รายงานโครงการ 2565 ฉบับสมบูรณ์ - PDF Flipbook

รายงานโครงการ 2565 ฉบับสมบูรณ์

155 Views
20 Downloads
PDF 4,998,992 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


รำยงำนผลกำรดำเนินงำนโครงกำรส่งเสริม สนับสนุน แนวทำงกำรพัฒนำกำรดำเนินกำรทำงวินัย กำรอุทธรณ์และกำรร้องทุกข์ ของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงำนศึกษำธิกำรภำค 3 ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

เอกสารลาดับที่ 5 / 2565 กลุ่มบริหารงานบุคคล สานักงานศึกษาธิการภาค 3 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ข้อ 5 ให้มี การจัดตั้งสำนักงานศึกษาธิการภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวง ในระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอำนวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และ พัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่นหรือ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นั้นๆ โดยการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของกลุ่มบริหารงานบุคคลที่ได้รับ มอบหมาย ตามประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสำนักงาน ศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 1 ๒ มิถุนายน 2560 ในข้อ ๒.๓ (3) ระบุให้ ดำเนินการกำกับ ดูแ ลเร่ งรั ด ติ ด ตามและประเมิน ผลเกี่ยวกับ การดำเนิ น การทางวินั ย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการและบุคลากร ทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ และ ในข้อ (4) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการเสริมสร้างและการปกป้อง คุม้ ครองระบบคุณธรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ สำนักงานศึกษาธิ การภาค 3 ได้ออกติดตามและประเมิ น ผลการดำเนินงานด้า นการบริ ห าร งานบุคคล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้พบปัญหาใน การดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ยังขาดความรู้ด้านกฎหมายที่ เกี่ยวข้องรวมถึง การดำเนินการจัดทำระเบียบวาระการประชุม รูปแบบในการนำเสนอต่อคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดยัง ไม่เป็นมาตรฐาน สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้ตระหนักถึงความจำเป็น ที่จะต้องสร้างบรรทัดฐานใน การปฏิบัติร าชการ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี โดยยึดระบบคุณธรรม ยุติธรรม ความเสมอภาคระหว่างบุคคล จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทาง วินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น หวังเป็น อย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนิน งานโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการพัฒนา การดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ จะสามารถเป็ น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบและผู้สนใจต่อไป

กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ พฤษภาคม 2565



สารบัญ เรื่อง

หน้า

ความเป็นมาและความสำคัญ ๑ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๔ ส่งเสริม สนับสนุน 4 แนวทางการพัฒนา 4 วินัยข้าราชการ 5 การอุทธรณ์ 7 การร้องทุกข์ 7 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 7 คำสั่งทางปกครอง 8 เจ้าหน้าที่ 8 คู่กรณี 8 การดำเนินการ 9 ผลการวิเคราะห์ 10 สรุปและข้อเสนอแนะ 18 บรรณานุกรม ๑9 ภาคผนวก ภาคผนวก ก 1. ประมวลภาพการลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่น LINE ของผู้เข้ารับการ 21 อบรมแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพืน้ ที่รับผิดชอบ ของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 2. ประมวลภาพการอบรมแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting 26 โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ภาคผนวก ข โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนา การดำเนินการทางวินัย ๓4 การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ภาคผนวก ค แบบทดสอบ และแบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจ 41



บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ข้อ 5 ให้มี การจัดตั้งสำนักงานศึกษาธิการภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวง ในระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอำนวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และ พัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่นหรือ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นั้นๆ โดยการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของกลุ่มบริหารงานบุคคลที่ได้รับ มอบหมาย ตามประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสำนักงาน ศึกษาธิการภาคและสำนัก งานศึก ษาธิ การจัง หวัด สังกัดสำนักงานปลัด กระทรวงศึก ษาธิ การ ลงวัน ที่ 1๒ มิถุนายน 2560 ในข้อ ๒.๓ (3) ระบุให้ ดำเนินการกำกับดูแลเร่ งรัด ติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับ การดำเนิ น การทางวินั ย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการและบุคลากร ทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ และในข้อ (4) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการเสริมสร้างและการปกป้อง คุ้มครองระบบคุณธรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้ออกติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหารงาน บุคคล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้พบปัญหาในการ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ยังขาดความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวมถึง การดำเนินการจัดทำระเบียบวาระการประชุม รูปแบบในการนำเสนอต่อคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ยังไม่เป็นมาตรฐาน สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้างบรรทัดฐานในการ ปฏิบัติราชการ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยยึดระบบคุณธรรม ยุติธรรม ความเสมอภาค ระหว่ า งบุ ค คล จึ ง ได้ จ ั ด ทำโครงการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น แนวทางการพั ฒ นาการดำเนิ น การทางวิ นั ย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผ ู้เข้ ารับ การอบรมได้ ร ับ ความรู ้ความเข้า ใจแนวปฏิบ ัติ ก ารดำเนิน การทางวิ นั ย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในทิศทางเดียวกัน 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการบริหารงานบุคคล ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ เ ข้ า รั บ การอบรมได้ แ ลกเปลี ่ ย นความรู ้ ประสบการณ์ ปั ญ หาอุ ป สรรค และ ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ 4 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทางในการดำเนินการทาง วินัย การอุทธรณ์และการร้องทุ กข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3

๒ ขอบเขต

ครอบคลุมการกำหนดโครงการส่งเสริ ม สนับ สนุน แนวทางการพัฒ นาการดำเนินการทางวิ นั ย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย ๑. สำนั ก งานศึ ก ษาธิก ารจั ง หวั ด กาญจนบุ รี สำนั ก งานศึ ก ษาธิ ก ารจั งหวั ด ราชบุ ร ี สำนั ก งาน ศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี ๒. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ราชบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี ๓. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ - ๔ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ - ๒ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑ - ๓

เป้าหมาย

๑. เชิงปริมาณ 1. บุคลากรของหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 จำนวน 74 คน 2. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 1 ฉบับ 2. เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจแนวปฏิบัติการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทาง ในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพิ่ มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 3 มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย

บุคลากรของหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 จำนวน 74 คน 1 วัน ประกอบด้วย ๑. ศึกษาธิการจังหวัดหรือผู้แทน จำนวน 3 คน ๒. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในพื้นที่หรือผู้แทน จำนวน 12 คน ๓. ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคลสำนักงานศึกษาธิการภาค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่หรือผู้แทน จำนวน 15 คน 4. นิติกรหรือผู้ปฏิบัติงานนิติกร หรือผู้แทน จำนวน 16 คน 5. บุคลากรในสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ จำนวน 28 คน

คำจำกัดความ

1. หัวหน้าส่วนราชการ หมายถึง ศึกษาธิการภาค ๓

๓ 2. ข้าราชการและลู กจ้ างของสำนั กงานศึ กษาธิ การภาค ๓ หมายถึง ผู้มีห น้าที่ป ฏิบ ัติ ง านใน สำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ 3. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี ๔. สำนักงานเขตพื้น ที่การศึกษามัธ ยมศึกษาในพื้น ที่ร ับผิดชอบ หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี ๕. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้น ที่รับผิดชอบ หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ - ๔ ,สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ - ๒ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑ - ๓ ๖. บุคลากรในพื้นที่ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 หมายถึง ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค ๓, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี , สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด สุพรรณบุรี, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ - ๔, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ - ๒, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑ - ๓

งบประมาณ

งบประมาณของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 28,000 บาท ( สองหมื่นแปดพันบาทถ้วน )

ผู้รับผิดชอบ

1) ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล 2) บุคลากรในกลุ่มบริหารงานบุคคล



บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการ ร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ๑. ส่งเสริม สนับสนุน ๒. แนวทางการพัฒนา ๓. วินัยข้าราชการ ๔. การอุทธรณ์ ๕. การร้องทุกข์ 6. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 7. คำสั่งทางปกครอง 8. เจ้าหน้าที่ 9. คู่กรณี

๑. ส่งเสริม สนับสนุน

ส่งเสริม หมายถึง ก. เกื้อหนุน, ช่วยเหลือสนับสนุนให้ดีขึ้น สนับสนุน หมายถึง ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ

2. แนวทางการพัฒนา

แนวทาง หมายถึง น. ทางปฏิบัติที่วางไว้เป็นแนว การพัฒนา คือ การทำให้เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นเจริญขึ้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของ “ พัฒนา ”ว่าคือ “ทำให้ เจริญ ” ดังนั้น การพัฒนาจึงหมายถึง การทำให้เจริญ “การพัฒนา ”หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าโดยทั่วๆ ไป เช่น การพัฒนาชุมชน พัฒนาประเทศ คือ การทำสิ่งเหล่านั้นให้ดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ให้ได้ดียิ่งขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า “การพัฒนา” เป็นกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพที่ไม่น่าพอใจไปสู่สภาพที่น่าพอใจ การพัฒนาเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่หยุดนิ่ง การพัฒนามีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ความเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือ การทำให้ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้า มาแทนที่นั้น จะดีกว่าลักษณะเก่า แต่โดยธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเองเพียงแต่ว่าจะมีปัญหามากหรือปัญหาน้อย ถ้าหากตีความหมายการพัฒนาจะสามารถตีความหมายได้ ๒ นัย คือ ๑. “การพัฒนา ” ในความเข้าใจแบบสมัยใหม่ หมายถึง การทำให้เจริญในด้านวัตถุ รูปแบบ และในเชิงปริมาณ เช่น ถนนหนทาง ตึกรามบ้านช่อง ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ เป็นต้น

๕ ๒. “การพัฒนา” ในแง่ของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ โดยเน้นในด้านคุณภาพชีวิต และหลักของความถูกต้อง พอดี ซึ่งให้ผลประโยชน์สูงสุด ความกลมกลืนและ ความเกื้อกูลแก่สรรพชีวิต โดยไม่เบียดเบียน ทำลายธรรมชาติและสภาพแวดล้อม

๓. วินัยข้าราชการ วินัย [วินะยะ] น.ระเบียบแบบแผน และข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ [n] discipline [syn] กฎเกณฑ์ ระเบียบ หลักเกณฑ์ คำว่า “วินัย”ตรงกับภาษาอังกฤษว่า D i s c i p l i n e มีความหมายตามแต่จะมองในแง่ใด ซึ่งแตกต่างกันตามความเห็นของคนที่มอง มองในแง่ถ้อยคำ “ วิ ” แปลว่า “ ดี ” หรือ “ต่าง ” “ นัย ” แปลว่า “ทาง”(คำนาม) “นำไป” (คำกริยา) “ วินัย ”แปลว่า “เครื่องนำไปในทางที่ดี” ผู้มีวินัยจะเป็นคนดี “ วินัย ”แปลว่า “เครื่องนำให้มีความแตกต่าง” ผู้มีวินัยจะแตกต่างกับผู้ไม่มีวินัย เช่น กลุ่มคนถืออาวุธซึ่งมีวินัย อาจเป็นกองทหาร ส่วนกลุ่มคนถืออาวุธที่ไม่มีวินัย อาจเป็นกองโจร การมอง “วินัย” ในแง่ถ้อยคำเช่นนี้จะทำให้มองเห็นความสำคัญของวินัย คือ การมีวินัยทำให้เป็น คนดี คนไม่มีวินัยเป็นคนไม่ดี มองในแง่รูปลักษณ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของคำว่า “วินัย”ไว้ ๒ ลักษณะ คือ (๑) ข้อปฏิบัติ (๒) การอยู่ในแบบแผน การมอง “วินัย” ในแง่รูปลักษณ์เช่นนี้จะทำให้มองเห็นวิธีสร้างวินัยว่ามี ๒ ลักษณะ คือ สร้างปทัสถาน (norm) ลักษณะหนึ่ง และสร้างพฤติกรรม (behavior) อีกลักษณะหนึ่ง มองในแง่บทบาท พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์ อดีตอธิบดีกรมการศาสนาเขียนไว้ในหนังสือ “มงคลชีวิต” ว่า “วินัย”เป็น “แบบของคน” ที่ปั้นหลอมคนให้เป็นคนดี การมอง “วินัย” ในแง่บทบาทเช่นนี้จะทำให้มองเห็นว่า วินัยของคนต่างหมู่เหล่าอาจไม่เหมือนกัน อาจแตกต่างกันตามบทบาทของแต่ละหมู่เหล่า มองในแง่ลักษณะ Leon C. Megginson เขียนไว้ในหนังสือ “Personnel and Human Resources A d m i n i s t r a t i o n” ว่า คำว่า “d i s c i p l i n e” มีความหมายที่มองได้หลายลักษณะคือ ๑. ในลักษณะที่เป็น “การควบคุมตนเอง”(self-control) การมองในลักษณะนี้มุ่งไปที่การพัฒนา ตนเองเพื ่ อ ปรั บ ตั ว ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความจำเป็ น และความต้ อ งการ ซึ ่ ง อาจเรี ย กว่ า “อั ต วิ น ั ย ” (self- discipline) นี่เป็นลักษณะของการรักษาวินัยด้วยตนเอง

๖ ๒. ในลักษณะที่เป็น “เงื่อนไขที่ทำให้มีพฤติกรรมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย ”(condition for orderly behavior) การมองในลั กษณะนี ้ม ุ่ ง ไปในทางการควบคุ ม คนในองค์ก รให้ ม ีค วามเป็ นระเบี ย บ ในพฤติกรรมโดยใช้วิธีสร้างเงื่อนไขชักนำต่าง ๆ เช่น สร้างขวัญและความสามัคคี เป็นต้น ซึ่งเป็นลักษณะ ของการเสริมสร้างและพัฒนาให้มีวินัย ๓. ในลักษณะที่เป็น “กระบวนการทางนิติธรรม” (Judicial due process) การมองในแง่นี้มุ่งไป ที่กระบวนการตามกำหนดกฎเกณฑ์ในการพิจารณาความผิดทางวินัย ซึ่งจะมีการออกกฎ หรือระเบียบ กำหนดการ อันพึงปฏิบัติและห้ามมิให้ปฏิบัติ กำหนดโทษของการฝ่าฝืนและการกำหนดการเพื่อการลงโทษนี้ เป็นลักษณะของการควบคุมคนให้มีวินัย มองในแง่การใช้บังคับ เมื่อจะนำวินัยมาใช้บังคับกับคน จะมีคำพูดอยู่ ๒ คำ คือ ๑. ผิดวินัย – ไม่ผิดวินัย ๒. มีวินัย - ไม่มีวินัย ถ้าพูดว่า “ผิดวินัย” หรือ “ไม่ผิดวินัย” คำว่า “วินัย” จะหมายถึง “ข้อปฏิบัติที่วางไว้เป็น ปทัสถานแห่งความประพฤติ” คือ ผิดข้อปฏิบัติ หรือ ไม่ผิดข้อปฏิบัติ ถ้าพูดว่า “มีวินัย” หรือ “ไม่มีวินัย” คำว่า “วินัย” จะหมายถึง ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่คน ปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติที่วางไว้เป็นปทัสถาน คือ ปฏิบัติตามปทัสถานหรือไม่ปฏิบัติตาม ปทัสถานการมองวินัยในแง่นี้เป็นการมองในกระบวนการควบคุมคนให้มีวินัย สรุป จากความหมายของ “วินัย” ที่มองในแง่ต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งมองในภาพแยก พอจะ สรุปให้มองในภาพรวมได้ว่า “วินัย” คือ ปทัสถาน หรือ มาตรฐานทางพฤติกรรมของคนในการประกอบ กิจกรรมแต่ละอย่าง ซึ่งอาจกำหนดไว้เป็นรูปธรรม เช่น วินัยทางสงฆ์ วินัยทหาร วินัยข้าราชการพลเรือน หรือ อาจเพียงเป็น ที่มุ่งหวังว่าต้องอยู่ในกรอบอย่างไร ดังเช่น วินัยนักเรียนที่จะต้องอยู่ในกรอบของ ผู ้ ป ระกอบการทางการศึก ษา หรื อ วิ น ั ย ทางการเงิน และการคลัง ของรัฐ บาลที ่จ ะต้อ งอยู ่ใ นกรอบของ ผู้ประกอบการทางเศรษฐกิจ วินัย คือ ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็น - การควบคุมตนเองได้ - ปฏิบัติตามการนำ - อยู่ในระเบียบแบบแผน - มีความเป็นระเบียบ จุดมุ่งหมายและขอบเขตวินัย (๑) เพื่อให้งานดำเนินไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ (๒) เพื่อความเจริญ ความสงบเรียบร้อยประเทศชาติ (๓) เพื่อความผาสุกของประชาชน (๔) เพื่อสร้างภาพพจน์ ชื่อเสียงที่ดีของทางราชการ ในทางการบริหารนั้น “วินัย” มีความหมายในหลายลักษณะ เช่น ลักษณะที่เป็นการควบคุม ตนเอง ( Self- Control ) โดยมุ่งพิจารณาวินัยในแง่การพิจารณาตนเอง เพื่อปรับตัวให้สอดคล้องกับความ จำเป็นและความต้องการ ซึ่งเรียกว่า อัตวินัย ( Self-Discipline )

๗ ข้าราชการ หมายถึง บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ วินัยข้าราชการ หมายถึง กฎ ระเบียบต่างๆ ที่วางหลักขึ้นมาเป็นกรอบควบคุมให้ข้าราชการปฏิบัติ หน้าที่และกำหนดแบบแผนความประพฤติของข้าราชการ เพื่อให้ข้าราชการประพฤติปฏิบัติหน้าที่ราชการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยกำหนดให้ข้าราชการวางตัวให้เหมาะสมเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ข้าราชการ เพื่อส่งผลอันสูงสุดให้ข้าราชการจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น อันเป็นกลไก สำคัญที่จะก่อให้เกิดความเจริญของประเทศชาติบ้านเมืองต่อไป วินัยข้าราชการอาจแยกพิจารณาได้เป็น ๒ ความหมาย คือ (๑) หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนความประพฤติที่ทางราชการกำหนดให้ข้าราชการ ยึดถือปฏิบัติ (๒) หมายถึง ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ข้าราชการแสดงออกมาในทางที่ถูกที่ควรเป็นการควบคุม ตนเองให้แสดงพฤติกรรมที่ถูกระเบียบ หลักเกณฑ์ หรือแบบแผนที่ทางราชการกำหนดไว้

๔. การอุทธรณ์ การอุทธรณ์ หมายถึง การที่ผู้ถูกลงโทษทางวินัยร้องขอให้ผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดไว้ ยกเรื่องขึ้นพิจารณาใหม่ให้เป็นไปในทางที่เป็นคุณแก่ผู้ถูกลงโทษ วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อำนาจของผู้บังคับบัญชาโดยเปิดโอกาสให้ผู้ถูกลงโทษ ทางวินัยได้ร้องขอความยุติธรรมจากการใช้อำนาจดังกล่าว

๕. การร้องทุกข์ การร้องทุกข์ หมายถึง การร้องขอให้แก้ไขปัญหาที่เห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจ เนื่องจากการกระทำของผู้บังคับบัญชาในเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลที่ไม่ใช่การโต้แย้งคำสั่งลงโทษทางวินัย หรือการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อำนาจของผู้บังคับบัญชาให้เป็นไปโดยถูกต้อง ๒. เพื่อให้การบริหารราชการเกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและ กำลังใจแก่ข้าราชการ อันจะนำไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการและก่อให้เ กิด ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ๓. เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาได้ทราบปัญหาของหน่วยงานและหาทางแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที

6. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ หมายความว่า การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มี คำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้

๘ 7. คำสั่งทางปกครอง “คำสั่งทางปกครอง” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ หมายความว่า (๑) การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่ จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการ ถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ (๒) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

8. เจ้าหน้าที่ “เจ้ า หน้ า ที ่ ” ตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ว ิ ธ ี ป ฏิ บ ั ต ิ ร าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำนาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำนาจ ทางปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบ ราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม

9. คู่กรณี “คู ่ ก รณี ” ตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ว ิ ธ ี ป ฏิ บ ั ต ิ ร าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ หมายความว่า ผู้ยื่นคำขอหรือผู้คัดค้านคำขอ ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคำสั่ง ทางปกครอง และผู ้ ซ ึ ่ ง ได้ เ ข้ า มาในกระบวนการพิ จ ารณาทางปกครองเนื ่ อ งจากสิ ท ธิ ข องผู ้ น ั ้ น จะถู ก กระทบกระเทือนจากผลของคำสั่งทางปกครอง



บทที่ 3 การดำเนินการ ในการจัดทำโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้

1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ และข้าราชการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด , สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และ สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ๓ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี

2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

1. แบบทดสอบก่อน - หลัง 2. แบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจ

3. การเก็บรวมรวมข้อมูล

1. การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบทดสอบก่อนและหลังของผู้เข้ารับการอบรมโครงการ ส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 2. การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจของ ผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

4. การจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 1.ข้อมูลจากแบบทดสอบก่อนและหลังของผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 2. ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมโครงการ ส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

๑๐

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ในการดำเนินโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการ ภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่เป็นแบบทดสอบจากผู้เข้ารับการ อบรมจำนวน 74 คน ได้รับแบบทดสอบคืน จำนวน 62 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 84 โดยจะนำเสนอ ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 ผลการทดสอบความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไป เพศ

ชาย หญิง

ข้อมูลทั่วไป

จำนวน 17 45 62

รวม

ร้อยละ 27.40 72.60 100.00

จากตารางที่ ๑ พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ผู้ตอบแบบทดสอบ มีจำนวนทั้งสิ้น 62 คน เป็นหญิง คิดเป็นร้อยละ 72.60 และชาย คิดเป็นร้อยละ 27.40

ตอนที่ ๒ ผลการทดสอบความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม

ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุน แนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 รายการ คะแนนผลการทดสอบสูงขึ้น คะแนนผลการทดสอบต่ำลง

จำนวน(คน) 68 0

ร้อยละ 100 0

จากตารางที่ ๒ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพั ฒ นา การ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 มีความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 100

๑๑ ตารางที่ ๓ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย โดยใช้ t-test ระหว่างผลการสอบก่อนและหลังผล การทดสอบจากโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการ ภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ̅ 𝐗

ผลการทดสอบ ก่อนการอบรม หลังการอบรม

14.22 22.35

S.D.

t

Sig.(2-tailed

4.288 13.417 2.848

0.001

จากตารางที่ 3 พบว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยใช้ t-test ระหว่างผลการสอบก่อนและหลังผล การทดสอบจากโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการ ร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 พบว่า ผลการทดสอบหลังการอบรมมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมี นัยสำคัญที่ระดับ 0.001 ในการดำเนินโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ดำเนินการจัดเก็บโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจ เก็บข้อมูลจากผู้เข้ารับการอบรม จำนวน ๗๔ คน ได้ร ับแบบสอบถามคืนมา ๖2 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ ๘4 โดยจะนำเสนอ ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 ความพึงพอใจการให้บริการด้านต่าง ๆ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อกิจกรรม ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไป เพศ

อายุ

ชาย หญิง 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี มากกว่า 50 ปี

ข้อมูลทั่วไป

ข้อมูลทั่วไป

รวม

รวม

จำนวน ร้อยละ 17 27.40 45 72.60 62 100.00 จำนวน ร้อยละ 3 4.8๐ 16 25.80 1๔ 22.60 ๒9 46.80 62 100.00

๑๒

ข้อมูลทั่วไป

จำนวน ระดับการศึกษา ปริญญาตรี 23 สูงกว่าปริญญาตรี 39 รวม 62 ตำแหน่ง ผู้บริหาร 8 ผู้อำนวยการกลุ่มฯ 15 นิติกรหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่นิติกร 11 นักวิชาการศึกษา 19 นักทรัพยากรบุคคล 3 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 2 อื่นๆ 4 รวม 62 สังกัด สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 28 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี 4 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี 3 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๓ 3 รวม 62

ร้อยละ 37.10 62.90 100.00 12.90 24.20 17.70 30.60 4.80 3.20 6.50 100.00 45.20 6.50 4.80 4.80 3.20 3.20 3.20 1.60 1.60 4.80 3.20 3.20 3.20 1.60 4.80 4.80 100.00

จากตารางที่ 1 พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ผู้ตอบแบบสอบถาม มีจำนวนทั้งสิ้น 62 คน เป็นหญิง คิดเป็ นร้อยละ 72.60 และชาย คิดเป็นร้อยละ 27.40 มีอายุมากกว่า 50 ปี คิดร้อยละ 46.80 อายุ 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.60 อายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อย 25.80

๑๓ และอายุ 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 4.80 มีระดับการศึกษาสู งกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 62.90 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 37.10 มีตำแหน่งผู้บริหาร คิดเป็นร้อยละ 12.90 ผู้อำนวยการกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 24.20 ตำแหน่งนิติกรหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่นิติกร คิดเป็นร้อยละ 17.70 ตำแหน่งนักวิชาการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 30.60 ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล คิดเป็นร้อยละ 4.80 ตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี คิดเป็นร้อยละ 3.20 และตำแหน่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 6.50 สังกัด สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 คิดเป็น ร้อยละ 45.20 สังกัด สำนักงานศึกษาธิการจั งหวัดกาญจนบุรี คิดเป็นร้อยละ 6.50 สังกัด สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี คิดเป็นร้อยละ 4.80 สังกัด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 4.80 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ คิดเป็น ร้อยละ 1.60 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 คิดเป็นร้อยละ 1.60 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 คิดเป็นร้อยละ 4.80 สังกัด สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ คิดเป็นร้อยละ 3.20 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 คิดเป็นร้อยละ 1.60 สังกัด สำนักงานเขตพื้น ที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุร ี เขต ๒ คิดเป็นร้อยละ 4.80 และสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 คิดเป็นร้อยละ 4.80 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจการให้บริการด้านต่าง ๆ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการให้บริการ รายการการให้บริการ 1. ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ 2. ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 4. ด้านคุณภาพการให้บริการ รวม

̅ 𝐗

4.70 4.81 4.41 4.77 4.65

S.D. 0.41 0.37 0.70 0.38 0.46

ระดับความพึง พอใจ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

จากตารางที ่ 2 ความพึ ง พอใจของผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรมโครงการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น แนวทาง การพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 การให้บริการด้านต่าง ๆ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.65, S.D.=0.46) คิดเป็นร้อยละ 93 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เข้ารับ การอบรมพึงพอใจเรียงตามลำดับได้ดังนี้ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.70, S.D.=0.41) ด้ า นเจ้ า หน้ า ที ่ ผ ู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร อยู ่ ใ นระดั บ มากที ่ ส ุ ด (X=4.81, S.D.=0.37) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.41, S.D.=0.70) และด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.77, S.D.=0.38)

๑๔

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ระดับความพึง ̅ รายการการให้บริการ S.D. 𝐗 พอใจ 1. ขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการไม่ยุ่งยากซับซ้อน 4.79 0.48 มากที่สุด 2. การติดต่อประสานงานมีการอธิบายชี้แจงชัดเจน 4.77 0.46 มากที่สุด 3. ประชาสัมพันธ์ข่าวสารเพื่อการเตรียมตัวเข้าร่วมกิจกรรม 4.76 0.43 มากที่สุด 4. มีการจัดกิจกรรมด้วยความครบถ้วนถูกต้อง 4.68 0.47 มากที่สุด 5. ระยะเวลามีความเหมาะสม ตรงต่อความต้องการ 4.52 0.74 มากที่สุด รวม 4.70 0.51 มากที่สุด จากตารางที่ 3 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การอบรมโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ด้านกระบวนการ/ ขั้นตอนการให้บริการ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.70, S.D.=0.51) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจ เรียงตามลำดับได้ดังนี้ ขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการไม่ยุ่งยากซับซ้อน อยู่ในระดับ มากที่สุด (X=4.79, S.D.=0.48) การติดต่อประสานงานมีการอธิบายชี้แจงชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.77, S.D.=0.46) ประชาสัมพันธ์ข่าวสารเพื่อการเตรียมตัวเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.76, S.D.=0.43) มีการจัดกิจกรรมด้วยความครบถ้วนถูกต้อง อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.68, S.D.=0.47) และระยะเวลามีความเหมาะสม ตรงต่อความต้องการ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.52, S.D.=0.74) ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ระดับความ ̅ รายการการให้บริการ S.D. 𝐗 พึงพอใจ 1. มีการสื่อสารหลายช่องทาง เช่น โทรทัศน์ หนังสือราชการ 4.81 0.39 มากที่สุด ผ่าน line Application อีเมล์ เป็นต้น 2. ให้บริการด้วยความเต็มใจ เอาใจใส่ กระตือรือร้น และ 4.81 0.47 มากที่สุด รวดเร็ว 3. ให้บริการด้วยกิริยามารยาทสุภาพ เรียบร้อย 4.82 0.38 มากที่สุด 4. ให้บริการโดยไม่เลือกปฏิบัติ 4.84 0.37 มากที่สุด 5. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรู้ ทักษะในการตอบคำถาม 4.77 0.42 มากที่สุด ชี้แจงข้อสงสัย ให้คำแนะนำ ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง รวดเร็ว รวม 4.76 0.40 มากที่สุด

๑๕ จากตารางที่ 4 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การอบรมโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.76, S.D.=0.40) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจ เรียงตามลำดับได้ดังนี้ มีการสื่อสารหลายช่องทาง เช่น โทรทัศน์ หนังสือราชการผ่าน line Application อี เ มล์ เป็ น ต้ น อยู ่ ใ นระดั บ มากที ่ ส ุ ด ( X=4.81, S.D.=0.39) ให้ บ ริ ก ารด้ ว ยความเต็ ม ใจ เอาใจใส่ กระตือรือร้น และรวดเร็ว อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.81, S.D.=0.47) ให้บริการด้วยกิริยามารยาทสุภาพ เรียบร้อย อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.82, S.D.=0.38) ให้บริการโดยไม่เลือกปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.84, S.D.=0.37) และเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรู้ ทักษะในการตอบคำถาม ชี้แจงข้อสงสัย ให้ คำแนะนำ ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.77, S.D.=0.42) ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการให้บริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก รายการการให้บริการ 1. ห้องประชุม/สถานที่ให้บริการ มีความสะอาด เป็นระเบียบ มีความเหมาะสม 2. มีโสตทัศนูปกรณ์ที่เหมาะสม 3. มีความชัดเจนของป้ายบอกทางและสถานที่ให้บริการ 4. สถานที่จัดกิจกรรม มีความสะดวกต่อการเข้าร่วมกิจกรรม 5. อาหาร เครื่องดื่ม มีคุณภาพและบริการเหมาะสมเพียงพอ รวม

̅ 𝐗

S.D.

4.47

0.78

ระดับความ พึงพอใจ มากที่สุด

4.56 4.39 4.48 4.15 4.41

0.59 0.83 0.67 1.19 0.81

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก มากที่สุด

จากตารางที่ 5 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การอบรมโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก พบว่ า อยู ่ ในระดั บมาก (X=4.41, S.D.=0.81) เมื ่ อพิ จารณารายด้ าน พบว่ า ผู ้ เข้ า รั บการอบรมพึ งพอใจ เรียงตามลำดับได้ดังนี้ ห้องประชุม/สถานที่ให้บริการ มีความสะอาด เป็นระเบียบ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่ส ุด (X=4.47, S.D.=0.78) มีโสตทัศนูปกรณ์ที่เหมาะสม อยู่ในระดับมากที่ส ุด ( X=4.56, S.D.=0.59) มีความชัดเจนของป้ายบอกทางและสถานที่ ให้บริการ อยู่ในระดับ มาก (X=4.39, S.D.=0.83) สถานที่ จัดกิจกรรมมีความสะดวกต่อการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X=4.48, S.D.=0.67) และอาหาร เครื่องดื่มมีคุณภาพและบริการเหมาะสมเพียงพออยู่ในระดับมาก (X=4.15, S.D.=1.19)

๑๖ ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการให้บริการ ด้านคุณภาพการให้บริการ รายการการให้บริการ 1. ดำเนินการกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ 2. โดยรวมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3. ได้รับบริการที่ตรงตามความต้องการ 4. มีความชัดเจนในการให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ รวม

̅ 𝐗

S.D.

4.74 4.84 4.73 4.77 4.77

0.44 0.37 0.45 0.42 0.42

ระดับความ พึงพอใจ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

จากตารางที่ 6 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การอบรมโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ด้านคุณภาพการให้บริการ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.77, S.D.=0.42) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจ เรียงตามลำดับได้ดังนี้ ดำเนินการกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.74, S.D.=0.44) โดยรวมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.84, S.D.=0.37) ได้รับบริการที่ตรงตาม ความต้องการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X=4.73, S.D.=0.45) และมีความชัดเจนในการให้คำแนะนำที่เป็น ประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.77, S.D.=0.42) ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อกิจกรรม

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อกิจกรรม รายการการประเมิน 1. ความเหมาะสมของหลักสูตรที่ใช้ในการอบรม 2. ท่านมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ได้รับการอบรมมากขึ้น 3. ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 4. ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่บุคลากรคนอื่น ๆ ภายในหน่วยงาน 5. ความพึงพอใจโดยภาพรวมต่อโครงการ รวม

̅ 𝐗

S.D.

4.81 4.74 4.69

0.39 0.44 0.53

ระดับความ พึงพอใจ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

4.66

0.54

มากที่สุด

4.71 4.72

0.49 0.47

มากที่สุด มากที่สุด

๑๗ จากตารางที่ 7 ความพึงพอใจต่อกิจกรรมของผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทาง การพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 พบว่า อยู่ในระดับมาก ที่สุด (X=4.72, S.D.=0.47) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เข้า รับการอบรมพึงพอใจต่อกิจกรรมเรียง ตามลำดับได้ดังนี้ ความเหมาะสมของหลักสูตรที่ใช้ในการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.81, S.D.=0.39) มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ได้รับการอบรมมากขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.74, S.D.=0.44) สามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.69, S.D.=0.53) สามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่บุคลากรคนอื่น ๆ ภายในหน่วยงาน อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.66, S.D.=0.54) และความพึงพอใจโดยภาพรวมต่อโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.71, S.D.=0.49)

๑๘

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุป การดำเนินการตามโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินั ย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 เพื่อให้บุคลากรในสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ และ บุคลากรในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ซึ่งประกอบด้วย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี , สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี , สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑, เขต ๒, เขต ๓ และเขต ๔, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ และเขต ๒ และสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑, เขต ๒ และเขต ๓ ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติการ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในทิศทาง เดียวกันมีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทางในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์

ข้อเสนอแนะ การดำเนินการอบรมตามโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทาง วินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ได้มีข้อเสนอแนะโดยสรุป ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป ควรเพิ่มจำนวนวัน เช่น 2-๓ วัน ควรจัดให้มีโครงการแบบนี้ทุกปี รูปแบบใดแล้วแต่สถานการณ์ ควรมีการจัดให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ไปศึกษาดูงานด้านกฎหมายนอกสถานที่บ้าง มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและปฏิบัติตน

๑๙

บรรณานุกรม นิพัฒน์ ชัยวรมุขกุล ALMON – GotoKnow ใน ABC Club เรื่องอื่นๆ ของคนพัฒนาองค์กร หนังสือวินัย : หลักและวิธีการรักษาวินัย ; สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ. โดยนายประวีณ ณ นคร พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ พิมพ์ที่ กลุ่มโรงพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการ สำนักงาน ก.พ. หนังสือข้อกำหนดวินัย และการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ; สำนักงาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารของสำนักมาตรฐานวินัย ; สำนักงาน ก.พ. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2559 เรื่อง การปฏิรูปการศึ ก ษาในภู มิ ภ าคของ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2560 ประกาศสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสำนักงานศึกษาธิการภาคและ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สั ง กั ด สำนั ก งานปลั ด กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2560

๒๐

ภาคผนวก

รา ยง าน ผล กา ร ดำ เนิ นง าน โค รง กา ร ส่ง เส ริม สนั บส นุน แน วท าง กา ร

๒๑

ภาคผนวก ก 1. ประมวลภาพการลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่น LINE ของผู้เข้ารับการอบรมแบบ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการ พัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 2. ประมวลภาพการอบรมแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5

๒๒

ประมวลภาพ

การลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่น LINE ของผู้เข้ารับการอบรมแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5

๒๓

๒๔

๒๕

๒๖

ประมวลภาพ

การอบรมแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖5 วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2565

ดร.รังสรรค์ อ้วนวิจิตร รองศึกษาธิการภาค รักษาการในตำแหน่งศึกษาธิการภาค 3 ประธานพิธีเปิด

๒๗

นางณัฐวิสาข์ ดีเสมอ ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ กล่าวรายงาน

๒๘

วิทยากร นายราชัย อัสเวศน์ (กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ กรรมการกฎหมายและกรรมการอุทธรณ์ และร้องทุกข์มหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ปรึกษากลุ่มนิติกรประจำมหาวิทยาลัยและสถาบันฯ และอาจารย์พิเศษ)

๒๙ ผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓

๓๐

ผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ (ต่อ)

๓๑

ผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ (ต่อ)

๓๒

ผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ (ต่อ)

๓๓

ผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ (ต่อ)

๓๔

ภาคผนวก ข

โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการ ทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค ๓ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5

๓๕ แบบฟอร์มรายละเอียดโครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

 แผนงานพื้นฐาน  แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ *แผนงานบูรณาการ • ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริการ จัดการภาครัฐ • ความสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 21 แผนแม่บทประเด็นการต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ • ความสอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ • ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 – 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกันทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน สังคมไทย • ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 11 : การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายเร่งด่วนที่ • ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของ ระบบบริหารจัดการศึกษา • ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบ บริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ • **ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ • **ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การศึกษาสำนักงานศึกษาธิการภาค ยุทธศาสตร์ที่ 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 *ลักษณะโครงการ  โครงการต่อเนื่อง  โครงการใหม่ 2. หลักการและเหตุผลความจำเป็น ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ข้อ 5 ให้มีการจัดตั้งสำนักงานศึกษาธิการภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจ ของ กระทรวงในระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอำนวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการและ หน่ว ยงานอื่น หรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้น ที่น ั้นๆ โดยการปฏิบ ัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของกลุ่ม บริหารงานบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ตามประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การแบ่งหน่วยงาน ภายในสำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ในข้อ 2.3 (3) ระบุให้ ดำเนินการกำกับดูแลเร่งรัด ติดตามและประเมินผล

๓๖ เกี่ ย วกั บ การดำเนิ น การทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการและ บุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ และใน (4) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการเสริมสร้างและการ ปกป้องคุ้มครองระบบคุณธรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ในการดำเนินการออกติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้พบปัญหาในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใ นพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ยังขาดความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวมถึงการดำเนินการ จัดทำระเบียบวาระการประชุม รูป แบบในการนำเสนอต่อคณะกรรมการศึ กษาธิการจังหวัดยัง ไม่ เ ป็ น มาตรฐาน ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ได้ตระหนักถึงความจำเป็น ที่จะต้องสร้างบรรทัดฐานในการปฏิบัติราชการ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี โดยยึด ระบบคุณธรรม ยุติธรรม ความเสมอภาคระหว่างบุคคล การได้รับการปฏิบัติและการคุ้มครองสิทธิอย่ า ง เสมอภาคเท่าเทียมกันตามหลักกฎหมายปกครอง โดยใช้หลักการสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาทและ หน้ า ที่ ข องบุ ค ลากร ซึ่ ง เป็ น เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิ ภาพ โดยยึดมั่นในการ ประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ วินัยและการรักษาวินัยที่กำหนดไว้ในหมวด 6 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 95 ระบุให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับ บัญชากระทำผิดวินัย และดำเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม สนับ สนุนแนวทางการพัฒ นาการ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อให้เป็นการสร้าง การรับรู้ ความเข้าใจองค์ความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ รูปแบบและมาตรฐานในการ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 เพื่อให้ดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน และ สอดคล้องกับมาตรฐานที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนดต่อไป 3. วัตถุประสงค์ 3.1 . เพื ่ อให้ ผ ู ้ เข้ ารั บการอบรมได้ ร ั บความรู ้ ความเข้ าใจแนวปฏิ บ ั ต ิ การดำเนิ นการทางวิ นั ย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในทิศทางเดียวกัน 3.2 เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการบริหารงานบุคคล ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3.3 เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ เ ข้ า รั บ การอบรมได้ แ ลกเปลี ่ ย นความรู ้ ประสบการณ์ ปั ญ หาอุ ป สรรค และ ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ 3.4 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทางในการดำเนินการทาง วินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3

๓๗ 4. เป้าหมายโครงการ (Output) 4.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 1) บุคลากรของหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 จำนวน 74 คน 2) จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 1 ฉบับ 4.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจแนวปฏิบัติการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทาง ในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพิ่ มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) ผู้เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 3 มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 5. กลุ่มเป้าหมายโครงการ (Target group) บุคลากรของหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 จำนวน 74 คน จำนวน 1 วัน ประกอบด้วย 1. ศึกษาธิการจังหวัดหรือผู้แทน 2. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้น ที่ การศึก ษาหรื อรองผู้ อำนวยการสำนั กงานเขตพื ้ น ที่ การศึกษาในพื้นที่หรือผู้แทน 3. ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคลสำนักงานศึกษาธิการภาค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่หรือผู้แทน 4. นิติกรหรือผู้ปฏิบัติงานนิติกร 5. บุคลากรในสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 6. ตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการ (Outputs) และตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) 6.1 ตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการ (Outputs) ระยะเวลา ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ 1. จำนวนผู้เข้ารับการอบรมฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย (74 คน) 2. มีเอกสารรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

ค่าเป้าหมาย

หน่วยนับ

ที่แล้วเสร็จ (เดือน)

60

คน

เมษายน 2565

1

ฉบับ

เมษายน 2565

๓๘

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

หน่วยนับ

เชิงคุณภาพ 1. ร้อยละผู้เข้ารับการอบรมฯ มีความรู้ความรู้ความเข้าใจ แนวปฏิบัติการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการ ร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทาง ในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละผู้เข้ารับการอบรมฯ มีความพึงพอใจต่อการอบรม

ระยะเวลา ที่แล้วเสร็จ (เดือน)

ไม่น้อยกว่า 80

ร้อยละ

เมษายน 2565

ไม่น้อยกว่า 85

ร้อยละ

เมษายน 2565

6.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ไม่มี 7. วิธีดำเนินการ(Activity) – กิจกรรม กิจกรรม

ระยะเวลา ดำเนินการ

1. ศึ ก ษาความต้ อ งการอบรม และหาข้ อ มู ล พฤศจิกายน ประกอบการพิจารณาหลักสูตรและรูป แบบการ 2564 ฝึกอบรม 2. ประสานการดำเนินงานการอบรม ได้แก่ สถานที่จัด มกราคม ฝึกอบรม วิทยากร ผู้เข้ารับการอบรม 2565 3. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน กุมภาพันธ์ 2565 4. ดำเนิน การจัดอบรมฯตามเป้าหมาย ระยะเวลา มีนาคม และสถานที่ที่กำหนด 2565 5. ประเมินผลและสรุปผลการอบรม มีนาคม 2565 6. จัดทำเอกสารสรุปรายงานผลการดำเนินงาน และ เมษายน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 2565 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) พฤศจิกายน 2564 – กันยายน 2565 9. สถานที่ดำเนินการ/*พื้นที่ดำเนินการ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3

งบประมาณที่ใช้ (รายไตรมาส)

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

23,360

-

-

-

-ไม่ใช้งบประมาณ-

-

4,640

-

๓๙ 10. งบประมาณ (พร้อมระบุรายละเอียดงบประมาณ) งบรายจ่ายอื่น แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในส่วน ภูมิภาค จำนวน 28,000 บาท (สองหมื่นแปดพันบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ ดังนี้ จำนวนเงิน หมายเหตุ (บาท) กิจกรรมที่ 1 คณะกรรมการดำเนินการจัดอบรมดำเนินการประสานงานเกี่ยวกับการอบรมฯ ได้แก่ การประสานเกี่ยวกับสถานที่จัดอบรม วิทยากร - ไม่มีค่าใช้จ่ายที่

รายการ

กิจกรรมที่ 2 การจัดประชุมคณะกรรมการดำเนินการจัดอบรมส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการ ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา - ไม่มีค่าใช้จ่าย กิจกรรมที่ 3 การจัดอบรมส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และ การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 74 คน 1 วัน ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting เป็นเงินทั้งสิ้น 23,360บาท ดังนี้ จำนวนเงิน ที่ รายการ หมายเหตุ (บาท) 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 28 คน x 35 บาท x 2 มื้อ) 1,960 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน (28 คน x 150 บาท x 1 มื้อ ) 4,200 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร (1,200 x 6 ชัว่ โมง x 1 วัน ) 7,200 บาท 4. ค่าวัสดุ 10,000 บาท กิจกรรมที่ 4 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน เป็นเงินทั้งสิ้น 4,640 บาท ดังนี้ 1. ค่าวัสดุ 740 บาท 2. ค่าจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน 3,900 บาท ( 15 เล่ม x 260 บาท ) หมายเหตุ: ขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกกิจกรรม 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ ความเสี่ยง : 1. ระยะเวลาในการดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนด 2. ผู้เข้ารับการอบรมไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3. การแพร่ระบาดของเชื้อโควิค - 19 การบริหารความเสี่ยง : 1. ควบคุมปัจจัยแทรกซ้อนที่จะส่งผลกระทบกับระยะเวลาในการดำเนินงานตามแผน พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น 2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดอบรมอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ 3. ปรับเปลี่ยนรูปแบบการอบรมโดยใช้โปรแกรม Zoom Meeting

๔๐ 12. ผู้รับผิดชอบโครงการ (กลุ่ม/บุคคล) บุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 13. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) 1. บุคลากรในพื้น ที่ส ำนัก งานศึก ษาธิ การภาค 3 ได้ร ับ ความรู้ความเข้าใจแนวปฏิบ ั ติ ก าร ดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในทิศทาง เดียวกัน 2. บุคลากรในพื้นที่สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 มีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทาง ในการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 3 3. บุคลากรในพื้น ที่ส ำนักงานศึกษาธิการภาค 3 มีความเข้มแข็งในการบริห ารจัดการตาม หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประสาน ชื่อ-สกุล นายวิวฒ ั น์ สายเส็ง ตำแหน่ง นิติกรปฏิบัติการ กลุ่ม บริหารงานบุคคล โทรศัพท์ 0 3232 3384 ต่อ 116 โทรสาร 0 3233 7343 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08 – 9829 - 0817 E-mail : [email protected]

๔๑

ภาคผนวก ค

แบบทดสอบและแบบสอบถามความคิดเห็นแบบสำรวจความพึงพอใจ

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕

๔๖

๔๗

๔๘

๔๙

๕๐

๕๑

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

Data Loading...