แบบรายงานการวิเคราะห์ผู้เรียน 2/8 - PDF Flipbook

วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 2 8

171 Views
63 Downloads
PDF 1,339,027 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


แบบรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 รหัสวิชา ว22101 ประจำปีการศึกษา 2565

นางสาวกุลฤดี เวชปรีชา ตำแหน่ง ครู

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด

บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ ที่ เรื่อง

โรงเรียนตราษตระการคุณ

วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565

-

รายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 จำนวน 1 ฉบับ ด้ว ยข้าพเจ้ า นางสาวกุ ล ฤดี เวชปรี ช า ตำแหน่ ง ครู โรงเรี ย นตราษตระการคุ ณ ได้ รั บ มอบหมายให้สอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 รหัสวิชา ว22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้ศึ กษาผู้ เรี ยนรายบุ คคลของชั้ น มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 2/8 ประจำปี การศึ กษา 2565 ซึ่งมี จำนวน นักเรียนทั้งหมด 42 คน เพื่อวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่เหมาะสม และช่วยเหลือผู้เรียนได้ดีนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อ ทราบปัญหา และความสามารถของแต่ละบุคคล ให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน บัดนี้ ได้ทำการวิเคราะห์เสร็จสิ้นแล้ว จึงขอรายงานผลตามเอกสารที่แนบมาด้วยนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ.............................................. ผู้รายงาน ( นางสาวกุลฤดี เวชปรีชา ) ครู ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ ................................................. ( นายสมัชชา จันทร์แสง ) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ ............................................................................................................................. .................... ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................. ( นายสำเนา บุญมาก ) ผู้อำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ

คำนำ ตามหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดเป้าหมายและทิศทางการปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้คู่คุณธรรม โดยมีหลักการสำคัญของ การจัดการศึกษา ประกอบด้วย ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริม ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ดังนั้ น ครูผู้ ส อนซึ่งเป็ น ผู้ มีบ ทบาทสำคัญ เกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้ ให้ ผู้ เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ความพึงพอใจ ตามความถนั ด ตามความสนใจของแต่ละบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคลจึงมีความจำเป็นและ สำคัญมาก ผู้สอนจึงได้จัดทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนี้ขึ้นเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ก่อนดำเนินการ สอนในปีการศึกษา 2565 ข้อมูลจากการศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนในครั้งนี้มีความสำคัญ และเป็นประโยชน์ต่อการ จัดการเรียนการสอนอย่างยิ่ง

กุลฤดี เวชปรีชา

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คำชี้แจง แนวคิดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ยในภาคเรียนที่ผ่านมา ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ ตอนที่ 4 แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ตอนที่ 5 นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากที่สุด ตอนที่ 6 แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ การสร้างเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ผู้เรียนแนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียน ข้อมูลอ้างอิงการรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ภาคผนวก

1 1 3 4 5 7 8 10 12 24

คำชี้แจง แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนี้จัดทำขึ้น เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับศึกษาวิเคราะห์นักเรียน เพื่อหา ความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พื้นฐาน และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ก่อนที่จะให้ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้วิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ๆ ของแต่ละระดับชั้น ตลอดทั้งศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับ ความพร้อมด้านพฤติกรรม และองค์ประกอบความพร้อมด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 2. ความพร้อมด้านสติปัญญา 3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม 4. ความพร้อมด้านร่างกาย 5. ความพร้อมด้านสังคม การวิเคราะห์ผู้เรียนมีการดำเนินการ ดังนี้ 1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิมในปีการศึกษาที่ผ่านมา หรือจัดสร้าง เครื่องมือ แบบทดสอบวิชานั้น ๆ ขึ้นใหม่แล้วนำมาใช้ทดสอบผู้เรียนทุกคน 2. นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจริง พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียนออกเป็น กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง (หรือผ่านเกณฑ์) และกลุ่มที่ต้องปรับปรุงแก้ไข 3. การวิเคราะห์ผู้เรียนจะพิจารณาทั้งความพร้อมด้านความรู้ความสามารถ สติปัญญาและความพร้อม ด้านอื่น ๆ ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วย 4. สำหรับนักเรียนที่มีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ผู้สอนจะรีบดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มี ความพร้อมดีขึ้นก่อน จึงค่อยดำเนินการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นที่จะทำการสอน ส่วนความพร้อมด้านอื่น ๆ ได้พยายามปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นในลำดับต่อไป

แนวคิดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน 1. แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียน 1.1 การจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสำเร็จ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ผู้เรียนจะต้องมีความพร้อมที่ดีในทุกด้านดังนั้น ก่อนจะเริ่มดำเนินการสอน ครูผู้สอนได้ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคลเกี่ยวกับ - ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ - ความพร้อมด้านสติปัญญา - ความพร้อมด้านพฤติกรรม - ความพร้อมด้านร่างกาย - ความพร้อมด้านสังคม 1.2 ก่อนดำเนินการจัดการเรียน ครูผู้สอนได้ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนให้รู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ในแต่ละด้าน เมื่อผู้เรียนคนใด มีข้อบกพร่องด้านใดควรปรับปรุง แก้ไขให้มีความพร้อมที่ดีก่อน 1.3 การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขข้อบกพร่อง สำหรับผู้เรียนที่ยังขาดความพร้อมในด้านใดๆ ควรใช้กิจกรรมหลายๆแบบ หรือใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสมจนผู้เรียนมีความพร้อม ดีขึ้น 2. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ผู้เรียน 2.1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์แยกแยะ เกี่ยวกับความพร้อมของผู้เรียนในแต่ละด้านเป็นรายบุคคล 2.2 เพื่อให้ ครูผู้สอนได้รู้จักผู้เรียนเป็ นรายบุ คคล และหาทางช่วยเหลือผู้เรียน ที่มีข้อบกพร่องให้มี ความพร้อมที่ดีขึ้น 2.3 เพื่อให้ครูผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรมสำหรับดำเนินการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ได้สอดคล้องเหมาะสม และตรงตามความต้องการของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น 3. ขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่างบุคคล ในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ 1.1 ความรู้พื้นฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ 1.2 ความสามารถในการอ่าน 1.3 ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้ 2. ความพร้อมด้านสติปัญญา 2.1 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2.2 ความมีเหตุผล 2.3 ความสามารถในการเรียนรู้ 3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม 3.1 การแสดงออก 3.2 การควบคุมอารมณ์ 3.3 ความมุ่งมั่น อดทน ขยันหมั่นเพียร 3.4 ความรับผิดชอบ

4. ความพร้อมด้านร่างกาย 4.1 ด้านสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ 4.2 การเจริญเติบโตสมวัย 4.3 ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิต 5. ความพร้อมด้านสังคม 5.1 การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น 5.2 การช่วยเหลือ เสียสละ แบ่งปัน 5.3 การเคารพครู กติกา และมีระเบียบวินัย

1

การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อศึกษาผู้เรียนเป็น รายบุคคล มีความสำคัญและจำเป็น เพื่อนำข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้ เรียนมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสุข ในการเรียนช่วยให้ครูผู้สอนนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเพื่อนำผู้เรียนไปสู่ เป้าหมาย ผู้สอนได้รับมอบหมายให้สอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 รหัสวิชา ว22101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ผู้สอนจึงได้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน เพื่อนำไปวางแผนในการ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน และจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ได้วิเคราะห์ ข้อมูล นั กเรียนทั้งหมด 42 คน โดยวิเคราะห์ ตามประเด็ น การวิเคราะห์ ผู้ เรียนรายบุ คคล ซึ่ง สามารถแบ่ งเป็ น 6 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ด้านข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ตอนที่ 2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตอนที่ 3 ด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ ตอนที่ 4 แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ตอนที่ 5 นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากที่สุด ตอนที่ 6 แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้แบ่งการนำเสนอ ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลด้านพื้นฐานของนักเรียน จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน ข้อมูล

รายการ

1. อายุของนักเรียน

1.1 อายุ 12 ปี 1.2 อายุ 13 ปี 1.3 อายุ 14 ปี 1.4 อายุ 15 ปี 2.1 น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก. 2.2 น้ำหนัก 41 – 60 กก. 2.3 น้ำหนัก 61 – 80 กก. 2.4 น้ำหนักมากกว่า 81 กก. 3.1 สูงน้อยกว่า 140. ซม. 3.2 สูง 141 – 160 ซม. 3.3 สูง 161 – 180 ซม. 3.4 สูงกว่า 180 ซม.

2. น้ำหนักของนักเรียน

3. ส่วนสูงของนักเรียน

จำนวนนักเรียน คน ร้อยละ 1 2.40 28 66.70 13 31.00 0 0.00 5 11.90 24 52.70 12 28.50 1 2.40 0 0.00 18 42.80 23 54.80 1 2.40

2

4. สถานภาพบิดา - มารดา

5. ที่พักอาศัยของนักเรียน

6. อาชีพของผู้ปกครอง

7. ปัจจุบันอาศัยอยู่กับใคร

4.1 อยู่ร่วมกัน 4.2 หย่าร้าง 4.3 แยกกันอยู่ 4.4 บิดา/มารดาถึงแก่กรรม 4.5 อื่นๆ 5.1บ้านพักของตนเอง 5.2 พักกับญาติ 5.3 หอพัก/บ้านเช่า 5.5 อื่นๆ 6.1 เกษตรกรรม/ประมง 6.2 รับราชการ 6.3 ประกอบธุรกิจส่วนตัว 6.4 ค้าขาย 6.5 รับจ้างทั่วไป 6.6 ว่างงาน 6.7 อื่นๆ 7.1 บิดา - มารดา 7.2 บิดา 7.3 มารดา 7.4 ป้า - ลุง 7.5 น้า - อา 7.6 อื่น ๆ

25 12 4 1 0 36 1 4 1 10 6 6 5 7 0 8 21 1 12 2 0 6

59.50 28.60 9.50 2.40 0.00 85.70 2.40 9.50 2.40 23.80 14.30 14.30 11.90 16.70 0.00 19.00 50.00 2.40 28.60 4.80 0.00 14.30

จากตารางพบว่า 1. อายุของนักเรียน จะอยู่ในช่วง 13 ปี มี 28 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 2. น้ำหนักของนักเรียน จะอยู่ในช่วง 41 – 60 กก. มี 24 คน คิดเป็นร้อยละ 52.70 3. ส่วนสูงของนักเรียน จะอยู่ในช่วง 161 - 180 ซม. มี 23 คน คิดเป็นร้อยละ 54.80 4. สถานภาพบิดา – มารดา ส่วนใหญ่บิดา-มารดาอยู่ร่วมกัน มี 25 คน คิดเป็นร้อยละ 59.50 5. ที่พักอาศัยของนักเรียน ส่วนใหญ่อยูบ่ ้านพักของตนเอง มี 36 คน คิดเป็นร้อยละ 85.70 6. อาชีพของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ผู้ปกครองของนักเรียนประกอบอาชีพ เกษตรกรรม/ประมง มี 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.80 7. ปัจจุบันอาศัยอยู่กับใคร ส่วนใหญ่นักเรียนอาศัยอยู่กับบิดา-มารดา มี 21 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00

3

ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนในภาคเรียนที่ผ่านมา จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน

ชั้น/ห้อง ม.2/3 รวม

0.00-2.00 จำนวน ร้อยละ (คน) 10 9.50 10 9.50

ระดับผลการเรียน 2.00-3.00 จำนวน ร้อยละ (คน) 27 64.30 27 64.30

3.00-4.00 จำนวน ร้อยละ (คน) 5 11.90 5 11.90

การจำแนกผู้เรียนตามกลุ่ม 1. กลุ่ ม เก่ง หมายถึง นั กเรี ยนที่ มีผ ลการเรียนในระดับ มากกว่า 3.00 มี ความรู้พื้ นฐานพร้ อมในการ พัฒนาการเรียนรายวิชานี้อย่างเต็มความสามารถมีจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 แนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเก่ง จัดการเรียนการสอนตามปกติ โดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning และให้แบบฝึกหัด เพิ่มเติมเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ 2. กลุ่มพอใช้ หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับ 2.00 – 3.00 มีความรู้พื้นฐานในระดับหนึ่ง พร้อมในการพัฒนาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 64.30 แนวทางการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มพอใช้ จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning และสอนซ้ำอีกครั้ง เพื่อเพิ่มความเข้าใจสำหรับนักเรียนกลุ่มนี้รวมทั้งเน้นการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน 3. กลุ่มเน้นการพัฒนา หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับต่ำกว่า 2.00 มีความรู้พื้นฐานไม่ถึง เกณฑ์ที่กำหนด ต้องเน้นพัฒนาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 9.50 แนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเน้นการพัฒนา จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning มีการสอนซ่อมเสริม ให้กับนักเรียนในช่วงพักกลางวันหรือช่วง หลังเลิกเรียนและให้เรียนเพิ่มเติมจากการสอนผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้ Google Meet , Google Classroom, Line , Facebook

4

ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน ข้อมูล 1. วิชาที่ชอบที่สุด

2. ความสามารถพิเศษ

3. อาชีพที่ใฝ่ฝัน

4. การศึกษา

รายการ 1.1 ภาษาไทย 1.2 คณิตศาสตร์ 1.3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.4 สังคมศึกษา 1.5 ศิลปะ 1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.7 การงานอาชีพ 1.8 ภาษาต่างประเทศ 1.9 ภาษาต่างประเทศที่ 2 (จีน, เขมร) รวม 2.1 ด้านกีฬา 2.2 ด้านดนตรี/นาฏศิลป์ 2.3 ด้านศิลปะ 2.4 ด้านคอมพิวเตอร์ 2.5 ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.6 ด้านทำอาหาร/ขนม 2.7 ด้านภาษา 2.8 ด้านงานฝีมือ 2.9 ด้านอื่น ๆ รวม 3.1 รับราชการ 3.2 พนักงานบริษัท 3.3 อาชีพอิสระหรือธุรกิจส่วนตัว 3.4 ค้าขาย 3.5 เกษตรกร/ประมง 3.6 อื่น ๆ รวม 4.1 ศึกษาต่อ 4.2 ประกอบอาชีพ/ไม่ศึกษาต่อ รวม

จำนวนนักเรียน คน ร้อยละ 1 2.40 6 14.30 4 9.50 2 4.80 7 16.70 11 26.20 0 0.00 4 9.50 5 11.90 42 100.00 20 47.60 4 9.50 3 7.10 7 16.70 1 2.40 4 9.50 0 0.00 0 0.00 3 7.10 42 100.00 11 26.20 2 4.80 11 26.20 0 0.00 1 2.40 17 40.50 42 100 35 83.30 7 16.70 42 100.00

5

จากตาราง พบว่า 1. วิชาที่ชอบที่สุด อันดับ ที่ 1 สุ ขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 26.20 อันดับ ที่ 2 ศิล ปะ ร้อยละ 16.70 อันดับที่ 3 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 14.30 2. ความสามารถพิเศษ อันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 47.60 อันดับที่ 2 ด้านคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 16.70 อันดับที่ 3 ด้านดนตรี/นาฏศิลป์ และด้านทำอาหาร/ขนม ร้อยละ 9.50 3. อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 40.50 อันดับที่ 2 รับราชการ และอาชีพอิสระหรือธุรกิจ ส่วนตัว ร้อยละ 26.20 อันดับที่ 3 พนักงานบริษัท ร้อยละ 4.80 4. การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อร้อยละ 83.30 อันดับที่ 2 ประกอบอาชีพ/ไม่ศึกษาต่อ ร้อยละ 16.70 ตอนที่ 4 แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน ดังนี้ ลำดับ ที่ 1

2

3

4

5

รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 1.1) ความรู้พื้นฐาน 1.2) ความสามารถในการอ่าน 1.3) ความสนใจ และสมาธิในการเรียน ความพร้อมด้านสติปัญญา 2.1) ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 2.2) ความมีเหตุผล 2.3) ความสามารถในการเรียนรู้ ความพร้อมด้านพฤติกรรม 3.1) การแสดงออก 3.2) การควบคุมอารมณ์ 3.3) ความมุ่งมั่น อดทน ขยันหมั่นเพียร 3.4) ความรับผิดชอบ ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ 4.1) สุขภาพร่างกายสมบูรณ์

ผลการวิเคราะห์ผู้เรียน (จำนวนคน) ดี ปานกลาง ปรับปรุงแก้ไข (3) (2) (1) คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 6 10 7

14.30 23.80 16.70

35 32 34

83.30 76.20 81.00

1 0 1

2.40 0.00 2.40

10 11 4

23.80 26.20 9.50

31 30 38

73.80 71.40 90.50

1 1 0

2.40 2.40 0.00

5 19 7 3

11.90 45.20 16.70 7.10

31 16 33 36

73.80 38.10 78.60 85.70

6 7 2 3

14.30 16.70 4.80 7.10

29

69.00

13

31.00

0

0.00

4.2) การเจริญเติบโตตามวัย

29

69.00

13

31.00

0

0.00

4.3) ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิต

27

64.30

14

33.30

1

2.40

ความพร้อมทางสังคม 5.1) การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น

14

33.30

27

64.30

1

2.40

5.2) การเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว

19

45.20

23

54.80

0

0.00

5.3) มีระเบียบวินัย เคารพกติกา

19

45.20

22

52.40

1

2.40

6

จากตาราง พบว่า 1. ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 1.1 ความรู้พื้นฐาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 83.30 1.2 ความสามารถในการอ่าน ส่วนใหญ่อยู่ระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 76.20 1.3 ความสนใจและสมาธิในการเรียน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 81.00 2. ความพร้อมด้านสติปัญญา 2.1 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 73.80 2.2 ความมีเหตุผล ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 71.40 2.3 ความสามารถในการเรียนรู้ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 90.50 3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม 3.1 การแสดงออก ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 73.80 3.2 การควบคุมอารมณ์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 45.20 3.3 ความมุ่งมั่น อดทน ขยันหมั่นเพียร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 78.60 3.4 ความรับผิดชอบ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 85.70 4. ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ 4.1 สุขภาพร่างกายสมบูรณ์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 69.00 4.2 การเจริญเติบโตตามวัย ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 69.00 4.3 ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิต ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 64.30 5. ความพร้อมทางสังคม 5.1 การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64.30 5.2 การเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 54.80 5.3 มีระเบียบวินัย เคารพกติกา ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 52.40

7

ตอนที่ 5 นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากที่สุด จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน ดังนี้ รายการ 1. แบบบรรยาย 2. แบบอภิปราย 3. แบบสร้างแผนผังความคิด 4. แบบใช้คำถาม 5. แบบโครงงาน 6. แบบแสดงบทบาทสมมุติ 7. แบบทดสอบ 8. กระบวนการกลุ่ม 9. แบบบูรณาการ 10. แบบระดมสมอง 11. แบบสาธิต 12. แบบให้ลงมือปฏิบัติ 13. แบบเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 14. แบบสืบค้นหาความรู้ด้วยตนเอง 15. อื่น ๆ จากตาราง พบว่า นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี อันดับ 1 แบบบรรยาย อันดับ 2 แบบทดสอบ อันดับ 3 แบบอภิปราย

จำนวนนักเรียน คน ร้อยละ 22 52.40 11 26.20 10 23.80 8 19.00 6 14.30 5 11.90 13 31.00 8 19.00 1 2.40 3 7.10 10 23.80 6 14.30 7 16.70 6 14.30 3 7.10

คิดเป็นร้อยละ 52.40 คิดเป็นร้อยละ 31.00 คิดเป็นร้อยละ 26.20

8

ตอนที่ 6 แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาเขมร จำนวนนักเรียนทั้งหมด 42 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน ดังนี้ กำหนดเกณฑ์ในการคิดคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถามตามเกณฑ์ของ วิชาวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ถ้าคะแนนเฉลี่ยมีค่าน้อยกว่า 1.50 แสดงว่ามีเจตคติที่ไม่ดีอย่างมากต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ถ้าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.51 – 2.50 แสดงว่ามีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ถ้าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.51 -3.50 แสดงว่ามีเจตคติปานกลางต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ถ้าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.51 – 4.50 แสดงว่ามีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ถ้าคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 4.50 แสดงว่ามีเจตคติที่ดีอย่างมากต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ครั้ งนี้ มี วัตถุป ระสงค์เพื่ อ วัดเจตคติของนั กเรี ยน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อนำผลมาเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหา ในการจัดการเรียน การสอน และเพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เห็นประโยชน์และคุณค่าของวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบสอบถาม เพื่อวัดเจตคติของนักเรียน จำนวน 10 ข้อ โดยได้ทำการสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็ น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียตราษตระการคุณ จำนวน 42 คน โดยสามารถ วิเคราะห์ผลได้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์แบบสอบถามวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ความคิดเห็นของนักเรียน 1. ฉันชอบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ฉันเรียนวิชาวิทยาศาสตร์อย่างมีความสุข 3. ฉันตั้งใจเรียนในชั่วโมงวิชาวิทยาศาสตร์ 4. ฉันรู้สึกตื่นเต้นและกระตือรือร้นเมื่อได้ร่วมกิจกรรมในวิชาวิทยาศาสตร์ 5. ฉันชอบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพราะนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 6. ฉันมีความเชื่อมั่นและคิดว่าตนเองเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ได้ดี 7. ฉันรู้สึกดีที่ครูนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 8. ฉันชอบที่ได้พัฒนาทักษะการฟัง การพูดในวิชาวิทยาศาสตร์ 9. ฉันคิดว่ากิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์มีความน่าสนใจ 10. ฉันคิดว่ากิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ ทำให้ฉันได้พัฒนาทักษะ การค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น เฉลี่ย

ค่าเฉลี่ย 3.69 3.90 3.48 3.64 3.33 3.31 3.90 3.67 3.69 3.55 3.62

จากตาราง แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ วิชาวิทยาศาสตร์ โดยเฉลี่ยจากแบบสอบถามทั้งหมดได้ 3.62 คะแนนอยู่ ในระดับ ดี ฉัน เรียนวิชาภาษาเขมรอย่างมีความสุข และฉัน รู้สึ กดีที่ครูนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการ จัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ 3.90 และ ฉันมีความเชื่อมั่นและคิดว่าตนเองเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ได้ดี มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ 3.31

9

การสร้างเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ผู้เรียน แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียน การสร้างเครื่องมือสำหรับ นำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ผู้เรียน ถือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นและมีความสำคัญมาก ซึ่งสามารถทำได้หลายแนวทาง แต่ในที่นี้ผู้สอนเลือกปฏิบัติ แบบง่าย ๆ 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 นำผลการประเมินปลายปีการศึกษาที่ผ่านมา ตลอดทั้งข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่ครูได้ เก็บรวบรวมไว้ นำมาวิเคราะห์แยกแยะตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ต้องปรับปรุงแก้ไข ระดับที่ 2 ปานกลาง (ผ่านเกณฑ์) ระดับที่ 3 ระดับดี – ดีมาก การดำเนินการแยกแยะข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคลในแต่ละด้าน แล้วนำมากรอกข้อมูลลงในแบบ วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล จากนั้นได้ประมวลผลข้อมูลสรุปกรอกลงในแบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนเมื่อได้ ข้อสรุปแล้วนำไปกำหนดแนวทางในการแก้ไขนักเรียนที่ควรปรับปรุงเรื่องต่าง ๆ ในแต่ละด้านต่อไป แนวทางที่ 2 ครูผู้สอนสร้างเครื่องมือหรือแบบทดสอบเอง ให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะวิเคราะห์ ผู้เรียนในแต่ละด้าน เช่น การวัดความรู้ความสามารถ หรือความพร้อมด้านสติปัญญา ควรใช้แบบทดสอบส่วนการ ตรวจสอบความพร้อมพฤติกรรม ด้านร่างกายและจิตใจ ด้านสังคม ควรใช้แบบสังเกต หรือแบบสอบถาม การสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียน ยึดหลักที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ควรให้ครอบคลุมสาระหลัก ๆ ที่จะเรียนรู้ หรือครอบคลุมพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน 2. สอดคล้องกับประเด็นที่จะวัดหรือประเมินผู้เรียนในแต่ละด้าน 3. กำหนดเกณฑ์ให้ชัดเจน เช่น - ตอบได้ถูกต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน น้อยกว่า ร้อยละ 50 ต้องปรับปรุงแก้ไข - ตอบได้ถูกต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 50 – 70 ปานกลาง - ตอบได้ถูกต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 70 ขึ้นไป ได้ระดับ ดี 4. การวัดหรือการทดสอบผู้เรียนควรดำเนินการก่อนทำการสอน เพื่อผู้สอนนำผลสรุปการวิเคราะห์ไป วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยเหลือ หรือส่งเสริมนักเรียนได้อย่างเหมาะสม

10

การสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียน วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8

การสร้างเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบหรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูล สำหรับวิเคราะห์ผู้เรียนได้ แบ่งออกเป็นหลายๆด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 1. เป็นแบบทดสอบ ครอบคลุมสาระสำคัญของวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ได้คำนึงถึง - ความรู้พื้นฐานทั่วไป - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสนใจในการเรียนรู้ 2. แบบทดสอบเป็นแบบอัตนัย 3. ความยากง่ายมีสัดส่วน คือ ความยาก - ปานกลาง – ง่าย : 30 – 40 – 30 4. เกณฑ์ การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70 ขึ้น ไป ได้ระดับ ดี ร้อยละ 50 – 70 ระดับ ปานกลาง ต่ำกว่าร้อยละ 50 ต้องปรับปรุงแก้ไข ด้านที่ 2 ความพร้อมด้านสติปัญญา 1. ใช้แบบทดสอบ 2. การสร้างแบบทดสอบ ความยากง่ายของข้อทดสอบ ใช้เกณฑ์การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป ได้ระดับดี ร้อยละ 50 – 70 ระดับปานกลาง ต่ำกว่า ร้อยละ 50 ต้องปรับปรุงแก้ไข ด้านที่ 3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม 1. เป็นการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับ - การแสดงออกของผู้เรียนในลักษณะต่างๆ - การรู้จักควบคุมอารมณ์ - ความมุ่งมั่น ตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร 2. ครูผู้สอนได้สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยตนเอง 3. การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ด้วยว่าด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรมในระดับ ดีมาก ดี ปานกลาง และ ปรับปรุงแก้ไข ด้านที่ 4 ความพร้อมด้านร่างกาย และจิตใจ 1) ใช้แบบสังเกต และแบบสำรวจเกี่ยวกับ - สุขภาพร่างกายของผู้เรียน - ความเจริญเติบโตสมวัย - ด้านสุขภาพจิต 2. ใช้แบบสังเกต และสัมภาษณ์ กับครูประจำชั้น เพื่อนผู้ใกล้ชิด ผู้เรียน หรือ ผู้ปกครอง 3. การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ด้วยว่าความพร้อมทางด้านจิตใจในระดับดีมาก ดี ปานกลาง และปรับปรุงแก้ไข

11

ด้านที่ 5 ความพร้อมด้านสังคม 1. ใช้แบบสังเกต และแบบสำรวจเกี่ยวกับ - การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น - การเสียสละไม่เห็นแก่ตัว - การมีระเบียบวินัย และการเคารพกติกา 2. ใช้แบบสังเกต และสัมภาษณ์ กับครูประจำชั้น เพื่อนผู้ใกล้ชิด ผู้เรียน หรือ ผู้ปกครอง 3. การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ด้วยว่าความพร้อมทางด้านจิตใจในระดับดีมาก ดี ปานกลาง และปรับปรุงแก้ไข

12

ข้อมูลอ้างอิงการรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 รหัสวิชา ว22101 ตอนที่ 1 ข้อมูลด้านพื้นฐานของนักเรียน

13

14

15

ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ยในภาคเรียนที่ผ่านมา

ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ

16

17

ตอนที่ 4 ด้านความพร้อมของผู้เรียน 1. ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์

18

2. ความพร้อมด้านสติปัญญา

19

3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม

20

4. ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ

21

5. ความพร้อมทางด้านสังคม

22

ตอนที่ 5 นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากที่สุด

23

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2/8 วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ พื้ น ฐาน 3 รหั ส วิ ช า ว22101 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากตารางสรุป ผลการวิเคราะห์ ผู้ เรี ยน ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 จำนวน 42 คน ปรากฏว่านั กเรี ยน ส่วนมากของห้อง ( 50 % ขึ้นไป ) มีด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพร้อมด้าน สติปัญญา อยู่ในระดับ ปานกลาง และความพร้อมด้านพฤติกรรม ความพร้อมด้านสังคม ความพร้อมด้านสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ อยู่ในระดับ ปานกลาง ครูผู้สอนได้นำข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียนมาจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยพิจารณา จากเกณฑ์มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ทางภาษา ความพร้อมด้านสติปั ญ ญา เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการวาง แผนการสอนให้เหมาะสมกับสภาพความแตกต่างของผู้เรียน ดังนี้ 1. กลุ่มเก่ง ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ญ. ด.ญ.

มี 5 คน ดังนี้ ทวีศักดิ์ ติงสาโรจน์ ธนพัฒน์ สุเนตร ภาคภูมิ มนัสสนิท เบญญาภา จันทรา สรัลพร ฉ่ำฉวย

2. กลุ่มปานกลาง มี 27 คน ดังนี้ ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ญ. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช.

กฤษติกา ห้วงน้ำ เจตน์ดิลก คงศรีอ่อน ชลภัทร สินธุประเสริฐ ณัฐภัทร ทองปาน ธนพงษ์ ชัยพฤกษ์ ธนพล พูลลาภ ธีรนันท์ ขันธุวาร นิติพันธ์ เรืองศิลป์ พีรณัฐ วัชระพันธ์ ภคพล ณ สุวรรณ์ ภูมินันท์ สิงห์เพชร วรดล ประคองจิตร วรภพ เนตรวศิน วีรวัฒน์ สุระดะนัย สิรวิชญ์ สายสังข์ สิรวิชญ์ สนั่นโสตร์ อัญชิษณุ โสตรประวัติ อิทธิพล บุญส่งา

24

ด.ช. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ.

ฮัวเล้ง เตียว กตัญญุตา พรหมมา ฐิตาสิริ เฟื่องฟู ณัฏฐณิชา ตรีรัตน์ฤดี ธนพร รักใคร่ น้ำฝน ไขแสง ปรีญาภรณ์ โกสินธุ ปรียาภัทร โพธิกิจ พิมประภา จิตนาวสาร

3. กลุ่มที่ต้องปรับปรุงแก้ไข มี 10 คน ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ช. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ. ด.ญ.

กฤตธนา เนาวมงคล ปิยะราช เกตุแก้ว พิพัฒนชัย นามเสนา ภูฟ้า สินพูล อชิรวัฒน์ ใจเที่ยง เอื้ออังกูร จัดสนาม ชญานุตม์ อาสน์สถิตย์ ชมพูนุท ไตรมาศ พชรภมร แสงบัณฑิต พิชยณิดา ดวงจันทร์

ลงชื่อ..............................................ผู้รายงาน ( นางสาวกุลฤดี เวชปรีชา ) ครู

Data Loading...