขยายอาชีพสูค วามมั่นคง 1. ชื่อสถานประกอบการ 2. กิจกรรมที่ตรวจ : การพัฒนาคุณภาพดิน

วัน เดือน ปที่ตรวจ 3. เหตุการณที่รับการตรวจ 1. การปลูกปุยพืชสด 2. การไถพรวนปุยพืชสดลงดิน 3. การหมักดิน

สําเร็จ   -

เสียหาย 

4. ผลการตรวจ 4.1 เรื่องราวของการทํางาน (1) ผูรับผิดชอบทํางานตรงตามเอกสารขอกําหนดเรื่องพัฒนาดิน ไมครบทุกคน (2) ผูรับผิดชอบจดบันทึกการทํางานเพียง 3 คน ไมมีบันทึก 7 คน 4.2 ลักษณะความสําเร็จของงาน ผลที่เกิดจากความสําเร็จ (1) สามารถผลิตปุยพืชสดไดไรละ 8 ตัน - ลดคาใชจายซื้อปุยคอกลงไรละ 2,000 บาท (2) ซากพืชถูกสับพรวนเติมพื้นที่พัฒนา - ดินมีซากพืชในอัตราสวนปนกันทั้งหมด 4.3 ลักษณะผลเสีย สาเหตุ การแกไข 1. ดินมีกลิ่นเหม็นบูดเนา - ไมไดจายจุลินทรียมาพรอมกับน้ํา - ชี้แจงความสําคัญของการทํางาน ตามเอกสารขอกําหนด - ใชเครื่องพนละอองหนาดิน - ให เ ร ง ดํ า เนิ น การให จุ ลิ น ทรี ย จุลินทรียไมพอ ทางน้ํา วันละ 2 ครั้ง ผูรับการตรวจ ผูตรวจ 1. ______________________________ ____________________________ 2. ______________________________ 3. ______________________________ 4. ______________________________

53 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนจัดทําเอกสารรายงานผล การควบคุมตรวจสอบการขยายอาชีพ สูความมั่นคงของตนเอง หรือ สัมภาษณผูประสบความสําเร็จในอาชีพตามรูปแบบของเอกสารขางตน

54 เรื่องที่ 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 1. เหตุผลของการทําโครงการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง ในการเรียนรูที่ผานมาเปนเรือ่ งของการทําแผนธุรกิจ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ใหความสําคัญ กับการใชเหตุผล การกําหนดทิศทางธุรกิจใหมีความพอดี และมีภูมิคุมกัน การกําหนดแผนปฏิบัติสราง ความรอบรู และขับเคลื่อนแผนสูความสําเร็จอยางมีคุณธรรม ซึ่งเปนเรื่องภายในของผูประกอบการขยายอาชีพเทานั้น แตการทําธุรกิจที่จะตองพัฒนาออกไปจําเปนตองใชทุนเพิ่มเติมหรือตองไดรับความชวยเหลือ จากภาครั ฐหรือเอกชน การใหความชวยเหลือดั งกลาว ผูใหตองการทราบรายละเอียด การดํ าเนินงาน ชว ยเหลือจากภาครั ฐหรื อเอกชน การใหค วามชวยเหลือดั งกลาว ผูใหต องการทราบรายละเอีย ดการ ดําเนินงานมีผลลัพธเปนอยางไร มีผลที่เกิดอะไรบางและกระทบตอสังคมชุมชนอยางไร คุมคาที่จะให การสนับสนุนหรือไม หรือมีโอกาสที่จะสรางกําไร นํารายไดมาคืนสถาบันทางการเงินไดหรือไม ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองมีความรู ความเขาใจในการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ เพื่อ นําเสนอขอรับความชวยเหลือหรือสรางความเชื่อมั่นใหกับแหลงทุน 2. การเขียนโครงการ โครงการ เปนเอกสารภาพรวมของแผนธุรกิจ เพื่อใชนําเสนอตอสังคมในการเผยแพรความคิด หรือใชนําเสนอเพื่อขอความชวยเหลือ สนับสนุนเงินทุน ซึ่งประกอบดวยสาระที่แสดงใหเห็นความสําคัญ และคุณคาของการดําเนินงาน ซึ่งประกอบดวย 1) การเขียนชื่อโครงการ โดยทั่วไป มี 2 องคประกอบ คือ (1) ขอความบงบอกวาทําอะไร (2) ขอความวาเปน ของใครและ(3) นําเสนอใคร เชน “โครงสรางขยายอาชีพเกษตรอินทรีย ชุมชนบานคลองหาด นําเสนอขอ การสนับสนุนจากทางอําเภอคลองหาด” 2) การเขียน ความสําคัญและหลักการ เปนสาระสวนที่บอกความสําคัญของการจัดทําโครงการและหลักการดําเนินการ ซึ่งมี โครงสรางการเขียน ดังนี้ 2.1 โครงสรางการเขียนความสําคัญ การเขียนความสําคัญในการขยายอาชีพ ควรจะ เปนสาระสําคัญในธุรกิจ ซึ่งประกอบดวย 2.1.1 เขียนบงบอกสภาวะแวดลอมอาชีพ ไดแก (1) สภาพที่ดิน สิ่งแวดลอมที่สงเสริมการดําเนินโครงการ (2) ผลิตผลอะไรที่เหมาะสมในการผลิต (3) ลักษณะคุณภาพผลผลิตที่ลูกคาตองการ (4) ลูกคาเปนใคร อยางไร

55 (5) ขายใหกับใคร สวนแบงทางการตลาดเปนอยางไร (6) จะสามารถเขาไปยึดตลาดสวนแบงตลาดไดรอยละเทาไร 2.1.2 เขียนสรุปใหเห็นความสําคัญที่เกี่ยวของ (1) การสรางงาน สรางรายไดใหกับชุมชน (2) การมีสวนรวมสรางความพอเพียงดานตาง ๆ ใหกับชุมชน 2.2 การเขียนหลักการ เปนขอความตาง ๆ เพื่อบงบอกวา โครงการจะทําอะไร ใหใคร ทําแคไหน และทําอยางไร ดังนี้ 2.2.1 จะทําอะไร ใหใคร ดังตัวอยาง - มุงเนนผลิตผักผลไมระบบเกษตรอินทรีย ขายใหกับกลุมผูรักษาสุขภาพ 2.2.2 ทําอยางไรดังตัวอยาง - ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การประยุ ก ต ร ะบบนิ เ วศธรรมชาติ เ ข า สู ร ะบบ การเกษตร 2.2.3 ทําที่ไหน ดังตัวอยาง - การดํ าเนิน งาน จะเริ่มต น ที่แปลงเกษตรของผูทํา แลว สงเสริ มการ เรียนรูขยายเครือขายการปลูกผักอินทรียออกไป

56 2.3 ตัวอยางการเขียนเหตุผลและหลักการ เหตุผลและหลักการ การตัดสินใจดําเนินการจัดทําเกษตรอินทรีย มีเหตุผลมาจาก 1. สภาพที่ดินของหมูบานคลองหาด เปนที่ดินเปดปาใหม เพื่อทําพืชไรมาเพียง 5 ป เกษตรกรไมรจู กั และไมเคยใชสารพิษฆาแมลงและปราบวัชพืชเขามาใช เปนพื้นที่สะอาดปราศจากสารพิษ 2. ถาหากดําเนินการผลิตพืชผัก ผลไมในระบบเกษตรอินทรีย จะทําใหผลิตผลที่ไดมา สะอาดไมมี สารพิษตกคาง 3. ผักผลไมที่ตลาดต องการ จะเปน ผลผลิตที่ไรสารพิษ มีการเจริญ เติ บโตไปตามธรรมชาติ และ รสชาติเปนไปตามสายพันธุ 4. ขณะนี้กลุมผูรักษาสุขภาพมีจํานวนมากขึ้น เนื่องมาจากการประชาสัมพันธความปลอดภัยของ อาหาร ทําใหกลุมคนกลุมนี้สนใจซื้ออาหารไรสารพิษบริโภคมากขึ้นโดยลําดับ 5. มีผูคาอาหารสุขภาพเขามารับซื้อถึงไรนา จํานวนไมจํากัด เพื่อกระจายสินคาเขาสูรานคาอาหาร สุขภาพ 6. ผลการศึก ษาติ ด ตามสว นแบง ของตลาดอาหารสุข ภาพ พบว า ขณะนี้ มีผัก ผลไมเข าสูต ลาด เพียงรอยละ 0.25 ของพืชผักผลไมที่ปลูกในระบบเคมี เทานั้น จึงอาจสรุปไดวา สวนแบงของตลาดยังสูงมาก สามารถทําแลวขายได จะเปนโอกาสในการสรางงาน สรางรายได ใหกับคนในชุมชนบานคลองหาดได พัฒ นาเศรษฐกิจ เข าสูความพอเพียงตามอัตภาพของแตละ ครอบครัวที่เขารวมโครงการได จากเหตุผลดังกลาว จึงอาจสรุปหลักการดําเนินงานไดดังนี้ 1. เปนการดําเนินงานที่มุงเนนการผลิตผัก ผลไมในระบบอินทรียขายใหกับกลุมผูรักษาสุขภาพ 2. การดําเนินงานใหความสําคัญกับการประยุกตระบบนิเวศธรรมชาติเขาสูระบบการเกษตร 3. การดําเนินงานจะเริ่มตนที่แปลงเกษตรของผูนํา แลวสงเสริมการเรียนรูขยายเครือขายการปลูก ผักอินทรียออกไป

57 3) การเขียนเปาหมายโครงการ 3.1 โครงสรางการเขียนเปาหมายโครงการ ประกอบดวย ขอความบงชีว้ า ทําอะไร

+

ปริมาณงาน +

+

บอกระยะเวลา สําเร็จ

3.2 การเขียนขอความเปาหมายโครงการ ควรพิจารณาสิ่งตอไป (1) ขอความบงชี้วาทําอะไร ตองเปนเรื่องสําคัญ เปนหัวเรื่องหลักของโครงการ (2) ปริมาณงานที่ระบุตองมีขอความสามารถทําไดจริง (3) ระยะเวลาสําเร็จตองเหมาะสมกับปริมาณงาน และมีความเปนไปไดจริงที่จะทํา สําเร็จ 3.3 ตัวอยางขอความเปาหมายโครงการ จัดตั้งครัวเรือนบานคลองหาดใหทําเกษตรอินทรีย ครอบครัวละ 2 ไร จํานวน 200 ครอบครัว ใหแลวเสร็จในเดือนพฤษภาคม 2552 4) การเขียนวัตถุประสงคโครงการ เปนขอความที่ขยายภาพของเปาหมายโครงการ ใหมองเห็นภาระงานที่ จะต องทําให สําเร็จ โดยมีรายละเอียดการคิด การเขียน ดังนี้ 4.1 วิเคราะหเปาหมาย กําหนดภาระงานที่ควรทําแลวทําใหเกิดความสําเร็จตามเปาหมาย โครงการได เชน วิเคราะหเปาหมาย

จัดตั้งครัวเรือน เกษตรอินทรีย 200 ครอบครัว

กําหนดภาระงานทีค่ วรทํา

1. ฝกอบรมศึกษาดูงาน 2. จัดการสนับสนุนการจัดตั้ง ระบบเกษตรอินทรีย 3. ติดตามควบคุมการ ดําเนินงาน

58 4.2 วิเคราะหภาระงาน กําหนดลักษณะบงชี้ความสําเร็จ ดังตัวอยางนี้ ภาระงานที่จะทํา ลักษณะบงชี้ความสําเร็จ - สามารถเขาใจเห็นความสําคัญอาชีพเกษตรอินทรีย 1. จัดฝกอบรม - สามารถดําเนินอาชีพเกษตรอินทรียได 2. จัดสนับสนุน - อาชีพมีความเขมแข็ง 3. ติดตามและพัฒนา 4.3 เขียนวัตถุประสงคโครงการตามโครงสรางนี้   ทําอะไร เพื่อฝกอบรม

ใหใคร

 เปนอยางไร

เกษตรกรบานคลองหาด

สามารถเขาใจเห็น ความสําคัญอาชีพ เกษตรอินทรีย

ตัวอยางวัตถุประสงคโครงการ 1. เพื่อฝกอบรมเกษตรกรบานคลองหาดใหสามารถเขาใจ เห็นความสําคัญอาชีพเกษตรอินทรียได 2. เพื่อสนับสนุนเกษตรบานคลองหาด ใหสามารถดําเนินการประกอบอาชีพเกษตรอินทรียได 3. เพื่อติดตามพัฒนาใหเกษตรกรผูประกอบอาชีพเกษตรอินทรีย มีความเขมแข็งในอาชีพได

5. การเขียนผลผลิตของโครงการ การเขียนผลผลิตของโครงการเปนการเขียนสิ่งที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากโครงการ อย างมีเหตุ มีผล ด วยการนํ าวั ตถุประสงค โครงการมาวิ เคราะห กํ าหนดผลผลิตที่ควรจะเกิ ดตามตัวอยาง วัตถุประสงคที่ 1 ขอความในวัตถุประสงค 1. ฝกอบรมเกษตรกร 2. เขาใจและเห็นความสําคัญของเกษตรอินทรีย

ผลผลิตที่ควรจะเกิด 1. มีผูผานการฝกอบรม 60 คน 1.1 บอกวิธีการพัฒนาคุณภาพดินได 1.2 บอกวิธีการเพาะปลูกพืชใน ระบบเกษตรอินทรียได 1.3 บอกวิธีการอารักขาพืชในระบบ เกษตรอินทรียได

59

ใหเกิดผลผลิต

6. การเขียนวิธีดําเนินงาน เปนการเขียนเรียงลําดับในแตละจุดประสงค โดยมีขั้นตอนการเขียนดังนี้ 6.1 ยกขอความ วัตถุประสงคและผลไดโครงการมาเปนตัวตั้ง 6.2 ดําเนินการวิเคราะหผลผลิตแตละตัวเพื่อกําหนด กิจกรรม ขั้นตอนวิธีการดําเนินงาน 6.3 ระบุเกณฑชี้วัดความสําเร็จของงาน 6.4 กําหนดระยะเวลาดําเนินงานที่เปนจริง ตัวอยางการเขียนวิธีดําเนินงาน

6. วิธีดําเนินงาน 6.1 วิธีดําเนินงานตามจุดประสงคที่ 1 : เพื่อฝก อบรมเกษตรบ านคลองหาด ใหสามารถเข าใจเห็ น ความสําคัญอาชีพเกษตรอินทรีย เกณฑชี้วัดความสําเร็จ ระยะเวลา ผลผลิต กิจกรรมขั้นตอนวิธีดําเนินงาน ของงาน (KPI) 1. มีผูผานการอบรม 1. ประชาคมหมูบานชี้แจงรับสมัคร 100% ประชาคม 2 ครั้ง 60 คน ผูสนใจเขารวมโครงการ 1. จัดสัมมนาใหมองเห็นภาพรวมของ 1. 80% ของผูเขารับ 2. ผูเขาอบรมมี การอบรมบอกวิธีการ ความรู ความเขาใจ เกษตรอินทรีย พัฒนาดินได 2.1 การพัฒนาดิน 2. ศึกษาดูงานที่ไรทนเหนื่อย 2. 80% ของผูเขารับ 2.1 ศึกษา สังเกตคุณภาพดิน 2.2 การเพาะปลูก การอบรมบอกวิธีการ 2.2 ศึกษา สังเกตวิธีการเพาะปลูก 2.3 การอารักขาพืช 2 วัน 2.3 ศึกษา สังเกตวิธีการอารักขาพืช เพาะปลูกเกษตร 3. เปดเวทีสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูก ับ อินทรียได 3. 80% ของผูเขารวม บุคลากรของไรทนเหนื่อย การอบรม บอกวิธีการ 4. สรุปผลการศึกษาสังเกตและ อารักขาพืชได การสัมมนา 2 วัน 3. เห็นความสําคัญ 3. ทบทวนสภาพเปนจริงของตนเองกับ 80% ของผูเขารับการ อบรมเห็นความสําคัญ อาชีพเกษตรอินทรีย ประสบการณที่ไดรับมาแลวรวมกัน ของอาชีพเกษตร หาแนวทางของตนเอง อินทรีย

60 7. การเขียนงบประมาณดําเนินการ เปนการนํากิจกรรมขั้นตอนดําเนินการ มาวิเคราะหรายละเอียดของรายจายแลวจัดทํา เอกสารบรรจุในโครงการ ตามตัวอยาง ดังนี้ ตัวอยางการเขียนรายละเอียดงบประมาณ 7. งบประมาณดําเนินการ รวมงบประมาณดําเนินการทั้งสิ้น 350,000 บาท มีรายละเอียดการจาย ดังนี้ รายการจาย รายละเอียดการจาย งบประมาณ ** การพัฒนาดิน คาจางไถบุกเบิก 120 ไร  500 บาท 60,000 บาท คาจางไถแปล 120 ไร  300 บาท 36,000 บาท คาเมล็ดพันธุปุยพืชสด 120 ไร 5 กก.  20 บาท 12,000 บาท 8. การเขียนผลดําเนินโครงการ เปนการนําผลไปวิเคราะหวา ถาการดําเนินงานเกิดผลผลิตตามที่กําหนด จะมีผลที่เกิด อะไรบาง และมีผลกระทบอยางไรที่ทําใหมองเห็นคุณคาของโครงการ ตามตัวอยาง ดังนี้ 8. ผลดําเนินโครงการ หากการดําเนินการเกิดผลผลิตดังที่กําหนดไว จะมีผลที่เกิดตามมาและผลกระทบ ดังนี้ ผลผลิต Output ผลที่เกิด Effect ผลกระทบ Impact 1. มีผูผานการอบรม 60 คน 1. โครงสรางความรูเกษตรเปลี่ยน 1. เกิดชุมชนแหงการเรียนรูเกษตรอินทรีย 2. การลดรายจายของชุมชน 2. ความคิดของเกษตรกรให 2. ผูเขารับการอบรมมี ความรูค วามเขาใจเกษตร- ความสําคัญกับการประยุกตใช ปจจัยภายในใหมีคณ ุ คาสูงขึน้ อินทรีย 3. ผูเขารับการอบรมเห็น 3. มีการประกอบการอาชีพเกษตร 3. ระบบเศรษฐกิจยกระดับเขาสูค วาม ความสําคัญอาชีพเกษตร- อินทรียขึ้นในชุมชนบานคลองหาด อยูดีมีสุข อินทรีย แบบขนาดใหญ

61 เรื่องที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดและปรับปรุงแกไขโครงการ กรอบแนวความคิด การจัดทําโครงการแผนงานพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง มีกรอบแนวการดําเนินงาน ดังนี้  วิเคราะหสรุปความตองการพัฒนา ขั้นตอนพัฒนา

กําหนดโครงสราง โครงการ

1. ผลการวิเคราะหศักยภาพอาชีพ 2. รายงานผล กํากับ ดูแล

1. เปาหมายโครงการ 2. จุดประสงคดําเนินงาน 3. ลักษณะบงชี้ความสําเร็จ 4. ผลผลิต

โครงการ  วิเคราะหทรัพยากรดําเนินงานที่มีอยู

กําหนดแผนงานกระบวนการ

1. เงินทุน 2. แรงงาน 3. อุปกรณ 4. ระบบงาน

1. แผนงานกระบวนการการตลาด 2. แผนงานกระบวนการการผลิต 3. กําหนดผลที่เกิดและผลกระทบ

 วิเคราะหแผนงานกระบวนการ

ขั้นตอนดําเนิน โครงการ

1. ความเปนไปไดที่จะบรรลุผล ตามลักษณะบงชี้ความสําเร็จ ผลที่เกิด ผลกระทบ

ตัดสินใจ ดําเนินการ

A

 วิเคราะหผลผลิต ผลที่เกิด

P C

D

1. กําหนดแนวปฏิบัติ 2. ทํางานตามที่กําหนด 3. ตรวจสอบขอบกพรอง 4. ติดตาม แกไข พัฒนา

ตัดสินใจ ทําตอ/ยกเลิก

และผลกระทบ 1. ผลผลิตไดตามเกณฑเปาหมาย 2. ผลที่เกิดและผลกระทบที่บงชี้ ความมั่นคง

ตัดสินใจ

ยกเลิก

ทําตอ พัฒนา

62 จากแผนภูมิ แสดงใหเห็นวาในขั้นตอน การจัดทําโครงการแผนงานพัฒนาอาชีพใหมี ความมั่นคง เปนการทํางานบนฐานความรูของตนเอง ตองอาศัยประสบการณการเรียนรูจากการทําแผนธุรกิจ โครงการขยายอาชีพ การประเมินศักยภาพของการขยายอาชีพ และการกํากับ ดูแลการขยายอาชีพที่มีการ ปฏิบัติจริง ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา การจัดทําโครงการแผนงานพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง จะเปน ประสบการณที่ใชดําเนินการตอเนื่องไปเปนระยะ ๆ จึงอาจสรุปพัฒนาการการเรียนรูของผูเรียนที่จะมาสู การจัดทําโครงการแผนงานพัฒนาอาชีพสูความมั่นคงไดดังนี้ - การใชความรูสรางความเขมแข็ง มั่นคงยั่งยืน - ระบบความมั่นคงในอาชีพ - การใชนวัตกรรมเทคโนโลยีใน อาชีพเพื่อความมั่นคง - การตรวจสอบความพรอม ทักษะ การขยายอาชีพเพื่อความมั่นคง - การจัดทําแผนธุรกิจ

การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพ ใหมีความมัน่ คง

- การกํากับ ดูแล การขยายอาชีพ - การวิเคราะหศกั ยภาพเพื่อสราง ธุรกิจใหมคี วามมัน่ คง - การกํากับ ดูแลการขยายอาชีพ สูความมั่นคง จากแผนภูมิ ทําใหเราเห็นความสําคัญของการเรียนรูที่ผานมา ไดรับประสบการณเปน ฐานของการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

63 1. การวิเคราะห สรุปความตองการพัฒนาเพื่อปรับปรุงโครงการ 1.1 การวิเคราะหสรุปความตองการพัฒนา ดวยการนําผลการวิเคราะหศักยภาพอาชีพ และรายงานผลกํากั บ ดูแลมาจําแนกวา มีอะไรบางที่สงผลกระทบตอความมั่นคงในอาชีพที่สําคัญให นํามาจัดลําดับกําหนดเปนความตองการพัฒนา ก. ผลการวิเคราะหศักยภาพอาชีพ จากตัวอยางพบองคประกอบที่มีศักยภาพต่ํา (ต่ํากวา 0.5) จําเปนตองพัฒนา ใหมีศักยภาพตอความมั่นคงในอาชีพ สมควรที่จะนํามาเปนความตองการพัฒนา ดังนี้ (1) การจัดการรายได (2) การจัดการลดตนทุน (3) การสงมอบผลผลิต ข. รายงานผลกํากับดูแล เปนขอมูลสําคัญที่เรานํามากําหนดความตองการพัฒนา ดังนี้ - การปนเปอนโลหะหนักในปุยหมัก จากข อ มู ล ดั ง กล า ว จึ ง สามารถระบุ ค วามต อ งการพั ฒ นาอาชี พ ให มี ค วามมั่ น คง ประกอบดวย (1) การจัดการรายได (2) การจัดการลดตนทุน (3) การสงมอบผลผลิต (4) การปนเปอนโลหะหนักในปุยหมัก 1.2 การกําหนดโครงสรางโครงการ ดวยการนําความตองการพัฒนาแตละองคประกอบมา วิเคราะห ตัวแปรภายในวา มีตัวแปรอะไรที่เปนความตองการที่แทจริง เพราะการทําแผนพัฒนาอาชีพให มีความมั่นคงนั้น จะตองการพัฒนาสิ่งที่จําเปนจริง ๆ ความตองการพัฒนา ตัวแปรภายใน ตัวแปรที่เปนความ ลักษณะความตองการ ตองการที่แทจริง 1. การกําหนดอัตรา 1. การจัดการรายได 1.1 คาเสื่อมเครื่องมือ - การแบงปน ผลประโยชน แบงปนผลประโยชน เครื่องจักรกล 2. ทัศนคติของผูรวม 1.2 ทุนในผลิตผล ลงทุน 1.3 เงินออมขยายทุน 3. เงินตอบแทนสราง1.4 การแบงปน ขวัญกําลังใจใหกับ ผลประโยชน ผูรวมงาน

64 จากตัวแปรความตองการที่แทจริง และผลการวิเคราะหสภาวะความตองการทั้งหมดจะ ถูกนําไปกําหนดเปนเปาหมายโครงการ จุดประสงคดําเนินงาน ลักษณะบงชี้ความสําเร็จและรายไดของ การพัฒนาสูความมั่นคง 2. การวิเคราะหทรัพยากรดําเนินงานที่มีอยู เพื่อกําหนดแผนงานกระบวนการ 2.1 การวิเคราะหทรัพยากรดําเนินงานที่มีอยู มีจุดประสงค เพื่อใหการกําหนดแผนงาน กระบวนการดําเนินงานอยูบนความพอดี ไมสรางปญหาดําเนินงาน 2.2 การกําหนดแผนงานกระบวนการ เพื่อการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง มักจะเกี่ยวของกับ กระบวนการผลิต กระบวนการการตลาด ดังนั้น แผนงานกระบวนการจะตองถูกตีกรอบไวเพียงทรัพยากร ดําเนินงานที่มีอยู ไมจําเปนที่จะตองจัดการพัฒนาใหสําเร็จในครั้งเดียว แตหากจะวางแผนเปนระยะ ๆ ให สัมพันธกับทุนดําเนินการที่จะเกิดตอมาโอกาสของความมั่นคงจะเกิดขึ้น 3. การวิเคราะหแผนงานกระบวนการเพื่อตัดสินใจดําเนินการ เปนการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนงานกระบวนการที่จะนําไปใช มีวิธีดําเนินงาน 2 ลักษณะ 1. การวิเคราะหโดยใชแบบวิเคราะหความเปนไปไดของคณะทํางาน เปนการดําเนินการให คณะทํางานทุกคนไดคิด ตัดสินอยางอิสระ ตัวอยาง การวิเคราะหความเปนไปไดของการทําแผนกระบวนการไปใชจริง (โดยจะทํางาน 5 คน) การวิเคราะหตัดสินใจ ความตรงระหวาง

จุดประสงคโครงการ

แผนงาน กระบวนการ ตามจุดประสงค

1. เพื่อพัฒนาระบบ 1.1 การกําหนดสวนแบงคาเฉลี่ย การจัดการรายได ราคา อุปกรณ 1.2 การกําหนดสวนแบง เพื่อการสะสมเพิ่มทุน 1.3 การกําหนดอัตราสวน แบงปนผลประโยชน

แผนงานกระบวนการ กับจุดประสงค

โอกาสความสําเร็จ มาก

นอย

ผลการ วิเคราะห

ตรง

ไมตรง

1

0

5 4 3 2 1

4

1

4 - - - 1

0.85

4

1

4 - - - 1

0.85

5

-

5 - - - -

1.0

65 การวิเคราะหตัดสินใจ ความตรงระหวาง

จุดประสงคโครงการ

2. เพื่อลดตนทุน การเลี้ยงหมู

3. การสงมอบผัก ผลไม

แผนงาน กระบวนการ ตามจุดประสงค

2.1 ใชแกลบรองพื้นคอกแทน การใชน้ําลางคอก 2.2 ใชใบมันเทศ แทนอาหาร สําเร็จรูป 2.3 ใชมูลปสสาวะหมูทําแกส 2.4 น้ําลนจากบอแกสใชเปนปุย ปลูกมันเทศ 3.1 จัดหารถบรรทุกผลผลิต 3.2 จัดการหีบหอใหมี เครื่องหมายการคา และ รายละเอียดแหลงผลิต 3.3 แสดงผลการตรวจสอบ สารปนเปอน

แผนงานกระบวนการ กับจุดประสงค

โอกาสความสําเร็จ มาก

นอย

ผลการ วิเคราะห

ตรง

ไมตรง

1

0

5 4 3 2 1

4

1

3 2 - - -

0.90

3

2

3 - - 2 -

0.73

5 5

-

5 - - - 3 2 - - -

1.00 0.813

5 5

-

1 - 4 - 5 - - - -

0.68 1.00

5

-

5 - - - -

1.00

จากตาราง มีผลการวิเคราะหสามารถอธิบายได ดังนี้ 1) ทุกจุดประสงคและทุกกิจกรรม มีความตรงและโอกาสความกาวหนาตามจุดประสงค มีคะแนน สูงกวาเกณฑ 0.5 ทุกรายการ 2) จึงอาจสรุปไดวาแบบวางกระบวนการใหดําเนินการได 2. นําผลการวิเคราะหมารวมกันพิจารณาซ้ําอีกครั้ง โดยใชความรูประสบการณของทุกคน พิจารณาอยางรอบคอบแลวตัดสินใจจะใชดําเนินการหรือไม 4. วิเคราะหผลผลิต ผลที่เกิดและผลกระทบ การวิ เคราะหผลผลิต ผลที่เกิ ด และผลกระทบ มีเปาหมายเพื่อตัด สินใจวา ผลเหลานี้ สามารถบงชี้ถึงความมั่นคงที่จะดําเนินการตอไปหรือไม ดังตัวอยาง

66 ตัวอยาง การวิเคราะห ผลผลิต ผลที่เกิด และผลกระทบและโอกาสความมั่นคงในการขยายอาชีพ จุดประสงคที่ 1 เพื่อลดตนทุนการเลี้ยงหมู โอกาสความมัน่ คงของการขยายอาชีพ แผนงาน ผลผลิต ผลที่เกิด ผลกระทบ มาก นอย กระบวนการ Output Effect Impact 5 4 3 2 1 ชุมชนไม 1. ใชแกลบรอง ไดปุยหมักจาก กลิ่นเหม็น ตอตานธุรกิจ หมดไป พื้นคอกแทนการ แกลบและ  มูลหมู ลางดวยน้ํา ประสิทธิภาพ ใบมันเทศ 2. ใชใบมันเทศ ลดรายจาย การหมุนเวียน สามารถ เปนอาหารแทน คาอาหาร  ปจจัยภายใน อาหารสําเร็จรูป สําเร็จรูป ตัวละ เปลี่ยนรูป สรางมูลคาเพิ่ม สูงขึ้น 1,500 บาท ไดแกสหุงตม ลดรายจายซื้อ ประสิทธิภาพ 3. ใชมูลและ และแสงสวาง แกส LPG การหมุนเวียน ปสสาวะใน ปจจัยภายใน บริเวณเก็บน้ํา  สูงขึ้น เก็บอาหารไปทํา แกสชีวภาพ ดินมีคณ ุ ภาพ 4. น้ําและกากมูล - ปุยหมักแหง ลดคาใชจาย มีอินทรียวัตถุ หมูจากบอแกส - ปุยน้ําชีวภาพ ปุยเคมี ใหอาหารแกพืช ใชเปนปุยใส  สูงขึ้น แปลงปลูกมัน เทศ จากตัวอยางเปนการนําผลได ผลที่เกิด และผลกระทบที่ปรากฏจริงนํามาวิเคราะหดวย เหตุ ผล และประสบการณของบุคคลวา สิ่งเหลานี้สามารถบงชี้และเปน โอกาสของการขยายอาชีพให มั่นคงไดเพียงใด หากผลการวิเคราะหออกมาคอนขางตาง เราจะสามารถตัดสินใจ ยกเลิก หรือพัฒนาทํา ตอไปได สรุป การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง เปนภาวะงานที่ตองดําเนินการตอเนื่อง เพื่อยกระดับ ความมั่นคง การดําเนินงาน จําเปนตองเริ่มตนจากฐานความรู ผลการดําเนินงานขยายอาชีพตามแผนธุรกิจที่ จะตองมีการวางแผน ทํางานตามแผน ตรวจติดตาม หาขอบกพรอง และปฏิบัติการแกไขขอบกพรอง แลว นําสารสนเทศเหลานั้นมากําหนดความตองการพัฒนายกระดับความมั่นคงเปนระยะ ๆ

67 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรีย นวิ เคราะหผลผลิต ผลที่เกิด ผลกระทบและโอกาสความมั่น คงในการขยายอาชีพของ ตนเอง หรือรวมเรียนรูในการวิเคราะหกับผูประสบความสําเร็จในอาชีพของชุมชนที่ตนเองสนใจ

ใบงานที่ 2 คําสั่ง ใหผูเรียนจัดทําแผนและโครงการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคงของตนเองหรือรวมเรียนรูกับผูประสบความสําเร็จในอาชีพของชุมชน โดยมีประเด็นในการจัดทํา ดังนี้ 1.1 การลดความเสี่ยงที่จะสูความมั่นคง 1.2 คุณธรรมในการประกอบอาชีพที่จะทําใหสูความมั่นคง 1.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิตหรือบริการที่จะสูความมั่นคง 1.4 การลดตนทุนการผลิตหรือบริการที่จะสูความมั่นคง 1.5 การสงมอบผลผลิตหรือการใหบริการที่จะสูความมั่นคง 1.6 การสรางความปลอดภัยใหแกแรงงาน และผูบริโภคหรือผูรับบริการ 1.7 การจัดการรายได ที่สูความมั่นคง

68

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา 1. นายประเสริฐ บุญเรือง 2. ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ 3. นายวัชรินทร จําป 4. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ 5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ ผูเขียนและเรียบเรียง นายอุทัย หนูแดง ผูบรรณาธิการ และพัฒนาปรับปรุง 1. นายพิชิต แสงลอย 2. นางดุษฎี ศรีวัฒนาโรทัย 3. นางพรทิพย เข็มทอง 4. นางสาวเยาวรัตน คําตรง คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน

เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. ที่ปรึกษาดานการพัฒนาหลักสูตร กศน. ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

2. นายศุภโชค

ศรีรัตนศิลป

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

3. นางสาววรรณพร ปทมานนท

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

4. นางสาวศริญญา

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

กุลประดิษฐ

5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา ผู้พฒ ั นาและปรับปรุ งครังที 1. นางอัญชลี 2. นางดุษฎี 3. นายสุธี 4. นางสาวกฤษณา 5. นายสุภาพ 6. นางสาวทิพวรรณ

ขาราชการบํานาญ ผูอํานวยการ กศน. อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

(วันที - พฤศจิกายน ธรรมวิธีกุล ศรีวัฒนาโรทัย วรประดิษฐ โสภี เมืองนอย วงคเรือน

)

69 ผูพิมพตนฉบับ 1. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา 2. นางสาวปยวดี คะเนสม 3. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา ผูออกแบบปก นายศุภโชค

ศรีรัตนศิลป

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

70

คณะผูป รับปรุงขอมูลเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย ป พ.ศ. 2560 ที่ปรึกษา 1. นายสุรพงษ 2. นายประเสริฐ

จําจด หอมดี

3. นางตรีนุช

สุขสุเดช

ผูป รับปรุงขอมูล นางสาวทิพวรรณ

คณะทํางาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายสุรพงษ นายศุภโชค นางสาวเบ็ญจวรรณ นางเยาวรัตน นางสาวสุลาง นางสาวทิพวรรณ นางสาวนภาพร นางสาวชมพูนท

เลขาธิการ กศน. ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติหนาทีร่ องเลขาธิการ กศน. ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

วงคเรือน

กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

มั่นมะโน ศรีรัตนศิลป อําไพศรี ปนมณีวงศ เพ็ชรสวาง วงคเรือน อมรเดชาวัฒน สังขพิชัย

กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

Data Loading...