วันที่ 26 มิถุนายน ของทุกปี "วันสุนทรภู่" - PDF Flipbook

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์วันสำคัญ อ่าน ชีวประวัติ และผลงานกวีเอกของไทย

216 Views
60 Downloads
PDF 1,795,785 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


"เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา ถึงพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ”

ห้องสมุดประชาชนจังหวัดระนอง

ชีวประวัติ "สุนทรภู่" พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (พ.ศ. 2329-2398) กวีไทยที่มีชื่อเสียงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย มีผลงานที่มีชื่อเสียงหลายเรื่องได้แก่ พระอภัยมณี นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง ได้รับยกย่องจากองค์การยูเนสโกเป็นบุคคลสาคัญของโลก ด้านงานวรรณกรรม เมื่อ พ.ศ. 2529

ห้องสมุดประชาชนจังหวัดระนอง

ชีวประวัติ "สุนทรภู"่ สุนทรภู่ กวีสาคัญสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เกิดวันจันทร์ เดือน 8 ขึ้น 1 ค่ำ ปีมะเมีย จุล ศักรำช 1148 เวลำ 2 โมงเช้ำ หรือตรงกับวันที 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 เวลำ 08.00 น. นันเอง ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ บริเวณด้ำน เหนือของพระรำชวังหลัง (บริเวณสถำนีรถไฟบำงกอกน้อยปัจจุบัน) บิดาของท่านเป็นชาวกร่า อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ชื่อพ่อพลับ ส่วนมารดา เป็นชาวเมืองฉะเชิงเทรา ชื่อแม่ช้อย สันนิษฐำนว่ำมำรดำเป็นข้ำหลวงอยู่ในพระรำชวังหลัง เชือว่ำหลังจำกสุนทรภู่เกิดได้ไม่นำน บิดำมำรดำก็หย่ำร้ำงกัน บิดำออกไปบวชอยู่ทีวัดป่ำกร่ำ ต่ำบลบ้ำนกร่ำ อ่ำเภอแกลง อันเป็นภูมิล่ำเนำเดิม ส่วนมำรดำได้เข้ำไปอยู่ในพระรำชวังหลัง ถวำยตัวเป็นนำงนมของพระองค์เจ้ำหญิงจงกล พระธิดำในเจ้ำฟ้ำกรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ดังนั้น สุนทรภู่จึงได้อยู่ในพระรำชวังหลังกับมำรดำ และได้ถวำยตัวเป็นข้ำในกรมพระรำชวัง หลัง ซึงสุนทรภู่ยังมีน้องสำวต่ำงบิดำอีกสองคน ชือฉิมและนิม อีกด้วย "สุนทรภู่" ได้รับการศึกษาในพระราชวังหลังและทีว่ ัดชีปะขาว (วัดศรีสุดาราม) ต่อมำได้เข้ำรับรำชกำรเป็นเสมียนนำยระวำงกรมพระคลังสวน ในกรมพระคลังสวน แต่ไม่ ชอบท่ำงำนอืนนอกจำกแต่งบทกลอน ซึงสำมำรถแต่งได้ดีตั้งแต่ยังรุ่นหนุ่ม เพรำะตั้งแต่ เยำว์วัยสุนทรภู่มีนิสัยรักแต่งกลอนยิงกว่ำงำนอืน ครั้งรุ่นหนุ่มก็ไปเป็นครูสอนหนังสืออยู่ทีวัด ศรีสุดำรำมในคลองบำงกอกน้อย ได้แต่งกลอนสุภำษิตและกลอนนิทำนขึ้นไว้ เมืออำยุรำว 20 ปี

ชีวประวัติ "สุนทรภู่" ต่อมาสุนทรภู่ลอบรักกับนางข้าหลวงในวังหลังคนหนึง่ ชื่อแม่จัน ซึงเป็นบุตรหลำนผู้มี ตระกูล จึงถูกกรมพระรำชวังหลังกริ้วจนถึงให้โบยและจ่ำคุกคนทั้งสอง แต่เมือกรมพระรำชวัง หลังเสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. 2349 จึงมีกำรอภัยโทษแก่ผู้ถูกลงโทษทั้งหมดถวำยเป็นพระรำช กุศล หลังจำกสุนทรภู่ออกจำกคุก เขำกับแม่จันก็เดินทำงไปหำบิดำที อ่ำเภอแกลง จังหวัด ระยอง และมีบุตรด้วยกัน 1 คน ชื่อ "พ่อพัด" ได้อยู่ในควำมอุปกำระของ เจ้ำครอกทองอยู่ ส่วนสุนทรภู่กับแม่จันก็มีเรืองระหองระแหงกันเสมอ จนภำยหลังก็เลิกรำกันไป

หลังจากนั้น สุนทรภู่ ก็เดินทางเข้าพระราชวังหลัง และมีโอกาสได้ตดิ ตามพระองค์เจ้าปฐม วงศ์ในฐานะมหาดเล็ก ตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชา ที่อาเภอพระพุทธบาท จังหวัด สระบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2350 และเขาก็ได้แต่ง "นิราศพระบาท" พรรณนาเหตุการณ์ในการ เดินทางคราวนี้ดว้ ย และหลังจาก "นิราศพระบาท" ก็ไม่ปรากฏผลงานใด ๆ ของสุนทรภู่อีกเลย จนกระทั่งเข้ารับราชการในปี พ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 สุนทรภู่ได้เข้า รับราชการในกรมพระอาลักษณ์ และเป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย จนแต่งตั้งให้เป็นกวีทปี่ รึกษาและคอยรับใช้ใกล้ชิด เนื่องจากเมื่อครั้งที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแต่งกลอนบทละครในเรื่อง "รามเกียรติ"์ ติดขัดไม่มีผใู้ ดต่อกลอนได้ตอ้ งพระราชหฤทัย จึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่ง ปรากฏว่า แต่งได้ดีเป็นทีพ่ อพระทัย จึงทรงพระกรุณาฯ เลื่อนให้เป็น "ขุนสุนทรโวหาร"

ชีวประวัติ "สุนทรภู่" ต่อมาในราว พ.ศ. 2364 สุนทรภู่ต้องติดคุกเพราะเมาสุราอาละวาดและทาร้ายท่าน ผู้ใหญ่ แต่ติดอยู่ไม่นานก็พน้ โทษ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรง ติดขัดบทพระราชนิพนธ์เรื่อง "สังข์ทอง" ไม่มีใครแต่งได้ต้องพระทัย ทรงให้สุนทรภู่ ทดลองแต่งก็เป็นทีพ่ อพระราชหฤทัย ภายหลังพ้นโทษ สุนทรภู่ได้เป็นพระอาจารย์ถวาย อักษรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 และเชื่อกัน ว่าสุนทรภู่แต่งเรื่อง "สวัสดิรักษา" ในระหว่างเวลานี้ ซึ่งในระหว่างรับราชการอยู่นี้ สุนทรภู่แต่งงานใหม่กบั แม่นิ่ม มีบุตรด้วยกันหนึ่งคน ชื่อ "พ่อตาบ" "สุนทรภู"่ รับราชการอยู่เพียง 8 ปี เมื่อถึงปี พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัยเสด็จสวรรคต หลังจากนั้นสุนทรภู่กอ็ อกบวชทีว่ ัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) อยู่ เป็นเวลา 18 ปี ระหว่างนั้นได้ย้ายไปอยู่วัดต่าง ๆ หลายแห่ง ได้แก่ วัดเลียบ, วัดแจ้ง, วัด โพธิ์, วัดมหาธาตุ และวัดเทพธิดาราม ซึ่งผลจากการที่ภิกษุภู่เดินทางธุดงค์ไปทีต่ า่ งๆทัว่ ประเทศ ปรากฏผลงานเป็นนิราศเรื่องต่าง ๆ มากมาย งานเขียนชิ้นสุดท้ายที่ภิกษุภู่แต่งไว้ ก่อนลาสิกขาบท คือ ราพันพิลาป โดยแต่งขณะจาพรรษาอยู่ที่วัดเทพธิดาราม พ.ศ. 2385 ทั้งนี้ ระหว่างที่ออกเดินทางธุดงค์ ภิกษุภู่ได้รับการอุปการะจากพระองค์เจ้า ลักขณานุคณ ุ จนพระองค์ประชวรสิ้นพระชมน์ สุนทรภู่จึงลาสิกขา รวมอายุพรรษาที่บวช ได้ประมาณ 10 พรรษา สุนทรภู่ออกมาตกระกาลาบากอยู่พักหนึ่งจึงกลับเข้าไปบวชอีก ครั้งหนึ่ง แต่อยู่ได้เพียง 2 พรรษา ก็ลาสิกขา และถวายตัวอยู่กับเจ้าฟ้าน้อย หรือสมเด็จ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ พระราชวังเดิม รวมทั้งได้รับอุปการะจาก กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพอีกด้วย

ชีวประวัติ "สุนทรภู"่ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ครองราชย์ ทรงสถาปนาเจ้าฟ้า กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เป็นพระบาทสมเด็จพระปิ่นกล้า เจ้าอยู่หัว ประทับอยู่วังหน้า (พระบวรราชวัง) สุนทรภู่จึงได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็น "พระสุนทรโวหาร" ตาแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ฝ่ายบวรราชวัง ในปี พ.ศ. 2394 และรับราชการต่อมาได้ 4 ปี ก็ถึงแก่มรณกรรมใน พ.ศ. 2398 รวมอายุได้ 70 ปี ในเขตพระราชวังเดิม ใกล้หอนั่งของพระยามนเทียรบาล (บัว) ที่เรียกชื่อกันว่า "ห้องสุนทรภู"่ สาหรับทายาทของสุนทรภู่นั้น เชื่อกันว่าสุนทรภู่มีบุตรชาย 3 คน คือ "พ่อพัด" เกิดจากภรรยาคนแรกคือแม่จัน, "พ่อตาบ" เกิดจากภรรยาคนที่สองคือ แม่นิ่ม และ "พ่อนิล" เกิดจากภรรยาที่ชื่อแม่ม่วง นอกจากนี้ ปรากฏชื่อบุตร บุญธรรมอีกสองคน ชื่อ "พ่อกลั่น" และ "พ่อชุบ" อย่างไรก็ตาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงตราพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้น และตระกูลของสุนทรภู่ได้ใช้นามสกุลต่อมา ว่า "ภู่เรือหงส์" ห้องสมุดประชาชนจังหวัดระนอง

ที่มาของวันสุนทรภู่ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ซึ่งเป็นผู้ที่มีหน้าที่ ส่งเสริมและเผยแพร่ผลงานด้านวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั่วโลก ด้วยการประกาศยก ย่องเชิดชูเกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมระดับโลก ในวาระครบรอบ 100 ปีขึ้นไปเป็น ประจาทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณและผลงานของผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน วัฒนธรรมระดับโลกให้ปรากฏแก่มวลสมาชิกทั่วโลก และเพื่อเชิญชวนให้ประเทศสมาชิกมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองร่วมกับประเทศที่มีผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ในการนี้ รัฐบาลไทยโดยคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นผู้สืบค้นบรรพบุรุษไทยผู้มีผลงานดีเด่น ทางวัฒนธรรม เพื่อให้ยูเนสโกประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ และได้ประกาศยกย่อง "สุนทรภู่" ให้เป็น บุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมระดับโลก โดยในวาระครบรอบ 200 ปีเกิด เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2529 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ได้ดาเนินการจัดตั้งสถาบันสุนทรภู่ขึ้น เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับชีวิตและงานของสุนทร ภู่ ให้แพร่หลายในหมู่เยาวชนและประชาชนชาวไทยมากยิ่งขึน้ ดังนั้น ทางรัฐบาลจึงได้กาหนดให้ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปีเป็น "วันสุนทรภู่" ซึ่งนับแต่นั้น เมื่อถึงวันสุนทรภู่ จะมีการจัดงานราลึก ถึงสุนทรภู่ตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น ที่พิพิธภัณฑ์สุนทรภู่ "วัดเทพธิดาราม" และที่จังหวัดระยอง และ มีการจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติคุณและส่งเสริมศิลปะการประพันธ์บทกวีจากองค์กรต่าง ๆ โดยทั่วไป ทั้งนี้ ผลงานของสุนทรภู่ยังเป็นที่นิยมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่องตลอดมาไม่ขาดสาย และมี การนาไปดัดแปลงเป็นสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือการ์ตูน ภาพยนตร์ เพลง รวมถึงละคร มีการก่อสร้าง อนุสาวรีย์สุนทรภู่ ไว้ที่ตาบลบ้านกร่า อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของบิดาของ สุนทรภู่ และเป็นกาเนิดผลงานนิราศเรื่องแรกของท่านคือ นิราศเมืองแกลง

ผลงานของสุนทรภู่ ประเภทนิราศ

หนังสือบทกลอนของสุนทรภู่มีอยู่มาก เท่าที่ปรากฏเรื่องที่ยังมีฉบับอยู่ในปัจจุบันนี้ คือ

- นิราศเมืองแกลง (พ.ศ. 2349) - แต่งเมื่อหลังพ้นโทษจากคุก และเดินทางไปหาพ่อที่เมืองแกลง

- นิราศพระบาท (พ.ศ. 2350) - แต่งหลังจากกลับจากเมืองแกลง และต้องตามเสด็จ พระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการรอยพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรีในวันมาฆบูชา - นิราศภูเขาทอง (ประมาณ พ.ศ. 2371) - แต่งโดยสมมุติว่า เณรหนูพัด เป็นผู้แต่งไป นมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองที่จังหวัดอยุธยา - นิราศสุพรรณ (ประมาณ พ.ศ. 2374) - แต่งเมื่อครั้งยังบวชอยู่ และไปค้นหายา อายุวัฒนะที่จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผลงานเรื่องเดียวของสุนทรภู่ที่แต่งเป็นโคลง - นิราศวัดเจ้าฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2375) - แต่งเมื่อครั้งยังบวชอยู่ และไปค้นหายา อายุวัฒนะตามลายแทงที่วัดเจ้าฟ้าอากาศ (ไม่ปรากฏว่าที่จริงคือวัดใด) ที่จังหวัดอยุธยา - นิราศอิเหนา (ไม่ปรากฏ, คาดว่าเป็นสมัยรัชกาลที่ 3) แต่งเป็นเนื้อเรื่องอิเหนาราพันถึง นางบุษบา

- ราพันพิลาป (พ.ศ. 2385) - แต่งเมื่อครั้งจาพรรษาอยู่ที่วัดเทพธิดาราม แล้วเกิดฝันร้ายว่าชะตา ขาด จึงบันทึกความฝันพร้อมราพันความอาภัพของตัวไว้เป็น "ราพันพิลาป" จากนั้นจึงลาสิกขา

- นิราศพระประธม (พ.ศ. 2385) ฀ เชื่อว่าแต่งเมื่อหลังจากลาสิกขาและเข้ารับราชการใน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ไปนมัสการพระประธมเจดีย์ (หรือพระปฐมเจดีย์) ที่เมือง นครชัยศรี - นิราศเมืองเพชร (พ.ศ. 2388) - แต่งเมื่อเข้ารับราชการในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หัว เชื่อว่าไปธุระราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง นิราศเรื่องนี้มีฉบับค้นพบเนื้อหาเพิ่มเติมซึ่ง อ.ล้อม เพ็งแก้ว เชื่อว่า บรรพบุรุษฝ่ายมารดาของสุนทรภู่เป็นชาวเมืองเพชร

ผลงานของสุนทรภู่ ประเภทนิทาน

เรื่องโคบุตร : เชื่อว่าเป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของสุนทรภู่ เรื่องพระอภัยมณี, เรื่องพระไชยสุริยา, เรื่องลักษณวงศ์, เรื่องสิงหไกรภพ

ประเภทสุภาษิต

- สวัสดิรักษา คำดว่ำประพันธ์ในสมัยรัชกำลที 2 ขณะเป็นพระอำจำรย์ ถวำยอักษรแด่เจ้ำฟ้ำอำภรณ์ - สุภาษิตสอนหญิง เป็นหนึงในผลงำนซึงยังเป็นทีเคลือบแคลงว่ำ สุนทรภู่ เป็นผู้ประพันธ์จริงหรือไม่ - เพลงยาวถวายโอวาท คำดว่ำประพันธ์ในสมัยรัชกำลที 3 ขณะเป็นพระ อำจำรย์ถวำยอักษรแด่เจ้ำฟ้ำกลำงและเจ้ำฟ้ำปิ๋ว

ผลงานของสุนทรภู่ ประเภทบทละคร - เรื่องอภัยณุรา ซึงเขียนขึ้นในสมัยรัชกำลที 4 เพือถวำยพระองค์เจ้ำดวง ประภำ พระธิดำในพระบำทสมเด็จพระปิ่นเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

ประเภทบทเสภา - เรื่องขุนช้างขุนแผน (ตอนกาเนิดพลายงาม) - เรื่องพระราชพงศาวดาร

ประเภทบทเห่กล่อม

แต่งขึ้นส่ำหรับใช้ขับกล่อมหม่อมเจ้ำในพระองค์เจ้ำลักขณำนุคุณ กับพระ เจ้ำลูกยำเธอในพระบำทสมเด็จพระปิ่นเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เท่ำทีพบมี 4 เรืองคือ เห่จับ ระบ่ำ, เห่เรืองพระอภัยมณี, เห่เรืองโคบุตร และเห่เรืองกำกี

ห้องสมุดประชาชนจังหวัดระนอง

Data Loading...