ศศิ_ชุดกิจกรรมการเรียนรู้_1_วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม_รวมเล่มนักเรียน_เทอม 1_2565-นักเรียน - PDF Flipbook

ศศิ_ชุดกิจกรรมการเรียนรู้_1_วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม_รวมเล่มนักเรียน_เทอม 1_2565-นักเรียน

116 Views
8 Downloads
PDF 2,447,877 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 โดยใช้กระบวนการเรียนรูแ้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) ประกอบชุดสือ่ ประสม

หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง อะตอมและสมบัตขิ องธาตุ ชุดที่ 1 วิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ครูผสู้ อน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง กระทรวงศึกษาธิการ C

H

E

M

I

S

T

R

Y



คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น(7E) ประกอบชุดสื่อประสม รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและ สมบัติของธาตุ จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นนวัตกรรมทางการศึ ก ษา ที่จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ มีอิสระ ในการคิด ทุกคนมีโอกาสใช้ความคิด ได้อย่างเต็มที่ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ใ ช้ เวลาน้อยลงในการนำเสนอข้อ มู ล ต่างๆ ช่วยให้ผู้เรี ย น สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีกิจกรรมให้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ซึ่งผู้เรียน ดำเนินการเรียนรู้จากคำแนะนำที่ปรากฏอยู่ ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามลำดับขั้น ด้วยตนเองสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอบสนองพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ง ชาติ พุทธศักราช 2542 และสอดคล้องกั บหลั กสู ตรแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการ คิดกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้อง เหมาะสม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น(7E) ประกอบชุดสื่อประสม รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งหมด 4 ชุด ชุดนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่องวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม ใช้เวลา 6 ชั่วโมง ผู้จัดทำหวั ง เป็น อย่ างยิ่ งว่า ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ เล่ มนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อ ครูผู้สอน ผู้เรียน และผู้ที่สนใจ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีสูงขึ้น บรรลุตาม ผลการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้รายวิ ชาเคมีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป ขอขอบพระคุณ ทุกท่านที่มีส่วนสนับสนุน ช่วยเหลือ และแนะนำ ให้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอม และสมบัติของธาตุ สำเร็จลุล่วงด้วยดี ศศิ ประทีป ณ ถลาง ผู้จัดทำ C

H

E

M

I

S

T

R

Y



สารบัญ เรือ่ ง

หน้า

คำนำ ก สารบัญ ข คำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียน 1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2 กิจกรรมตามกระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น(7E) ประกอบชุดสื่อประสม ขัน้ ที่ 1 ขัน้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม (Elicitation) แบบทดสอบก่อนเรียน (google Form) บัตรกิจกรรมที่ 1.1 อนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารตามความคิดของนักเรียน 4 ขัน้ ที่ 2 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) บัตรกิจกรรมที่ 1.2 ลำดับภาพวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม 5 ขัน้ ที่ 3 ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) บัตรความรู้ที่ 1.1 แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม 6 บัตรความรู้ที่ 1.2 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 7 บัตรความรู้ที่ 1.3 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 9 บัตรความรู้ที่ 1.4 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 12 บัตรความรู้ที่ 1.5 แบบจำลองอะตอมของโบร์ 15 บัตรความรู้ที่ 1.6 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 16

C

H

E

M

I

S

T

R

Y



สารบัญ (ต่อ) เรือ่ ง

หน้า

ขัน้ ที่ 4 ขัน้ อธิบาย (Explanation) บัตรกิจกรรมที่ 1.3 สรุปความเข้าใจวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม บัตรกิจกรรมที่ 1.4 ชวนคิดกับวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม ขัน้ ที่ 5 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ขัน้ ที่ 6 ขัน้ ประเมินผล (Evaluation) บัตรกิจกรรมที่ 1.5 ผังมโนทัศน์วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม แบบทดสอบหลังเรียน (google Form) ขัน้ ที่ 7 ขัน้ การนำไปใช้ (Extention) บัตรกิจกรรมที่ 1.6 วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม กับการนำไปใช้ประโยชน์ บรรณานุกรม

C

H

18 20

22

23 24

E

M

I

S

T

R

Y

1

คำแนะนำการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ประกอบชุดสื่อประสม รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม ให้นักเรียนปฏิบัติตาม ขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และตั้งใจ ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม ใช้เวลา 6 ชั่วโมง 2. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แบ่งหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มตามบทบาทที่กำหนด 3. อ่านคำชี้แจง คำแนะนำ และขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และผลการเรียนรู้ 5. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 วิวัฒนาการของ แบบจำลองอะตอม จำนวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขณะปฏิบัติกิจกรรมนักเรียน ร่วมแสดงความคิดเห็น ซักถามแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างอิสระ มีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น เรียนรู้อย่างมีความสุขและสามารถขอคำแนะนำจากครูผู้สอนเมื่อมีปัญหาในการปฏิบัติ กิจกรรม 7. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามบัตรกิจกรรม เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ตรวจสอบคำตอบ ได้จากเฉลยบัตรกิจกรรม ถ้าคำตอบไม่ถูกให้กลับไปอ่านทำความเข้าใจเกี่ย วกับเนื้อหาอีกครั้ง แล้วตอบคำถามใหม่ 8. เมื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วให้ทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม จำนวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 9. ตรวจคำตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน–หลังเรียน พร้อมบันทึกผลคะแนนที่ได้ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องทำแบบทดสอบหลังเรียนได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดให้ทบทวนเนื้อหา แล้วให้ทำ แบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 2 ต่อไป

C

H

E

M

I

S

T

R

Y

2

มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุใน ตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมี และสมบัติของสาร แก๊ส และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์ และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้

➢ ➢

สาระการเรียนรู้

➢ ➢ ➢

สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลอง ที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจำลองอะตอมของ นักวิทยาศาสตร์ และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

ผลการเรียนรู้

C

H

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แบบจำลองอะตอมของโบร์ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

E

M

I

S

T

R

Y

3

จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายแนวคิดและการให้เหตุผลวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอมได้ 2. ลำดับวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม พร้อมให้เหตุผลได้ 3. ยกตัวอย่างการนำความรู้เรื่องแบบจำลองอะตอมมาใช้ประโยชน์ได้ ด้านทักษะ/ กระบวนการ (Process) 1. เปรียบเทียบวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอมได้ 2. ออกแบบและสร้างชิ้นงานแบบจำลองอะตอมตามแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ได้ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน

C

H

E

M

I

S

T

R

Y

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

4

บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรือ่ ง อนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของสสารตามความคิดของนักเรียน คำชีแ้ จง :

1. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน 2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของสสาร ตามความรูเ้ ดิม พร้อมวาดภาพประกอบ และส่วนประกอบทีส่ ำคัญของอนุภาคนัน้ 3. ตัวแทนแต่ละกลุม่ นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชัน้ เรียน ภาพประกอบ

คำอธิบายเพิม่ เติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

5

บัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรือ่ ง ลำดับภาพวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม คำชีแ้ จง : 1. ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเรียงลำดับวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม จากบัตรภาพทีก่ ำหนดให้ 2. ให้นกั เรียนวาดภาพแบบจำลองอะตอมตามลำดับทีจ่ ดั เรียงในข้อ 1. พร้อมทัง้ ระบุ เหตุผลในการเรียงลำดับ 3. ตัวแทนแต่ละกลุม่ นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชัน้ เรียน 1

2

4

3

5

เหตุผลในการเรียงลำดับของนักเรียน …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.1 เรือ่ ง แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม

6

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

นักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมเคตุส (Democritus) และ ลาซิปปุส (Leucippus) เชื่อว่าเมื่อย่อยสารลงเรื่อยๆ จะได้ส่วนที่ เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีกและเรียกอนุภาค ที่เล็กที่สุดว่า “อะตอม” (atom มาจากภาษากรีก คำว่า atomos แปลว่าแบ่งแยกอีกไม่ได้) และสิ่งที่เล็กที่สุดนี้ของแต่ละธาตุต่างกัน จึงทำให้สมบัติต่างๆของแต่ละธาตุแตกต่างกันไปด้วย โครงสร้าง อะตอมเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นหรือทดลองได้โดยตรง ดังนั้นการศึกษาโครงสร้างอะตอมจึงต้องอาศัยแบบจำลองอะตอม มาช่วยอธิบายแบบจำลองเป็นสิ่งที่สร้างขึ้น เพื่ออธิบายผลการทดลอง เพราะฉะนั้นเมื่อมีผลการทดลองใหม่ที่แบบจำลองเดิมอธิบายไม่ได้ ก็จะมี การสร้างแบบจำลองใหม่ ปัจจุบันมีการสร้างกล้องอิเล็กตรอนที่มี กำลังขยายสูงทำให้สามารถเห็นผิวของอะตอมได้

Concept แบบจำลองอะตอม เป็นมโนภาพทีน่ กั วิทยาศาสตร์สร้างขึน้ โดยอาศัยข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลอง เพือ่ อธิบายสมมติฐานทีต่ งั้ ขึน้ แบบจำลองอะตอมทีส่ ร้างขึน้ มานัน้ สามารถปรับปรุงและพัฒนา เมือ่ พบ ข้อมูลใหม่ทแี่ บบจำลองเดิมไม่สามารถอธิบายได้

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.2 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

7

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

จอห์น ดอลตัน (John Dalton) ได้เสนอ ทฤษฎีอะตอม โดยมีสาระสำคัญดังนี้

2

1

ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน ส่วนธาตุต่างชนิดกันอะตอมจะต่างกัน

สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่ เล็กที่สุด ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก เรียกว่า อะตอม

4

3 อะตอมชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงไป เป็นอะตอมชนิดอื่นๆไม่ได้

สารประกอบเกิดจากการรวมตัวทางเคมี ระหว่าง อะตอมของธาตุต่างชนิดกันด้วยอัตราส่วนของ จำนวนอะตอมเป็นเลขลงตัวน้อยๆ

5 ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ อะตอมไม่มีการสูญหาย และ ไม่สามารถทำให้เกิดใหม่ได้ แต่อะตอมจะเกิดจาก การจัดเรียงตัวเป็นโมเลกุลใหม่เกิดเป็นสารประกอบ

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรู้ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.2 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

8

Concept ดังนั้น แบบจำลองอะตอมของดอลตัน จึงสรุปได้ว่า อะตอมมีลกั ษณะเป็นทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และไม่สามารถแบ่งแยกได้อกี

ปัจจุบัน ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน มีเพียงข้อ 4 เท่านั้น ที่ยังเป็นที่ยอมรับ สำหรับข้ออื่นๆนั้น ไม่เป็นทีย่ อมรับ ของนักวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน

1

ไม่เป็นทีย่ อมรับ

เพราะอะตอมไม่ใช่หน่วยที่เล็กที่สุด อะตอม ยังประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 อนุภาค คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน 3

ไม่เป็นทีย่ อมรับ

เพราะอะตอมของธาตุชนิดหนึ่ง สามารถทำให้ เกิดขึ้นใหม่หรือเปลี่ยนเป็นอะตอมของธาตุอื่นได้ หรือสามารถสังเคราะห์อะตอมของธาตุใหม่ได้ โดยอาศัยปฏิกิริยานิวเคลียร์

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ไม่เป็นทีย่ อมรับ

2

เพราะอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน อาจมีสมบัติ บางอย่างแตกต่างกันได้ เช่น ธาตุไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป คือ 11H 21H และ 31H เป็นธาตุชนิดเดียวกัน แต่มวลต่างกัน 5

ไม่เป็นทีย่ อมรับ เพราะอะตอมของธาตุบางชนิดสามารถ ทำให้เกิดขึ้นใหม่หรือทำให้สูญหายได้

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.3 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

9

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) สนใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นใน หลอดรังสีแคโทด จึงได้ทดลองเกี่ยวกับ การนำไฟฟ้าของแก๊สโดยใช้หลอดรังสีแคโทด ด้วยวิธีการดังนี้

(1) บรรจุแก๊สชนิดหนึ่งไว้ในหลอดรังสีแคโทด ซึ่งต่อกับเครื่องสูบ เอาอากาศออกเพื่อให้ภายในมีความดันต่ำต่อขั้วทั้งสองเข้ากับ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ที่แผ่นแอโนดเจาะรูตรงกลาง มีแผ่นฉากเรืองแสงซึ่งเคลือบด้วย ZnS วางที่ปลายหลอด เมื่อครบวงจรจะปรากฏเห็นจุดสว่างบนฉากเรืองแสงดังรูป (2) เมื่อทอมสันได้เห็นปรากฎการณ์นั้น จึงคิดว่า รังสีที่พุ่งมา เป็นเส้นตรงจากแผ่นแคโทดมายังแผ่นแอโนด แล้วไปกระทบ ฉากเรืองแสงนั้น เป็นรังสีชนิดใด เขาได้ทดลองโดยเอาสนามไฟฟ้า มาต่อระหว่างหลอดรังสีแคโทด และพบว่ารังสีนี้เบนเข้าหาขั้วบวก ของสนามไฟฟ้า แสดงว่า รังสีนตี้ อ้ งมีประจุลบแน่นอน เรียกรังสี ชนิดนี้ว่า รังสีแคโทด ดังรูป

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.3 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

ต่อมาทอมสันได้ทดลองบรรจุแก๊สชนิดอื่นๆ เข้าในหลอดรังสีแคโทด รวมทั้งเปลี่ยนชนิด ของโลหะที่เป็นแคโทด ก็ยังพบว่า จะได้รังสี ที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบมาตกที่ ฉากเรืองแสงเสมอ นอกจากนี้เขายังสามารถ คำนวณหาอัตราส่วนของประจุ(e)ต่อมวล(m) ของอิเล็กตรอนว่ามีค่าคงที่

10

𝒆

8 คูลอมบ์ตอ ของอิ เ ล็ ก ตรอน = 1.76 x 10 ่ กรัม 𝐦

จากผลการทดลองดังนี้ ทำให้ทอมสัน สรุปว่า อะตอมของธาตุทุกชนิดประกอบด้วย อนุภาคทีม่ ปี ระจุลบ และเรียกว่า อิเล็กตรอน

ออยเกน โกลด์ชไตน์ (Eugen Goldstein) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษา เกี่ยวกับ อนุภาคบวกในอะตอม และยังเชื่อว่า ภายในอะตอมจะต้องมี อนุภาคที่มีประจุบวก เพราะว่า อะตอมโดยทั่วไปเป็นกลางทางไฟฟ้า โดยเขาได้ทำการทดลองดังนี้ (1) ดัดแปลงหลอดรังสีแคโทดด้วยการเจาะรูที่แผ่นแคโทด และ เพิ่มฉากเรืองแสงด้านแคโทด พบว่า มีการเรืองแสงขึ้น และเมื่อ ทดสอบรังสีโดยใช้สนามไฟฟ้าเช่นเดียวกัน จะเห็นรังสีนี้เบนเข้าหา ขั้วลบ แสดงว่า รังสีนตี้ อ้ งมีประจุบวก จึงให้ชื่อว่า รังสีคาเนล (Canal) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น รังสีบวก ดังรูป

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.3 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

11

(2) เมื่อเขาทดลองกับแก๊สหลายชนิด พบว่า จะได้ผลเช่นเดียวกันคือ รังสีนั้นจะเบนเข้าหาขัว้ ลบของ สนามไฟฟ้า แต่จะมีอัตราประจุต่อมวลของอนุภาคบวกไม่คงที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของแก๊สที่บรรจุภายใน และเมื่อเขาใช้แก๊สไฮโดรเจนทดลองจะได้ อนุภาคบวกที่มปี ระจุเท่ากับอิเล็กตรอน จึงตั้งชื่อว่า โปรตอน (Proton)

Concept ดังนั้น แบบจำลองอะตอมของทอมสัน จึงสรุปได้ว่า อะตอมมีลกั ษณะเป็นทรงกลม มีอนุภาคโปรตอน ซึง่ มีประจุบวกและอนุภาคอิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบกระจายอยู่ ทัว่ ไปอย่างสม่ำเสมอ อะตอมในสภาพทีเ่ ป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจำนวนประจุบวกและประจุลบเท่ากัน

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรู้ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.4 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

12

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

ลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) ได้ทำการทดลองร่วมกับฮันส์ ไกเกอร์ และเออร์เนสต์ มาร์สเตน ศึกษาทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟา เมื่อยิงอนุภาค แอลฟา ซึ่งได้จากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีเข้าไปที่ แผ่นทองคำบางๆ ดังรูป การตรวจสอบทิศทางการเคลื่อนทีข่ องอนุภาคหลังจาก กระทบแผ่นทองคำแล้ว ทำได้โดยใช้ฉากเรืองแสงขดเป็น วงกลมล้อมรอบแผ่นทองคำไว้ โดยเว้นที่เฉพาะบริเวณที่ จะให้อนุภาคแอลฟาผ่านเข้ามาเท่านั้น ทุกๆครั้งที่อนุภาค แอลฟากระทบฉากเรืองแสง จะพบว่า มีจุดสว่างเกิดขึ้นที่ ฉากเรืองแสง

1. อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่จะวิง่ เป็นแนวเส้นตรงผ่านแผ่นทองคำไปกระทบฉากเรืองแสง 2. อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยจะเบีย่ งเบนไปจากแนวเส้นตรง 3. อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมากระทบฉากเรืองแสง

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.4 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

13

จากผลการทดลองนี้ ถ้าอธิบายตามแบบจำลองอะตอมของทอมสัน อนุภาคแอลฟา ซึ่งมีประจุ เป็นบวก น่าจะผลักกับโปรตอน ทำให้เกิดการเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรงได้บ้าง แต่ไม่น่า จะมีอนุภาคสะท้อนกลับมากระทบฉากบริเวณด้านหน้าได้ ดังนั้นรัทเทอร์ฟอร์ดจึงอธิบาย ลักษณะภายในอะตอมว่า การที่อนุภาคแอลฟาวิ่งผ่านแผ่นทองคำไปได้เป็นส่วนใหญ่ แสดงว่า ภายในอะตอมต้องมีที่ว่างอยู่เป็นบริเวณกว้าง การที่อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคเบี่ยงเบนหรือ สะท้อนกลับมาบริเวณด้านหน้าของฉากเรืองแสง แสดงว่า บริเวณตรงกลางของอะตอมน่าจะ มีอนุภาคที่มีประจุบวกและมีมวลสูงมากกว่าอนุภาคแอลฟา

Concept ดังนั้น แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด จึงสรุปได้ว่า อะตอม ประกอบด้วย โปรตอนรวมกันเป็นนิวเคลียส อยูต่ รงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก แต่มมี วลมากและมีประจุ ไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบและมีมวลน้อยมาก วิง่ อยูร่ อบๆนิวเคลียส

จากแนวคิดของรัทเทอร์ฟอร์ด ซึ่งได้เสนอว่า มวลส่วนใหญ่ของอะตอมควรจะเป็นมวลของ โปรตอนในนิวเคลียส แต่ต่อมามีการค้นพบว่า มวลอะตอมของธาตุมักมีค่าเป็น 2 เท่าของมวลของ โปรตอนทั้งหมด เช่น ธาตุคาร์บอน มีมวลของโปรตอนทั้งหมด 6 หน่วย แต่มวลของอะตอมมีค่า เท่ากับ 12 หน่วย เป็นต้น รัทเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอความเห็นเพิ่มเติมว่า น่าจะมีอนุภาคที่มีมวล ใกล้เคียงกับโปรตอน แต่ไม่มีประจุไฟฟ้ารวมอยู่ในนิวเคลียสด้วย

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.4 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

14

ต่อมา เซอร์ เจมส์ แซดวิค (Sir James Chadwick) ได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นโลหะเบริลเลียม (Be) ปรากฏว่า ได้อนุภาคใหม่ที่มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน และเป็นกลางทางไฟฟ้า จึงเรียกอนุภาคนี้วา่ นิวตรอน (n)

การค้นพบนิวตรอนช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับนิวเคลียสของอะตอมชัดเจนขึ้น ทำให้ทราบว่า อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญสามชนิดคือ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ซึ่งอนุภาค ทั้งสามชนิดนี้เรียกว่า อนุภาคมูลฐานของอะตอม ซึ่งมีสมบัติดังแสดงในตาราง อนุภาค

สัญลักษณ์

ประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์)

ชนิด ประจุไฟฟ้า

มวล (กรัม)

อิเล็กตรอน

e

1.602 x 10-19

-1

9.109 x 10-28

โปรตอน

p

1.602 x 10-19

+1

1.673 x 10-24

นิวตรอน

n

0

0

1.675 x 10-24

แบบจำลองอะตอมภายหลังการค้นพบนิวตรอน จึงมีลักษณะดังนี้ อะตอมมีล ักษณะเป็นทรงกลม ประกอบด้วย โปรตอน และนิวตรอนรวมอยู่ตรงกลางของอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีจำนวนเท่ากับโปรตอน วิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียส

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.5 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมของโบร์

15

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

จากแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ซึ่งไม่สามารถ อธิบายได้ว่า อิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียส มีการดำรงอยู่อย่างไร จึงมีการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

จนกระทั่ง นีลส์ โบร์ (Neils Bohr) ได้เสนอ แบบจำลองอะตอมใหม่ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แต่ได้อธิบายถึงเรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนรอบๆนิวเคลียสของอะตอม

Concept ดังนั้น แบบจำลองอะตอมของโบร์ จึงสรุปได้ว่า อิเล็กตรอนจะวิง่ วนอยูร่ อบๆนิวเคลียสเป็นชัน้ ๆ ตามระดับพลังงาน โดยระดับชัน้ ทีใ่ กล้นวิ เคลียสจะเป็น ระดับชัน้ ทีม่ พี ลังงานต่ำสุด ในขณะทีร่ ะดับชัน้ ทีส่ งู ขึน้ ไป อิเล็กตรอนจะต้องมีพลังงานมากขึน้ จึงจะไปอยูใ่ นชัน้ นัน้ ได้

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.6 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ หมอก

16

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านเนือ้ หาในบัตรความรูแ้ ละทำความเข้าใจ

จากแบบจำลองอะตอมของโบร์ ไม่สามารถอธิบายสมบัติบางอย่างของธาตุที่มี หลายอิเล็กตรอนจึงมีการศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้งคลื่นและ อนุภาค การศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้งคลื่นและอนุภาค

Concept แบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ หมอก แบบจำลองนี้เชื่อว่า 1. อิเล็กตรอนไม่ได้เคลือ่ นทีเ่ ป็นวงกลม แต่เคลือ่ นทีไ่ ปรอบๆ นิวเคลียสเป็นรูปทรงต่างๆตามระดับพลังงาน 2. ไม่สามารถบอกตำแหน่งทีแ่ น่นอนของอิเล็กตรอนได้ เนือ่ งจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมาก และเคลือ่ นทีร่ วดเร็ว ตลอดเวลาไปทัว่ ทัง้ อะตอม 3. อะตอมประกอบด้วยกลุม่ หมอกของอิเล็กตรอนรอบ นิวเคลียส บริเวณทีม่ ีหมอกทึบ แสดงว่า มีโอกาสพบ อิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณทีม่ หี มอกจาง

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรความรูป้ ระกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

บัตรความรูท้ ี่ 1.6 (ต่อ) เรือ่ ง แบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ หมอก

17

โครงสร้างอะตอมตาม แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก สามารถใช้อธิบายสมบัติต่างๆ ของอะตอมได้อย่างกว้างขวาง แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ข้อยุติในการศึกษาทดลองเกี่ยวกับอะตอม เพราะเป็นที่ ยอมรับกันแล้วว่า ความรูท้ างวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดไป ดังนั้นในอนาคตจึงอาจมี แบบจำลองอะตอมใหม่ที่ใช้อธิบายโครงสร้างอะตอมได้เหมาะสมและดีกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

สสารแต่ละชนิดล้วนประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม ซึ่งนักวิทยาศาสตร์หลายท่านในอดีตได้ศึกษาเรื่องราวของอะตอม และ เสนอแบบจำลองของอะตอม จึงมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน จากการศึกษาแบบจำลองอะตอมทำให้ทราบว่า อะตอมประกอบด้วย อนุภาคมูลฐาน คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซึ่งการจัดเรียง อิเล็กตรอนของอะตอมในระดับพลังงานนอกสุดจะสัมพันธ์กับสมบัติของ ธาตุและการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสัญลักษณ์นิวเคลียร์จะแสดงเลข อะตอมและเลขมวลของธาตุต่างๆ

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

18

บัตรกิจกรรมที่ 1.3 เรือ่ ง สรุปความเข้าใจวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนวาดภาพและอธิบายใจความสำคัญของแบบจำลองอะตอมต่างๆ ต่อไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง โดยลำดับตามวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ภาพแบบจำลองอะตอม

ภาพแบบจำลองอะตอม

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

……………………………………………………………………. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. …………………………………………………………………… แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. …………………………………………………………………….

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

19

บัตรกิจกรรมที่ 1.3 (ต่อ) เรือ่ ง สรุปความเข้าใจวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ภาพแบบจำลองอะตอม

ภาพแบบจำลองอะตอม

ภาพแบบจำลองอะตอม

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. แบบจำลองอะตอมของโบร์ ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………..

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

20

บัตรกิจกรรมที่ 1.4 เรือ่ ง ชวนคิดกับวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคำถามเกีย่ วกับวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอมให้ถกู ต้อง 1. แบบจำลองอะตอมของดอลตันไม่เป็นทีย่ อมรับในปัจจุบนั เนือ่ งจากสาเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………………………………………………. ….……………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………….……………………………………………..

2. แบบจำลองอะตอมของดอลตันต่างจากแบบจำลองอะตอมของทอมสันอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………….… .…………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………….……………………………………………..

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

21

บัตรกิจกรรมที่ 1.4 (ต่อ) เรือ่ ง ชวนคิดกับวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม

3. แบบจำลองอะตอมของทอมสันและแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด มีลกั ษณะเหมือนกัน หรือต่างกัน อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………………………………

4. แบบจำลองอะตอมของโบร์มจี ดุ บกพร่องอย่างไร จึงทำให้ตอ้ งมีการพัฒนาและเสนอ แบบจำลองแบบกลุ่มหมอกขึน้ มา ………………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากการศึกษาวิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม อะตอมประกอบด้วยอนุภาคใดบ้าง และ จำนวนอนุภาคแต่ละชนิดเท่ากันหรือไม่อย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………………………………

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

22

บัตรกิจกรรมที่ 1.5 เรือ่ ง ผังมโนทัศน์ววิ ฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม คำชีแ้ จง :

ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์ หรือ แผนภาพความคิด เรือ่ ง วิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอม ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทสี่ ดุ

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

บัตรกิจกรรมประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ ชุดที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

23

บัตรกิจกรรมที่ 1.6 เรือ่ ง วิวฒ ั นาการของแบบจำลองอะตอมกับการนำไปใช้ประโยชน์ คำชีแ้ จง :

ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ทสี่ ดุ

นักเรียนสามารถนำความรูเ้ กีย่ วกับแบบจำลองอะตอมไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………. ……….………………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………………………………………………… ……….………………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………………………………………………… ……….………………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………………………………………………… ……….………………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………………………………………………… ……….………………………………………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………………………………………………

ครูผู้สอน คุณครูศศิ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

24

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). คูม่ อื ครู รายวิชาเพิม่ เติม เคมี เล่ม 1 (พิมพ์ครัง้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม เคมี เล่ม 1 (พิมพ์ครัง้ ที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. จงรักษ์ ปัญญารัตนกุลชัย. (2554). ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E). วารสารสิง่ แวดล้อม, 2(4), 98-105. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี. (2558). คูม่ อื ความปลอดภัย ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 6. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://www.chemistry.sc.chula.ac.th/safety/safetymanual.pdf ประสาท เนื่องเฉลิม. (2550). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ 7 ขัน้ วารสารวิชาการ, 2(10), 25-30. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. ชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2552. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). หนังสือเรียนรายวิชา พืน้ ฐานเคมีสำหรับนักเรียนทีเ่ น้นวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4–6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. สมพงษ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2554). High School Chemistry เคมี ม.4–6 (รายวิชาพืน้ ฐาน). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิซซิ่ง สำราญ พฤกษ์สุนทร. (2553). เคมีพนื้ ฐาน ม.4–6 เตรียมสอบ O-Net และสอบประจำ ภาคเรียน. กรุงเทพฯ : บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.

C

H

E

M

I

S

T

R

Y

Data Loading...