แผนที่ 12 หน่วย รักเมืองไทย อ.3 - PDF Flipbook

แผนที่ 12 หน่วย รักเมืองไทย อ.3

299 Views
17 Downloads
PDF 0 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


การวิเคราะห์โครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หน่วยที่ ๑๒ รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รายการ

อนุบาลปีที่ 1

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

สาระที่ควรเรียนรู้

๑. เพลงชาติและธงชาติไทย ๒. พระมหากษัตริย์ ๓. สัตว์ประจำชาติไทย ๔. การละเล่นพื้นบ้านของไทย ๕. การทักทายและการไหว้แบบไทย

๑. ประเทศไทยสี่ภาค ๒. ดอกไม้ประจำชาติไทย ๓. ภาษาและพยัญชนะไทย ๔. สถานทีท่ ำคัญในท้องถิ่น ๕. ของหวาน ขนมไทย ๖. มารยาทไทย การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

๑. พระมหากษัตริย์ไทย ๒. วันสำคัญตามประเพณีไทย ๓. บ้านไทย ๔. หน้าที่ของเด็กในการเป็นพลเมืองดี ๕. ผลไม้เมืองไทย

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์

มฐ 1 ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑) มฐ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑) มฐ ๒ ตบช ๒.๒ (๒.๒.๑) มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓) มฐ ๗ ตบช ๗.๒ (๗.๒.๑) (๗.๒.๓) มฐ.๘ ตบช. ๘.๒ (๘.๒.๑) มฐ ๙ ตบช ๙.๑ (๙.๑.๑) มฐ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑) (๑๐.๑.๒) มฐ ๒ (๑๐.๑.๔)

มฐ 1 ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑) มฐ ๒ ตบช ๒.1 (๒.1.4) มฐ ๒ 2.2 (2.2.3) มฐ 3 ตบช 3.2 (3.2.1) มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓) มฐ ๖ ตบช ๖.๒ (๖.๒.๑) มฐ ๗ ตบช ๗.๒ (๗.๒.๑) มฐ ๙ ตบช ๙.๑ (๙.๑.๑) มฐ ๒ ตบช ๙.๒ (๙.๒.๑) มฐ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑) (๑๐.๑.๒)

มฐ 1 ตบช ๑.๓(๑.๓.๑) มฐ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑) (๒.๑.๓) มฐ ๒ ตบช ๒.๒ (๒.๒.๑) (๒.๒.๓) มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๓) มฐ ๗ ตบช ๗.๑ (๗.๒.๑) มฐ.๘ ตบช ๘.๑ (๘.๑.๑) มฐ ๙ ตบช ๙.๑ (๙.๑.๑) (๙.๑.๒) มฐ ๒ ตบช ๙.๒ (๙.๒.๑) (๙.๒.๒) มฐ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑) มฐ ๒ (๑๐.๑.๒) (๑๐.๑.๔) มฐ ๑๑ ตบช ๑๑.๑ (๑๑.๑.๑)

รายการ ประสบการณ์สำคัญ

อนุบาลปีที่ 1

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

ร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ๑.๑(๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ๑.๑(๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก ๑.๑(๒) การเขียนภาพและเล่นกับสี ๑.๑(๓) การปั้น ๑.๑(๕) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก ๑.๑ การตัด การปะ และการร้อย 1.1.4 การรักษาความปลอดภัย ๑.๑(1) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตร ๑.๑ ประจำวัน ๑.๑(2) การฟังนิทาน ๑.๑(3) การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย ๑.๑(4) การเล่นบทบาทสมมติ

ร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ๑.๑(๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ๑.๑(๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ๑.๑(๓) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ๑.๑(๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสาน ๑.๑ สัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ๑.๑ ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก ๑.๑(๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี ๑.๑(3) การปั้น ๑.๑(๔) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ ๑ ๑(๕) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก ๑.๑ การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย ๑.๑(3) การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย

ร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ๑.๑(๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ๑.๑(๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ๑.๑(๓) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ๑.๑(๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสาน ๑.๑ สัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ๑.๑ ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ ๑.๑(๕) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก ๑.๑(๒) การเขียนภาพและเล่นกับสี ๑.๑(๓) การปั้น ๑.๑(๔) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ ๑.๑(๕) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก ๑.๑ การตัด การปะ และ การร้อยวัสดุ ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย ๑.๑(๑) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในชีวิต ๑.๑ ประจำวัน ๑.๑(๓) การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง ๑.๑(๑) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไป ๑.๑ ในทิศทาง ระดับและพื้นที่

รายการ

อนุบาลปีที่ 1

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี ๑.๑(๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และ ๑.๑ การแสดง ปฏิกิริยาโต้ตอบ เสียงดนตรี ๑.๑(๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ ๑.๑ ดนตรี ๑.๑(5) การท ากิจกรรมศิลปะต่างๆ

อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี ๑.๑(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๑(๑) การพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเอง ๑.๑ และผู้อื่น ๑.๑(5) การทำงานศิลปะ

สังคม ๑.๓.๓ การปฏิบัตติ ามวัฒนธรรมท้องถิ่น ๑.๑ และความเป็นไทย ๑.๑(๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติ ๑.๑ ตนในความเป็นไทย ๑.๑(๒) การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้อง ๑.๑ ถิ่นที่อาศัย และประเพณีไทย ๑.๑(๕) การละเล่นพื้นบ้านของไทย

สังคม ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่น ๑.๑ และความเป็นไทย ๑.๑(๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติตน ๑.๑ ในความเป็นไทย ๑.๑(๓) การประกอบอาหารไทย ๑.๑(4) การศึกษานอกสถานที่ ๑.๑(5) การละเล่นพื้นบ้านของไทย

อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี ๑.๑(๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และ ๑.๑ การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี ๑.๑(๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๒ การเล่น ๑.๑(๒) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ ๑.๑(๓) การเล่นตามมุมประสบการณ์/ มุมเล่น ๑.๑ ต่างๆ ๑.๑(๔) การเล่นนอกห้องเรียน ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๑(๔) การร้องเพลง ๑.๑(๕) การท างานศิลปะ สังคม ๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑.๑(๓) การทำงานศิลปะที่น ำวัสดุหรือสิ่งของ ๑.๑ เครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำหรือแปรรูป ๑.๑ แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นและ ๑.๑ ความเป็นไทย ๑.๑(๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติตนใน ๑.๑ ความเป็นไทย

รายการ

อนุบาลปีที่ 1

สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๑(2) การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ ๑.๑(๔) การพู ดแสดงความคิด ความรู้สึ ก ๑.๑ และความต้องการ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล ๑.๑ การตัดสินใจ และแก้ปัญหา ๑.๑(๕) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ ๑.๑ จำแนกสิ่งต่าง ๆตามลักษณะและ ๑.๑ รูปร่าง รูปทรง ๑.๑(6) การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้ ๑.๑ สมบูรณ์และแยกชิ้นส่วน ๑.๑(8) การนับและแสดงจำนวนของสิ่ง ต่างๆในชีวิตประจำวัน ๑.๑(๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และ ๑. ๑การเรียงลำดับสิง่ ต่างๆ ตาม ๑.๑ ลักษณะ ความยาว/ความสูง ๑.๑(14) การบอก และเรียงลำดับกิจกรรม ๑.๑ หรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

1.3.4 การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัย มีส่วนร่วม ๑.๑ และบทบาทสมาชิกของสังคม ๑.๑(3) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ

(๒) การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้อง ถิ่นที่อาศัยและประเพณีไทย (๕) การละเล่นพื้นบ้านของไทย

สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๑(3) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง ๑.๑ บทร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่าง ๆ ๑.๑(4) การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก ๑.๑ และความต้องการ ๑.๑(๕) การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ ๑.๑ ของตนเองหรือพูดเล่าเรื่องราว ๑.๑ เกี่ยวกับตนเอง ๑.๑(10) การอ่านหนังสือภาพ นิทาน ๑.๑ หลากหลายประเภท/รูปแบบ ๑.๑(11) การอ่านอย่างอิสระตามลำพัง ๑.๑ การอ่านร่วมกัน การอ่านโดยมี ๑.๑ ผู้ชี้แนะ ๑.๑(12) การเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ ๑.๑ ถูกต้อง ๑.๔.๒ การคิดรวบยอดการคิดเชิงเหตุผล ๑.๑ การตัดสินใจและแก้ปัญหา

สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๑(๓) การฟังเพลง นิทาน ค าคล้องจอง ๑.๑ บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่างๆ ๑.๑(๔) การพู ดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึ ก ๑.๑ และความต้องการ ๑.๑(๕) การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ ๑.๑ ของตน หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ ๑.๑ ตนเอง ๑.๑(๘) การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด ๑.๑(๑๐) การอ่านหนังสือภาพ นิทาน ๑.๑ หลากหลายประเภท/รูปแบบ ๑.๑(๑๓) การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษรคำ และข้อความ ๑.๑(๑๗) การคาดเดาคำวลี หรือประโยคที่ ๑.๑ มีโครงสร้างซ้ำๆกันจากนิทาน ๑.๑(๑๙) การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ ๑.๑ ถูกต้อง ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและการแก้ปัญหา

รายการ

อนุบาลปีที่ 1

คณิตศาสตร์

๑. การนับปากเปล่า ๑ - ๕ ๒. นับและแสดงจำนวน ๑ - ๒ ๓. จับคู่ของจริง

วิทยาศาสตร์

ทักษะการสังเกต

พัฒ นาการทางภาษาและ ๑. การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ การรู้หนังสือ ๒. การฟังเพลง นิทาน ค าคล้องจอง ๓. การอ่านหนังสือภาพ

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

๑.๑(๑) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบการ ๑.๑ เปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของ ๑.๑ สิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่าง ๑.๑ เหมาะสม ๑.๑(6) การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ ๑.๑ ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน ๑.๑(8) การนับและแสดงจำนวนของสิ่งต่าง ๆ ๑.๑ ในชีวิตประจำวัน ๑.๑(๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และ ๑.๑ การเรียงลำดับสิ่งต่างๆตามลักษณะ ๑.๑ ความยาว/ความสูงน้ำหนักปริมาตร

๑.๑(๑) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ ๑.๑ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของ ๑.๑ สิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่าง ๑.๑ เหมาะสม ๑.๑(๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และ ๑.๑ การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตามลักษณะ ๑.๑ ความยาว/ความสูง น้ำหนักปริมาตร ๑.๑(๘) การนับและแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆ ๑.๑ ในชีวิตประจำวัน ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑.๑(๓) การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปทรง ๑.๑ จากวัสดุที่หลากหลาย ๑. การนับปากเปล่า ๑ - ๒๐ ๒. นับและแสดงจำนวน ๘ ๓. เปรียบเทียบ จำแนก

๑. การนับปากเปล่า ๑ - ๑๐ ๒. การนับและแสดงจำนวน ๕ ๓. เปรียบเทียบ จำแนก ๔. ตำแหน่ง ทิศทาง ทักษะการสังเกต ๑. การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ ๒. การอ่านหนังสือภาพ นิทาน ๓. การเห็นแบบอย่างการอ่านที่ถูกต้อง ๔. การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด

๑. ทักษะการสังเกต ๒. อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น ในเหตุการณ์หรือการกระทำ ๑. การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ ๒. การคาดคะเน เรื่องจากปกหนังสือ ๓. การอ่านหนังสือภาพ นิทาน ๔. การเห็นแบบอย่างการอ่านที่ถูกต้อง

รายการ

อนุบาลปีที่ 1

อนุบาลปีที่ 2

อนุบาลปีที่ 3

๕. รู้จักส่วนประกอบหนังสือ ปกหน้า ๕. การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด ปกใน ชื่อผู้แต่ง ผู้วาดภาพ เนื้อเรื่อง ๖. การ ๖. รู้จักส่วนประกอบหนังสือ ปกหน้า ปกใน ชื่อ เห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง ผู้แต่งผู้วาดภาพ เนื้อเรื่อง ๗. การตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ ๘. การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง

หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ ๑๒ เรือ่ ง รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓

แนวคิด

ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์มายาวนาน ที่ดำรงได้มาจนถึงทุกวันนี้เพราะบรรพบุรุษได้เสียสละปกป้องดูแลผืนแผ่นดินมา พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของประเทศที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทย ลูกหลานคนไทยต้องช่วยกันสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีที่ ดีงาม มีความรักและ สามัคคีกัน ดำรงตนเป็นคนดีมีความรับผิดชอบ เพื่อที่จะได้อยู่กันอย่างสงบสุข และประเทศจะได้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโต ตามวัยและมีสุขนิสัย ที่ดี

1.3 รักษาความ ปลอดภัยของตนเอง และผู้อื่น

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และ กล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่าง คล่องแคล่วและ ประสานสัมพันธ์กัน

๒.๑ เคลื่อนไหว ร่างกายคล่องแคล่ว ประสานสัมพันธ์และ ทรงตัวได้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการสำคัญ

1.3.1 เล่นทำกิจกรรม 1. เล่น ทำกิจกรรมในการ ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ และปฏิบัติกับผู้อื่น เล่นและปฏิบัติกับผูอ้ ื่น (๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ อย่างปลอดภัย อย่างปลอดภัย (๒) การเคลือ่ นไหวเคลือ่ นที่ (๓) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุ อุปกรณ์ (๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้การ ประสานสัมพันธ์ของการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ในการ ขว้าง การจับ การโยน การเตะ (๕) การเล่นเครื่องเล่นสนาม อย่างอิสระ ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าถอย ๒. เคลื่อนไหวร่างกายใน ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย หลังเป็นเส้นตรงได้ โดย กิจกรรมต่างๆโดยใช้การ (๑) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ไม่ต้องกางแขน ประสานสัมพันธ์กล้ามเนือ้ ในชีวิตประจำวัน และทรงตัวได้ (๓) การเล่นเครื่องเล่นอย่าง ปลอดภัย ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกี่ยวกับ ร่างกายตนเอง

สาระทีค่ วรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก ๑. พระมหากษัตริย์ไทย ๒.วันสำคัญตามประเพณีไทย ๓.บ้านไทย ๔. หน้าที่ของเด็กในการเป็น พลเมืองดี ๕. ผลไม้เมืองไทย

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

๒.๒ ใช้มือ-ตาประสาน ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด ๓. การมีทักษะใช้เครื่องมือ สัมพันธ์กัน กระดาษตามแนวเส้ น อุปกรณ์ต่างๆ โค้งได้

มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออก ทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงาน ศิลปะ ดนตรีและการ เคลื่อนไหว

๔.๑.๓ สนใจ มีความสุขและแสดง ทางทาง/ การเคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะและดนตรี

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

๗.๒ มีมารยาทตาม วัฒนธรรมและความ เป็นไทย

๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม มารยาทไทยได้ตาม กาลเทศะ

สาระการเรียนรู้ ประสบการสำคัญ

(๑) การเคลื่อนไหวโดย ควบคุมตนเองไปใน ทิศทาง ระดับและพืน้ ที่ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก (๒)การเขียนภาพและเล่นกับสี (๓) การปั้น (๔) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ (๕) การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ ๔. เคลื่อนไหวร่างกาย ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี ประกอบเพลง ได้ (๑) การฟังเพลง การร้องเพลงและ การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบสียง ดนตรี (๓) การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง/ ดนตรี ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ (๔) การร้องเพลง (๕) การท างานศิลปะ ๕. มีมารยาทและปฏิบัติ ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรม ตนตามวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่นและความเป็นไทย ไทยได้ (๑) การเล่นบทบาทสมมติการ ปฏิบัติตนในความเป็นไทย

สาระทีค่ วรเรียนรู้

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้

วัฒนธรรมและความ เป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขและ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้ เหมาะสมกับวัย

๘.๑ ยอมรับความ เหมือนและความต่าง ระหว่างบุคคล

๙.๑ สนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่น เข้าใจ

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการสำคัญ

(๒) การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ท้องถิ่นที่อาศัยและประเพณีไทย (๕) การละเล่นพื้นบ้านของไทย ๘.๑.๑ เล่นและทำ ๖. สามารถอยูร่ ่วมในสังคม ๑.๒.๒ การเล่น กิจกรรมร่วมกับเด็กที่ กับผู้อื่นได้ (๒) การเล่นรายบุคคล กลุม่ ย่อย แตกต่างไปจากตน กลุ่มใหญ่ ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงาน ๗. สามารถปฏิบัติตนเป็น (๓) การเล่นตามมุม ร่วมมือกับเพื่อนอย่างมี สมาชิกที่ของสังคม ประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ เป้าหมาย (๔) การเล่นนอกห้องเรียน ๙.๑.๑ ฟั ง ผู้ อื่ น พู ด จน จบและสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่องเชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟัง ๙.๑.๒ เล่าเป็นเรื่องราว ต่อเนื่องได้

๘. สื่อสาร สนทนาโต้ตอบ ๑.๔.๑ การใช้ภาษา อย่างเข้าใจความหมาย (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทร้อยกรองหรือ เรื่องราวต่างๆ ๙.เล่าเป็นเรื่องราวได้อย่าง (๔) การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและความต้องการ ต่อเนือ่ งให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (๕) การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับ 9.2.1 อ่านภาพ ๑๐.อ่านภาพ สัญลักษณ์ ประสบการณ์ของตน หรือพูดเล่า สัญลักษณ์คำพร้อมทั้งชี้ คำพร้อมชีห้ รือกวาดตา เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง หรือกวาดตามอง (๘) การรอจังหวะที่เหมาะสมใน มองจุดเริ่มต้นและจุดจบ จุดเริ่มต้นและจุดจบ การพูด ของข้อความได้ ของข้อความ (๑๐) การอ่านหนังสือภาพ นิทาน

สาระทีค่ วรเรียนรู้

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

๙.๒.๒ เขียนชื่อของ ๑๑.เขียนชือ่ ของตนเอง ตนเองตามแบบ เขียน ตามแบบ เขียนข้อความ ข้อความด้วยวิธีที่คิดขึ้น ด้วยวิธีที่คิดขึน้ เองได้ เอง มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถใน การคิดที่เป็นพื้นฐาน การเรียนรู้

๑๐.๑ มีความสามารถ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ในการคิดรวบยอด ส่วนประกอบ การ เปลี่ยนแปลงหรือ ความสั ม พั น ธ์ ข องสิ่ ง ต่ า งๆจากการสั ง เกต โดยใช้ประสาทสัมผัส ๑๐.๑.๒ จับคู่และ เปรียบเทียบความ แตกต่างหรือความ เหมือนของสิ่งต่างๆ โดยลักษณะที่สังเกต พบสองลักษณะขึ้นไป

๑๒. สังเกตและ เปรียบเทียบหาความ สัมพันธ์ของสิ่งต่างๆได้ ๑๓. มีทักษะเชิง คณิตศาสตร์ในการนับ แสดงจำนวน ๑๔.จับคู่และเปรียบเทียบ ความแตกต่างหรือความ เหมือนของสิ่งต่างๆ โดย ลักษณะที่สังเกตพบสอง ลักษณะขึ้นไป

สาระการเรียนรู้ ประสบการสำคัญ หลากหลายประเภท/รูปแบบ (๑๓) การสังเกตทิศทางการอ่าน ตัวอักษร ค า และข้อความ (๑๗) การคาดเดาคำ วลี หรือ ประโยคที่มีโครงสร้างซ้ำๆกันจาก นิทาน (๑๙) การเห็นแบบอย่างของ การเขียนที่ถูกต้อง ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิง เหตุผล การตัดสินใจและการ แก้ปัญหา (๑) การสังเกตลักษณะส่วน ประกอบ การเปลี่ยนแปลง และ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตาม ลักษณะ ความยาว/ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร (๘) การนับและแสดงจำนวน ของสิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวัน

สาระทีค่ วรเรียนรู้

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้

๑๑.๑ ท างานศิลปะ ตามจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการสำคัญ

๑๐.๑.๔ เรี ย งลำดั บ ๑๕. เรียงลำดับเหตุการณ์ สิ่ งของหรื อ เหตุ ก ารณ์ ประเพณีสงกรานต์ได้ อย่างน้อย ๕ ลำดับ

(๑๔) การบอกและเรียงลำดับ กิจกรรมหรือเหตุการณ์ตาม ช่วงเวลา

๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ๑๖.สร้างผลงานศิลปะเพื่อ ศิลปะเพื่อสื่อสาร สื่อสารความคิดความรูส้ ึก ความคิดความรู้สึ กของ ของตนเองต่อผู้อื่นได้ ตนเอง โดยมีการ ดัดแปลงและแปลก ใหม่จากเดิมหรือมี รายละเอียดที่เพิ่มขึ้น

๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (๓) การท างานศิลปะที่นำวัสดุ หรือสิง่ ของเครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ ซ้ำหรือแปรรูปแล้วน ากลับมาใช้ ใหม่ ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ (๓) การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดย ใช้รูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย

สาระทีค่ วรเรียนรู้

การวางแผนกิจกรรมรายหน่วยการจัดประสบการณ์ หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ วันที่

กิจกรรม เคลือ่ นไหวและจังหวะ

เสริมประสบการณ์

ศิลปะสร้างสรรค์

การเล่นตามมุม

การเล่นกลางแจ้ง

เกมการศึกษา

1

การฝึกทำท่าทางเป็น ผู้นำ ผู้ตาม

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การประดิษฐ์เครื่องเขย่า หนังสือและตัวหนังสือ จากเศษวัสดุ นิทานเรื่องเที่ยว เมืองไทย ๒. พระราชกรณียกิจ ของในหลวง ร.๙ และ ร.๑๐

มุมประสบการณ์ใน เล่นเครือ่ งเล่นสนาม ห้องเรียน

เกมภาพตัดต่อประเพณี ไทย

2

การเคลื่อนไหวเชิง สร้างสรรค์ประกอบ อุปกรณ์

วันสำคัญตามประเพณี ๑. การสร้างภาพด้วย ไทย เช่นวันสงกรานต์ การฉีก ตัด ปะ ๒. วาดภาพอิสระด้วยสีไม้

มุมประสบการณ์ใน การเล่นน้ำ เล่นทราย ห้องเรียน

เกมเรียงลำดับเหตุการณ์ ประเพณีสงกรานต์

3

การปฏิบัติตามคำสั่ง และข้อตกลง

๑. บ้านไทยมีความ ๑. การสานกระดาษ สวยงามและมี ประโยชน์ ใช้สอย ๒. การนับ การจำแนก และเปรียบเทียบ๑ - ๘

มุมประสบการณ์ใน เกมการละเล่นพื้นบ้าน ห้องเรียน ของไทย ตีวงล้อ

เกมจับคู่ภาพเหมือน บ้านไทยลักษณะต่างๆ

วันที่

กิจกรรม เคลือ่ นไหวและจังหวะ

เสริมประสบการณ์

ศิลปะสร้างสรรค์

การเล่นตามมุม

การเล่นกลางแจ้ง

เกมการศึกษา

4

การเคลื่อนไหวแสดง ท่าทางตามคำบรรยาย

วันสำคัญตามประเพณี การทำว่าวไทย ไทย

มุมประสบการณ์ใน การละเล่นพืน้ บ้านของ ห้องเรียน ไทย เล่นว่าว

เกมจับคู่ภาพกับสัญลักษณ์ (บัตรคำ)พร้อมบัตร ตรวจสอบ

5

การเคลื่อนไหวตามบท เพลง

หน้าที่ของเด็กในการ เป็นพลเมืองไทยที่ดี

มุมประสบการณ์ใน การเล่นห่วงฮูลาฮูป ห้องเรียน ร่วมใจ

เกมจับคู่ภาพกับจำนวน ที่เท่ากัน 1 – ๘

การปั้นผลไม้ไทย

ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ ๑. กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ ๑. การฝึกทำท่าทางเป็นผู้นำ ผู้ตาม ๒. การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ประกอบอุปกรณ์ ๓. การปฏิบัติตามคำสั่งและข้อตกลง ๔. การเคลื่อนไหวแสดงท่าทางตามคำบรรยาย ๕. การเคลื่อนไหวตามบทเพลง หน้าที่ของเด็ก

๔. กิจกรรมเล่นตามมุม มุมประสบการณ์ ๑. มุมหนังสือ ๒. มุมบล็อก ๓. มุมธรรมชาติ ๔. มุมบ้าน

๒. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๑. พระมหากษัตริย์ไทย ๒.ประเพณีไทย ๔ ภาค ๓. บ้านไทย ๔. วันสำคัญตามประเพณีไทย ๖. หน้าที่ของเด็กในการเป็นพลเมืองดี

หน่วย รักเมืองไทย

๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง ๑. เล่นเครือ่ งเล่นสนาม ๒. การเล่นนำ เล่นทราย ๓. การละเล่นพื้นบ้านของไทยตีวงล้อ ๔. การละเล่นพื้นบ้านของไทยการเล่นว่าวไทย

๓. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ๑. การประดิษฐ์เครื่องเขย่าจากเศษวัสดุ ๒. การสร้างภาพด้วยการ ฉีก ตัด ปะ ๓. การสานกระดาษ ๔. การท าว่าวไทย ๕. การปั้นผลไม้ไทย

๖. กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เกมภาพตัดต่อประเพณีไทย ๒. เกมเรียงลำดับเหตุการณ์ประเพณีสงกรานต์ ๓. เกมจับคู่ภาพเหมือนบ้านไทยลักษณะต่างๆ ๔. เกมจับคู่ภาพกับสัญลักษณ์(บัตรคำ)พร้อมบัตร ตรวจสอบ ๕. เกมจับคู่ภาพกับจำนวนที่เท่ากัน ๑ - ๘

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๑ หน่วยที่ ๑๒ รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจ กรรมเคลื่อ นไหว และจังหวะ เล่น ทำกิจกรรม ปฏิบัติตามคำสั่ง และข้อตกลงการ เป็นผู้นำ ผู้ตามกับ ผู้อื่นอย่างปลอดภัย กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑.สื่อสาร สนทนา โต้ตอบอย่างเข้าใจ ความหมายได้ ๒. กล้าพูดกล้า แสดงออกอย่างมี เหตุผลได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑) การเคลื่อนไหวอยู่ กับที่ (๒) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหว พร้อมอุปกรณ์

กิจกรรมการเรียนรู้

๑. ครู ส าธิต การทำกิ จ กรรม ฉั น เป็ น พระราชา โดยครูมีมงกุฏกระดาษ ๑ อัน ถ้าครูน ำไปสวมที่ ใครคนนั้นต้องคิดและทำท่าทางให้เพื่อนทำตาม เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้ทุกคนหยุด และให้น ำ มงกุฎไปสวมให้เพื่อนคนใหม่คิดท่าทางไม่ให้ซ้ำ คนเดิ ม หมุ น เวี ย นเปลี่ ย นสลั บ ให้ เ ด็ ก มาเป็ น พระราชา ๒. ท าเช่นนี้อีก 4 - 5 ครั้ง ๓. เด็กนั่งผ่อนคลายสบาย ๆ (๓) การฟังเพลงนิทาน ๑. ความรู้พื้นฐาน ๑. พัฒนาการทางภาษาและการรู้หนังสือจาก (๔) การพูดแสดง เกี่ยวกับหนังสือและ นิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย ความคิดเห็นความรู้สึก ตัวหนังสือ นิทาน 1.๑ น าหนังสือนิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย และความต้องการ เรื่องเที่ยวเมืองไทย มาให้เด็กดูหน้าปกหนังสือ (๘) การรอจังหวะที่ ๒. พระมหากษั ต ริ ย์ ๑.๒ ให้เด็กคาดคะเน เรื่องจากปกว่าเป็นเรื่อง เหมาะสมในการพูด ไทย เกี่ยวอะไร (๑๗) การคาดเดา ค า ๓. พระราชกรณียกิจ ๑.๓ จดบันทึกชื่อเด็กพร้อมข้อความที่เด็ก วลีหรือประโยค ที่มี คาดคะเน โครงสร้างซ้ำๆกันจาก ๑.๔ ครูอ่านหนังสือ นิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย นิทาน จนจบ โดยชี้คำตรงกับเสียงอ่าน ๑.๕ ครูอ่านข้อความที่เด็กคาดคะเนไว้และ ถามความเห็นเรื่องชื่อของนิทานอีกครั้งหนึ่ง

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

มงกุฎกระดาษ

สังเกต การทำกิจกรรมปฏิบัติ ตามคำสั่งและ ข้อตกลงการเป็นผู้ น ำ ผู้ ต ามกั บ ผู้ อื่ น อย่ า ง ปลอดภัย

๑. นิทานเรื่องเที่ยว เมืองไทย ๒. ภาพพระบรมฉายา ลั ก ษณ์ แ ละภาพพระ ราชกรณี ยกิ จ ของใน หลวงรัชกาลที่ ๙ และ รัชกาลที่ ๑๐

สังเกต ๑. การสื่อสาร สนทนาโต้ตอบอย่าง เข้าใจความหมาย ๒. การกล้าพูดกล้า แสดงออกอย่างมี เหตุผล

จุดประสงค์ การเรียนรู้

กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑.สร้างผลงานศิลปะ เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง ต่อผู้อื่นได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

(๔) การประดิษฐ์สิ่ง ต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ (๓) การทำงานศิลปะที่ นำวัสดุหรือสิ่งของ เครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำ กลับมาใช้ใหม่ (๓) การสร้างสรรค์ ชิ้นงานโดยใช้รูปทรง จากวัสดุที่หลากหลาย (๑๙) การเห็น แบบอย่างของการ เขียนที่ถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้ ๒. สนทนาซักถามเด็กสืบเนื่องจากนิทาน ใน นิทานเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร และเมืองไทยเรามี อะไรที่เรารักและภูมิใจบ้าง ๓. ครูแสดงภาพพระราชกรณียกิจของในหลวง รัชกาลที่ ๙ และรัชกาลที่ ๑๐ ให้เด็กดู และให้ เด็กบอกสิ่งที่สังเกตเห็น ๔. เราควรปฏิบัติตนที่แสดงถึงความเคารพ ในหลวงอย่างไร และให้ทุกคนแสดงความเคารพ ต่อพระบรมฉายาลักษณ์ การประดิษฐ์เครื่องเขย่าจากเศษวัสดุ ๑. ให้เด็กหาเศษวัสดุที่ไม่ใช้แล้วมาจากบ้าน เช่น กล่ อ งนม กระป๋ อ ง ขวดน้ ำฯลฯ เมล็ ด ถั่ ว เขี ย ว หรือสิ่งอื่นที่คล้ายกัน ๒. เด็กตกแต่งเครื่องเขย่าของตนให้สวยงามตาม จินตนาการ ๓. ใส่เมล็ดถั่วเขียวหรือสิ่งอื่นที่คล้ายกัน ลงข้าง ในเครื่องเขย่า ๔. ปิดช่องว่างด้วยเศษผ้ารัดด้วยหนังยาง พร้อม เขย่าได้ ๕. เด็กนำผลงานมาส่ง ครูเขียนชื่อให้เด็กเขียน ตาม และนำไปเก็บที่แสดงผลงาน 4. เด็กเก็บอุปกรณ์เข้าที่ได้เรียบร้อย

สือ่

๑. วัสดุเหลือใช้ เช่น กล่องนม กระป๋อง ขวด น้ำดื่มพลาสติกฯลฯ ๒. เมล็ดถั่วเขียวหรือสิ่ง อื่นที่คล้ายกัน ๓. ผ้า ๔. หนังยาง ๕. เศษกระดาษสี สำหรับตกแต่ง

การประเมิน พัฒนาการ

สังเกต การสร้างผลงานศิลปะ เพื่ อ สื่ อ สารความคิ ด ความรู้ สึ ก ของตนเอง ต่อผู้อื่นได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมเล่นตามมุม ๑. สามารถอยู่ร่วมใน สังคมกับผู้อื่นได้ ๒. สามารถปฏิบตั ิตน เป็นสมาชิกที่ของ สังคมได้

(๒) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ (๓) การเล่นตามมุม ประสบการณ์

กิจกรรมกลางแจ้ง เล่น ตัดสินใจและ เลื อ กเล่ น เครื่ อ งเล่ น ได้อย่างอิสระและ ปลอดภัย

(๕) การเล่นเครื่องเล่น สนามอย่างอิสระ (๓) การเล่นเครื่องเล่น อย่างปลอดภัย

เกมการศึกษา สังเกตและ เปรียบเทียบหา ความสัมพันธ์ของ สิ่งต่างๆ ได้

(๒) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ (๖) การต่อของชิ้นเล็ก เติมในชิ้นใหญ่ให้ สมบูรณ์

กิจกรรมการเรียนรู้ มุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ สนใจ ได้แก่ 1.๑ มุมหนังสือ แนะนำหนังสือนิทานเรื่องตัว อะไรกำลังมาและหนังสือเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ๑.๒ มุมสร้างสรรค์ จัดวางอุปกรณ์ สัตว์จำลอง ต่างๆ ๑.๓ มุมบล็อก ๑.๔ มุมวิทยาศาสตร์ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ๑. ครูพาเด็กไปสนามเล่น ทบทวนกติกาในการ เล่นเครื่องเล่น ๒. ให้เด็กเล่นเครื่องเล่นอย่างอิสระ ๓. เมื่อหมดเวลา ช่วยกันเก็บทำความสะอาด สนาม ล้างมือ กลับเข้าห้องเรียน

การเล่นภาพตัดต่อ

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

อุปกรณ์มุม ประสบการณ์ ในห้องเรียน

สังเกต การเล่นมุม ประสบการณ์ ตามความสนใจ

เครื่องเล่นสนาม

สังเกต การเล่นและ ทำกิจกรรม พร้อมกับผู้อื่นอย่าง ปลอดภัย

๑. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมภาพตัดต่อ เกมภาพตัดต่อประเพณี สังเกต ประเพณีไทย ไทย การเล่นเกมภาพตัด 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม 2 - 3 คน ตามความสมัคร ต่อประเพณีไทย ใจมอบเกมใหม่ให้ เด็ ก 1 กลุ่ ม กลุ่ มอื่ น ๆ เล่ น เกมที่มีอยู่แล้ว 3. หมุนเวียนการเล่นจนหมดเวลา 4. เด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่เดิมให้เรียบร้อย

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๒ หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ ๑. เคลื่อนไหว ร่างกายในกิจกรรม ต่างๆโดยใช้การ ประสานสัมพันธ์ กล้ามเนื้อและทรงตัว ได้ ๒. เคลื่อนไหวพร้อม อุปกรณ์ได้ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. สื่อสาร สนทนา โต้ตอบอย่างเข้าใจ ความหมายได้ ๒. มีมารยาทและ ปฏิบัติตนตาม วัฒนธรรมประเพณี ไทยได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑) การเคลื่อนไหว อยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหว พร้อมวัสดุอุปกรณ์ (๔) การเคลื่อนไหวที่ ใช้การประสานสัมพันธ์ ของการใช้กล้ามเนื้อ ใหญ่ (๓) การฟังเพลง (๔) การพูดแสดง ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ (๕) การพูดกับผู้อื่น เกี่ยวกับประสบการณ์ ของตนหรือพูดเล่า เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง

กิจกรรมการเรียนรู้

๑. เด็กถือเครื่องเขย่าจากเศษวัสดุที่เด็กประดิษฐ์ ขึ้นเอง ๓. ครูตีกลองหรือใช้เครื่องเคาะจังหวะให้ สัญญาณ ให้เด็กๆ เคลื่อนที่อย่างอิสระไปรอบห้องพร้อม เขย่าอุปกรณ์ของตนเอง ๔. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้เด็กหยุดอยู่กับที่ ๕. เริ่ ม สั ญ ญาณใหม่ ให้ เปลี่ ย นท่ า ทางใหม่ ท ำ เช่นนี4้ - 5ครั้งหรือจนกว่าจะครบกำหนดเวลา ๖. เด็กนั่งผ่อนคลายสบาย ๆ ๑. ความรู้พื้นฐาน ๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหนังสือและตัวหนังสือ เกี่ยวกับหนังสือและ จากหนังสือเรื่องเที่ยวเมืองไทย ตัวหนังสือ นิทาน 1.๑. เด็กและครูอ่านหนังสือเรื่องเที่ยว เรื่องเที่ยวทั่วไทย เมืองไทยพร้อมกันจนจบ ๑ รอบ ๒. วันสำคัญตาม ๑.๒ ครูแนะนำส่วนประกอบหนังสือทีละหน้า ประเพณีไทย เช่นวัน ได้แก่ ปกหน้า ปกใน ชื่อผู้แต่ง ผู้วาดภาพ สงกรานต์ ๑.๓ ครูชักชวนให้เด็กตั้งคำถามเกี่ยวกับหนังสือ เรื่องเที่ยวเมืองไทย มีใครทำอะไรบ้าง ไปที่ไหน เด็กๆเคยทำอะไรเหมือนในนิทานบ้างหรือไม่ ๒. ครูนำภาพประเพณีไทยมาให้เด็กดู สนทนา เรื่องความสำคัญของประเพณี ไทยและประเพณี ในท้องถิ่นของเรา เราควรปฏิบัติตนอย่างไรบ้าง

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

๑. เครื่องเขย่าจากเศษ วัสดุ ๒. กลองหรือเครื่อง เคาะจังหวะ

สังเกต การเคลื่อนไหว ร่างกายพร้อมอุปกรณ์ โดยใช้การประสาน สัมพันธ์กล้ามเนื้อ

๑. ภาพหรือ แบบจำลองบ้ า นทรง ไทยแบบต่างๆ ๒. หนังสือนิทาน เที่ยว เมืองไทย

สังเกต ๑. การสื่อสาร สนทนาโต้ตอบอย่าง เข้าใจความหมาย ๒. การมีมารยาทและ ปฏิบัติตนตาม วั ฒ นธรรมประเพณี ไทยได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ การสร้างผลงาน ศิลปะอย่างอิสระเพื่อ สื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

(๒) การเขียนภาพและ การเล่นกับสี (๔) การประดิษฐ์สิ่ง ต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ (๕) การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การตัด การปะ (๑๙) การเห็น แบบอย่างของ การเขียนที่ถูกต้อง กิจกรรมเล่นตามมุม (๒) การเล่นรายบุคคล ๑. สามารถอยูร่ ่วมใน กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ สังคมกับผู้อื่นได้ (๓) การเล่นตามมุม ๒. สามารถปฏิบัติ ประสบการณ์ / มุม เล่ น ตนเป็นสมาชิกที่ของ ต่างๆ สังคมได้

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

การสร้างภาพด้วยการ ฉีก ตัด ปะ ๑. นำภาพประเพณีและหนังสือนิทาน เที่ยวเมืองไทยมาให้เด็กดู ๒. ให้เด็กสร้างภาพด้วยการ ฉีก ตัด ปะ โดยฉีก กระดาษสีเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วสร้างเป็นภาพตาม จินตนาการ ๓. เด็กนำผลงานมาส่ง ครูเขียนชื่อให้เด็กเขียน ตาม และนำไปเก็บที่แสดงผลงาน

๑. กระดาษสำหรับ วาดเขียน ๒. กระดาษเหลือใช้สี ต่างๆ ๓. กาว

สังเกต การสร้างผลงานศิลปะ เพื่ อ สื่ อ สารความคิ ด ความรู้สึกของตนเอง

มุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม 1. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตาม ความสนใจ ได้แก่ 1.๑ มุมหนังสือ แนะนำหนังสือเรื่องเที่ยว เมืองไทยและหนังสือเกี่ยวกับเมืองไทยเช่น รูปพระราชกรณียกิจ ประเพณีไทย ผลไม้ไทย หน้าที่เด็กไทยที่มุมหนังสือ ๑.๒ มุมสร้างสรรค์จัดวางอุปกรณ์เกี่ยวกับ การสร้างภาพ ตกแต่งภาพ ๑.๓ มุมบล็อก ๑.๔ มุมวิทยาศาสตร์ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย

อุปกรณ์มุม ประสบการณ์ ในห้องเรียน

สังเกต การเล่นมุม ประสบการณ์ ตามความสนใจ

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่ ๑. บ่อทราย ๒. บ่อน้ำ ๓. สนามเล่น ๔. อุ ป กรณ์ ในการเล่ น น้ำ เล่นทราย เช่น วัสดุ จมลอย พลั่วตักทราย

กิจกรรมกลางแจ้ง เล่ น และทำกิจ กรรม การเล่นน้ำเล่นทราย อย่างปลอดภัยได้

(๕) การเล่นเครื่อง เล่นสนามอย่างอิสระ (๓) การเล่นเครื่อง เล่นอย่างปลอดภัย

๑. ครูพาเด็กไปสนาม ทบทวนข้อตกลง เล่นน้ำเล่นทราย และแบ่งเด็กเป็น 2 กลุ่ม เล่นน้ำ เล่น ทราย และแจกอุปกรณ์ของแต่ละกลุ่ม ๒. ครูให้เด็กเลือก เล่นน้ำ เล่นทราย ตามความ สนใจ ๓. เมื่อหมดเวลา ช่วยกันเก็บทำความสะอาด อุปกรณ์ และทำความสะอาดตนเอง กลับเข้า ห้องเรียน

เกมการศึกษา เล่นเกมเรียงลำดับ เหตุการณ์ประเพณี สงกรานต์ได้

(๑๓) การจับคู่ การเรียงลำดับ การเปรียบเทียบ และ เหตุการณ์ การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ

๑. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมเรียงลำดับ เกมเรียงลำดับ เหตุการณ์ประเพณีสงกรานต์ เหตุการณ์ประเพณี ๒. ครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มย่อยๆ แล้วให้เด็กเล่นเกม สงกรานต์ ๓. เมื่อครบกำหนดเวลา ครูนำเด็กสนทนาบอก ความรู้สึกเกี่ยวกับเกมที่เล่น ๔. ครูให้เด็กช่วยกันเก็บเกมเข้าที่ให้เรียบร้อย

การประเมิน พัฒนาการ สังเกต การเล่นและ ทำกิ จ กรรมพร้ อ มกั บ ผู้อื่นอย่างปลอดภัย

สังเกต การเล่นเกมเรียงลำดับ เหตุการณ์ประเพณี สงกรานต์ได้

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๓ หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ ๑. เคลื่อนไหว ร่างกายได้อย่าง คล่องแคล่ว ๒. การปฏิบัติตาม คำสั่งและข้อตกลงได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑) การเคลื่อนไหว อยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (1) การเคลื่อนไหวโดย ควบคุมตนเองไปใน ทิศทาง ระดับและพื้นที่

กิจกรรมการเรียนรู้

๑. ครูอธิบายกฎ กติกาในการทำกิจกรรม ๒. เมื่อครูเคาะจังหวะช้าให้เด็กค่อยๆ เคลื่อนที่ ไปอย่างช้าๆ ถ้าครูเคาะจังหวะเร็วให้เด็กเคลื่อนที่ ไปอย่างเร็ว ๓. ครูกำหนดคำสั่งเพิ่มเติม โดยครูจะมีบัตรภาพ ตัวเลข ๑ - ๓ ถ้าครูชูเลข ๑ ให้เด็กหยุดยืนตรง ถ้าครูชูเลข ๒ ให้เด็กวิ่งไปจับคู่กับเพื่อน ถ้าครูชู เลข ๓ ให้เด็กนั่งลง ๔. ท าเช่นนี้อีก 4 - 5 ครั้ง ๕. เด็กนั่งผ่อนคลายสบาย ๆ กิจกรรมเสริม (๑) การปฏิบัติตนใน ๑ . ความรู้ พื้ น ฐาน ๑. พั ฒ นาการทางภาษาและการรู้ ห นั งสื อ จาก ประสบการณ์ ความเป็นคนไทย เกี่ ยวกั บ หนั งสื อ และ นิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย ๑.สื่อสาร สนทนา (๑๐) การอ่ านหนั งสื อ ตัวหนังสือนิทานเรื่อง ๑.๑. เด็กและครูอ่านหนังสือนิทานเรื่องเที่ยว โต้ตอบอย่างเข้าใจ ภาพ นิทานหลากหลาย เที่ยวทั่วไทย เมืองไทยพร้อมกันจนจบ ฝึกเติมคำด้วยปากเปล่า ความหมายได้ ประเภทรูปแบบ ๒. บ้านไทยมีความ เมื่ออ่านถึงคำที่พบบ่อย ๒. มีทักษะเชิง (๑๓) การสังเกตทิศ ๑.๒ ท ากิจกรรมเติมตัวอักษรในคำที่พบบ่อย สวยงามและมี คณิ ต ศาสตร์ ในการ ทางการอ่านตัวอักษร ประโยชน์ใช้สอย เช่นเที่ยวเมืองไทย (เที่ยวเมืองไทย) นับแสดงจำนวน คำ และข้อความ ๒. ครูทบทวนประสบการณ์เดิมของเด็กเกี่ยวกับ ๓. การนับ บ้านไทย จากนิทานโดยใช้ค ำถามเช่น บ้านของ การจำแนกและ เปรียบเทียบ ๑ - ๘ แต่ละคนเป็นอย่างไร ๒. ครูติดบัตรภาพบ้านไทยบนกระดานและให้ เด็ก

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

๑. เครื่องเคาะจังหวะ ๒. บัตรตัวเลข ๑ - ๓

สังเกต การเคลื่อนไหวได้ อย่างคล่องแคล่วและ การปฏิบัติตามคำสั่ง และข้อตกลง

๑. ภาพหรือ แบบจำลองบ้านไทย แบบต่างๆ ๒. บัตรตัวเลข ๑ - ๘ ๓. หนังสือนิทาน เที่ยวเมืองไทย

สังเกต ๑.การสื่อสาร สนทนา โต้ตอบอย่างเข้าใจ ความหมาย ๒. การมีทักษะเชิง คณิ ต ศาสตร์ ในการ นับแสดงจำนวน

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑๔) การอ่านและชี้ ข้อความโดยกวาด สายตาตามบรรทัด จากซ้ายไปขวาจากบน ลงล่าง (๘) การนั บ และแสดง จำนวนของสิ่งต่างๆ ใน ชีวิตประจำวัน

กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ การสร้างผลงาน ศิลปะอย่างอิสระเพื่อ สื่อสารความคิด ความรู้สึก กิจกรรมเล่นตามมุม สามารถปฏิบัติตน เป็นสมาชิกที่ของ สังคม

(๒) การเขียนภาพ และการเล่นกับสี ๕) การหยิบจับ การ ใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และ การร้อยวัสดุ (๑) การเล่นอิสระ (๓) การเล่นตามมุม ประสบการณ์

กิจกรรมการเรียนรู้ ๒. ครูติดบัตรภาพบ้านไทยบนกระดานและให้ เด็กออกมาเลือกบ้านไทยที่รู้จักคนละภาพ ๓. ครูให้เด็กเล่นเกมจับคู่บ้านแฝด เด็กถือบ้าน ไทยที่เลือกไว้ ครูเคาะสัญญาณหาคู่แฝด ให้เด็ก ไปหาบ้ านที่ เหมื อ นกั น แล้ ว นั่ งลง และช่ ว ยกั น นับว่ามีกี่หลัง เมื่อนับครบทุกกลุ่มแล้วให้น ำภาพ มาเรี ย งกั น จนครบ และให้ ไปหยิ บ ตั ว เลขจาก ตะกร้า มาวางคู่กับภาพบ้าน ๔. ทำซ้ำอีก ๔ - ๕ครั้ง ให้หมุนเวียนในจำนวน ๑-๘ การสานกระดาษ ๑. ครูเตรียมกระดาษสีที่ตัดเป็นเส้นยาวหลากสี ๒. ให้เด็กสานตามแบบเป็นลายขัด ๓. เด็กสานลายตามจินตนาการของตนเอง ๔. เด็กนำผลงานมาส่ง ครูเขียนชื่อให้เด็กเขียน ตาม และนำไปเก็บที่แสดงผลงาน มุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม 1. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตาม ความสนใจ ได้แก่ 1.๑ มุ ม หนั งสื อ แนะนำหนั งสื อ เรื่ อ งเที่ ย ว เมือ งไทยและหนั งสื อ เกี่ยวกับ เมือ งไทยเช่ น รู ป พระราชกรณียกิจ ประเพณีไทย ผลไม้ไทยหน้าที่ เด็กไทยที่มุมหนังสือ

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

๑. กระดาษสำหรับสาน สังเกต ๒. กาว การสร้างผลงานศิลปะ เพื่ อ สื่ อ สารความคิ ด ความรู้สึกของตนได้ อุปกรณ์มุม ประสบการณ์ ในห้องเรียน

สังเกต การปฏิบัติตนเป็น สมาชิกที่ดีของสังคม

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

๑.๒ มุมสร้างสรรค์จัดวางอุปกรณ์เกี่ยวกับ การการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ ๑.๓ มุมบล็อก ๑.๔ มุมวิทยาศาสตร์ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย กิจกรรมกลางแจ้ง (๕) การละเล่น การมีความสุขในการ พื้นบ้านของไทย เล่นและสำรวจ ธรรมชาติ

เกมการศึกษา (๑๒) การจับคูก่ าร จับคู่และ เปรียบเทียบสิ่ง เปรียบเทียบความ ต่าง ๆ แตกต่างหรือความ เหมือนของสิ่งต่างๆ โดยลักษณะที่สังเกต พบสองลักษณะขึ้น ไป

การจับคู่ภาพเหมือน บ้านไทยลักษณะ ต่างๆ

๑. การเล่นเกมการละเล่นพื้นบ้านของไทย ตีวง เกมการละเล่นพื้นบ้าน ล้อ ของไทย ตีวงล้อ ๒. เมื่อเด็กเล่นครบทุกคนแล้วให้เล่นอิสระใน สนามเด็กเล่นต่อไป ๓. เล่นเสร็จแล้วเก็บอุปกรณ์ ความสะอาด และ ทำความสะอาดตนเอง

สังเกต การเล่นเกม การละเล่นพื้นบ้าน ของไทย ตีวงล้อ

๑. ครูแนะนำและอธิบายการเล่นเกมจับคู่ เกมจับคู่ภาพเหมือน ภาพเหมือนบ้านไทยลักษณะต่างๆ บ้านไทยลักษณะต่างๆ 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม 2 - 3 คน ตามความสมัคร ใจมอบเกมใหม่ให้ เด็ ก 1 กลุ่ ม กลุ่ มอื่ น ๆ เล่ น เกมที่มีอยู่แล้ว 3. หมุนเวียนการเล่นจนหมดเวลา 4. เด็กเก็บเกมภาพศึกษาเข้าที่เดิม

สังเกต การจั บ คู่ ภ าพเหมื อ น บ้านไทยลักษณะต่างๆ

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๔ หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย แสดงท่าทางตามคำ บรรยายโดยใช้การ ประสานสัมพันธ์ กล้ามเนื้อและทรงตัว ได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑) การเคลื่อนไหว อยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (๑) การเคลื่อนไหว โดยควบคุมตนเองไป ในทิ ศ ทาง ระดั บ และ พื้นที่

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานให้เด็กเคลื่อนไหว ๑. เครื่องเสียง ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อ ๒. เพลงรำวง ได้ยินสั ญ ญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้น ทันที ๒. ครูกำหนดพื้นที่ในห้องให้เป็นสองฝั่งแม่นำ้ หากครูพูดว่าลอยกระทงให้เด็กวิ่งไปอยู่ฝั่งหนึ่ง และทำท่ารำวง หากครูพูดว่าสงกรานต์ให้เด็กวิ่ง ไปอีกฝั่งหนึ่งและทำท่าสาดน้ำ ๔. ครูเริ่มต้นโดยเปิดเพลงรำวงแล้วให้เด็ก เคลื่อ นที่อิ สระไปเรื่อ ยๆ เมื่อ ครู ปิดเพลงพร้ อ ม ออกคำสั่งให้รีบปฏิบัติให้เร็วที่สุด ๕. เล่นซ้ำสลับไปมาจนหมดเวลา กิจกรรมสร้างเสริม (๑๒) การเห็น ๑. ความรู้พื้นฐาน ๑. พัฒนาการทางภาษาและการรู้หนังสือจาก ประสบการณ์ แบบอย่างการอ่านที่ เกี่ยวกับหนังสือและ นิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย อ่านภาพ สัญลักษณ์ ถูกต้อง ตัวหนังสือ นิทาน ๑.๑ เด็กและครูอ่านหนังสือนิทานเรื่องเที่ยว คำพร้อมชี้หรือกวาด (๑๓) การสังเกตทิศ เรื่องเที่ยวทั่วไทย เมืองไทยพร้อมกันจนจบ๑รอบ ตามองจุดเริ่มต้นและ ทางการอ่ า นตั ว อั ก ษร ๒. วันสำคัญตาม ๑.๒ อ่านพร้อมกันอีกครั้งโดยครูใช้กระดาษปิด จุดจบของข้อความ คำ และข้อความ ประเพณีไทย คำให้เด็กทาย เมื่ออ่านคำที่ทายแล้ว ให้เด็กเปิดดู ได้ (๑๗) การคาดเดาคำ ๓. การปฏิบัติตน ว่าถูกต้องหรือไม่ วลี หรือประโยคที่มี อย่างเหมาะสมใน ๑.๓ ให้เด็กเลือกปิดคำเองและให้เพื่อนทาย โครงสร้างซ้ำๆกัน โอกาสวันสำคัญต่างๆ 2. สนทนากับเด็กจากนิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย จากนิทาน มีวันสำคัญอะไรอีกบ้างที่เด็กรู้จัก

การประเมิน พัฒนาการ สังเกต การเคลื่อนไหว ร่างกายแสดงท่าทาง ตามคำบรรยายโดยใช้ การประสานสัมพันธ์ กล้ามเนื้อและทรงตัว ได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ (๑) การเล่นบทบาท สมมติ การปฏิบัติตน ในความเป็นไทย

กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ การสร้างผลงาน ศิลปะอย่างอิสระเพื่อ สื่อสารความคิด ความรู้สึก

(๕) การหยิบจับ การ ใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ (๕) การทำงานศิลปะ

กิจกรรมเล่นตามมุม (๓) การเล่นตามมุม สามารถอยู่ร่วมใน ประสบการณ์ สังคมกับผู้อื่นได้

กิจกรรมการเรียนรู้ ๓. ครูนำภาพกิจกรรมในเทศกาลสำคัญต่างๆ เช่ น วั น สงกรานต์ ลอยกระทง ให้ เด็ ก สั งเกต และสนทนาถึ ง ประสบการณ์ เ ดิ ม ของเด็ ก เกี่ยวกับเทศกาลสำคัญต่างๆ ๕. หาอาสาสมัครมาแสดงบทบาทสมมติใน ประเพณีต่างๆ ว่าวไทย ๑. ครูสาธิตการท าว่าวไทย ให้เด็กดู ๒. ให้เด็กเลือกกระดาษสีตามความชอบ ๓. เด็กประกอบโครงว่าวโดยใช้ลวดมัด ครูอาจ ช่วยเพื่อให้มัดแน่น ๔. เมื่อทำเสร็จแล้ว ให้เด็กนำว่าวของตนลงไป เล่นในสนาม มุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม 1. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตาม ความสนใจ ได้แก่ 1.๑ มุมหนังสือ แนะนำหนังสือเรื่องเที่ยว เมืองไทยและหนังสือเกี่ยวกับเมืองไทยเช่น รูปพระราชกรณียกิจ ประเพณีไทย ผลไม้ไทย หน้าที่เด็กไทยที่มุมหนังสือ ๑.๒ มุมสร้างสรรค์จัดวางอุปกรณ์เกี่ยวกับ การการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ ๑.๓ มุมบล็อก ๑.๔ มุมวิทยาศาสตร์

สือ่

๑. กระดาษสีขนาดเอ๔ สำหรับตัวว่าวหลากสี ๒. ไม้ทางมะพร้าวทำโครง ว่าว ๓. กาวหรือแป้งเปียก ๔. เชือกสำหรับทำสายว่าว ๕. ลวดเส้นเล็ก อุปกรณ์มุม ประสบการณ์ ในห้อง

การประเมิน พัฒนาการ

สังเกต การสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึก ของตนเองได้ สังเกต การเล่นมุม ประสบการณ์ ตามความสนใจ

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

กิจกรรมกลางแจ้ง เล่น ทำกิจกรรม และปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างปลอดภัยได้

(๔) การเล่นนอก ห้องเรียน (๒) การเล่นและ ทำงานร่วมกับผู้อื่น (๕) การละเล่น พื้นบ้านของไทย

๑.การเล่นเกมการละเล่นของไทย เล่นว่าว ๑. ว่าว ๒. เมื่อเด็กเล่นแล้วให้เด็กไปก่อเจดีย์ทรายใน ๒. อุปกรณ์เล่นทราย สนามเด็กเล่นต่อไป ๒. เด็กสร้างสรรค์เจดีย์ทราย (หรือตามแบบที่ ร่วมกันกำหนด) ตามจินตนาการ ๓. ครูให้เด็กช่วยกันลงความเห็นว่าชื่นชอบเจดีย์ ทรายของกลุ่มใดมากที่สุดและคิดวิธีแสดงความ ชื่นชมเพื่อนๆ ๔. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย ๕. ครูให้เด็กล้างมือทำความสะอาดร่างกาย

สังเกต การเล่ น ทำกิ จ กรรม ในการเล่ น ว่ า วและ ปฏิ บั ติ กั บ ผู้ อื่ น อย่ า ง ปลอดภัย

เกมการศึกษา จับคู่และ เปรียบเทียบความ แตกต่างหรือความ เหมือนของสิ่ง ต่างๆ โดยลักษณะ ที่สังเกตพบสอง ลักษณะขึ้นไป

(๑๓) การจับคู่ การ เกมจับคู่ภาพกับ เปรียบเทียบและการ สัญลักษณ์(บัตรคำ) เรียงลำดับสิ่งต่างๆ พร้อมบัตรตรวจสอบ ตามลักษณะ ความ ยาว ความสูง น้ำหนัก ปริมาตรเรียงลำดับ กิจกรรมหรือเหตุการณ์ ตามช่วงเวลา

๑. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมใหม่ เกม เกมจับคู่ภาพกับ จับคู่ภาพกับสัญลักษณ์(บัตรคำ) พร้อมบัตร สัญลักษณ์(บัตรคำ) ตรวจสอบ พร้อมบัตรตรวจสอบ ๒. ครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มย่อยๆ แล้วให้เด็กเล่นเกม ๓. เมื่อครบกำหนดเวลา ครูนำเด็กสนทนาบอก ความรู้สึกเกี่ยวกับเกมที่เล่น ๔. ครูให้เด็กช่วยกันเก็บเกมเข้าที่ให้เรียบร้อย

สังเกต การเล่ นเกมจับ คู่ภาพ กับสัญลักษณ์(บัตรคำ) พร้อมบัตรตรวจสอบ

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๕ หน่วยที่ 12 รักเมืองไทย ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจ กรรมเคลื่อ นไหว และจังหวะ ๑. เคลื่อนไหว ร่างกายประกอบ เพลง ได้

(๑) การเคลื่อนไหวอยู่ กับที่ (๒) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (๑) การฟังเพลง การ ร้องเพลง และการ แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เสียงดนตรี (๓) การเคลื่อนไหว ตามเสียงเพลง/ดนตรี

กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. อ่านภาพ สัญลักษณ์คำพร้อมชี้ หรือกวาดตามอง จุดเริ่มต้นและจุด จบของข้อความได้ ๒. เขียนชื่อของ ตนเองตามแบบ เขียนข้อความด้วย วิธีที่คิดขึ้นเองได้

(๑๔) การอ่านและชี้ ข้อความโดยกวาด สายตาตามบรรทัด จากซ้ายไปขวา จาก บนลงล่าง (๑๒) การเห็นแบบ อย่างการอ่านที่ถูกต้อง (๑๙) การเห็นแบบ อย่างการเขียนที่ ถูกต้อง

๑. ความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับหนังสือและ ตั วห นั งสื อ นิ ท าน เรื่องเที่ยวทั่วไทย ๒. หน้าที่ของเด็กใน การเป็นพลเมือ งไทย ที่ดี

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานให้เด็กเคลื่อนไหว ๑. เพลงหน้าที่ของเด็ก ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อ ๒. วิทยุเทป ได้ยินสั ญ ญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้น ทันที ๒. ครูเปิดเพลงหน้าที่ของเด็ก เด็ก ให้เด็กฟัง ๑ รอบ และให้ร้องตาม ๑ รอบ รอบต่อๆไปให้เด็ก แสดงท่าทางประกอบเพลง ๓. ท าเช่นนี้อีก 4 - 5 ครั้ง ๔. เด็กนั่งผ่อนคลายสบาย ๆ

สังเกต การเคลื่อนไหว ร่างกายประกอบเพลง ได้

๑.พัฒนาการทางภาษาและการรู้หนังสือจาก ๑. เพลงหน้าที่ของเด็ก นิทานเรื่องเที่ยวเมืองไทย ๒. หนังสือนิทาน ๑.๑ เด็กและครูอ่านหนังสือนิทานเรื่องเที่ยว เที่ยวเมืองไทย เมืองไทยพร้อมกันจนจบ๑รอบ ๑.๒ ให้เด็กอาสาออกมาอ่านพร้อมชี้ข้อความ ให้เพื่อนอ่านไปพร้อมกัน ๒. ฝึ ก การเขี ยนอิ ส ระ ตามความสนใจ คำ วลี หรือประโยคที่ชอบจากหนังสือนิทาน ๓. สนทนากับเด็กภาพในนิทานมีเด็กดีหรือไม่ ๑. ครูสนทนากับเด็กถึงเนื้อเพลง เด็กดีหมายถึง อะไร ใครทำข้อไหนบ้าง

สังเกต ๑.การอ่านภาพ สัญลักษณ์คำพร้อมชี้ หรือกวาดตามอง จุดเริ่มต้นและจุดจบ ของข้อความได้ ๒.เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบเขียน ข้ อ ความด้ ว ยวิ ธี ที่ คิ ด ขึ้นเองได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

การประเมิน พัฒนาการ

(๒๑) การเขียนคำที่มี ความหมายกับตัวเด็ก คำคุ้นเคย

๒.เด็กรู้ไหมอะไรเป็นสมบัติของชาติ ๓.เรามีวิธีดูแลสมบัติของชาติอย่างไร

กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ การสร้างผลงาน ศิลปะอย่างอิสระ เพื่ อ สื่ อ สารความคิ ด ความรู้สึกของตนได้

(๕) การท างานศิลปะ (๑) การรับรู้และแสดง ความคิด ความรู้สึก ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน

การปั้น ๑. ครูเตรียมอุปกรณ์การปั้น ๓อย่าง ดินน้ำมัน ดินเหนียว แป้งโด มาให้เด็กตัดสินใจเลือก ๒. น าผลไม้ไทยของจริงหรือจำลองมาวางให้เด็ก จับต้อง สัมผัส ๓. เด็กเลือกปั้นผลไม้ไทย ตามความสนใจและ จำนวนตามชอบ

๑. ดินน้ำมัน ๒. ดินเหนียว ๓. แป้งโด ๔. แผ่นรองปั้น ๕. ผลไม้จริงหรือผลไม้ จำลอง

สังเกต การสร้างผลงานศิลปะ เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง ได้

กิจกรรมเล่นตามมุม สามารถเลือกมุม ประสบการณ์ตาม ความสนใจของ ตัวเองได้

๑.๒.๒ การเล่น (๑) การเล่นอิสระ (๓) การเล่นตามมุม ประสบการณ์

มุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม 1. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตาม ความสนใจ ได้แก่ 1.๑ มุมหนังสือ แนะนำหนังสือเรื่องเที่ยว เมืองไทยและหนังสือเกี่ยวกับเมืองไทยเช่น รูปพระราชกรณียกิจ ประเพณีไทย ผลไม้ไทย หน้าที่เด็กไทยที่มุมหนังสือ ๑.๒ มุมสร้างสรรค์จัดวางอุปกรณ์เกี่ยวกับ การการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ ๑.๓ มุมบล็อก ๑.๔ มุมวิทยาศาสตร์ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย

อุปกรณ์มุม ประสบการณ์ ในห้องเรียน

สังเกต การเล่นมุม ประสบการณ์ ตามความสนใจ

จุดประสงค์ การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมกลางแจ้ง เล่น ทำกิจกรรม และปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างปลอดภัยได้

(๓) การเคลื่อนไหว พร้อมวัสดุอุปกรณ์ (๒) การเล่นและ ท างานร่วมกับผู้อื่น (3) การเล่นเครื่องเล่น อย่างปลอดภัย

เกมการศึกษา มีทักษะเชิง คณิตศาสตร์ ใน การนับ แสดงจำนวน

(๘) การนับและแสดง จำนวนของสิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวัน (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ

กิจกรรมการเรียนรู้

สือ่

๑. ครูแนะนำกติกา ในการทำกิจกรรมห่วงร่วมใจ ห่วงฮูลาฮูปหรือห่วง ๒. ครูแบ่งเด็กเป็นสองแถวยาว ให้เด็กยืนเว้น เชือกขนาดใหญ่ ระยะห่างกันพอสมควรกับขนาดของห่วงฮูลาฮูป ๓. ครูให้ห่วงฮูลาฮูปกับคนหัวแถวโดยคล้อง เข้าที่ร่างกาย แล้วให้ส่งต่อไปยังคนถัดไปโดยใช้ ร่างกายแต่ละส่วนขยับ ๔. แถวใดที่ ส่ งห่ ว งไปถึ งคนสุ ด ท้ ายก่ อ นเป็ น ผู้ ชนะ จับคู่ภาพกับจำนวนที่ ๑. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมใหม่ เกมจับคู่ภาพกับ เท่ากัน 1 – ๘ เกมจับคู่ภาพผลไม้กับจำนวนที่เท่ากัน 1 – ๘ จำนวนทีเ่ ท่ากัน 1 – ๘ ๒. ครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มย่อยๆ แล้วให้เด็กเล่นเกม ๓. เมื่อครบกำหนดเวลา ครูนำเด็กสนทนาบอก ความรู้สึกเกี่ยวกับเกมที่เล่น ๔. เด็กช่วยกันเก็บเกมเข้าที่ให้เรียบร้อย

การประเมิน พัฒนาการ สังเกต การเล่ น ห่ ว งฮู ล าฮู ป ร่วมใจ

สังเกต การเล่ นเกมจับ คู่ภาพ กับจำนวนที่เท่ากัน 1–๘

เลขที่ ชื่อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คำอธิบาย ครูสังเกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบันทึกสรุปเป็นรายสัปดาห์ระบุระดับคุณภาพเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับ ๓ ดี ระดับ ๒ ปานกลาง ระดับ ๑ ควรส่งเสริม 1๖. การสร้ า งผลงานศิ ล ปะเพื่ อ สื่ อ สารความคิ ด ความรู้สึกของตนเองต่อผู้อื่น

15. การเรียงลำดับเหตุการณ์ประเพณีสงกรานต์ได้

๑๔. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความ เหมื อ นของสิ่ ง ต่ า งๆ โดยลั ก ษณะที่ สั ง เกตพบสอง ลักษณะขึ้นไป

ด้านสังคม

๑๓. การมี ทั ก ษะเชิ ง คณิ ต ศาสตร์ ใ นการนั บ แสดง จำนวน

๑๒. การสังเกตและเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ของสิ่ง ต่างๆ

๑๑. การเขียนชื่อของตนเองตามแบบ เขียนข้อความ ด้วยวิธีที่คิดขึ้นเอง

๑๐. การอ่านภาพ สัญลักษณ์ คำพร้อมชี้หรือกวาดตา มองจุดเริ่มต้นและจุดจบของข้อความได้

๙. การเล่าเป็นเรื่องราวได้อย่างต่อเนื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ

๘.การสื่อสาร สนทนาโต้ตอบอย่างเข้าใจความหมาย

7. การสามารถปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ของสังคม

อารมณ์ จิตใจ

6. การสามารถอยู่ร่วมในสังคมกับผู้อื่น

5. การมีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมประเพณี ไทย

ร่างกาย

4. การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง

๓. การมีทักษะใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ

๒. การเคลื่อนไหวร่างกายในกิจกรรมต่างๆโดยใช้การ ประสานสัมพันธ์กล้ามเนื้อและทรงตัว

1. การเล่นทำกิจกรรมในการเล่นและปฏิบัติกับผู้อื่น อย่างปลอดภัย

แบบสังเกตพฤติกรรมเด็ก หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ ๑2 รักเมืองไทย ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ประเมินพัฒนาการ ด้านสติปญ ั ญา

หมายเหตุ

Data Loading...