ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564 - PDF Flipbook

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จังหวัดพะเยา ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564

120 Views
50 Downloads
PDF 786,070 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


ISSN 1685 - 0688

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จังหวัดพะเยา ไตรมาสที่ 1 : มกราคม – มีนาคม 2564

สำนักงานสถิติจังหวัดพะเยา สำนักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม

หนวยงานเจาของเรื่อง

สำนักงานสถิติจังหวัดพะเยา ศาลากลางจังหวัดพะเยาหลังใหม ชั้น 1 ต.บานตอม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000 โทรศัพท 0 5444 9620 โทรสาร 0 5444 9621 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : [email protected]

หนวยงานที่เผยแพร

สำนักสถิติพยากรณ สำนักงานสถิติแหงชาติ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดีชั้น 2 ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2143 1323 ตอ 17496 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : [email protected]

ปทจี่ ัดพิมพ จัดพิมพโดย

2564 สำนักงานสถิติจังหวัดพะเยา

iii

คำนำ สำนั กงานสถิติแห งชาติ ได เริ่มจัดทำโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรมาตั้ งแตป พ.ศ. 2506 ในช วง พ.ศ. 2514-2526 ได ทำการสำรวจป ละ 2 รอบ โดยรอบแรกเป นการสำรวจนอกฤดู การเกษตรระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม รอบที่ 2 เปนการสำรวจในฤดูการเกษตรระหวางเดือน กรกฎาคมถึงเดือนกันยายน และชวง พ.ศ. 2527-2540 ทำการสำรวจเปนปละ 3 รอบ คือ รอบที่ 1 สำรวจใน เดือนกุมภาพันธ รอบที่ 2 สำรวจในเดือนพฤษภาคม รอบที่ 3 สำรวจในเดือนสิงหาคมและชวง พ.ศ. 25412543 ทำการสำรวจเพิ่มขึ้นอีก 1 รอบ เปนรอบที่ 4 ในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งทำใหไดขอมูลเปนรายไตรมาส เพื่อสนองความตองการใชขอมูลในระดับจังหวัด สำนั กงานสถิติแห งชาติ ไดขยายขนาดตัวอยางและนำ ขอมูลเปนระดับจังหวัด ทั้งนี้ตั้งแต พ.ศ. 2557 เปนตนมา สำหรับการสำรวจตั้งแต พ.ศ. 2544 เปนตนไป ไดดำเนินการสำรวจเปนรายเดือนแลวนำขอมูล 3 เดือนรวมกันเพื่อเสนอขอมูลเปนรายไตรมาส และไดมีการปรับอายุผูอยูในกำลังแรงงานจาก 13 ปขึ้นไป เปน 15 ปขึ้นไป เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายการใชแรงงานเด็ก ปรับปรุงการจัดจำแนกประเภทของอาชีพ อุตสาหกรรมและสถานภาพการทำงาน ใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล เพื่อใหใหสามารถเปรียบเทียบ ขอ มูล กัน ได และปรั บ เขตการปกครองจากเดิม เขตสุข าภิบ าลถู ก นำเสนอรวมเป น นอกเขตเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 รายงานฉบับนี้ เปนรายงานผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จังหวัดพะเยา ไตรมาส 1 : มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งไดดำเนินการสำรวจระหวางเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2564

บทสรุปสำหรับผูบริหาร สำนั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ ได ด ำเนิ น การจั ด ทำ โครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรอย า ง ตอเนื่องเปนประจำทุกปเริ่มตั้งแตป 2506 โดยในชวงแรก ทำการสำรวจ ปละ 2 รอบ โดยรอบแรกเปนการสำรวจ นอกฤดู ก ารเกษตร รอบที่ 2 เป น การสำรวจในฤดู การเกษตร ตอมาในป 2527 - 2540 ทำการสำรวจเป น ป ล ะ 3 รอบ โดยเพิ่ ม สำรวจช ว งเดื อ นพฤษภาคมเพื่ อ ดูแรงงานที่จบการศึกษาใหมเขาสูตลาดแรงงาน และในป 2541 ได ท ำการสำรวจเพิ่ มขึ้ น อี ก 1 รอบในเดื อ น พฤศจิกายน เปนชวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตการเกษตร ทำให เ ป น การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ครบทั้ง 4 ไตรมาสของป สำหรับรายงานฉบับนี้ เปนการเสนอผลการสำรวจ ในจังหวัดพะเยา ไตรมาสที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2564 ซึ่ งได ด ำเนิ น การสำรวจระหว า งวัน ที่ 1 - 12 ของเดื อ น มี ค รั ว เรื อ นที่ ต กเป น ตั ว อย า งทั้ ง สิ้ น 360 ครั ว เรื อ น เปนครัวเรือนในเขตเทศบาล 192 ครัวเรือน และนอกเขต เทศบาล 168 ครัวเรือน สำหรับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ใช วิ ธี ก ารสั ม ภาษณ หั ว หน า ครั ว เรื อ นหรื อ สมาชิ ก ใน ครัวเรือนที่ตกเปนตัวอยาง ผลการสำรวจทำใหทราบถึง การมีงานทำตามลักษณะอาชีพ อุตสาหกรรม สถานภาพ การทำงาน ชั่ ว โมงการทำงาน ในรอบสั ป ดาห แห งการ สำรวจ และจำนวนผู ว า งงานของประชากรในจั งหวั ด พะเยาในชวงเวลาดังกลาว ขอมูลเหลานี้ทำใหผูเกี่ยวของ และผูที่สนใจ ดานแรงงานนำไปใชประโยชนในการปรับ แผนการปฏิบัติงานการสงเสริม การจางงานใหสอดคลอง กับชวงเวลานั้น ๆ หรือนำไปกำหนดแผนการกระตุนภาค ก า ร ผ ลิ ต ข อ งจั งห วั ด ให เห ม า ะ ส ม กั บ ก ำ ลั งค น เชน กระทรวงแรงงาน เปนตน

สรุปผลการสำรวจที่สำคัญ 1. โครงสรางของกำลังแรงงาน จังหวัดพะเยา มี จำนวนประชากรที่ อยู ในกำลั ง แรงงานจำนวน 205,958 คน ประกอบดวยผูมีงานทำ จำนวน 205,111 คน ผูวางงาน 848 คน สวนผูที่ไมอยู ในกำลังแรงงาน มีจำนวน 133,117 คน แผนผังการจำแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2563 ผูมีอายุ 15 ป ขึ้นไป 345,757 คน

ผูอยูในกำลังแรงงาน 209,137 คน

ผูไมอยูในกำลังแรงงาน 136,620 คน

ผูมีงานทำ 196,097 คน

ทำงานบาน 41,167 คน

ผูวางงาน 5,328 คน

เรียนหนังสือ 27,908 คน

ผูที่รอฤดูกาล 7,712

อื่นๆ 67,545 คน

2. ภาวะการมีงานทำของประชากร 2.1 อุตสาหกรรม แผนภูมิ 1 เปรี ย บเที ย บผู มี ง านทำไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2563 กับ พ.ศ.2564 จำแนกตาม อุตสาหกรรมที่สำคัญ

vi ไตรมาสที ่ 1 พ.ศ. 2563 ผู ม ีง านทำสาขา เก ษ ต รก รรม ม าก ที ่ส ุ ด มี ส ั ด ส ว น ร อ ย ล ะ 44.3 รองลงมาคือ สาขาการขายสง ขายปลีก รอยละ 12.3 สาขาการผลิ ต ร อยละ 8.5 สาขาการบริ ห ารราชการ และการปองกันประเทศ รอยละ 7.9 สาขาการกอสราง รอยละ 7.8 และสวนที่เหลือกระจายอยูในสาขาอื่น ๆ

ประชากรจั ง หวั ด พะเยาทำงานส ว นตั ว โดยไม มี ลูกจางมากที่สุด รอยละ 41.1 รองลงมาคือทำงานโดย ฐานะลูกจาง รอยละ 36.9 (ลูกจางเอกชนรอยละ 21.7 และลูกจางรัฐบาล รอยละ 15.2) ชวยธุรกิจในครัวเรือน โดยไมได รับ คาจางรอยละ 20.9 นายจาง รอยละ 1.0 และการรวมกลุม รอยละ 0.1

แผนภูมิ 2 รอยละของผู มีงานทำ จำแนกตามภาค เกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรม และเพศ ไตรมาส ที่ 1 พ.ศ. 2564

3. ภาวะการวางงานของประชากร แผนภูมิ 4 จำนวน และอัตราการวางงาน รายไตรมาส 1 พ.ศ. 2563 ถึงไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564

เมื ่ อ พิ จ ารณ าถึง ผู  ม ีง านทำแยกตามภ าค เกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรมและเพศ พบวา ผู มี ง านทำภาคเกษตรกรรม มี รอ ยละ 44.3 โดยสัด สว นของเพศชายสูงกวาเพศหญิง คือ รอ ยละ 4 6.1 แ ล ะ 4 1.9 ส  ว น น อ ก ภ า ค เก ษ ต รก รรม รอยละ 55.7 เพศชายต่ำกวาเพศหญิ ง คือรอยละ 53.9 และ 58.1

ประชากรของจังหวัดพะเยาที่วางงานในไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564 มี 5,328 คน เปนเพศชาย 3,656 คน เพศหญิง 1,672 คน เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง อั ต ราการว า งงานจั งหวั ด พะเยาในไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564 มี อั ตราการว างงาน ร อยละ 2.5 โดยเพศชายมี อั ตราการว างงานมากกว า เพศหญิ ง คื อ ชายร อ ยละ 3.1 และหญิ งร อ ยละ 1.9 เมื่อเปรียบเทียบอัตราการวางงาน ในชวงเวลาเดียวกัน ของป ที่ แ ล ว พบว า มี อั ต ราการว า งงานเพิ่ ม ขึ้ น 2.1 จากรอยละ 0.4 เปนรอยละ 2.5

2.2 สถานภาพการทำงาน แผนภูมิ 3 รอยละของผูมีงานทำ จำแนกตามสถานภาพ การทำงาน ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564

สารบัญ หนา

คำนำ

iii

บทสรุปสำหรับผูบริหาร

v

สารบัญแผนภูมิ

ix

สารบัญตาราง

xi

บทที่ 1

บทนำ 1. ความเปนมาและวัตถุประสงค 2. คุมรวม 3. สัปดาหแหงการสำรวจ 4. คำอธิบายศัพท แนวคิด คำจำกัดความ

บทที่ 2

1 2 2 2

ผลการสำรวจที่สำคัญ 1. ลักษณะของกำลังแรงงาน 2. การมีสวนรวมในกำลังแรงงาน 3. ผูมีงานทำ 3.1 อาชีพ 3.2 อุตสาหกรรม 3.3 สถานภาพการทำงาน 3.4 ชั่วโมงการทำงานตอสัปดาห 4. ภาวะการวางงานของประชากร

8 9 10 10 11 13 14 15

ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี ภาคผนวก ข ตารางสถิติ ภาคผนวก ค จำนวนประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัด (ตัวชี้วัดอัตราการวางงาน และอัตราการมีสวนรวมในกำลังแรงงาน)

19 23 35

ภาคผนวก

สารบัญแผนภูมิ หนา แผนภูมิ 1 จำนวนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน

7

แผนภูมิ 2 จำนวนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ และเพศ

10

แผนภูมิ 3 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามอาชีพที่มีผูทำงานมากที่สุด 5 อันดับแรก และเพศ

10

แผนภูมิ 4 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

13

แผนภูมิ 5 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ

14

แผนภูมิ 6 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามชั่วโมงการทำงานตอสัปดาห และเพศ

14

สารบัญตาราง หนา ตาราง ก จำนวนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ

8

ตาราง ข จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ และเพศ

9

ตาราง ค จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามอาชีพ และเพศ

11

ตาราง ฆ จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทำ จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

12

ตาราง ง จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ

13

ตาราง จ จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามชั่วโมงการทำงาน ตอสัปดาห และเพศ

15

ตาราง ฉ จำนวน และอัตราการวางงาน จำแนกตามเพศ

15

บทที่ 1 บทนำ 1. ความเปนมาและวัตถุประสงค สำนั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ ได ท ำการสำรวจ ภาวะการทำงานของประชากรทั่ ว ประเทศอย า ง ตอเนื่องเปนประจำทุกป เริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2506 โดย ในชวงแรกทำการสำรวจปละ 2 รอบ และใน พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ไดทำการสำรวจปละ 3 รอบ โดยรอบที่ 1 ทำการสำรวจในเดือนกุมภาพันธ เป นชวงหนาแล ง นอกฤดูการเกษตร รอบที่ 2 สำรวจในเดือนพฤษภาคม เปน ชวงที่กำลังแรงงานใหมที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา เริ่มเขา สูตลาดแรงงาน รอบที่ 3 สำรวจในเดือนสิงหาคม เปน ชวงฤดูการเกษตร และตอมาใน พ.ศ.2541 เปนตนมา ไดเพิ่มการสำรวจอีก 1 รอบรวมเปน 4 รอบ โดยทำการ สำรวจในเดื อนพฤศจิกายน ของทุ กป ซึ่ งเป น ช ว งฤดู การเก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต ทางการเกษตร ทั้ งนี้ เพื่ อเป น การนำเสนอข อ มู ล ที่ ส ะท อ นถึ งภาวะการมี งานทำ การว างงาน และการประกอบกิ จกรรมต างๆ ของ ประชากรทั้ งประเทศเป น รายไตรมาสและต อเนื่ อง ครบทุกชวงเวลาของป เนื่องจากความจำเปนตองการใชขอมูลเพื่อใช ในการวางแผนและกำหนดนโยบายในระดับจังหวัดมี มากขึ้น สำนั กงานสถิติแหงชาติจึ งได กำหนดขนาด ตัวอยางเพิ่มขึ้นโดยเริ่มตั้งแต พ.ศ. 2537 ทั้งนี้เพื่อให สามารถนำเสนอขอมูลในระดับจังหวัดได โดยเสนอ เฉพาะรอบการสำรวจของเดือนกุมภาพันธและเดือน สิงหาคมเทานั้น การสำรวจรอบที่ 4 ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2541 ซึ่งจัดทำเปนครั้งแรกไดเสนอผลในระดับ จังหวัดดวย

และตั้งแตป พ.ศ.2542 เปนตนมา ผลการสำรวจ ทั้ง 4 รอบไดเสนอผลในระดับจังหวัด หลัง จากเกิด ภ าวะวิก ฤติท างเศรษฐกิจ กลางป 2540 ความตองการใชขอมูลเพื่อการวางแผน และกำหนดนโยบายดานแรงงานมีมากขึ้น และเรงดวน ขึ้น ในป 2544 จึงได เริ่มดำเนิ น การสำรวจเป น ราย เดือนแลวนำขอมูล 3 เดือนรวมกันเพื่ อเสนอขอมู ล เปนรายไตรมาส โดยขอมูลที่สำคัญสามารถนำเสนอ ในระดับจังหวัด สำหรับขอมูลของเดือนที่ตรงกับรอบ การสำรวจเดิม คือ ขอมูลเดือนกุมภาพันธ พฤษภาคม และสิ ง หาคม ได จั ด ทำสรุ ป ผลการสำรวจเฉพาะ ขอมูลที่สำคัญเพื่อสามารถเปรียบเทียบกับขอมูล แต ละรอบของปที่ผานมาได และการสำรวจตั้งแตเดือน กันยายน 2544 เปนตนมา สามารถนำเสนอผลของ การสำรวจเปนรายเดือนทุกเดือน โดยสามารถเสนอ ผลในระดั บ ภาคเท า นั้ น เนื่ อ งจากตั ว อย า งไม ม าก พ อที่ จะน ำเส น อใน ระดั บ ย อ ยกว า นี้ แล ะใน ขณะเดียวกันไดมีการปรับอายุผูอยูในกำลังแรงงาน จาก 13 ปขึ้นไป เปน 15 ปขึ้นไป เพื่อใหสอดคลอง กั บ กฎหมายการใช แ รงงานเด็ ก ปรั บ ปรุ ง การจั ด จำแนกประเภทของอาชี พ อุ ต สาหกรรม และ สถานภาพการทำงาน ใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล ในป จจุ บั น เพื่ อให ส ามารถเปรียบเทียบขอมูลกันได ปรั บ เขตการปกครอง จากเดิ ม เขตสุ ข าภิ บ าลถู ก นำเสนอรวมเปนนอกเขตเทศบาลมารวมเปนในเขต เทศบาล เนื่องจากพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะ ของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542

2 วั ต ถุ ป ระส งค ที่ ส ำคั ญ ข อ งก ารส ำรว จ ภาวะการทำงานของประชากร เพื่อประมาณจำนวน และลักษณะของกำลังแรงงานภายในประเทศ และ ในจังหวัดตางๆ ในแตละไตรมาสของขอมูลสถิติที่ได จากการสำรวจ 1. จำนวนประชากรในวัยทำงาน (อายุ 15 ป ขึ้นไป) และจำนวนประชากรนอกวัยทำงาน จำแนกตาม เพศ 2. จำนวนประชากรในวัยทำงาน จำแนกตาม สถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส การศึกษาที่สำเร็จ 3. จำนวนผู มีงานทำ จำแนกตามลั กษณะที่ น าสนใจ เช น อายุ เพศ การศึ ก ษาที่ ส ำเร็ จ อาชี พ อุต สาหกรรม สถานภาพการทำงาน ชั่วโมงทำงาน คาจาง เงินเดือน และผลประโยชนอื่นๆ ที่ไดรับจาก การทำงาน 4. จำนวนผูวางงาน จำแนกตามลักษณะบาง ประการที่ น า สนใจ เช น ระยะเวลาในการหางาน ทำงานที่ทำครั้งสุดทาย สาเหตุการวางงาน เปนตน

2. คุมรวม ประชากรที่ อาศั ย อยู ในครัว เรือนส ว นบุ คคล และครัวเรือนกลุมบุคลประเภทคนงาน

3. สัปดาหแหงการสำรวจ หมายถึง ระยะเวลา 7 วัน นับจากวันกอนวัน สัมภาษณยอนหลังไป 7 วัน เชน วัน สัมภาษณคื อ วันที่ 9 สิงหาคม 2551 “ระหวาง 7 วันกอนวันสัมภาษณ ” คือ ระหวางวันที่ 2 ถึง วันที่ 8 สิงหาคม 2551

4. คำอธิบายศัพท/แนวคิด/คำจำกัดความ สำนั กงานสถิติแหงชาติ ไดป รับ ปรุงแนวคิด และคำนิย ามที ่ใ ชใ นการสำรวจภาวะการทำงาน ของประชากรหลายครั้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให

สอด คลอ งกับ ส ภ าพ ที ่แ ทจ ริง ท างสัง คม แล ะ เศรษฐกิจ ของประเทศตลอดจนความตองการของ ผูใชขอมู ล และสอดคลองกับ มาตรฐานสากลของ องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) กับ องค การ สหประชาชาติ (UN) แนวคิด และคำนิย ามที่ใชใ น การสำรวจไตรมาสนี ้ ไดเ ริ่ม ใชม าตั ้ง แตร อบที ่ 1 พ.ศ.2526 มีการปรับปรุงบางตามลำดับ และตั้งแต ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2544 ไดกำหนดอายุขั้นต่ำประชากร วัยทำงานเปน 15 ป คำนิยามที่สำคัญ ๆ ที่ใชในการสำรวจ มีดังนี้ ผูมีงานทำ ผูมีงานทำ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป และในสัป ดาหแหงการสำรวจมีลักษณะอยางหนึ่ ง อยางใด ดังตอไปนี้ 1. ไดทำงานตั้งแต 1 ชั่วโมงขึ้นไปโดยไดรับคาจาง เงิ นเดื อน ผลกำไร เงิ นป นผล ค าตอบแทนที่ มี ลั กษณะ อยางอื่นสำหรับผลงานที่ทำเปนเงินสด หรือสิ่งของ 2. ไม ไดทำงาน หรือทำงานน อยกวา 1 ชั่วโมง แตเปนบุคคลที่มีลักษณะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (ซึ่งจะถือวาเปน ผูที่ปกติมีงานประจำ) 2.1 ยั ง ได รั บ ค า ตอบแทน ค า จ า ง หรื อ ผลประโยชนอื่นๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจใน ระหวางที่ไมไดทำงาน 2.2 ไม ไ ด รั บ ค า ตอบแทน ค า จ า ง หรื อ ผลประโยชนอื่น ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจใน ระหว างที่ ไม ได ท ำงาน แต ยั งมี งานหรื อ ธุ ร กิ จ ที่ จ ะ กลับไปทำ 3. ทำงานอยางนอย 1 ชั่วโมง โดยไมไดรับคาจาง ในวิส าหกิจ หรือ ไรน าเกษตรของหั ว หน าครัว เรือ น หรือของสมาชิกในครัวเรือน

3 ผูวางงาน ผูวางงาน หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป และในสั ป ดาห แห งการสำรวจมี ลั กษณะอยางหนึ่ ง อยางใด ดังตอไปนี้ 1. ไมไดทำงานและไมมีงานประจำ แตไดหางาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหวาง 30 วันกอนวัน สัมภาษณ 2. ไมไ ด ท ำงานและไมม ีง านประจำ และ ไมไดหางานทำในระหวาง 30 วันกอนวันสัมภาษณ แตพรอมที่จะทำงานในสัปดาหแหงการสำรวจ กำลังแรงงานปจจุบัน กำลั งแรงงานป จ จุ บั น หมายถึ ง บุ ค คลที่ มี อายุ 15 ปขึ้นไป ซึ่งในสัปดาหแหงการสำรวจมีงานทำ หรือวางงาน ตามคำนิยามที่ไดระบุขางตน กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล หมายถึง บุคคลที่ มีอายุ 15 ปขึ้นไปในสัปดาหแหงการสำรวจเปนผูไม เขาขายคำนิยามของผูมีงานทำ หรือผูวางงานแตเปน ผู ร อฤดู ก าลที่ เหมาะสมเพื่ อ ที่ จ ะทำงาน และเป น บุคคลที่ตามปกติจะทำงานที่ไมไดรับสิ่งตอบแทนใน ไร น าเกษตร หรื อ ธุ ร กิ จ ซึ่ งทำกิ จ กรรมตามฤดู ก าล โดยมี หั ว หน า ครั ว เรื อ น หรื อ สมาชิ ก คนอื่ น ๆ ใน ครัวเรือนเปนเจาของหรือผูดำเนินการ กำลังแรงงานรวม กำลังแรงงานรวม หมายถึง บุคคลทุกคนที่มี อายุ 15 ปขึ้นไปในสัปดาหแหงการสำรวจเปนผูอยูใน กำลังแรงงานปจจุบัน หรือเปนผูถูกจัดจำแนกอยูใน ประเภทกำลังแรงงานที่รอฤดูกาลตามคำนิยามที่ได ระบุขางตน

ผูไมอยูในกำลังแรงงาน ผูไมอยูในกำลังแรงงาน หมายถึง บุคคลที่ไม เขาขายคำนิยามของผูอยูในกำลังแรงงานในสัปดาห แหงการสำรวจ ซึ่งไดแก 1. บุคคลซึ่ งในสัป ดาห แห งการสำรวจมีอายุ ต่ำกวา 15 ป 2. บุคคลซึ่ งในสัป ดาห แห งการสำรวจมีอายุ 15 ปขึ้นไปแตไมไดทำงาน และไมพรอมที่จะทำงาน เนื่องจากเปนผูที่ 2.1 ทำงานบาน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 ยังเด็กเกินไป (มีอายุนอยกวา 18 ป) หรือชรามาก (มีอายุเกิน 60 ป) 2.4 ไมสามารถทำงานได เนื่องจากพิการ ทางรางกายหรือจิตใจ หรือเจ็บปวยเรื้อรัง 2.5 ไมสมัครใจทำงาน 2.6 ทำงานโดยไม ได รั บ ค าจ าง ผลกำไร สวนแบง หรือสิ่งตอบแทนอื่นๆ ใหแกบุคคลซึ่งมิได เปนสมาชิกในครัวเรือนเดียวกัน 2.7 ทำงานให แ ก อ งค ก าร หรื อ สถาบั น การกุศลตางๆ โดยไมไดรับคาจางผลกำไรสวนแบ ง หรือสิ่งตอบแทนอยางใด 2.8 ไมพรอมที่จะทำงาน เนื่องจากเหตุผลอื่น งาน งาน หมายถึง กิจการที่ทำที่มีลักษณะอยาง หนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1. กิจการที่ทำแลวไดรับคาตอบแทนเปนเงิน หรื อ สิ่ ง ของ ค า ตอบแทนที่ เ ป น เงิ น อาจจ า ยเป น รายเดือน รายสัปดาห รายวัน หรือรายชิ้น 2. กิจการที่ทำแลวไดผลกำไร หรือหวังที่ จะ ไดรับผลกำไร หรือสวนแบงเปนการตอบแทน 3. กิ จ การที่ ท ำให กั บ ธุ ร กิ จ ของสมาชิ ก ใน ครัวเรือน โดยไมไดรับคาจางหรือผลกำไรตอบแทน

4 อยางใดซึ่งสมาชิกในครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจนั้นจะ มีสถานภาพการทำงาน เป น ประกอบธุรกิจส วนตั ว หรือนายจาง อาชีพ อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานที่ บุคคลนั้นทำอยู บุคคลสวนมากมีอาชีพเดียว สำหรับ บุคคลที่ในสัปดาหแหงการสำรวจมีอาชีพมากกวา 1 อาชี พ ให นั บ อาชี พ ที่ มี ชั่ ว โมงทำงานมากที่ สุ ด ถ า ชั่ ว โมงทำงานแต ล ะอาชี พ เท า กั น ให นั บ อาชี พ ที่ มี รายได มากกวา ถาชั่ วโมงทำงานและรายได ที่ ได รับ จากแต ล ะอาชี พ เท า กั น ให นั บ อาชี พ ที่ ผู ต อบ สั ม ภาษณ พ อใจมากที่ สุ ด ถ าผู ต อบสั มภาษณ ต อบ ไมไดใหนับอาชีพที่ไดทำมานานที่สุด การจัดจำแนก ประเภทอาชีพ ตั้งแต ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2554 ใชตาม International Standard Classification of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO)

ก อน พ.ศ. 2553 การจั ดประเภทอาชี พจำแนก ตามความเหมาะสมกับลั กษณะอาชีพของประเทศไทยโดย อ า งอิ ง International Standard Classification of Occupation, 1988 (ISCO-88) อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม หมายถึง ประเภทของกิจกรรม ทางเศรษฐกิจที่ไดดำเนินการโดยสถานประกอบการ ที่บุ คคลนั้ นกำลังทำงานอยู หรือประเภทของธุรกิ จ ซึ่ ง บุ ค คลนั้ น ได ด ำเนิ น การอยู ในสั ป ดาห แ ห ง การ สำรวจ ถาบุคคลหนึ่งมีอาชีพมากกวาหนึ่งอยางให บั น ทึ ก อุ ต สาหกรรมตามอาชี พ ที่ บั น ทึ ก ไว การจั ด จำแนกประเภทอุ ตสาหกรรม ตั้ งแต ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2554 ใช ตาม Thailand Standard Industrial Classification, (TSIC 2009) กอน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอุตสาหกรรม จำแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม

ข อ งป ร ะ เท ศ ไท ย โด ย อ า งอิ ง International Standard Industrial Classification, (SIC 1989) สถานภาพการทำงาน สถานภาพการทำงาน หมายถึง สถานะของ บุ คคลที่ ท ำงานในสถานที่ ที่ ท ำงานหรือ ธุรกิ จ แบ ง ออกเปน 5 ประเภท คือ 1. นายจ า ง หมายถึ ง ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ของ ตนเองเพื่ อ หวังผลกำไร หรือ ส ว นแบ ง และได จา ง บุคคลอื่นมาทำงานในธุรกิจในฐานะลูกจาง 2. ประกอบธุ ร กิ จ ส ว นตั ว โดยไม มี ลู ก จ า ง หมายถึง ผู ประกอบธุรกิ จของตนเองโดยลำพั งผูเดียว หรืออาจมีบุคคลอื่นมารวมกิจการดวยเพื่อหวังผลกำไร หรือส วนแบ งและไมไดจางลูกจางแตอาจมีสมาชิกใน ครัวเรือนหรือผูฝกงานมาชวยทำงานโดยไมไดรับคาจาง หรือคาตอบแทนอยางอื่นสำหรับงานที่ทำ 3. ชวยธุรกิจในครัวเรือนโดยไมไดรับคาจาง หมายถึง ผูที่ชวยทำงานโดยไมไดรับคาจางในไรน า เกษตร หรือในธุรกิจของสมาชิกในครัวเรือน 4. ลู ก จ า ง หมายถึ ง ผู ที่ ท ำงานโดยได รั บ ค าจ างเป น รายเดื อ น รายสั ป ดาห รายวั น รายชิ้ น หรือเหมาจาย คาตอบแทนที่ ไดรับจากการทำงาน อาจจะเปนเงิน หรือสิ่งของ ลูกจางแบงออกเปน 3 ประเภท 4.1 ลูกจางรัฐบาล หมายถึง ขาราชการ พนั ก งานเทศบาล พนั ก งานองค ก ารบริ ห ารส ว น จังหวัด เจาหนาที่องคการระหวางประเทศ ตลอดจน ลูกจางประจำ และชั่วคราวของรัฐบาล 4.2 ลู ก จ า งรั ฐ วิ ส าหกิ จ หมายถึ ง ผู ที่ ทำงานใหกับหนวยงานรัฐวิสาหกิจ 4.3 ลูกจา งเอกชน หมายถึ ง ผูที่ ทำงาน ใหกับเอกชนหรือธุรกิจของเอกชน รวมทั้งผูที่รับจาง ทำงานบาน

5 5. การรวมกลุ ม หมายถึ ง กลุ ม คนที่ ม า รวมกันทำงานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพึ่งตนเอง และ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแตละคนมีความเทา เที ยมกัน ในการกำหนดการทำงานทุ กขั้น ตอนไม วา เป น การลงทุ น การขาย งานอื่ น ๆ ของกิ จ การที่ ท ำ ตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุม ดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของ สหกรณหรือไมก็ได) การจัดจำแนกประเภทสถานภาพการทำงาน ตั้ ง แต ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2544 ใช ต าม International Classification of Status in Employment, 1993 (ICSE-93) ขอ งอ งคก ารแ รงงาน ระห ว า งป ระ เท ศ (ILO) มีสถานภาพการทำงานเพิ่มขึ้นอีก 1 กลุมคือการรวมกลุม (Member of Producers’ Cooperative) ชั่วโมงทำงาน ชั่วโมงทำงาน หมายถึง จำนวนชั่วโมงทำงาน จริงทั้งหมด ในสัปดาหแหงการสำรวจ สำหรับบุคคล ที่มีอาชีพมากกวาหนึ่งอาชีพ ชั่วโมงทำงาน หมายถึง ยอดรวมของชั่วโมงทำงานทุกอาชีพ สำหรับผูที่มีงาน ประจำซึ่ งไม ได ทำงานในสัป ดาห แห งการสำรวจให บันทึกจำนวนชั่วโมงเปน 0 ชั่วโมง การสำรวจกอนป 2544 ผูที่มีงานประจำซึ่งไมได ทำงานในสัปดาหแหงการสำรวจ ใหนับจำนวนชั่วโมง ทำงานปกติตอสัปดาหเปนชั่วโมงทำงาน รายไดของลูกจาง รายไดของลูกจาง หมายถึง รายไดของผูที่มี สถานภาพการทำงานเป น ลู ก จ า งที่ ไ ด รั บ มาจาก การทำงานของอาชีพที่ทำในสัปดาหแหงการสำรวจ ซึ่งประกอบด วยค าจ างและผลประโยชน ตอบแทน อื่นๆ สำหรับลูกจาง

ระยะเวลาของการหางานทำ ระยะเวลาของการหางานทำ หมายถึ ง ระยะเวลาที่ผูวางงานไดออกหางานทำ ใหนับตั้งแต วันที่เริ่มหางานทำจนถึงวันสุดทายกอนวันสัมภาษณ คาบการแจงนับ คาบการแจงนั บ หมายถึ ง ระยะเวลาที่ พนักงานออกไปสัมภาษณบุคคลในครัวเรือนตัวอยาง ซึ่งโดยปกติเปนวันที่ 1-12 ของทุกเดือน ประเภทของครัวเรือนที่อยูในขอบขายการสำรวจ ครัว เรือนที่ อยู ในขอบข ายการสำรวจแบ งได เปน 2 ประเภท คือ 1. ค รั ว เรื อ น ส ว น บุ ค ค ล ป ระกอบ ด ว ย ครัวเรือนหนึ่งคน คือ บุคคลเดียวซึ่งหุงหาอาหารและ จัดหาสิ่งอุปโภคบริโภคที่จำเปนแกการครองชีพโดย ไมเกี่ยวกับผูใดซึ่งอาจพำนักอยูในเคหสถานเดียวกัน หรือครัว เรือนที่ มีบุ คคลตั้ งแต ส องคนขึ้น ไปรวมกั น จัดหา และใชสิ่งอุปโภคบริโภคที่จำเปนแกการครอง ชีพรวมกัน ครัวเรือนสวนบุคคลอาจอาศัยอยูในเคหะ ที่ เป น เรื อ นไม ตึ ก แถว ห อ งแถว ห อ งชุ ด เรื อ แพ เปนตน 2.ครัวเรือนกลุมบุคคล 2.1ประเภทคนงาน ได แ ก ครั ว เรื อ นซึ่ ง ประกอบดวย บุคคลหลายคนอยูกินรวมกัน ในที่อยู แหงหนึ่ง เชน ที่พักคนงาน เปนตน 2.2 ประเภทสถาบั น ซึ่ งหมายถึง บุ คคล หลายคนอยู ร ว มกั น ในสถานที่ อ ยู แ ห ง หนึ่ ง เช น สถานที่ กั กกั น วัด กรมทหาร โดยไม แยกที่ อยู เป น สัดสวน เฉพาะคนหรือเฉพาะครัวเรือน นักเรียนที่อยู ประจำ ที่ โรงเรียน หรือในหอพั กนั กเรีย น เป น ต น ไมอยูในคุมรวมของการสำรวจนี้

6 ระดับการศึกษาที่สำเร็จ ได จ ำแนกการศึ ก ษาตามระดั บ การศึ ก ษาที่ สำเร็จ ดังนี้ 1. ไม มี การศึ ก ษา หมายถึ ง บุ ค คลที่ ไม เคย เขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรับการศึกษา 2. ต่ ำ กว า ประถมศึ ก ษา หมายถึ ง บุ คคลที่ สำเร็จการศึกษาต่ำกวาชั้นประถมปที่ 6 หรือชั้นประถม ปที่ 7 หรือชั้น ม.3 เดิม 3. สำเร็ จ ประถมศึ ก ษา หมายถึ ง บุ ค คลที่ สำเร็จการศึกษาตั้งแตชั้นประถมปที่ 6 หรือชั้นประถม ปที่ 7 หรือชั้น ม.3 เดิมขึ้นไป แตไมสำเร็จระดับการศึกษา ที่สูงกวา 4. สำเร็ จ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น หมายถึ ง บุคคลที่สำเร็จการศึกษาตั้งแตชั้น ม.3 ม.ศ.3 หรือ ม.6 เดิมขึ้นไป แตไมสำเร็จระดับการศึกษาที่สูงกวา 5. สำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 สายสามัญ หมายถึง บุคคลที่สำเร็จ การศึกษาประเภทสามัญศึกษาตั้งแตชั้น ม.6 ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แตไมสำเร็จระดับการศึกษาที่สูงกวา 5.2 อาชีวศึกษา หมายถึง บุคคลที่สำเร็จ การศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชีพ ที่เรียนตอ จากระดั บ มั ธยมศึ กษาตอนต น หรือเที ย บเท าโดยมี หลักสูตรไมเกิน 3 ป และไมสำเร็จระดับการศึกษาที่ สูงกวา 5.3 วิ ช าการศึ ก ษา หมายถึ ง บุ ค คลที่ สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา (การฝกหั ด ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทาขึ้นไป แตไมสำเร็จระดับการศึกษาที่สูงกวา

6. อุดมศึกษา 6.1 สายวิ ช าการ หมายถึ ง บุ ค คลที่ สำเร็ จ การศึ ก ษาประเภทสามั ญ ศึ ก ษาหรื อ สาย วิชาการ โดยไดรับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญา ปริญญา ตรี โท เอก 6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลที่สำเร็จ การศึ ก ษาประเภทอาชี ว ศึ ก ษา หรือ สายวิช าชี พ ที่ ได รับ ประกาศนี ย บั ต รวิช าชี พ ชั้ น สู ง หรือเที ย บเท า อนุปริญญา ปริญญาตรี 6.3 สายวิชาการศึกษา หมายถึง บุคคล ที่สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา และไดรับ ประกาศนียบัตรระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี โท เอก 7. อาชี ว ศึ กษาระยะสั้ น หมายถึ ง บุ ค คลที่ สำเร็จการศึกษาหรือการฝกอบรมประเภทอาชีวศึกษา ที่มีหลักสูตรไมเกิน 1 ป และไดรับประกาศนียบัตร หรือ ใบรับ รองเมื่อสำเร็จการศึกษา พื้น ความรูของผูเขา เรียนไดกำหนดใหแตกตางตามวิชาเฉพาะแตละอยาง ที่เรียน แตอยางต่ำตองจบประถมปที่ 4 หรือเทียบเทา 8. อื่น ๆ หมายถึง บุคคลที่สำเร็จการศึกษาที่ ไมสามารถเทียบชั้นได

บทที่ 2 สรุปผลการสำรวจ รายงานนี้เสนอผลการสำรวจภาวะการทำงาน ของประชากรจั ง หวั ด พะเยาโดยดำเนิ น การเก็ บ รวบรวมขอมูลระหวางวันที่ 1 – 12 ของเดือนมกราคม กุมภาพันธ และมีนาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งเปนการสำรวจ ไตรมาสที่ 1 ของป ผลการสำรวจทำให ท ราบถึ ง ภาวะการมีงานทำ การวางงาน และลักษณะที่สำคัญ บางประการของกำลั ง แรงงาน ในจั ง หวั ด พะเยา ระหวางเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2564 อนึ่ ง จำนวนประชากรที่ ใ ช เ ป น ฐานในการ ประมาณผลตามระเบียบวิธีการสุมตัวอยาง

สำหรับ โครงการสำรวจภาวะการทำงานของ ประชากรตั้งแตรอบที่ 1 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2538 เปน ตนมานั้ น ไดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่ อให สอดคลอง กั บ จำนวนประชากรที่ ใ ช ใ น การวางแผนพั ฒ นา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ซึ่ ง ได จ ากการคาด ประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2583 ที่ ไ ด จั ด ทำขึ้ น ใหม โดยสำนั ก งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนภูมิ 1 จำนวนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน

ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป 345,757 คน ผูอยูในกำลังแรงงาน 209,137 คน

ผูอยูนอกกำลังแรงงาน 136,620 คน

ผูมีงานทำ 196,097 คน

ทำงานบาน 41,167 คน

ผูวางงาน 5,328 คน

เรียนหนังสือ 27,908 คน

ผูรอฤดูกาล 7,712 คน

อื่นๆ 67,545 คน

8

1. ลักษณะของกำลังแรงงาน ผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จั งหวั ดพะเยา ไตรมาสที่ 1 ระหว างเดื อนมกราคม – มี น าคม พ.ศ. 2564 พบว าจั งหวั ด พะเยา มี จ ำนวน ประชากรผูที่มีอายุ 15 ป ขึ้นไป รวมทั้งสิ้น 345,757 คน เป นชายจำนวน 167,380 คน เป นหญิ ง จำนวน 178,377 คน เป น ผู อ ยู ในกำลั งแรงงานรวม จำนวน 209,137 คน เป นชายจำนวน 119,357 คน เป นหญิ ง จำนวน 89,780 คน และเป นผู ที่ ไม อยู ในกำลั งแรงงาน 136,620 คน เปนเพศชายจำนวน 48,023 คน เปนหญิ ง จำนวน 88,597 คน

สำหรับกำลังแรงงานปจจุบัน มีจำนวน 201,425 คน ประกอบดวย 1. ผู มี งานทำ มี จ ำนวน 196,097 คน เป น ชาย จำนวน 110,374 คน เป น หญิ ง จำนวน 85,722 คน 2. ผูวางงาน ซึ่งหมายถึงผูไมมีงานทำ และพรอมที่ จะทำงานมีจำนวน 5,328 คน เปนชาย จำนวน 3 ,656 ค น แ ล ะ ห ญิ งจ ำน ว น 1,672 ค น ( ตาราง ก )

ตาราง ก จำนวนประชากร 15 ปขึ้นไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ สถานภาพแรงงาน

รวม

ชาย

หญิง

ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป

345,757

167,380

178,377

209,137

119,357

89,780

1.1 กำลังแรงงานปจจุบัน

201,425

114,030

87,394

1.1.1 ผูมีงานทำ

196,097

110,374

85,722

1.1.2 ผูว างงาน

5,328

3,656

1,672

7,712

5,327

2,386

2. ผูไมอยูในกำลังแรงงาน

136,620

48,023

88,597

2.1 ทำงานบาน

41,167

3,567

37,600

2.2 เรียนหนังสือ

27,908

11,736

16,172

2.3 อื่นๆ

67,545

32,720

34,825

2.5

3.1

1.9

1. ผูอยูในกำลังแรงงาน

1.2 ผูที่รอฤดูกาล

อัตราการวางงาน หมายเหตุ : อัตราการวางงาน =

ผูวางงานx100 ผูอยูในกำลังแรงงาน

9

2. การมีสวนรวมในกำลังแรงงาน อั ต ราการมี ส ว นร ว มในกำลั ง แรงงานหรื อ รอ ยละของประชากรที ่อ ยู ใ นกำลัง แรงงานรวม (รวมกำลังแรงงานที่รอฤดูกาลดวย) ตอประชากรที่มี อายุ 15 ปขึ้นไปทั้งหมด เมื่อพิจารณาผูมีงานทำจำแนก ตามระดั บ การศึ กษาที่ ส ำเร็ จ พบว า ส วนใหญ จบ การศึ กษาในระดั บ ต่ ำ กว า ประถมศึ ก ษา มี จ ำนวน 98,099 คน

หรือคิดเปนรอยละ 28.4 รองลงมาเปนผูสำเร็จการศึกษา ระดับ ประถมศึ กษา มีจ ำนวน 65,258 คน หรือคิด เป น ร อ ยละ 18.9 และสำหรั บ ผู ส ำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับ มหาวิทยาลัย ผูที่ไมมีการศึกษา มีจ ำนวน 57,004 คน 49,149 คน 47,840 คน และ 28,407 คน ตามลำดับ ( ตาราง ข )

ตาราง ข จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ และเพศ ระดับการศึกษาที่สำเร็จ ยอดรวม

รวม จำนวน รอยละ 345,575

ชาย จำนวน รอยละ

100.0 167,379

หญิง จำนวน รอยละ

100.0 178,377

100.0

1. ไมมีการศึกษา

28,407

8.2

9,419

5.6

18,987

10.6

2. ต่ำกวาประถมศึกษา

98,099

28.4

45,523

27.2

52,577

29.5

3. ประถมศึกษา

65,258

18.9

33,514

20.0

31,744

17.8

4. มัธยมศึกษาตอนตน

49,149

14.2

25,922

15.5

23,227

13.0

5. มัธยมศึกษาตอนปลาย

57,004

16.5

28,451

17.0

28,553

16.0

51,006 5,998 -

14.8 1.7 -

24,644 3,807 -

14.7 2.3 -

26,362 2,191 -

14.8 1.2 -

47,840

13.8

24,550

14.7

23,289

13.1

28,249 11,032 8,559

8.1 3.2 2.5

13,159 7,811 3,580

7.9 4.7 2.1

15,090 3,220 4,979

8.5 1.8 2.8

7. อื่น ๆ

-

-

-

-

-

-

8. ไมทราบ

-

-

-

-

-

-

5.1 สายสามัญ 5.2 สายอาชีวศึกษา 5.3 สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย 6.1 สายวิชาการ 6.2 สายวิชาชีพ 6.3 สายวิชาการศึกษา

10 แผนภูมิ 2 จำนวนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ และเพศ คน 98,099

100,000 90,000 80,000 70,000

9,419

0

ไมมีการศึกษา

57,004

ประถมศึกษา

รวม

ชาย

มัธยมศึกษาตอนตน

มัธยมศึกษาตอนปลาย

23,289

28,451 28,553

47,840

49,149

ต่ํากวาประถมศึกษา

24,550

10,000

23,227

20,000

18,987

28,407

33,514

30,000

25,922

40,000

31,744

45,523

50,000

52,577

65,258

60,000

มหาวิทยาลัย

หญิง

ระดับ การศึกษา

3. ผูมีงานทำ 3.1 อาชีพ เมื่อพิจารณาตามลักษณะอาชีพ พบวา ผูมีงานทำสวนใหญเปนผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและ การประมง มีจำนวน 77,687 คน หรือคิดเปนรอยละ 39.6 ของผูมีงานทำ โดยเพศชายมีสัดสวนสูงกวาเพศหญิง คือ ชาย รอยละ 41.7 และหญิง รอยละ 36.9 รองลงมา คือพนักงานบริการและพนักงานในรานคาและตลาด ซึ่งมีจำนวน 33,893 คน คิดเปนรอยละ 17.3 ของผูมีงานทำโดยเพศหญิงมีสัดสวนสูงกวาเพศชาย คือ หญิง รอยละ 23.4 และชาย รอยละ 12.5 และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ มีจำนวน 26,070 คน คิดเปนรอยละ 13.3 ของผูมีงานทำโดยเพศชายมีสัดสวนสูงกวาเพศหญิง คือ ชาย รอยละ 18.2 และ หญิง รอยละ 7.0 ( ตาราง ค ) แผนภูมิ 3 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามอาชีพที่มีผูทำงานมากที่สุด 5 อันดับแรก และเพศ

ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือ ในดานการเกษตร และการประมง

พนักงานบริการและ พนักงานในรานคา และตลาด

ผูปฏิบัติงานดาน ความสามารถทาง ฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่ เกี่ยวของ

อาชีพขั้นพื้นฐาน ตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ

ผูประกอบวิชาชีพ ดานตางๆ

11 ตาราง ค จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทำ จำแนกตามอาชีพ และเพศ อาชีพ

รวม

ชาย

หญิง

จำนวน

รอยละ

จำนวน

รอยละ

จำนวน

รอยละ

196,097

100.0

110,374

100.0

85,723

100.0

7,721

3.9

5,804

5.3

1,918

2.2

11,257 7,454

5.7 3.8

3,668 3,834

3.3 3.5

7,588 3,619

8.9 4.2

4,739 33,893

2.4 17.3

1,062 13,829

1.0 12.5

3,677 20,064

4.3 23.4

77,687

39.6

46,054

41.7

31,633

36.9

7. ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ

26,070

13.3

20,048

18.2

6,022

7.0

8. ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบตั ิงานดานการประกอบ

7,270

3.7

5,601

5.1

1,699

1.9

9. อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ 10. คนงานซึ่งมิไดจำแนกไวในหมวดอื่น

20,005

10.2

10,473

9.5

9,532

11.1

-

-

-

-

-

-

ยอดรวม 1. ผูบ ัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ 2. ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ 3. ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ 4. เสมียน 5. พนักงานบริการและพนักงานในรานคา และตลาด 6. ผูปฏิบัติงานที่มฝี มือในดานการเกษตร และการประมง

3.2 อุตสาหกรรม เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง ประเภทอุ ต สาหกรรมหรื อ ลักษณะของการประกอบกิจกรรมของผูมีงานทำในเชิง เศรษฐกิ จ พบวา ผู ม ีง านทำในสาขาเกษตรกรรม การป า ไม แ ละการประมง มี จ ำนวนมากที่ สุ ด คื อ 86,809 คน หรือคิดเป นรอยละ 44.3 ของผู มีงานทำ โดยสัดสวนของเพศชายสูงกวาเพศหญิง คือชายรอยละ 46.1 และหญิ งรอยละ 41.9 รองลงมาคื อการขายส ง การขายปลีก การซอมแซม ยานยนต รถจักรยานยนต ของใช ส วนบุ ค คลและของใช ในครั ว เรื อนมีจ ำนวน 24,219 คน

หรือ คิด เปน รอ ยละ 12.4 ของผูมีงานทำโดยสัดสวน ของเพศหญิงสูงกวาเพศชาย คื อ หญิ ง รอยละ 15.6 และชายร อ ยละ 9.9 ลำดั บ ถั ด มา คื อ การผลิ ต มีจำนวน 16,756 คน คิดเปนรอยละ 8.5 ของผูมีงานทำ โดยสัด ส ว นของเพศหญิง สูง กวา เพศชาย คือ หญิง รอยละ 9.8 และชายรอยละ 7.6 การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาค บังคับ มีจำนวน 15,454 คน คิดเปนรอยละ 7.9 การ กอสราง มี จำนวน 15,258 บาท คิดเป น ร อยละ 7.8 และ ที่ พั ก แรมและบริ ก ารด า นอาหาร มี จ ำนวน 12,989 คน คิดเปนรอยละ 6.6 ( ตาราง ฆ )

12 ตาราง ฆ จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ อุตสาหกรรม ยอดรวม 1. เกษตรกรรม การลาสัตวและการปาไม 2. การทำเหมืองแร และเหมืองหิน 3. การผลิต 4. การไฟฟา กาซ และการประปา 5. .การจัดหาน้ำ บำบัดน้ำเสีย 6. การกอสราง 7. การขายสง การขายปลีก การซอมแซม ยานยนต รถจักรยานยนตของใชสวนบุคคล และของใช ในครัวเรือน 8. การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม 9. ที่พักแรมและบริการดานอาหาร 10. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร 11. กิจการทางการเงินและการประกันภัย 12. กิจการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา และ กิจกรรมทางธุรกิจ 13. กิจกรรมวิชาชีพและเทคนิค 14. การบริหารและการสนับสนุน 15. การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ 16. การศึกษา 17. งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห 18. ศิลปะความบันเทิงนันทนาการ 19. กิจกรรมบริการดานอื่นๆ 20. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 21. องคการระหวางประเทศและองคการตางประเทศ อื่นๆและสมาชิก 22. ไมทราบ

รวม จำนวน

ชาย รอยละ

จำนวน

หญิง รอยละ

จำนวน

รอยละ

196,097 100.0 110,374 100.0

85,723

100.0

86,809 16,756 750 308 15,258 24,219

44.3 8.5 0.4 0.2 7.8 12.4

50,890 8,345 586 177 14,108 10,872

46.1 7.6 0.5 0.2 12.8 9.9

35,919 8,410 164 131 1,150 13,347

41.9 9.8 0.2 0.2 1.3 15.6

1,931 12,989 454 2,294 169

1.0 6.6 0.2 1.2 0.1

1,808 4,890 295 693 169

1.6 4.4 0.3 0.6 0.2

123 8,099 159 1,601 -

0.1 9.4 0.2 1.9 -

911 469 15,454

0.5 0.2 7.9

154 247 10,170

0.1 0.2 9.2

757 221 5,284

0.9 0.3 6.2

7,571 5,335 368 3,647 406 -

3.9 2.7 0.2 1.9 0.2 -

2,755 1,732 216 2,267 -

2.5 1.6 0.2 2.1 -

4,816 3,603 152 1,380 406 -

5.6 4.2 0.2 1.6 0.5 -

-

-

-

-

-

-

13 แผนภูมิ 4 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

เกษตรกรรม

ขายสง/ ขายปลีก

การผลิต

การบริหาร ราชการ

การ กอสราง

3.3 สถานภาพการทำงาน ในจำนวนผูมีงานทำทั้งสิ้นประมาณ 196,097 คน สวนใหญผูที่ทำงานนั้นทำงานสวนตัว จำนวน 80,543 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 41.1 ของผู มี ง านทำ ซึ่ ง เพศชาย มี สั ด ส ว นสู ง กว า เพศหญิ ง คื อ ชายร อ ยละ 47.9 ส ว นหญิ ง ร อ ยละ 32.2 รองลงมาเป น ลู ก จ างเอกชน 42,486 คน หรือคิดเปนรอยละ 21.7 ของผูมีงานทำ

ที่พักแรม และบริการ ดานอาหาร

ลำดับ ถัด มาเปน ชว ยธุร กิจ ในครัว เรือ น จำนวน 41,051 คน หรือ คิด เป นรอยละ 20.9 ของผูมีงานทำ เป น ลูกจางรัฐ บาล จำนวน 29,729 คน หรื อคิ ด เป น รอยละ 15.2 เปนนายจาง จำนวน 1,990 คน หรือ คิด เป น ร อ ยละ 1.0 และการรวมกลุ ม จำนวน 297 คน หรือคิดเปนรอยละ 0.1 ( ตาราง ง )

ตาราง ง จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ สถานภาพการทำงาน ยอดรวม 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายจาง ลูกจางรัฐบาล ลูกจางเอกชน ทำงานสวนตัว ชวยธุรกิจครัวเรือน การรวมกลุม

รวม

ชาย

จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ 196,097 100.0 110,374 100.0 1,990 1.0 1,663 1.5 29,729 15.2 16,132 14.6 42,486 21.7 27,391 24.8 80,543 41.1 52,915 47.9 41,051 20.9 12,127 11.0 297 0.1 146 0.1

หญิง จำนวน รอยละ 85,723 100.0 327 0.4 13,597 15.9 15,095 17.6 27,628 32.2 28,924 33.7 151 0.2

14 แผนภูมิ 5 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ

3.4 ชั่วโมงทำงานตอสัปดาห ในจำนวนผูมีงานทำ 196,097 คน พบวาสวนใหญ เปนผูที่ทำงานในสัปดาหแหงการสำรวจ 40 - 49 ชั่วโมง ต อ สั ป ดาห มี 88,293 คน หรื อ คิ ด เป น ร อ ยละ 45.0 โดยเพศหญิงมีสัดสวนสูงกวาเพศชาย คือหญิงรอยละ 47.6 และชายร อยละ 43.0 รองลงมาคื อผู ที่ ท ำงาน 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห มีจำนวน 53,757 คน หรือ คิ ดเป นรอยละ 27.4 โดยเพศชายมี สั ดส วนสู งกวาเพศ หญิงคือชายรอยละ 29.7 และหญิงรอยละ 24.5

ผู ที่ ท ำงาน 30 - 34 ชั่ ว โมงต อ สั ป ดาห มี จ ำนวน 18,058 คน หรือคิดเป น ร อยละ 9.2 โดยเพศชายมี สัดสวนสูงกวาเพศหญิง คือชายรอยละ 9.5 และหญิง ร อ ยละ 8.8 ผู ที่ ท ำงาน 35 - 39 ชั่ ว โมงต อ สั ป ดาห มี จ ำนวน 16,472 คน หรื อ คิ ด เป น ร อยละ 8.4 และ ผู ที่ ท ำงาน 20 – 29 ชั่ ว โมงต อ สั ป ดาห มี จ ำนวน 10,615 คน หรือคิดเปนรอยละ 5.4 ( ตาราง จ )

แผนภูมิ 6 จำนวนผูมีงานทำ จำแนกตามชั่วโมงการทำงานตอสัปดาห และเพศ

ชัว่ โมงทำงาน ตอสัปดาห

15 ตาราง จ จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามชั่วโมงทำงานตอสัปดาห และเพศ ชั่วโมงการทำงานตอสัปดาห

ยอดรวม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

0 ชั่วโมง 1/ 1 - 19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป

รวม

ชาย

หญิง

จำนวน

รอยละ

จำนวน

รอยละ

จำนวน

รอยละ

196,097 6,999 1,904 10,615 18,058 16,472 88,293 53,757

100.0 3.6 1.0 5.4 9.2 8.4 45.0 27.4

110,374 4,315 998 6,339 10,529 7,915 47,513 32,765

100.0 3.9 0.9 5.7 9.5 7.2 43.0 29.7

85,723 2,685 905 4,276 7,529 8,556 40,780 20,992

100.0 3.1 1.1 5.0 8.8 10.0 47.6 24.5

1/ ผูไมไดทำงานในสัปดาหการสำรวจ แตมีงานประจำ

4. ภาวะการวางงานของประชากร จากผลการสำรวจในไตรมาสที่ 1 มกราคม – มี น าคม 2564 พบว า ประชากรของจั งหวั ด พะเยา ที่ ว า งงาน มี จ ำนวนทั้ ง สิ้ น 5,328 คน ในจำนวนนี้ เปนชาย 3,656 คน และเปนหญิง 1,672 คน

สำหรั บ อั ต ราการว า งงานของประชากรซึ่ ง หมายถึง สัดสวนของผูวางงานตอจำนวนประชากรที่ อยูในกำลังแรงงานรวม พบวาจังหวัดพะเยา มี อัต รา การว างงานรอยละ 0.4 เพศชายมีอั ตราการว างงาน มากกว าเพศหญิ ง โดยเพศชายรอยละ 0.3 และเพศ หญิงรอยละ 0.7 ( ตาราง ฉ )

ตาราง ฉ จำนวน และอัตราการวางงาน จำแนกตามเพศ ประชากรรวม

ผูอยูในกำลังแรงงาน

345,757 167,380 178,377

209,137 119,357 89,780

ยอดรวม ชาย หญิง หมายเหตุ : อัตราการวางงาน =

ผูวางงาน จำนวน 5,328 3,656 1,672

อัตรา 2.5 3.1 1.9

ผูวางงานx100 ผูอยูในกำลังแรงงาน

การปดตัวเลข ขอมูลในตารางสถิติที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้ เปนคาที่ประมาณไดตามวิธีการประมวลผลทางสถิติ ซึ่งผลรวมจากยอดยอยแตละรายการอาจไมเทากับยอดรวมในแตละตารางหรือระหวางตาราง ทั้งนี้เนื่องจากการ ปดเศษทศนิยม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี 1. วิธีการสำรวจ การสำรวจนี้คุมรวมครัวเรือนสวนบุคคลและครัวเรือนกลุมบุคคลประเภทครัวเรือนคนงานที่อยูในเขต เทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุ กจั งหวัด ทั่ ว ประเทศ ยกเวน ครั ว เรือนชาวต างชาติ ที่ ทำงานในสถานทู ต หรื อ องคการระหวางประเทศที่มีเอกสิทธิ์ทางการทูต ในการสำรวจแตละเดือนไดดำเนินการสำรวจทั่วประเทศทุกจังหวัด โดยใชแผนการสุมตัวอยางแบบStratified Two-stage Sampling โดยหนวยตั วอยางขั้นที่ 1 คือ เขตแจงนับ (Enumeration Area : EA) ซึ่งมี จำนวน 1,990 EA ตัวอยาง จากจำนวนทั้งสิ้น 127,460 EA และหนวยตัวอยางขั้นที่ 2 คือ ครัวเรือน ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนที่เปนตัวอยาง ทั้งสิ้น 27,960 ครัวเรือน หรือคิดเปนจำนวนประชากรที่ตกเปนตัวอยางประมาณ 95,064 คน ซึ่งขนาดตัวอยางในแตละ เดือนดังกลาวสามารถนำเสนอขอมูลในระดับภาคและประเทศจำแนกเขตการปกครอง แตไมเพียงพอที่จะนำเสนอ ขอมูลในระดับจังหวัดหรือพื้นที่ยอยกวานี้ ฉะนั้นเพื่อใหสามารถนำเสนอผลของขอมูลในระดับจังหวัดได จึงไดใช ขอมูล ของการสำรวจในแต ล ะเดือน 3 เดื อนที่ติดตอกัน มารวมกั นเพื่อใหไดขนาดตัว อย างเพี ย งพอและทำการ ประมาณคาขอมูลยอดรวมของจังหวัดตอไป เชน กรณีสรุปรายงานผลการสำรวจในไตรมาสที่ 1 ของป พ.ศ. 2555 ก็ไดนำขอมูลของเดือนมกราคม กุมภาพันธ และมีนาคม 2555 มารวมกัน เปนตน สำหรับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นใชวิธีการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนที่ตกเปน ตัวอยาง โดยขาราชการและพนักงานของสำนักงานสถิติแหงชาติจำนวน ประมาณ 800 คน ที่ประจำในทุกจังหวัด และเจาหนาที่ผูทำการสัมภาษณทุกคนจะมีคูมือการปฏิบัติงานการเก็บรวบรวมขอมูลสำหรับใชในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อใหทุกคนปฏิบัติงานไปในทางเดียวกัน สวนการประมวลผลขอมูลนั้นดำเนินการในสวนกลางตามหลักวิชาสถิติ โดยนำขอมูลที่ไดจากครัวเรือน ตัวอยางมาประมาณคา โดยการถวงน้ำหนัก (Weighty) ซึ่งคาน้ำหนักจะไดจากสูตรในการประมาณคาที่เหมาะสม กับวิธีการเลือกตัวอยาง เพื่อใหไดคาประมาณของประชากรในแตละจังหวัดใกลเคียงกับคาที่แทจริง

2. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การสำรวจไดดำเนินการพรอมกันทั่วประเทศ ในระหวางวันที่ 1 – 12 ของเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2564 สำหรับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใชการสัมภาษณ หัวหนาครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนที่ตกเปน ตัวอยาง โดยพนักงานสัมภาษณของสำนักงานสถิติแหงชาติ ซึ่งมีประสบการณในการสำรวจและพนักงานสัมภาษณ ทุกคนจะมีคูมือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใชในการปฏิบัติงานใหเปนแนวทางเดียวกัน

3. การปดตัวเลข ในตารางสถิติ ผลรวมของแตละจำนวนอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากขอมูลแตละจำนวนไดมีการ ปดเศษเปนหลักพัน โดยอิสระจากกัน

ภาคผนวก ข ตารางสถิติ

ตารางสถิติ หนา ตารางที่ 1 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ

27

ตารางที่ 2 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ และเพศ

28

ตารางที่ 3 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไปที่มีงานทำ จำแนกตามอาชีพ และเพศ

29

ตารางที่ 4 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

30

ตารางที่ 5 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขนึ้ ไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ

31

ตารางที่ 6 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามชั่วโมงการทำงาน ตอสัปดาหและเพศ

32

ตารางที่ 7 จำนวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตามระดับการศึกษา ที่สำเร็จและเพศ

33

27 ตารางที่ 1 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จําแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ สถานภาพแรงงาน ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป กําลังแรงงานรวม 1. กําลังแรงงานปจจุบัน 1.1 ผูมีงานทํา 1.2 ผูวางงาน 2. กําลังแรงงานที่รอฤดูกาล ผูไมอยูในกําลังแรงงาน อายุ 15 ปขึ้นไป 1. ทํางานบาน 2. เรียนหนังสือ 3. อื่น ๆ

รวม 345,757 209,137 201,425 196,097 5,328 7,712 136,620 41,167 27,908 67,545

ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป 1. ผูอยูในกําลังแรงงาน 1.1 กําลังแรงงานปจจุบัน 1.1.1 ผูมีงานทํา 1.1.2 ผูวางงาน 1.2 ผูที่รอฤดูกาล 2. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน 2.1 ทํางานบาน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่นๆ หมายเหตุ ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม

100.0 60.5 58.3 56.7 1.5 2.2 39.5 11.9 8.1 19.5

ชาย จํานวน 167,380 119,357 114,030 110,374 3,656 5,327 48,023 3,567 11,736 32,720 รอยละ 100.0 71.3 68.1 65.9 2.2 3.2 28.7 2.1 7.0 19.5

หญิง 178,377 89,780 87,394 85,722 1,672 2,386 88,597 37,600 16,172 34,825 100.0 50.3 49.0 48.1 0.9 1.3 49.7 21.1 9.1 19.5

28 ตารางที่ 2 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ และเพศ ระดับการศึกษาที่สําเร็จ ยอดรวม ไมมีการศึกษา ต่ํากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 สายสามัญ 5.2 สายอาชีวศึกษา 5.3 สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย 6.1 สายวิชาการ 6.2 สายวิชาชีพ 6.3 สายวิชาการศึกษา 7. อื่นๆ 8. ไมทราบ 1. 2. 3. 4. 5.

ยอดรวม ไมมีการศึกษา ต่ํากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 สายสามัญ 5.2 สายอาชีวศึกษา 5.3 สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย 6.1 สายวิชาการ 6.2 สายวิชาชีพ 6.3 สายวิชาการศึกษา 7. อื่นๆ 8. ไมทราบ 1. 2. 3. 4. 5.

หมายเหตุ ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม

รวม 345,757 28,407 98,099 65,258 49,149 57,004 51,006 5,998 47,840 28,249 11,032 8,559 100.0 8.2 28.4 18.9 14.2 16.5 14.8 1.7 13.8 8.1 3.2 2.5 -

ชาย จํานวน 167,379 9,419 45,523 33,514 25,922 28,451 24,644 3,807 24,550 13,159 7,811 3,580 รอยละ 100.0 5.6 27.2 20.0 15.5 17.0 14.7 2.3 14.7 7.9 4.7 2.1 -

หญิง 178,377 18,987 52,577 31,744 23,227 28,553 26,362 2,191 23,289 15,090 3,220 4,979 100.0 10.6 29.5 17.8 13.0 16.0 14.8 1.2 13.1 8.5 1.8 2.8 -

29 ตารางที่ 3 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามอาชีพ และเพศ อาชีพ

ชาย จํานวน 110,374

85,723

7,721

5,804

1,918

11,257

3,668

7,588

3. ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆและอาชีพที่เกี่ยวของ

7,454

3,834

3,619

4. เสมียน

4,739

1,062

3,677

5. พนักงานบริการและพนักงานในรานคา และตลาด

33,893

13,829

20,064

6. ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร และการประมง

77,687

46,054

31,633

7. ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ

26,070

20,048

6,022

7,270

5,601

1,669

20,005

10,473

9,532

-

-

-

ยอดรวม 1. ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโสและผูจัดการ 2. ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ

8. ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูปฏิบัติงานดานการประกอบ 9. อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ 10. คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น ยอดรวม 1. ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโสและผูจัดการ

รวม 196,097

100.0 3.9

รอยละ 100.0 5.3

หญิง

100.0 2.2

2. ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ

5.7

3.3

8.9

3. ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆและอาชีพที่เกี่ยวของ

3.8

3.5

4.2

4. เสมียน

2.4

1.0

4.3

5. พนักงานบริการและพนักงานในรานคา และตลาด

17.3

12.5

23.4

6. ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร และการประมง

39.6

41.7

36.9

7. ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ

13.3

18.2

7.0

3.7

5.1

1.9

10.2

9.5

11.1

-

-

-

8. ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูปฏิบัติงานดานการประกอบ 9. อาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ 10. คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น หมายเหตุ ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม

30 ตารางที่ 4 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ อุตสาหกรรม

รวม

ยอดรวม 1. เกษตรกรรม การปาไมและการประมง 2. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 3. การผลิต 4. การไฟฟา กาซ และการประปา 5.การจัดหา การจัดการ และการบําบัดน้ําเสีย ของเสีย 6. การกอสราง 7. การขายสง การขายปลีก 8. การขนสงและสถานที่เก็บสินคา 9. ที่พักแรมและบริการดานอาหาร 10. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร 11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 12. กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย 13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตรและเทคนิค 14. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน 15. การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ 16. การศึกษา 17. กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห 18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 19. กิจกรรมการบริการดานอื่นๆ 20. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 21. องคการระหวางประเทศ 22. ไมทราบ

196,097 86,809 16,756 750 308 15,258 24,219 1,931 12,989 454 2,294 169 911 469 15,454 7,571 5,335 368 3,647 406 -

ยอดรวม 1. เกษตรกรรม การปาไมและการประมง 2. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 3. การผลิต 4. การไฟฟา กาซ และการประปา 5.การจัดหา การจัดการ และการบําบัดน้ําเสีย ของเสีย 6. การกอสราง 7. การขายสง การขายปลีก 8. การขนสงและสถานที่เก็บสินคา 9. ที่พักแรมและบริการดานอาหาร 10. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร 11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 12. กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย 13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตรและเทคนิค 14. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน 15. การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ 16. การศึกษา 17. กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห 18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 19. กิจกรรมการบริการดานอื่นๆ 20. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 21. องคการระหวางประเทศ 22. ไมทราบ

100.0 44.3 8.5 0.4 0.2 7.8 12.4 1.0 6.6 0.2 1.2 0.1 0.5 0.2 7.9 3.9 2.7 0.2 1.9 0.2 -

หมายเหตุ ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม

ชาย จํานวน 110,374 50,890 8,345 586 177 14,108 10,872 1,808 4,890 295 693 169 154 247 10,170 2,755 1,732 216 2,267 รอยละ 100.0 46.1 7.6 0.5 0.2 12.8 9.9 1.6 4.4 0.3 0.6 0.2 0.1 0.2 9.2 2.5 1.6 0.2 2.1 -

หญิง 85,723 35,919 8,410 164 131 1,150 13,347 123 8,099 159 1,601 757 221 5,284 4,816 3,603 152 1,380 406 100.0 41.9 9.8 0.2 0.2 1.3 15.6 0.1 9.4 0.2 1.9 0.9 0.3 6.2 5.6 4.2 0.2 1.6 0.5 -

31 ตารางที่ 5 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน และเพศ สถานภาพการทํางาน

รวม

ชาย

หญิง

จํานวน ยอดรวม

196,097

110,374

85,723

1,990

1,663

327

2. ลูกจางรัฐบาล

29,729

16,132

13,597

3. ลูกจางเอกชน

42,486

27,391

15,095

4. ทํางานสวนตัว

80,543

52,915

27,628

5. ชวยธุรกิจครัวเรือน

41,051

12,127

28,924

297

146

151

1. นายจาง

6. การรวมกลุม

รอยละ ยอดรวม

100.0

100.0

100.0

1.0

1.5

0.4

2. ลูกจางรัฐบาล

15.2

14.6

15.9

3. ลูกจางเอกชน

21.7

24.8

17.6

4. ทํางานสวนตัว

41.1

47.9

32.2

5. ชวยธุรกิจครัวเรือน

20.9

11.0

33.7

0.1

0.1

0.2

1. นายจาง

6. การรวมกลุม หมายเหตุ: ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนืองจากการปดเศษทศนิยม

32 ตารางที่ 6 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห และเพศ ชั่วโมงการทํางาน

รวม

ชาย

หญิง

จํานวน ยอดรวม

196,097

110,374

85,723

6,999

4,315

2,685

2. 1-9 ชั่วโมง

-

-

-

3. 10-19 ชั่วโมง

1,904

998

905

4. 20-29 ชั่วโมง

10,615

6,339

4,276

5. 30-34 ชั่วโมง

18,058

10,529

7,529

6. 35-39 ชั่วโมง

16,472

7,915

8,556

7. 40-49 ชั่วโมง

88,293

47,513

40,780

8. 50 ชั่วโมงขึ้นไป

53,757

32,765

20,992

1.

0 ชั่วโมง

1/

รอยละ ยอดรวม

100.0

100.0

100.0

3.6

3.9

3.1

2. 1-9 ชั่วโมง

-

-

-

3. 10-19 ชั่วโมง

1.0

0.9

1.1

4. 20-29 ชั่วโมง

5.4

5.7

5.0

5. 30-34 ชั่วโมง

9.2

9.5

8.8

6. 35-39 ชั่วโมง

8.4

7.2

10.0

7. 40-49 ชั่วโมง

45.0

43.0

47.6

8. 50 ชั่วโมงขึ้นไป

27.4

29.7

24.5

1.

0 ชั่วโมง 1/

หมายเหตุ 1. ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม 2.1/ ผูไมไดทํางานในสัปดาหการสํารวจ แตมีงานประจํา

33 ตารางที่ 7 จํานวน และรอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จและเพศ ระดับการศึกษาที่สําเร็จ ยอดรวม ไมมีการศึกษา ต่ํากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 สายสามัญ 5.2 สายอาชีวศึกษา 5.3 สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย 6.1 สายวิชาการ 6.2 สายวิชาชีพ 6.3 สายวิชาการศึกษา 7. อื่นๆ 8. ไมทราบ 1. 2. 3. 4. 5.

ยอดรวม ไมมีการศึกษา ต่ํากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 สายสามัญ 5.2 สายอาชีวศึกษา 5.3 สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย 6.1 สายวิชาการ 6.2 สายวิชาชีพ 6.3 สายวิชาการศึกษา 7. อื่นๆ 8. ไมทราบ 1. 2. 3. 4. 5.

หมายเหตุ ผลรวมชาย-หญิงอาจไมเทากับยอดรวม เนื่องจากการปดเศษทศนิยม

รวม 196,097 9,237 48,500 43,677 22,596 34,242 30,876 3,366 37,846 23,928 8,555 5,363

ชาย จํานวน 110,374 3,376 27,544 25,914 14,142 20,302 17,368 2,934 19,097 10,805 6,378 1,914

หญิง 85,723 5,861 20,956 17,763 8,455 13,940 13,508 432 18,749 13,123 2,177 3,449

-

-

-

100.0 4.7 24.7 22.3 11.5 17.5 15.7 1.7 19.3 12.2 4.4 2.7 -

รอยละ 100.0 3.1 25.0 23.5 12.8 18.4 15.7 2.7 17.3 9.8 5.8 1.7 -

100.0 6.8 24.4 20.7 9.9 16.3 15.8 0.5 21.9 15.3 2.5 4.0 -

ภาคผนวก ค จำนวนประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัดพะเยา (ตัวชี้วัดอัตราการวางงาน และอัตราการมีสวนรวมในกำลังแรงงาน)

ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4

สํานักงานสถิติจังหวัดพะเยา สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

348,064 216,199 215,263 214,126 1,136 348,135 211,650 209,526 209,234 293 348,133 227,992 227,328 226,521 806 212,936 212,534 212,298 236 348,047 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (ป พ.ศ. 2559) 348,095 217,194 216,163 215,545 618 347,953 216,747 211,762 210,158 1,604 ป พ.ศ. 2560 ไตรมาสที่ 1 347,937 248,449 242,719 238,859 3,859 ไตรมาสที่ 2 347,920 237,145 235,432 233,228 2,204 ไตรมาสที่ 3 347,795 224,432 222,110 220,657 1,453 ไตรมาสที่ 4 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (ป พ.ศ. 2560) 347,901 231,693 228,006 225,726 2,280 ป พ.ศ. 2561 ไตรมาสที่ 1 347,720 227,137 224,809 224,219 589 ไตรมาสที่ 2 347,673 232,124 230,317 228,507 1,810 ไตรมาสที่ 3 347,556 228,271 228,271 226,017 2,255 ไตรมาสที่ 4 247,358 224,720 224,018 223,053 965 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (ป พ.ศ. 2561) 322,577 228,063 226,854 225,449 1,405 347,219 227,379 226,028 223,979 2,048 ป พ.ศ. 2562 ไตรมาสที่ 1 347,086 223,105 222,160 220,394 1,766 ไตรมาสที่ 2 346,941 223,023 223,023 221,938 1,085 ไตรมาสที่ 3 346,761 216,499 215,762 215,475 287 ไตรมาสที่ 4 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (ป พ.ศ. 2562) 347,002 222,501 221,743 220,447 1,296 ป พ.ศ. 2563 ไตรมาสที่ 1 346,596 213,479 205,958 205,111 848 ไตรมาสที่ 2 346,447 215,038 204,110 201,663 2,447 ไตรมาสที่ 3 346,273 221,271 216,254 213,048 3,206 ไตรมาสที่ 4 346,004 215,080 210,875 206,575 4,300 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (ป พ.ศ. 2563) 346,330 216,217 209,299 206,599 2,700 ป พ.ศ. 2564 ไตรมาสที่ 1 345,757 209,137 201,425 196,097 5,328 ที่มา : สรุปผลการสํารวจภาวะการทํางานของประชากร จังหวัดพะเยา รายไตรมาส พ.ศ. 2559 - 2564

ป พ.ศ. 2559

สถานภาพแรงงาน

737 1,011 7,521 10,928 5,017 4,205 6,918 7,713

702 1,612 1,351 945

936 2,123 664 402 1,031 4,985 5,730 1,713 2,322 3,688 2,328 1,807

-

-

131,865 136,485 120,141 135,111 130,901 131,206 99,488 110,775 123,363 116,208 120,583 115,549 119,285 122,638 119,514 119,840 123,981 123,918 130,262 124,500 133,117 131,409 125,002 130,924 130,113 136,620

44,519 54,314 41,752 52,372 48,239 47,627 25,516 29,493 35,687 34,581 33,393 33,168 32,765 34,767 33,523 32,560 36,589 33,617 37,457 35,056 34,442 38,929 28,831 35,936 34,534 41,167

29,278 27,208 26,343 28,652 27,870 24,110 27,093 26,616 26,275 26,024 30,615 28,969 26,134 29,806 28,881 29,613 29,429 28,623 30,053 29,429 31,171 26,294 28,313 27,119 28,224 27,907

58,269 54,964 52,046 54,088 54,842 59,469 46,879 54,666 61,401 55,604 56,576 53,411 60,386 58,065 57,110 57,667 57,963 61,679 62,752 60,015 67,503 66,187 67,858 67,868 67,354 67,545

จํานวนประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัดพะเยา (ตัวชี้วัดอัตราการวางงาน และอัตราการมีสวนรวมในกําลังแรงงาน) กําลังแรงงานรวม ผูไมอยูในกําลังแรงงาน ประชากร กําลังแรงงานปจจุบัน อายุ 15 ป กําลังแรงงาน ขึ้นไป รวม รวม ผูมีงานทํา ผูวางงาน ที่รอฤดูกาล รวม ทํางานบาน เรียนหนังสือ อื่นๆ 0.5 0.1 0.4 0.1 0.3 0.7 1.6 0.9 0.6 1.0 0.3 0.8 1.0 0.4 0.6 0.9 0.8 0.5 0.1 0.6 0.4 1.1 1.4 2.0 1.2 2.5

62.11 60.80 65.49 61.18 62.40 62.29 71.41 68.16 64.53 66.60 65.32 66.77 65.68 90.85 72.15 65.49 64.28 64.28 62.43 64.12 61.59 62.07 63.90 62.16 62.43 60.49

อัตราการ อัตราการ วางงาน มีสวนรวม (%) ในกําลังแรงงาน

Data Loading...