02.อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในการประกอบอาหาร.pptx1 - PDF Flipbook

02.อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในการประกอบอาหาร.pptx1

110 Views
10 Downloads
PDF 6,762,852 Bytes

Download as PDF

REPORT DMCA


อุ ป กรณ์ เครื่ อ งใช้ ในการประกอบอาหาร ครูศรัณยู

การประกอบอาหารนั้ น ถ้ า จะให้ ไ ด้ อ าหารที่ มี ร สชาติ กลิ่ น สี และ ความสะอาดปลอดภั ย นอกจากเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความสดใหม่ ข องอาหาร ตํ า รั บ ที่ ดี พ่ อ ครั ว ที่ มี ค วามชํ า นาญแล้ ว ยั ง ขึ้ น กั บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งานถู ก ต้ อ ง มี ค วามสะอาด ไม่ มี ส ารพิ ษ ปนเปื้ อ นลงไปในอาหาร อาหารที่ ป รุ ง เสร็ จ แล้ ว จั ด วาง ใส่ภาชนะที่สวยงาม แข็งแรง ทนทาน มีคุณภาพการออกแบบสวยงาม เหมาะกับชนิดของอาหาร เป็นสิ่งที่สําคัญและช่วยเสริมให้อาหารนั้น มีคุณภาพมีคุณค่ามากขึ้น

โดยทั่วไปแล้ววัสดุที่นํามาใช้ทําเครื่องมืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกันอาหาร ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

ต้องไม่ทําปฏิกิริยากับอาหาร คื อ ไ ม่ ว่ า อ า ห า ร ร้ อ น มี ก รดผสม มี ค วามเป็ น ด่ า ง เค็ ม ก็ ไ ม่ ทํ า ให้ เ กิ ด การขู ด ขี ด กัดกร่อน

มีความทนทาน แข็งแรง ไม่โค้งงอ บิ่น เมื่อใช้งาน

แ ส ง แ ล ะ น้ํ า ซึ ม ผ่านไม่ได้

ทน ท าน ต่ อ ก า ร ทํ า ลายของแมลง หนู สั ต ว์ กั ด แทะ อื่น ๆ

ทําความสะอาดได้ง่าย และไม่ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย า กั บ สารที่ ใ ช้ ทํ า ความ สะอาด

วัสดุที่ใช้ทําภาชนะหุงต้ม

วัสดุที่ใช้หันมาชนะหุงต้ม อาจเป็นชนิดเดียวหรือมีหลาย ชนิดผสมกัน ซึ่งขึ้นกับเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น วัสดุชนิดต่าง ๆ มีข้อดี ข้อเสีย ที่ต่างกัน เช่น

1. อะลูมิเนียม (aluminuna) เป็ น โลหะที่ มี น้ํ า หนั ก เบา นํ า ความร้ อ นได้ ดี ที่ สุ ด และราคาถู ก จึงเหมาะที่จะทําภาชนะที่ใช้หุงต้มด้วยความร้อนสูง เวลาน้อยมากกว่า การใช้ปรุงเป็นเวลานาน ๆ เพราะจะทําให้ร้อนจัดมาก ถ้าเผลอไม่ได้ เฝ้าดู นอกจากนี้แล้วยังบุบ บู้บี้ได้ง่าย อาจเป็นรูเป็นปุ่ม เพราะเกลือ หรือน้ํากระด้าง อาหารที่เ ป็ นด่ าง หรือผงซั กล้ างที่แรง ๆ ที่ใช้กั บ เครื่องล้างจาน ทําให้ความมันของผิวหน้ากลายเป็นด้าน ๆ อาหารที่ เป็นกรด เช่น มะเขือเทศ แกงส้ม ก็กัดกร่อนทําให้อาหารมีรสโลหะ

2. สแตนเลส (Stainless) แข็ ง แรง ทนทาน ไม่ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ อาหาร ราคาค่ อ นข้ า งแพง นําความร้อนดีสู้อะลูมิเนียมไม่ได้ มักจะร้อนเป็นจุด ๆ ถ้าใช้เตาไฟฟ้า เพราะการนําความร้อนไม่ดี จึงทําให้อาหารไหม้ติดก้นหม้อเป็นจุด ๆ สแตนเลสนั้นเหมาะที่จะใช้กับการปรุงอาหารที่เป็นน้ํา ไม่เหมาะกับ การทอด ผัด หุงข้าว

3. การผสมของสเตนเลสกับอะลูมิเนียม หรือทองแดง โดยการนํามาเคลือบที่ผิวทั้งหมด หรือเคลือบ เฉพาะบางส่ ว น ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลดี และ หลีกเลี่ยงข้อเสียของโลหะทั้งสองหรือสามชนิด

4. เหล็กกล้า (Cast-iron) เป็ น ที่ นิ ย มใช้ ทํ า ภาชนะกั น มาเป็ น ร้ อ ยปี แ ล้ ว ทั้งนี้เพราะไม่ บุบ บู้บี้ ร้อนช้าแต่ร้อนสม่ําเสมอ เก็บความร้อนดี และราคาไม่แพงจนเกินไป เหมาะที่ จะใช้ ทํ า กระทะ มี ข้ อ เสี ย อยู่ นิ ด คื อ มี น้ํ า หนั ก และ เป็นสนิมได้ง่ายต้องคอยเช็ดให้แห้งเมื่อล้างแล้ว

5. หม้อเคลือบ (Enamel ware) เป็นหม้อขนาดต่าง ๆ ใช้สารประกอบเคลือบบนเหล็กกล้า หรื อ เหล็ ก ธรรมดา ข้ อ เสี ย คื อ มั ก จะกะเทาะได้ ง่ า ย ซึ่งความคงทนนั้นขึ้นกับว่าเคลือบหนาหรือบางด้วย

6. แก้ว มีความใส สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลง ของอาหารได้ แต่ต้องระวังการแตก การวาง บนเตาต้องมีขารอง ไม่นิยมใช้กัน

7. เทฟลอน (Teflon) เป็ นชื่อทางการค้าที่เรารู้จักกันว่ าเป็ นภาชนะเทฟลอน ซึ่งเป็ นสารผสม fluorocarbon ที่ใช้เคลือบภายในของภาชนะ ทําให้อาหารไม่ติดภาชนะ ล้ า งออกง่ า ย ไม่ ต้ อ งใช้ น้ํ า มั น ในการทอด ในการํ า ขนมเค้ ก ขนมอบ แต่การใช้นั้นต้องทําตามข้อแนะนํา เช่น ก่อนใช้ต้องทาน้ํามันให้ทั่วก่อน แล้ ว ล้ า ง แต่ ไ ม่ เ ช็ ด เพื่ อ ให้ น้ํ า มั น ซึ ม ซาบอย่ า งอิ่ ม ตั ว การล้ า งต้ อ งใช้ ฟองน้ําหรือผ้าเช็ดถู ใช้โลหะเป็นฝอย หรือสก๊อ ตไบรท์ไม่ได้ การคนก็ต้อง ใช้พายที่ทําจากวัสดุพลาสติกหรือไม้ ภาชนะพวกนี้ราคาค่อนข้างแพง

8. ทองแดง (Copper) ซึ่ ง นํ า ความร้ อ นได้ ดี หนั ก ราคาแพงมาก ต้ อ งขั ด ถู สม่ํ า เสมอ เพื่ อ ให้ แ วววาว โดยทั่ ว ไปจะทํ ป ฏิ กิ ริ ย า กับอาหาร จึงต้องเคลือบทับด้วยดีบุก หรือสแตนเลส เป็นภาชนะที่เป็นลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งมากกว่า

9. วัสดุอื่น ๆ เช่น เงิน ทองเหลื อง ดินเผา (มีความคงทน น้อยมาก ล้างทําความสะอาดยาก ทนความร้อน ไม่สูงนัก)

การเลือกภาชนะประกอบอาหาร ควรพิจารณาจาก ปริมาณอาหารที่จะต้องเตรียม

จํานวนคนที่จะเสิร์ฟ วิธีการหุงต้ม

สถานที่ของห้องครัว

สถานที่เก็บรักษา ความกลมกลืนกับภาชนะอื่น ๆ ที่ใช้ร่วมกัน

ชนิดของแขกและชนิดของงาน ที่จะให้บริการ

งบประมาณ การออกแบบ การดูแลรักษา ซ่อมแซม ความปลอดภัยในการใช้งานและความยากง่ายในการใช้

หม้อ

ใช้สําหรับต้ม แกง หุง ตุ๋นอาหาร มีลักษณะ ลึ ก หรื อ สู ง มี ฝ าปิ ด มี หู ที่ จั บ สั้ น 2 ข้ า ง ถ้าเป็นขนาดใหญ่ หรือด้ามจับข้างเดียวแต่ยาว ถ้ า เ ป็ น ข น า ด เ ล็ ก ( Saucepants) บางชนิ ด ไม่ มี หู จั บ แต่ ทํ า ให้ ป ากเม้ ม ออกมา โดยรอบ เช่น หม้อเคลือบ หรือหม้อแขก วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า ได้ แ ก่ อะลู มิ เ นี ย ม สแตนเลส หม้อเคลือบและเทฟลอน เป็นต้น พลาสติก ในกรณีไม่ใส่ของร้อน

ขนาด มักเรียกเป็น นัมเบอร์ ตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง บางครั้งนิยมทําเป็นเถา จ า ก เ ล็ ก ถึ ง ใ ห ญ่ ข อ ง ฝ รั่ ง บ อ ก ข น า ด ต า ม ป ริ ม า ต ร อ า ห า ร ที่ ใ ช้ ป รุ ง เ ช่ น ขนาด 1 ควอร์ท ใช้สําหรับอุ่น หรือปรุงอาหารปริมาณน้อย ขนาด 2 หรือ 3 ควอร์ท ใช้ สํ า หรั บ ปรุ ง อาหารที่ ใ ห้ ค นกิ น ได้ 4-8 คน ขนาด 6 ควอร์ ท หรื อ ใหญ่ ก ว่ า ใ ช้ ต้ ม น้ํ า ม า ก ๆ เ พื่ อ ล ว ก ม ะ ก ะ โ ร นี ห รื อ ต้ ม เ นื้ อ ป ริ ม า ณ ม า ก ใ ห้ เ ปื่ อ ย (1 ควอร์ท-1 ลิตร) การออกแบบมักจะให้ฝานั้นปิดสนิท มีที่จับตรงกลางฝา สีสันและ ลวดลายให้สะดุดตา และที่สําคัญต้องทําความสะอาดได้ง่าย

หม้อสองชั้น (Double boiler) หรื อ หม้ อ ตุ๋ น เป็ น หม้ อ ที่ มี ข นาดเล็ ก ซ่ อ นอยู่ ใ นหม้ อ ข้ า งล่ า ง ที่มีขนาดใหญ่กว่าใบล่าง ใช้ใส่น้ําในขณะที่ใบบนมีฝาปิดและปิดช่อง ที่ ไ อน้ํ า จะระเหยออกได้ ส นิ ท หม้ อ แบบนี้ เ หมาะที่ จ ะใช้ ป ระกอบ อาหารที่ไม่ต้องการให้อาหารสัมผัสกับไฟโดยตรง ใช้ไอน้ําร้อนแทน ป้องกันการไหม้ การจับตัวกันเป็นก้อน วั ส ดุ มั ก จะเป็ น อะลู มิ เ นี ย มและหม้ อ เคลื อ บ หรื อ สแตนเลส ขนาดมักจะไม่ใหญ่ ลวดลาย สีสันไม่จําเป็นมากนัก

หม้ออัดความดัน (Pressure crusker) เป็ น หม้ อ หรื อ กระทะที่ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ไ อน้ํ า จากการหุ ง ต้ ม ในหม้ อ ออกข้ า งนอก ทํ า ให้ ข้ า งในมี ค วามดั น ของไอน้ํ า เพิ่ ม ขึ้ น อุณหภูมิที่สูงขึ้น อาหารสุกเร็วหรือเปื่อยเร็ว ขนาดมีตั้งแต่เล็ก กลาง และใหญ่ ความดั น นั้ น อ่ า นได้ จ ากหน้ า ปั ด หรื อ จากการ เปลี่ยนลูกตุ้ม ที่บังคับการดันของไอน้ํา เช่น 5 ปอนด์ 10 ปอนด์ และ 15 ปอนด์

กระทะ กระทะใช้สําหรับทอด ผัดอาหาร ไม่มีฝาปิด ลักษณะของกระทะนั้นแตกต่างกัน เช่น กระทะปากบานแบบของคนจีนใช้ทําอาหารจีน เรียกว่ากระทะจีน (wok) แบบกลมตื้น มีหูจับข้างเดียว เป็นของฝรั่งเรียกว่า ไฟรแพน (fry paา หรือ skillet) มีฝาปิด วัสดุที่ใช้ทํากระทะ ได้แก่ เหล็กกล้า อะลูมิเนียม เทฟลอน ขนาด ตามเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น ของฝรั่ง ขนาด 6-8 นิ้ว ใช้ทอดไข่ ทอดอาหาร ขนาดเล็ก ทําน้ําซอสต่าง ๆ ขนาด 10-12 นิ้ว ใช้ทอดเนื้อหลาย ๆ ชิ้น คน (ผัด) ผัก หรือทําแพนเค้ก สําหรับกระทะแบบจีนที่ใบใหญ่ ๆ ใช้ต้ม แกง หุงข้าวได้ด้วย

เตาหุงต้ม (Range) เตาหุงต้มใช้สําหรับหุงต้มอาหาร โดยทั่วไปนิยมใช้เตาหุงต้มที่ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า หรื อ แก๊ ส มี ก ารจุ ด ไฟโดยการหมุ น ปุ่ ม ให้ เ กิ ด ประกายไฟในขณะที่ เ ปิ ด เตาแก๊ ส ความร้ อนจาก เตาแก๊ส นั้น ปรั บได้ง่า ยกว่า เตาไฟฟ้า และอุ ณหภูมิ เพิ่ม หรื อลดได้ รวดเร็ ว กว่ า นอกจากนี้ แ ล้ ว ในบ้ า นเรายั ง มี ก ารดั ด แปลงให้ แ ก๊ ส พุ่ ง ออกมามาก ใช้ลมเป่าทําให้ความร้อนที่เกิดขึ้นสูงมาก อาหารสุกเร็วและอร่อย ในการเลื อ กซื้ อ นั้ น ควรคํ า นึ ง ถึ ง ขนาด วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า ต้ อ งคงทนแข็ ง แรง ทนร้ อ น ทําความสะอาดง่าย สะดวก

เตาอบ (Oven) เตาอบใช้สําหรับอบอาหาร อบขนม อบอื่น ๆ มีหลายขนาดให้เลือก ใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง พวกแก๊ ส และไฟฟ้ า มี พั ด ลมข้ า งในเพื่ อ ให้ ค วามร้ อ น หมุนเวียนทั่วทั้งตู้ มีความร้อนจากข้างล่าง มีความร้อนจากข้างบน ซึ่งใช้ปรุงอาหารแบบบรอยล์ (broil) เตาอบบางชนิดนั้นใช้ร่วมกับเตาหุงต้ม เช่น เตาอบอยู่เหนือเตาหุงต้ม คือ อยู่ระดับสายตาพอดี การเลือกซื้อที่ต้อง พิจารณารู ปแบบ ความสะดวกในการใช้ การทํา ความสะอาด การดูแ ลรั กษา ฉนวนที่กันความร้อน และความเที่ยงตรงของการตัง้ อุณภูมิและเวลาในการอบ

ตู้เย็น (Refrigerator) ตู้ เ ย็ น สํ า หรั บ เก็ บ อาหารสด อาหารแห้ ง และอาหารที่ ป รุ งเสร็ จ แล้ ว มี ห ลายขนาดให้ เ ลื อ ก บางชนิ ด มี ช่ อ งแช่ แ ข็ ง (Freezer)อยู่ ชั้ น บน แยกประตู ตู้ ห รื อ ไม่ แ ยกประตู บางชนิ ด เป็ น แบบไม่ มี น้ํ า แข็ ง เกาะ ซึ่งก็ต้องใช้กําลังไฟฟ้ามากกว่า ในการเลือกซื้อก็ควรคํา นึงถึง รูปร่าง ความคงทน การทํา ความสะอาด ดู แ ล รั ก ษา ก า รรั บ ประกั น ก ารใ ช้ ง า น คว า มถู ก ต้ อ งของอุ ณ หภู มิ ตู้ เ ย็ น แบบใหม่ มี ตั ว เลขระบบดิ จิ ต อล บอกอุ ณ หภู มิ ภ ายในตลอดเวลา ซึ่งอ่านได้จากหน้าปัดด้านหน้า (บน)

ตู้แช่แข็ง (Freezer) ตู้แช่แข็งใช้สําหรับแช่แข็งอาหารต่าง ๆ เพื่อให้เก็บไว้ ได้นานขึ้น มีทั้งแบบเตี้ย-กว้าง (chest)และแบบสูง-แคบ (upright) การเลื อ กซื้ อ คงต้ อ งพิ จ ารณาขนาด ราคา ประสิ ท ธิ ภ าพ ความคงทนแข็ ง แรง และความถู ก ต้ อ ง ของอุณหภูมิ

ภาชนะที่ใช้กับไฟฟ้า

1. หม้อ กระทะ กาต้มน้ําไฟฟ้า ซึ่ง สะดวกเคลื่ อ นที่ ไ ด้ ง่ า ย ใช้ ใ นการปรุ ง อาหารไม่ มากนั ก จนกระทั่ ง การอุ่ น การเสิ ร์ ฟ อาหาร วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า ก็ เ ป็ น พวกอะลู มิ เ นี ย ม สแตนเลส และ เทฟลอนซึ่งสัมผัสกับอาหาร ส่วนที่เป็นที่จับ ที่ถือ หรือเสียบปลั๊กที่ทํา จากพลาสติ ก ชนิ ด แข็ ง ทนร้ อ นได้ ดี โดยทั่ ว ๆ ไปจะมี เ ทอร์ โ มสแตท (Thermostat) สําหรับควบคุมความร้อน ถ้าร้อนไปก็ตัดไฟ การล้างก็ถอด ส่วนนี้ออก จึงล้างในน้ําได้ หรือนางแบบแนะนําให้เช็ดด้วยผ้าชุบน้ํา

2. เครื่องปั่น (Blender) ซึ่งทําหน้าที่ปั่น ตัด สับ ผสม ให้เข้ากัน และทําให้เหลว ซึ่งช่วยให้ การทํางานรวดเร็วและได้ผลดี การออกแบบให้มีภาชนะแก้วสําหรับใส่อาหาร มี ห ลายขนาด ถอดเปลี่ ย นได้ มี ใ บมี ด คม ๆ หลาย ๆ ใบเชื่ อ มติ ด กั บ ฝาสามารถปรับความเร็ว และเลือกทําหน้าที่ได้หลายอย่าง และควรพิจารณา ถึงความแข็งแรงและการถอดล้างทําความสะอาดได้ง่าย

3. เครื่องฝาน หัน่ ซอย (Flood processor) ใ ช้ ช่ ว ย ผ่ อ น แ ร ง ใ น ก า ร ทํ า ง า น บ า ง อ ย่ า ง เ ช่ น การหั่น แตงกวา การฝานแครอท ให้เ ป็นแผ่ น บาง ๆ การนั่ น กะหล่ํ า ปลี ใ ห้ ฝ อย ๆ การหั่ น ให้ มี ข นาด และรูปร่างแปลก ๆ ทั้งนี้โดยการถอดเปลี่ยนหัวใบมีด ที่จะใช้งาน

4. เครื่องผสม (Mixer) ใช้สําหรับผสมแป้งในการทําเค้ก คุกกี้ ไส้พาย การนวดแป้ง ขนมปัง บะหมี่ การออกแบบให้ใบพัด (ชนิดตามจุดประสงค์ของการผสม) หมุนรอบตัวเอง และหมุ น ไปรอบ ๆ ที่ ใ ส่ ข องผสมหรื อ การออกแบบให้ ช ามโบลหมุ น รอบ ตัวเองด้วย เพื่อให้เกิดการคลุกเคล้าผสมอย่างละเอียอ เป็นเนื้อเดียวกัน ขนาดก็ ค งขึ้ น กั บ ปริ ม าณอาหารที่ จ ะผสม มี ก ารออกแบบให้ ตั้ ง เวลา ปรับความเร็วของการผสมได้ เลื่อนขึ้นลงของใบพัด เพื่อสะดวกในการเอาของ ผสมออก และการเก็ บ ล้ า งชามโบลนั้ น ทํ า จากสแตนเลส หรื อ พลาสติ ก เพราะต้องไม่บุบบู้บี้

5. เครื่องอุ่นอาหาร (Slow CtMaker) คือใช้สําหรับอุ่นให้อาหารร้อนหรืออุ่น ๆ ในขณะเสิร์ฟ หรือก่อนที่จะเสิร์ฟ หรือเป็นการหุงต้มแบบให้ความร้อน ต่ํานาน ๆ การออกแบบนั้นมักจะทําให้เหมือน หม้อ เพื่อจะเสิร์ฟวางบนโต๊ะอาหารได้อย่าง สวยงาม ขนาดไม่ใหญ่โตนัก

อุปกรณ์สําหรับทําขนมอบ (Baker ware)

อุปกรณ์สําหรับทําขนมอบมีทั้งถาดและถ้วยอบสําหรับเค้ก คุกกี้ พาย ขนมปัง เป็นต้น มีหลายขนาด หลายชนิด รูปร่างต่าง ๆ ปัจจัยทั่ว ๆ ไป ได้แก่ การที่จะดึงจับได้ง่ายในการใส่เข้า และเอา ออกจากตู้อบร้อน ๆ การที่จะให้ขนมล่อนหลุดจากพิมพ์ได้ง่าย การดู แ ลรั ก ษา ทํ า ความสะอาดได้ ง่ า ย เช่ น พิ ม พ์ ก ลม ไม่ มี เหลี่ยม ไม่มีขอบเว้า ไม่มีร่องข้าง ๆ เป็นต้น

วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า พิ ม พ์ ข น ม อ บ นั้ น มี ค วา ม สํ า คั ญ เ ช่ น การใช้ วั ส ดุ แ ก้ ว ผสมกั บ อะลู มิ เ นี ย ม หรื อ แก้ ว เคลื อ บ ทํา ให้ อุ ณหภูมิ ห รือ ความร้อ นลดลง 10 ซ. จึ งต้ อ งเพิ่ ม อุณหภูมิ วัสดุพวกสะท้อน แสง หรือแวววาวเหมาะกับ ขนมอบที่เบา ผิวไม่กรอบ เช่น เค้ก คุกกี้ มัฟฟิน และ ขนมปั ง อบเร็ ว วั ส ดุ ที่ ผิ ว ด้ า นเหมาะกั บ ขนมปั ง พาย ซึ่งต้องการผิวที่เป็นสีน้ําตาลมากกว่า

1. อะลูมิเนียม

นิ ย มมากเพราะความร้ อ นกระจายอย่ า งเร็ ว และสม่ํ า เสมอ การทํานั้นมี 2 วิธีคือ การใช้แผ่นอะลูมีเนียมมาปั้มให้เป็นรูปร่าง เช่น พิมพ์คุกกี้ และถาดพาย การทํ า ให้ อ ะลู มิ เ นี ย มหลอมก่ อ น แล้ ว เทใส่ แ บบพิ ม พ์ ให้เป็นรูปถาด ใช้กับขนมที่ต้องอบเป็นเวลานาน

2. สแตนเลส ก็นิยมใช้เหมือนกัน เพราะว่าเราไม่จําเป็นต้อง ให้ความร้อนผ่านถาดอบ เร็วนัก

นอกจากนี้แล้วก็อาจมีวัสดุอื่น ๆ เช่น แก้ว เหล็กกล้า ภาชนะเคลือบ ขนาดของถาดอบ แตกต่างตามชนิดของอาหาร เช่น เค้ก เป็นปอนด์ 1 หรือตามเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น พิมพ์เค้กกลมขนาด 8x12 หรือ

1 9x 2

นิ้ว พิมพ์รูปไข่ขนาด 13 x9x2 แยมโรล

1 15x x12 2

1 8x1 4

1 9x1 4

1 1 15 x10 2 2

x1

ถาดคุกกี้ พาย หรือ อย่างไรก็ตามถาดอบนั้น ต้ อ งเลื อ กให้ พ อดี กั บ เตาอบด้ ว ย มิ น ะนั้ น จะใช้ ก ารได้ ไ ม่ ดี นั ก คืออาจจะไม่เป็นการประหยัด

เครื่องตวง

เครื่องตวงสําหรับตวงอาหารเหลวและอาหารแห้ง ถ้วยตวงของเหลว ทําจากแก้วหรือพลาสติกใส มีขีดข้าง ๆ บอกปริมาตรของ ๆ เหลว 11 , 42

และ 1 ถ้วย เมื่อบอกเป็น อ่านค่าละเอียดได้ตั้งแต่ มิลลิลิตร ไพนท์ (pint) ควอร์ท (quart) การใช้ต้อง มองขอในระดั บ สายตา มี ที่ จั บ เพื่ อ สะดวกในการใช้ มีหลายขนาด ให้เลือกใช้ ตั้งแต่ 1-5 ถ้วยตวง

ถ้ ว ยตวงของแห้ ง ทํ า จากพลาสติ ก อะลู มิ เ นี ย ม หรื อ สแตนเลส 1 1 1 4 3 2

และ 1 ถ้ ว ย เมื่ อ ใส่ อ าหาร มั ก จะประกอบเป็ น ชุ ด คื อ เต็ มถ้ วยตวงแล้ ว ปาดส่ วนเกิ น ด้ วยมีด ไม่ มี ค ม หรื อ อื่ น ๆ ที่ ต รง และเรียบ สําหรับเนยนั้นต้องกดให้เต็มถ้วย ไม่ให้มีช่องว่างอยู่แล้ว ปาดให้เรียบร้อย

การตวงในปริ ม าณเล็ ก น้ อ ยก็ ใ ช้ ช้ อ นตวงแทน ซึ่ ง ก็ ทํ า เป็ น ชุ ด เช่ น กั น 1 1 4 2

ประกอบด้วย 4 ขนาด คือ 1 ช้อนชา และ 1 ช้อนโต๊ะ (3 ช้อนชา) อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ไม้พาย ทัพพี ตะหลิว คีมที่จับ ที่ปอกเปลือก ลูกกลิ้ง ชามอ่างผสม ที่เปิดกระป๋อง ตะแกรงร่อน

ในการประกอบอาหารจํ า เป็ น ต้อ งใช้ เครื่ อ งมือ อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ มากมาย วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ใ นการประกอบอาหาร ต้องมีคุณสมบัติใหญ่ ๆ คือ แข็งแรง ทนทาน ไม่ทําปฏิกิริยายากับ อาหาร ไม่ เ กิ ด การกั ด กร่ อ นเพราะสารเคมี ที่ ใ ช้ ล้ า งทํ า ความสะอาด ซึ่งได้แก่พวกอะลูมิเนียม สแตนเลส เหล็กกล้า ภาชนะเคลือบ แก้ว เทฟลอน ทองแดง และพลาสติก อุปกรณ์ที่จําเป็นต้องใช้ได้แก่ หม้อ ขนาดต่าง ๆ กระทะ เตาอบ และอุปกรณ์ที่ใช้กับไฟฟ้าอีกมากมาย

หลักการเลือกเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ ในการประกอบอาหาร

เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ นการประกอบอาหาร ทํ า จากวั ส ดุ ห ลายชนิ ด มี ค วามทนทาน และราคาแตกต่ างกัน ในการเลือกซื้อควรพิจารณาให้ร อบคอบ เพื่อการใช้ประโยชน์ ได้อย่างเต็มที่และยาวนาน สรุปได้ ดังนี้

เหมาะสมกับชนิดของอาหาร

อยู่ในสภาพดี ไม่บุบ งอ

ดูแลรักษาทําความ สะอาดได้ง่าย

สะดวกต่อการใช้งาน

ประหยัดเวลาในการหุง ต้ม เช่น ร้อนเร็ว ทํา ความสะอาดง่าย

ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ ในการประกอบอาหาร

อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่เลือกใช้งานอย่างเหมาะส่วยให้ทํางานได้ผลงาน มีคุณภาพทั้งนี้ผู้ใช้ต้องระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยของตนเอง และบุคคลอื่น เพราะความประมาทเลินเล่ออาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ดังนั้น ผู้ใช้เครื่องมือ ควรระมัดระวังตนเองตลอดเวลาระยะเวลาที่ใช้เครื่องมือ โดยยึดหลั กการ ดังนี้

เ มื่ อ ใ ช้ ข อ ง มี ค ม ต้ อ ง ระมั ดระวั ง และเลื อ กใช้ ให้ เ หมาะสมกั บ ประเภท ของงาน เช่ น เมื่ อ ปอก ผลไ ม้ ไ ม่ ค วรใช้ มี ด สั บ เ พ ร า ะ ว่ า มี ด สั บ ม ร ชี น้ําหนักมาก อาจทําให้มีด บาดมือได้

อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ประกอบอาหารประเภท เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องศึกษา วิ ธี ใ ช้ ใ ห้ เ ข้ า ใจก่ อ นการ นํ า มาใช้ และใช้ ต าม คําแนะนําอย่างเคร่งครัด

อุปกรณ์ชิ้นใดที่ใช้บ่อย ควรวางไว้ใกล้มือ และ ไม่ ค วรวางไว้ ใ นที่ สู ง เกินเอื้อม

เมื่อหุงต้มอาหารด้วยเตา ถ่ า นควรดั บ ไฟให้ ห มด อย่าปล่อยทิ้งไว้ ถ้าหุงต้ม อ า ห า ร ด้ ว ย เ ต า แ ก๊ ส จะต้องปิดแก๊สทุกครั้ง

ในการใช้ เ ตาอบไฟฟ้ า แบบจานหมุ น หรื อ ที่ เรียกว่า เตาไมโครเวฟ ก่ อ น ก า ร ใ ช้ ง า น ค ว ร ศึ ก ษาหลั ก การวิ ธี ใ ช้ ใ ห้ เข้ า ใจและปฏิ บั ติ ต าม โดยเคร่งครัด เพราะว่า จ ะ ส่ ง ผ ล ถึ ง ค ว า ม ปลอดภัย เช่น ตั้งเวลา ให้เหมาะสมกับชนิดของ อาหาร นํ า อาหารออก จากเตาตามข้อแนะนําที่ กําหนด

ในการใช้อุปกรณ์ที่เป็น เครื่ องใช้ไฟฟ้าก่ อนทํ า ความสะอาดหรื อ ถอด ชิ้นส่วนต่าง ๆ จะต้อง ถอดปลั๊กไฟก่อนเสมอ

เมื่อยกหม้อหรือกระทะลง จากเตาเพื่ อ ปกป้ อ งกั น ความร้อนถึงมือ ควรใช้ผ้า จับชองร้อนที่มีความหนา พอเหมาะ

เมื่อนําอาหารทอดหรือ ต้ ม อย่ า หยิ บ อาหาร ด้ ว ยมื อ ใส่ ล งกระทะใน ระยะสู ง เพราะจะทํ า ให้ น้ํ า หรื อ น้ํ า มั น กระเด็ น ลวกมือ ได้ ควรใช้ทัพ พี ตั ก อาหารหรื อ ตะหลิ ว วางลงในกระทะหรื อ หม้อที่ตั้งไฟ

การจั ด เก็ บ อุ ป กรณ์ เครื่ อ งใช้ ที่ มี น้ํ า หนั ก มากจะต้ อ งจั ด เก็ บ ไว้ ด้ า นล่ า งของชั้ น วาง ของหรือ ชั้น ล่างของตู้ เ ก็ บ อุ ป ก ร ณ์ เ ส ม อ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ค ว า ม ปลอดภั ย จากการถู ก อุปกรณ์หล่นทับ

หลักการดูแลรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้ในการประกอบอาหาร

อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหารแต่ละชนิด ผลิ ต จากวั ส ดุ ที่ แ ตกต่ า งจากกั น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ อุ ป กรณ์ เครื่องใช้มีอายุการใช้งานยาวนาน ควรดูแลรักษาและทํา ความสะอาดหลังการใช้งานทุกครั้ง ดังนี้

เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทสเเตนเลส ควรระวังอย่าให้โดนความร้อนสูง มากเกินไปเพราะจะทําให้เกิดสีดํา สีเทาหรือน้ําตาล เมื่อทําความสะอาดเสร็จ แล้ ว เช็ ด ให้ แ ห้ ง ซึ่ ง สามารถขั ด ออกได้ โ ดยใช้ ฟ องน้ํ า ชุ บ น้ํ า ผงซั ก ฟอก ผสมน้ําส้มสายชู ขัดตรงรอยดําแล้วล้างออกด้วยน้ํา

เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ป ระเภทเหล็ ก ให้ ใ ช้ น้ํ า ยาทํ า ความสะอาดขั ด และล้างให้สะอาดแล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาดให้แห้งหรือตากให้แห้งสนิททุกครั้ง เพื่อป้องกันมิให้เป็นสนิมและใช้น้ํามันประกอบอาหารทาให้ทั่ว

เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ที่ ทํ า จากอะลู มิ เ นี ย ม เมื่ อ ใช้ เ สร็ จ แล้ ว ควร ทํา ความสะอาดให้ เ ศษอาหารที่ติ ด กั บภาชนะออกให้ ห มด และเช็ ด ให้ แ ห้ ง เพราะหากมี เ ศษอาหารตกค้ า งในภาชนะนานๆ กรดและด่ า งในอาหาร จะทําให้ภาชนะกร่อน มีผิวขรุขระ เป็นรู และอากเกิดอันตรายจากเศษอาหาร ที่ตกค้างในรอยขรุขระนั้นได้

เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทเครื่องเคลือบ ระวังอย่าให้ตก หรื อ กระแทก เพราะจะทํ า ให้ ก ะเทาะแล้ ว ส่ ว นที่ ก ะเทาะ จะเกิดสนิมได้

เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทแก้ว ควรระวังไม่ให้ตกเพราะเครื่องแก้ว แตกง่าย และไม่ควรใส่ของที่ร้อนมาก นอกจากแก้วชนิดทนไฟ นอกจากนี้ไม่ ควรวางซ้อนกันเพราะอาจจะทําให้ตกมาแตกได้

เครื่อ งมื อเครื่ องใช้ ป ระเภทพลาสติ ก ไม่ค วรใช้ ใส่ ของร้ อ น เพราะอาจทํ า ให้ บู ด เบี้ ย วเสี ย รู ป และสี ข องพลาสติ ก มี ส่ ว นผสม ของสารตะกั่ว และปรอทซึ่ง อาจจะละลายปนกั บ อาหารทําให้ เ ป็ น อันตรายได้

ในการจัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ ให้จัดเก็บ เป็น หมวดหมู่ตามประเภท และลักษณะ การใช้ ง าน เพื่ อ สะดวกต่ อ การหยิ บ ใช้ เช่น เก็บจาน ชาม ที่ใช้เตรียมอาหารไว้ ด้วยกัน เป็นต้น

อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่นานๆจึงจะนํามาใช้ ควรห่อด้วยผ้าขาวบาง กระดาษพลาสติ ก เพื่ อ ป้ อ งกั น ฝุ่ น ละอองและป้ อ งกั น การเก่ า เร็ ว จากจาก สภาพแวดล้อม

การใช้และการเก็บรักษาเครือ่ งมือ เครื่องใช้ในการประกอบอาหาร

เครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหารมีอยู่หลายประเภท บางชนิดใช้งานบ่อย ๆ บางชนิดใช้น้อย ในการเลือกซื้อ เพื่อความคุ้มค่าของเงินควรพิจารณาอย่างรอบคอบ และดูแลรักษาให้ถูกวิธี เพื่อการใช้งานได้ยาวนาน สรุปได้ดังนี้

1) ภาชนะสําหรับหุงต้ม ในการเลื อ กซื้ อ ภาชนะสํ า หรั บ หุ ง ต้ ม ควรพิ จ ารณาประโยชน์ ใ ช้ ส อยและดู แ ล รักษาอย่างถูกวิธี ดังนี้

1.1) หม้อ มีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีประโยชน์ต่างกัน ดังนี้ - หม้อมีหู มีสองหู หรือ มีฝาปิดและมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาด ใหญ่สะดวกต่อการใช้การ ใช้สําหรับต้มอาหารทําแกงส้ม แกงจืด เป็นต้น

- หม้ อ ตุ๋ น ใช้ สํ า หรั บ ตุ๋ น อาหารมี ส องชั้ น ชั้ น ล่ า งใส่ น้ํ า ชั้ น บนมี ฝ าปิ ด ใช้ทําอาหารเช่น ไข่ตุ๋น ซุปข้าวพูด เป็นต้น

- หม้ อ นึ่ ง ใช้ สํ า หรั บ ทํ า ให้ อ าหารสุ ก โดยใช้ ไ อน้ํ า เช่น นึ่งข้าว นึ่งห่อหมก นึ่งขนม เป็นต้น

- หม้ออัดความดั น ใช้สําหรับหุ งต้มอาหารให้ สุก อย่างรวดเร็ว เช่น ตุ๋นขาหมู ตุ๋นขาหมู เป็นต้น

การเลือกใช้ ให้เลือกที่มีคุณภาพคงทน ที่มีการรับประกันคุณภาพสินค้า

การเก็บรักษา ภาชนะหุงต้ม มีวิธีการดูแลรักษา คือ ล้ า งหรื อ เช็ ด ทํ า ความสะอาดทุ ก ครั้ ง หลั ง ใช้ ง าน ถ้ า เป็ น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ควรศึ ก ษาคู่ มื อ และปฏิ บั ติ ต า ม ข้อแนะนําอย่างเคร่งครัด

1.2) กระทะ ใช้สําหรับทอด ผัดอาหาร ที่นิยมใช้กันทั่วไป ได้แก่ กระทะ ไฟฟ้า และกระทะธรรมดาที่ใช้กับแก๊สและเตาถ่าน กระทะไฟฟ้า

เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ใ ช้ ใ นการปรุ ง อาหารได้ สะดวก โดยการเสี ย บปลั๊ ก ไฟฟ้ า สามารถผัดทอดหรือทอดก็ได้ และปรับ อุณหภูมิได้

กระทะธรรมดา

มีทั้งเป็นกระทะก้นตื้น มีด้ามจับและก้นลึก ใช้ทอด ผัดอาหารทั่วไปในการเลือกไม่ควร เลือกกระทะที่ทําด้วยโลหะที่ไม่เป็นสนิม

การเลือกใช้

เลือกขนาดเหมาะสมกับปริมาณอาหารที่ต้องการปรุงมีหูหรือ ด้ า มจั บ เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มื อ โดนความร้ อ น เช่ น กระทะ เคลือบเทปลอน กระทะที่ทําด้วยอะลูมิเนียม

การเก็บรักษา

สามารถทําได้โดยการทําความสะอาดทุกครั้งหลักจากการใช้งาน ถ้าเป็นกระทะ อะลูมิเนียมให้ใช้ฝอยขัดหรือใช้ฟองน้ําล้างจานล้างให้สะอาด ถ้าเป็นกระทะไฟฟ้า ระมัดระวังไม่ให้ด้านนอกของกระทะโดนน้ํา เพราะถ้ายังไม่แห้งสนิทจะทําให้ เกิดไฟฟ้าดูด และที่สําคัญต้องปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด

1.3) ลังถึง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการนึ่งอาหาร มีลักษณะเป็นชั้น ซ้อนกัน ชั้นล่างสําหรับใส่น้ํา ตั้งแต่ชั้นที่สองเป็น ต้นไปสําหรับใส่อาหารที่ต้องการนึ่ง โดยแต่ละชั้น จะมีรูกลมเพื่อให้ไอน้ําขึ้นมาสู่อาหาร ทําให้อาหารสุก

การเลือกใช้

ต้องทําด้วยโลหะที่ทนทาน เบา ไม่เป็น ส นิ ม นํ า ค ว า ม ร้ อ น ไ ด้ ดี เ ช่ น อ ะ ลู มี เ นี ย ม ส แ ต น เ ล ส เ ป็ น ต้ น ลั ง ถึ ง ในแต่ ล ะชั้น จะต้ องวางซ้ อ นกั นได้ สนิทและฝาปิดสนิท

การเก็บรักษา ให้ ทํ า ความสะอาดทุ ก ครั้ ง หลั ง การ ใช้ ง าน จั ด เก็ บ เป็ น ชุ ด เพื่ อ สะดวก ในการหยิบใช้งาน

2) ภาชนะสําหรับใส่อาหารและตักอาหาร

เป็นภาชนะที่ใช้สําหรับใส่ส่วนผสมของอาหาร และเครื่องปรุงต่างๆ อันได้แก่ จาน ชาม กะละมังเล็ก ถ้วย ตะแกรง และช้อนสําหรับตักอาหาร เป็นต้น สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ ทําจากวัสดุ หลายชนิด เช่น พลาสติก กระเบื้อง สแตนเลส การเลือกใช้ควรพิจารณาเลือกให้เหมาะสม เช่น เลือกขนาดของภาชนะให้เหมาะสมกับปริมาณอาหารที่ตักใส่ ไม่นําชามพลาสติกใส่อาหาร ที่ร้ อนจัด เพราะความร้อนจะทํา ให้พ ลาสติ กละลายเมื่อรั บ ประทานอาหารเข้า ไปจะทํา ให้ เป็นอันตรายต่อร่างกาย เป็นต้น

การเลือกใช้

การเลือกใช้อุปกรณ์สําหรับใส่อาหารและตักอาหารที่สําคัญ เช่น

1. ควรเลือกจาน ชาม แบบเรียบ สีอ่อน หรือไม่ฉูดฉาด จาน ชาม ที่เป็นกระเบื้อง มีลวดลายพิมพ์เคลือบไว้สวยงาม หรือถ้วยชามพลาสติกที่มีสีสันฉูดฉาดเมื่อนํามาใส่อาหาร ที่มีรสจัด หรือของร้อน อาจทําให้ส่งที่ทําลวดลายละลายปนมากับอาหารเพราะว่าสีเหล่านี้ จะมีสารตะกั่ว ปรอทผสมอยู่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2. ทนต่อการใช้งาน เช่น ถ้วย ชาม สแตนเลสจะไม่ค่อยแตกชํารุด แต่ไม่ค่อยสวยงาม ถ้าต้องการใช้งานเกี่ยวกับคนจํานวนมากและไม่ต้องเป็นพิธีรีตอง เช่น ในงานที่มีคนมาก แม่ค้าขายอาหาร เป็นต้น นอกจากนี้ภาชนะสําหรับตักอาหาร เชน ทัพพีตักข้าว ตะหลิว ช้อน ส้อม ควรเลือกที่มีความทนทานในการใช้งาน

การเก็บรักษา ให้ ทํ า ความสะอาดทุ ก ครั้ ง หลั ง การใช้ ง าน หรื อ อุ ป กรณ์ เครื่องใช้ ที่ไม่ได้ใช้งานนาน ๆ ต้องนํามาทําความสะอาด ก่ อ นใช้ ง านทุ ก ครั้ ง จานชามที่ ล้ า งเสร็ จ แล้ ว ควรคว่ํ า เรียงกันให้แห้งสนิทก่อนนําไปเก็บในตู้เก็บอุปกรณ์

๓) เครื่องมือ หั่น สับ บดอาหาร เป็นเครื่องมือที่ใช้แยกชิ้นอาหารให้ได้ตามรูปลักษณะ ที่ต้องการ เช่น เป็นชิ้นสี่เหลี่ยม เพื่อสะดวกในการปรุง เช่น

3.1 มีด

มีหลายชนิด เช่น มีดสําหรับหั่น มีไว้สําหรับหั่นเนื้อ หั่นผัก ผลไม้ มีลักษณะ ปลายแหลม บาง คม ยาวประมาณ 8-10 นิ้ว มีด้ามจับเหมาะมือ มีดปอก มี ลั ก ษณะปลายแหลม บาง น้ํ า หนั ก เบา มี หลายขนาดไว้ สํ า หรั บ ปอกผลไม้ มีดสับ เป็นมีดที่มีน้ําหนักมาก มีขนาดใหญ่กว่ามีดอื่น ๆ

การเลือกใช้ มีความคม ด้ามมีดทนทาน แข็งแรง และดูแลรักษาง่าย การเก็ บ รั ก ษา ทํ า ความสะอาดหลั ง การใช้ ง าน จั ด เก็ บ เมื่ อ แห้ ง สนิ ท และมิดชิดพ้นมือเด็ก

3.2 เขียง เป็นเครื่องมือที่รองรับการหั่น สับอาหาร คู่กับมีด การเลือกใช้ ให้เลือกใช้เขียงที่ทําจากเนื้อไม้แข็ง ไม่มีรอยแตกร้าว การเก็บรักษา ควรทําความสะอาดหลังการใช้งาน ก่อนการจัดเก็บต้องให้เขียง แห้งสนิทมิฉะนั้นอาจขึ้นราได้

๓.๓ ครก เป็น เครื่อ งมื อที่ ใช้ สําหรับ ตํา ส่ว นผสมของอาหารหรือ เครื่องปรุ งให้ล ะเอีย ด มีทั้งครกหินและครกดินเผา การเลื อ กใช้ ครกหิ น ใช้ สํ า หรั บ ตํ า พริ ก แกง ควรเลื อ กที่ เ ป็ น หิ น แท้ รู ป ทรงไม่ บิ ด เบี้ ย ว สากที่ ใ ช้ ค วรทํ า จากหิ น แท้ ส่ ว นครกดิ น เผา ใช้ สํ า หรั บ บุ บ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ป รุ ง อาหาร เช่ น พริ ก ตํ า ส้ ม ตํ า ควรเลื อ กที่ มี น้ํ า หนั ก มาก รูปทรงไม่บิดเบี้ยว มีก้นลึก สากที่ใช้ควรเป็น สากที่ทําจากไม้

การเก็บรักษา ทําความสะอาดหลังการใช้งาน ทุ ก ครั้ ง และคว่ํ า ให้ ค รกแห้ ง สนิทก่อนเก็บ

ในปัจจุบันมีเครื่องบด หั่น อาหารไฟฟ้า เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ ปัจจุบันนิยมใช้อย่างแพร่หลาย เพราะสามารถช่วยในการบดหรือ หั่นอาหารให้ละเอียดได้ตามความต้องการในระยะเวลารวดเร็ว ในการเลื อ กใช้ ค วรเลื อ กผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก ารรั บ ประกั น สิ น ค้ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ง านสู ง สามารถใช้ ง านได้ ห ลากหลาย รู ป แบบ เก็ บ รั ก ษาง่ า ย การดู แ ลรั ก ษา ให้ ทํ า ความสะอาด หลังการใช้งานทุกครั้ง

4) อุปกรณ์ให้ความร้อน เป็นอุปกรณ์ที่ทําให้อาหารสุก ที่สําคัญ ได้แก่

4.1 เตาหุ ง ต้ ม ได้ แ ก่ เตาถ่ า น ทํ า จากดิ น ใช้ ถ่ า นหรื อ ฟื น เป็ น เชื้ อ เพลิ ง การใช้จะต้องติดไฟ ข้อเสีย คือ มีขี้เถ้า เตาแก๊ส ประกอบด้วยหัวเตา ถังแก๊ส ซึ่งบรรจุแก๊สบิวเทน หรือโปรเพน หรือแก๊สผสมระหว่างบิวเทนกั บโปรเพน ซึ่งอยู่ในสภาวะของเหลว แต่จะเปลี่ยนเป็นสภาวะแก๊สเมื่อเปิดใช้ เตาแก๊ส เป็นที่นิยมทั่วไปในครัวเรือน ไม่มีควัน ใช้ได้ง่าย เตาไฟฟ้า เป็นเตาชนิด ที่ มี ข ดลวด หรื อ แผ่ น ให้ ค วามร้ อ นด้ า นบนกระจายความร้ อ นไปสู่ อ าหาร ที่วางบนเตา

4.2เตาอบไฟฟ้ า โดยทั่ ว ไป มี ๓ ประการ ได้ แ ก่ เตาอบแก๊ ส โดยทั่ ว ไป จะประกอบด้ ว ย ๒ ส่ ว น คือ ส่ ว นบนใช้ สํ า หรับ หุ งต้ ม ทั่ว ไปส่ ว นล่ า งใช้ อ บ อาหาร มีลักษณะเป็นตู้ทึบ ปิด -เปิดได้ และมีช่องกระจกสําหรับดูอาหารที่อยู่ ภายในได้ชัดเจน เตาอบไฟฟ้าแบบขดลวด เป็นเตาไฟฟ้าที่มีลักษณะมีฝาเปิด ด้ า นหน้ า เป็ น เตาที่ ใ ช้ อ บอาหาร โดยแผ่ ใ ห้ ค วามร้ อ นในตู้ ด้ า นบนหรื อ ในตู้ด้านล่าง หรือทั้งสองด้าน ขดลวดเป็นตัวกระจายความร้อนไปสู่อาหารที่ บรรจุ ใ นตู้ ด้ า นล่ า งจะมี ถ าดรองรั บ เตาอบไฟฟ้ า แบบจานหมุ น หรื อ เตา ไมโครเวฟ เป็นเตาที่ทําให้อาหารสุกโดยใช้พลังงานระบบกระจายคลื่นแบบ จากหมุน เตาไมโครเวฟใช้ในการอุ่นอาหาร อบอาหาร เป็นต้น

การเลื อกใช้ ควรเลื อกให้ เ หมาะกั บการใช้ง าน วัส ดุแ ต่ ละชิ้น จะต้ องมี ความ แข็งแรง ทนทาน ไม่เป็นสนิม ส่วนเตาอบไฟฟ้าแบบขดลวด และไมโครเวฟ ควรเลือกที่ประหยัดไฟ คุณภาพเป็นที่ยอมรับทั่วไป การเก็บรักษา ถ้าเป็นเตาถ่านเมื่อใช้เสร็จแล้ว จะต้องดับถ่านที่ลุกให้เรียบร้อย โดยใช้คีมคีบถ่านที่กําลังลุกจุ่มในน้ําให้หมด ถ้าเป็นเตาแก๊สหลังการใช้งานให้ปิด วาล์วถังแก๊สให้สนิท ถ้าเป็นเตาไฟฟ้าหลังการใช้งานให้ดึงปลั๊กออกจากเตาเสียบ และทําความสะอาดหัวเตาทุกครั้งหลังการใช้งาน โดยใช้ฟองน้ําชุบน้ําทําความ สะอาด และเช็ดเบาๆ แล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง

5) อุปกรณ์เครื่องใช้สําหรับทําความสะอาด ใช้สําหรับทําความสะอาดอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหาร เช่น 5.1 สารทํ า ความสะอาด มี ห ลายชนิ ด ให้ เ ลื อ กใช้ ทั้ ง แบบน้ํ า แบบครี ม แบบแท่ง แบบผง เช่น น้ํายาล้างจาน ผงขัด เป็นต้น

5.2 ฝอยขั ด มี ทั้ ง ฝอยเหล็ ก พลาสติ ก ใยแก้ ว รั ง บวบแห้ ง ควรเลื อ กให้ เหมาะสมกับภาชนะที่ใช้ทําความสะอาด เช่น ใช้ฝอยเหล็กขัดกระทะ เป็นต้น

5.3 ที่กรองเศษอาหารที่ไม่ใช้แล้ว ที่ก้นภาชนะจะต้องเป็นรูเล็ก ๆ เพื่อให้น้ํา ออกจากเศษอาหารเหล่านี้ก่อนที่จะเทลงถังขยะเพื่อไม่ให้ถังขยะเปียกชื้น 5.4 อ่างล้างหรือกะละมัง ใช้สําหรับล้างสิ่งของ ล้างจาน ชาม ควรเลือกที่มี ขนาดเหมาะกั บ การใช้ ง าน สํ า หรั บ อ่ า งล้ า งจะต้ อ งทํ า จากวั ส ดุ ที่ ท นทาน ทําความสะอาดได้ง่าย เช่น ทําจากสแตนเลส ส่วนกะละมังมีทั้งที่เป็นพลาสติก และอะลูมิเนียมให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม

การเก็ บ รั ก ษา สารทํ า ความสะอาดจะต้ อ งเก็ บ ให้ มิ ด ชิ ด ระวั ง ไม่ ใ ห้ โ ดนน้ํ า ส่วนฝอยขัดหลังจากใช้งานเสร็จให้ล้างให้สะอาด วางไว้ให้แห้งและเก็บไว้ด้วยกัน กับสารทําความสะอาด ส่วนอ่างล้างและกะละมังหลังจากใช้งานให้ล้างให้สะอาดใช้ ผ้าเช็ดให้แห้ง

Thanks !

Data Loading...